The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมไทย (วรรณกรรมร่วมสมัย)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สันทัด จันทร์ขุน, 2019-12-18 15:17:08

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมไทย (วรรณกรรมร่วมสมัย)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมไทย (วรรณกรรมร่วมสมัย)

ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ียวกบั วรรณกรรมไทย

วรรณคดี

"วรรณคดี" ปรากฏอยูใ่ นหนังสือไทยเป็นครง้ั แรก
ในพระราชกฤษฎีกา

จดั ตง้ั วรรณคดีโมร ลงวนั ท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457

นิยามวรรณคดี

 วรรณคดีทว่ั ไป เป็นเร่ืองเลา่ หรือหนังสือท่ีแตง่ ข้ึน จะแตง่ ดีหรือไมด่ ี เป็นเร่ืองดีหรือเลว จะเป็นหนังสือของ
ชาติใดภาษาใด หรือยุคใดสมยั ใดก็ตาม

 วรรณคดีมีวรรณศิลป์ เป็นเร่ืองเลา่ หรือหนังสือท่ีแตง่ ข้ึนโดยมีลกั ษณะเดน่ ในเชิงประพนั ธ์ มีคา่ ทาง
อารมณแ์ ละความรูส้ ึกแกผ่ ูอ้ า่ น

 ลกั ษณะ สาคญั ของวรรณคดี คือ 1. รา้ งข้ึนโดยอาศยั จินตนาการ 2. สรา้ งข้ึนเพ่ือใหค้ วามร่ืนรมยเ์ ป็น
สาคญั 3. มีเคา้ โครงและสว่ นประกอบซ่ึงทงั้ ลกั ษณะและความสมั พนั ธต์ อ่ กนั มีแบบแผนทั่ีสงั เกตได้ 4. รัด
รึงตรึงใจผูฟ้ งั หรือผูอ้ า่ นดว้ ยความสามารถพิเศษในการใชถ้ อ้ ยคา

 "บทประพนั ธท์ ่ีเป็นวรรณคดีคือ บทประพนั ธม์ ุง่ ใหค้ วามเพลิดเพลิน ใหเ้ กิดความ สานึกคิด และอารมณต์ า่ งๆ
ตาม ผูเ้ ขียนนอกจากนั้นบทประพนั ธท์ ่ีเป็นวรรณคดีจะตอ้ งมีรูปศิลปะ

 "วรรณคดี" ไวว้ า่ "วรรณกรรมท่ีไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ แตง่ ดีมีคุณคา่ เชิงวรรณศิลป์ ถึงขนาด"

ใหน้ กั ศึกษาสรุปความ “นิยามวรรณคดี”
ดว้ ยภาษาของตวั เองตามขอ้ มูลท่ีใหม้ า

ขา้ งตน้

วรรณศลิ ป์ /นิยาม

****วรรณศิลป์ คือศิลปะในการแตง่ หนังสือหวั ใจของ ศิลปะ
ทง้ั หลายก็คือสุนทรียภาพ หรือความประณีตงดงาม ไดแ้ ก่ ความ
งามของภาษาความงามของ เน้ือเร่ือง ซ่ึงกลมกลืนกบั รูปแบบ
ความงาม ความมีสาระของขอ้ คิดเห็น หรือแนวคิดท่ีแทรกแฝงใน
เน้ือเร่ือง สว่ นความงามท่ี สาคญั ท่ีสุดของการสรา้ งวรรณกรรมก็
คือวิธีแตง่ วิธีแตง่ ท่ีสวยงามท่ีสุดก็คือ ความผสมผสานท่ีเขา้ กนั ได้
อยา่ งประณีต

คณุ ค่าวรรณศลิ ป์

1. ความนึกคิด วรรณกรรมท่ีดีจะตอ้ งประกอบไปดว้ ยความคิด
และ จินตนาการ ทงั้ สองอยา่ งน้ีตอ้ งสมดุลกนั เพราะหาก
วรรณกรรมท่ีประกอบไปดว้ ยความคิดเป็นหลกั น้ันจะ เป็นเร่ือง
ท่ีดูแหง้ แลง้ จืดชืด ไรส้ ีสนั แตห่ ากวรรณกรรมเร่ื องใดอบอวล
ไปดว้ ยจินตนาการโดย ปราศจากความคิด วรรณกรรมเร่ือง
นั้นจะดูฟ้งุ เพอ้ ฝนั มากเกินไป

คณุ คา่ วรรณศิลป์

2. ความสะเทือนใจ ไดแ้ ก่ อารมณร์ กั อารมณแ์ คน้
อารมณส์ ุข อารมณเ์ ศรา้ และ อารมณข์ นั เร่ืองท่ีขาด
ความสะเทือนในหรืออารมณต์ า่ ง ๆ ท่ีกลา่ วมาขา้ งตน้
นั้นก็ไมต่ า่ งอะไรกบั ร่างท่ี ไรว้ ิญญาณหรือกระดาษ
เปลา่

คณุ คา่ วรรณศิลป์

3. การแสดงออก ถือเป็นการนาสารจากผูเ้ ขียนไป
ยงั ผูอ้ า่ น ฉะนั้น ความสามารถในการแสดงออก
หรือการส่ือสารกบั ผูอ้ า่ น เป็นส่ิงท่ีผูเ้ ขียนพึงมี ผูเ้ ขียน
ตอ้ งทราบวา่ ทาอยา่ งไรผูอ้ า่ นจึงจะคลอ้ ยตาม เช่ือ
ตาม และติดตามสารหรือเน้ือเร่ืองน้ัน โดยการแสดง
ใหเ้ ห็นนิสยั ใจคอและบุคลิกภาพของตวั ละคร การ
แสดงใหเ้ ห็นความเคล่ือนไหวของตวั ละคร เป็นตน้

คณุ ค่าวรรณศิลป์

4. องคป์ ระกอบ เสมือนการตกแตง่ จดั วางส่ิงของตา่ ง ๆ
ใหส้ วยงาม เม่ือเปรียบกบั การเขยี นองคป์ ระกอบจะ
หมายถึงทิศทางของเร่ือง สานวนภาษา ผูเ้ ขียนควรจดั
วางอยา่ ง เหมาะสม เชน่ การเขียนเร่ืองสนั้ หน่ึงเร่ือง
ผูเ้ ขียนควรสรา้ งตวั ละครไมม่ ากจนเกินไป เหตุการณใ์ น
เร่ืองไมซ่ บั ซอ้ น สถานท่ีสอดคลอ้ งกบั เหตุการณ์

คณุ คา่ วรรณศลิ ป์

5. ทว่ งทา่ ท่ีแสดง คือความโดดเดน่ ของผูเ้ ขียนแต่
ละคน และแตกตา่ งไปจากผูเ้ ขียน คนอ่ืน ๆ ใน
ท่ีน้ีอาจหมายถึงวิสยั ทศั น์ ลีลา สานวนโวหาร
และทกั ษะในการเขียน โดยทว่ั ไปแลว้ ผูเ้ ขียนมกั
สรา้ งอตั ลกั ษณใ์ หต้ นเองอยูเ่ สมอ

คณุ คา่ วรรณศลิ ป์

6. เทคนิค คือความสามารถในการเรียบเรียงเร่ืองราว
อยา่ งเป็นระบบ ทาให้ ผูอ้ า่ นนใจและติดตาม บางคร้งั ท่ี
อา่ นวรรณกรรมจะพบวา่ วรรณกรรมบางเร่ืองไมน่ ่าในใจ
แตผ่ ูเ้ ขียน ในเทคนิคในการนาเสนอท่ีดี จะชว่ ยเสริมให้
วรรณกรรมมีความน่าสนใจมากข้ึน

คาถาม

วรรณศิลป์ สาคญั ตอ่ วรรณกรรมอยา่ งไร

วรรณกรรม/นยิ าม

วรรณกรรม น้ันหมายถึง ส่ิงท่ีเขียนข้ึนทง้ั หมดไมว่ า่ จะเป็นรูปใด
หรือเพ่ือความมุง่ หมายใด เชน่ คาอธิบายวิธีใชก้ ลอ้ งถา่ ยรูป
รวมทง้ั ใบปลิว หนังสือพิมพ์ นวนิยายก็ลว้ นแลว้ แตเ่ รียกวา่
“วรรณกรรม” วรรณกรรมจึงมีความหมายอยา่ งกวา้ งท่ีสุด
วรรณกรรมท่ีแตง่ ดี ไดร้ บั ยกยอ่ งจากคนทว่ั ไปจึงจะเรียกวา่
วรรณคดี คุณสมบตั ิท่ีทาใหว้ รรณกรรมและวรรณคดีตา่ งก็คือ
วรรณศิลป์ หรือ ศิลปะแหง่ การเรียบเรียง

วรรณกรรม/นิยาม

"วรรณกรรม หมายถึง งานเขยี นทุกชนิด" และไดข้ ยายความเพ่ิมเติมอีกวา่
วรรณกรรม หมายถึง งานเขยี นในรูปบทกวีนิพนธ์ รอ้ ยกรองและ ขอ้ เขียน
ทง้ั หมดท่ีใชภ้ าษารอ้ ยแกว้ โดยมีเน้ือหาและความหมายประกอบดว้ ย ไดแ้ ก่
บทความ สารคดี นวนิยาย เร่ืองสน้ั เรียงความ บทละคร บทภาพยนตร์ บท
โทรทศั น์ คอลมั น์ตา่ งๆในหนงั สือพิมพ์ ตลอดจนขอ้ เขียนอ่ืนๆ ซ่ึงมีเน้ือหา
และความหมายเป็นท่ีเขา้ ใจได้ ส่ือความหมายได้

วรรณกรรม/นยิ าม

วรรณกรรม คือ งานสรา้ งสรรคท์ างศิลปะท่ีใชภ้ าษาเป็นส่ือกลาง ไมว่ า่ จะ
มีเน้ือหาแบบใดก็ตาม มีขอบเขตถึงงานเขยี นทุกชนิด เชน่ วรรณคดี
นวนิยาย เร่ืองนั้ บทความ รวมถึงวรรณกรรมท่ีเลา่ สืบตอ่ กนั มาดว้ ยปาก
เชน่ นิทานพ้ืนบา้ น บทเพลงตา่ งๆ

วรรณกรรม/นยิ าม

วรรณกรรม คือ ภาษาศิลป์ ท่ีสรา้ งจินตนาการ
ใหอ้ ารมณ์ ใหค้ วามรูแ้ ละใหค้ วามเพลิดเพลิน
วรรณกรรมไมค่ วรจะเป็นงานเขียนเฉยๆ แตค่ วร
จะเป็นงานเขยี นท่ีมี ศิลปะปนอยูด่ ว้ ย

คาถาม
วรรณกรรม ?

วรรณกรรมปัจจบุ นั

1.1 วรรณกรรมประเภทตา่ งๆ เชน่ สารคดี นวนิยาย เร่ืองสนั้ รอ้ ยกรอง
บทละคร และ บทวิจารณว์ รรณกรรม
1.2 กลวิธีในการแตง่ (เน้ือเร่ือง ทศั นะในการสรา้ งเคา้ โครงเร่ือง การสรา้ ง
ตวั ละคร ฉาก )
1.3 แนวคิดและปรชั ญาในการแตง่

****ถา้ จะใชเ้ วลาเป็นเคร่ืองกาหนดความเป็นปัจจุบนั ก็อาจจะตอ้ งนบั ทวนถอยหลงั ข้ึนไปจาก ตอนน้ี
โดยประมาณทุกรอบ 10 ปี

วรรณกรรมรว่ มสมยั

1.เป็นวรรณกรรมท่ีเขียนข้ึนในชว่ งเวลาใกลเ้ คียงกนั หมายความวา่
ชว่ งเวลาของผูเ้ ขียน และผูอ้ า่ น หรืออาจหมายถึงชว่ งเวลาท่ี
วรรณกรรมเกิดข้ึน ซ่ึงอาจนับไดว้ า่ แตล่ ะชว่ งควรมีระยะเวลา
ประมาณก่ีปี โดยทว่ั ไปมกั กาหนดระยะเวลาตงั้ แต่ 10 -15 ปี เชน่
วรรณกรรมเร่ืองอิเหนา สามกก๊ และราชาธิราช ก็นับเป็น
วรรณกรรมรว่ มสมยั เพราะเกิดในระยะใกลก้ นั

วรรณกรรมรว่ มสมยั

2. เป็นวรรณกรรมท่ีมีแนวความคิดร่วมกนั หรือเป็นไปในทาง
เดียวกนั หมายความวา่ เป็นแนวความคิดของวรรณกรรมท่ี
เหมือนกนั หรือร่วมแนวเดียวกนั ซ่ึงอาจปรากฏไดแ้ มต้ า่ ง
สมยั กนั เชน่ แนวคิดเร่ือง สวรรค์ และนรก ในสมยั สุโขทยั
กบั สมยั รตั นโ์ กสินทร์ เป็นตน้

วรรณกรรมรว่ มสมยั

3. เป็นวรรณกรรมท่ีสรา้ งผลกระทบในทาง
สรา้ งสรรคแ์ กผ่ ูอ้ า่ น

วรรณกรรมรว่ มสมยั

4. ลกั ษณะของวรรณกรรม สาหรับวรรณกรรมร่วมสมยั ของไทย อาจพิจารณาจาก
ลกั ษณะท่ีเปล่ียนไปจากเดิม ไดแ้ ก่

*วรรณกรรมประเภทตา่ ง ๆ เชน่ สารคดี นวนิยาย เร่ืองสนั้ รอ้ ยกรอง บทละคร
และบทวิจารณว์ รรณกรรม

*กลวิธีการแตง่ เชน่ เน้ือเร่ือง ทศั นะในการสรา้ งเคา้ โครงเร่ือง แกน่ เร่ือง การ
สรา้ งตวั ละคร

*แนวคิดและปรัชญาในการแตง่

คาถาม

วรรณกรรมปัจจุบนั กบั วรรณกรรมร่วมสมยั
ตา่ งกนั อยา่ งไร

ประเภทของวรรณกรรมไทย

1. วรรณกรรมประเภทรอ้ ยแกว้
2. วรรณกรรมประเภทรอ้ ยกรอง

1. วรรณกรรมประเภทรอ้ ยแกว้

สารคดี
บนั เทิงคดี

สารคดี

สารคดี คือ วรรณกรรมท่ีมีเน้ือหาาระ ท่ีมุง่ จะใหค้ วามรู้ ความคิด ความจริง
บางอยา่ งแกผ่ ูอ้ า่ น อาจเขียนเชิงอธิบาย เชิงวิจารณ์

เชิงแนะนา ผูอ้ า่ นอาจไดร้ ับ ความบนั เทิงจากการอา่ นดว้ ยแตเ่ ป็นความบนั เทิงดา้ นภูมิ
ปญั ญา ดงั น้ัน ในการเขียนสารคดีจึงมีการให้ เหตุผลและหลกั ฐานเขา้ มาประกอบการ

เขียนสารคดี

ความเรียง เป็นงานเขียนท่ีถา่ ยทอด ความรู้ ความคิด ซ่ึงไดจ้ าก ประบการณห์ รือการคน้ ควา้ ใหแ้ งค่ ิดเชิงปรชั ญาเก่ยี วกบั โลกและชีวิต บางคร้ังมีผูเ้รียกวา่ “สารคดี วิชาการ”
บทความ เป็นงานเขียนท่ีแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือความรูส้ ึก ของผูเ้ขียนตอ่ ภาพแวดลอ้ มทาสงั คม
สารคดีทอ่ งเท่ียว เป็นงานเขียนท่ีถา่ ยทอดประบการณจ์ าก การทอ่ งเท่ียวสูผ่ ูอ้ า่ น โดยมุง่ ท่ีจะใหค้ วามรูแ้ กผ่ ูอ้ า่ นและความเพลิดเพลินดว้ ย
สารคดีชีวประวตั ิ เป็นงานเขียนท่ีกลา่ วถงึ ประวตั ิชีวิตของบุคคล แตไ่ มใ่ ชป่ ระวตั ิศาตรแ์ ละนิยาย
อนุทิน เป็นการจดบนั ทึกประจาวนั เก่ยี วกบั เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึน ในชีวิตพรอ้ มความคิดเห็นของผูจ้ ดบนั ทึก โดยมีจุดมุง่ หมายเพ่ือเตือนความจา
จดหมายเหตุ เป็นบนั ทึกเหตุการณ์ สาคญั ทางประวตั ิศาตร์ ของหน่วยงาน สว่ นราชการหรือองคก์ รตา่ งๆ เพ่ือเป็นหลกั ฐานเชงิ ประวตั ิเหตุการณข์ องชาติ หรือ ถาบนั

บนั เทงิ คดี

บนั เทิงคดี (เร่ืองสมมุติ) เป็นงานเขียนท่ีมุง่ ใหผ้ ูอ้ า่ น ไดร้ ับความ เพลิดเพลินเป็นหลกั
อาจเพ่ิมเติมดว้ ยความรูอ้ ่ืนๆหรือคตินิยม เร่ืองสอนใจ ฯลฯ

นวนิยาย เป็นการผูกเร่ืองราวเก่ยี วกบั ชีวิตและพฤติกรรมของมนุษย์ ในลกั ษณะท่สี มจริงและอาจเกิดข้ึนไดใ้ นชีวิตจริง ในลกั ษณะจาลองภาพชีวิตขอ
สงั คมสว่ นใดสว่ น หน่ึงท่มี จี ดุ มงุ่ หมายใหค้ วามบนั เทิงใจแกผ่ ูอ้ า่ น
เร่ืองสนั้ เป็นงานเขียนท่มี ีลกั ษณะเดียวกบั นวนิยายแตม่ ขี นาดสนั้ กวา่ จะเสนอพฤติกรรมหรือเหตกุ ารณม์ าใดมุมหน่ึงของชีวิต หรือเหตกุ ารณห์ น่ึง
หรือชว่ งชีวิตหน่ึง เทา่ นนั้ เพ่ือใหเ้ กิดความสะเทือนใจแกผ่ ูอ้ า่ น
บทละคร เป็นงานเขยี นท่ผี ูกเร่ืองราวข้ึนจากพฤติกรรมของมนุษย์ เชน่ เดียวกบั นวนิยายและเร่ืองสนั้ แตจ่ ดุ มงุ่ หมายในการเขยี นตา่ งกนั บทละคร
เขียนข้ึนเพ่ือนาไปแสดง บทละครครอบคลมุ ไปถึง บทละครวิทยุ บทละครโทรทศั นบ์ ทละครเวทีและบทภาพยนตร์

คาถาม

สารคดีและบนั เทิงคดีตา่ งกนั อยา่ งไร

2. วรรณกรรมประเภทรอ้ ยกรอง

รอ้ ยกรองตามฉันทลกั ษณเ์ ดิม แมก้ ารเขียนรอ้ ยกรองตามฉันทลกั ษณเ์ ดิม ประกอบ ดว้ ยคาประพนั ธ์ โคลง
ฉันท์ กาพย์ กลอนร่าย จะยงั คงมีอยู่ แตม่ ีขนาดสน้ั ลง และเนน้ "ขอ้ คิด" หรือ "ความคิด" มากข้ึน ความนิยมใน
การตกแตง่ ถอ้ ยคาดว้ ยความประณีตบรรจง เพ่ือความไพเราะอยา่ ง กวีในยคุ เดิมลดลง และมีความสาคญั รอง
จากความคิด แมจ้ ะมีกวีในปัจจุบนั บางกลุม่ ใชร้ อ้ ยกรองรูป แบบเดิม แตจ่ ะไมเ่ คร่งครัดในฉันทลกั ษณต์ ามแบบ
แผนมากนัก การใชถ้ อ้ ยคามีลกั ษณะกรา้ วแกร่ง มากข้ึน จนบางคร้งั ถึงขนั้ กา้ วรา้ วก็มี
รอ้ ยกรองตามฉันทลกั ษณท์ ่ีกาหนดใหม่ โดยฉันทลกั ษณท์ ่ีกาหนดข้ึนใหมส่ ว่ นใหญจ่ ะ ยึดหลกั ความเรียบงา่ ย
ชดั เจนและมีกรอบเพียงเล็กนอ้ ย ทงั้ น้ีเพ่ือส่ือความคิดมากกวา่ ความไพเราะ รอ้ ยกรองรูปแบบใหมน่ ้นั มีทง้ั ท่ีเป็น
"กลอนเปลา่ " หรือกลอนปลอดสมั ผสั ไปจนถึง รอ้ ยกรองแบบ "รูปธรรม" หรือ "วรรณรูป" ซ่ึงมีวิธีการแตง่ โดย
การจดั วางถอ้ ยคา หรือขอ้ ความเป็นภาพ ซ่ึงกวีกลุม่ น้ีเช่ือวา่ การส่ือความคิดโดยผา่ น "ภาพ" จะชว่ ยใหผ้ ูอ้ า่ น
เขา้ ใจ ความคิดของผูแ้ ตง่ ชดั เจนข้ึน

วรรณรูป เป็นการผสมผสาน
งานทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) กบั
วรรณศิลป์ (วรรณกรรม)

คณุ ค่าของวรรณกรรม

สง่ เสริมการเรียนรูแ้ ละฝึกทกั ษะ การอา่ นวรรณกรรมเป็นการปลูกฝังนิสยั รกั การอา่ นสง่ เสริมการเรียนรูภ้ าษา
และเปิดโอกาใหฝ้ ึกทกั ษะการอา่ นในเวลาเดียวกนั นอกจากน้ียงั เป็นการใช้ เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชนอ์ ีกดว้ ย
ใหค้ วามบนั เทิงใจ วรรณกรรมเป็นเคร่ืองมือหน่ึงท่ีใหค้ วามเพลิดเพลิน
ประเทืองปัญญา การใหแ้ งค่ ิด ประสบการณจ์ าลองของชีวิตในแงม่ ุมตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นชีวิตท่ีเพียบพรอ้ ม
สมบูรณ์ ชีวิตท่ีตกอบั ยากแคน้ อาภพั โชครา้ ย ฯลฯ อีกทง้ั ใหม้ โนทศั นต์ า่ ง ๆ เก่ียวกบั วิถีชีวิตของ มนุษยใ์ น
สงั คม
สะทอ้ นปรากฏการณต์ า่ งๆถึงกฎเกณฑท์ างสงั คม อนั ไดแ้ ก่ ศีลธรรม กรอบแนวคิด จารีต และธรรมเนียมนิยม
ตา่ ง ๆ
การนาเสนอมโนทศั น์การเปล่ียนแปลงทางสงั คม วรรณกรรมไดน้ าเอาแนวคิดร่วมของพลวตั ของสงั คมท่ีไมห่ ยดุ
น่ ิ ง

งานชิน้ ท่ี 1

วรรณรูป เป็นการผสมผสานงานทศั นศิลป์ (จิตรกรรม) กบั วรรณศิลป์ (วรรณกรรม)

ใหน้ กั ศึกษาสรา้ ง “วรรณรูป” ในหวั ขอ้ คาคมคติเตือนใจ/สง่ เสริมคุณธรรม

1.กลุม่ ละ 5 คน
2.วรรณรูปขนาดกระดาษA4
3.ดว้ ยวิธีการวาดและระบายสีแลว้ แสกนพร้ินสีหรือขาวดาตามความเหมาะสม/หรือใชโ้ ปรแกรม

คอมพิวเตอรอ์ อกแบบ/


Click to View FlipBook Version