รายงานการวจิ ัยในช้นั เรยี น
เรือ่ ง ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
ดว้ ยการเรยี นรู้แบบกระบวนการกลุม่
ในชั้นเรียน
ของนักเรียนระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
ผวู้ จิ ัย
นายรัชภมู ิ อยกู่ าเหนิด
ตาแหน่ง ครูวทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ
โรงเรยี นเทศบาล ๓ (เทศบาลสงเคราะห์)
สังกัดเทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
ชือ่ งานวิจัย ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ด้วยการเรียนรแู้ บบกระบวนการกลมุ่ ในชัน้ เรยี น
ของนักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1
ช่ือผู้วิจัย นายรชั ภมู ิ อยู่กาเหนดิ
ตาแหน่ง ครวู ิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ
ปที ท่ี าวจิ ัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
บทคัดยอ่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้วยการเรียนรู้แบบ
กระบวนการกลุ่มในชั้นเรียน เร่ือง หน่วยของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2
ปีการศึกษา 2564 จานวนกลุ่มเป้าหมาย 25 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบ
กระบวนการกลุ่ม เรือ่ งหน่วยของส่งิ มีชีวิตและแบบทดสอบหลงั เรยี น ผลการวจิ ยั พบว่านักเรียน จานวน 22 คน
หรือร้อยละ 73.33 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเกินเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ส่วนอีก 8 คน หรือร้อยละ 26.67
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ และพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีการร่วมมือกันในกลุ่มเพ่ือช่วยกันคิด
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น และสรุปผลในกิจกรรมต่างๆ เป็นอย่างดี ซ่ึงกระบวนการกลุ่มช่วยให้นักเรียน
เกิดกระบวนการคิดอย่างมรี ะบบมากยิ่งขนึ้
ความสาคญั และความเปน็ มาของปัญหา
จากปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ยังอยู่
ในระดับท่ีไม่เป็นที่น่าพอใจ คือ มีระดับคะแนนต่ากว่าเกณฑ์ (ร้อยละ 70 ) เนื่องจากปัจจัยหลายอย่างด้วยกัน
ทีส่ ่งผลกระทบต่อการจัดการเรยี นการสอน
ด้วยเหตุนี้เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าจึงได้ทาการวิจัยในช้ันเรียนเพื่อมุ่งเน้นให้
นักเรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ได้มกี ารพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ
กระบวนการกลุ่มมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ซึ่งจะช่วยเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิต่อการเรียนเน้นฝึกปฏิบัติและใช้ความคิด
ร่วมกันด้วยกระบวนการกลุ่ม เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในด้านเนื้อหาและทักษะ
การปฏิบัติงาน ผู้วิจัยเห็นถึงปัญหาและประโยชน์ในอนาคตทางการศึกษาจึงได้ทาวิจัยเรื่องนี้ เพื่อประโยชน์
สาหรับการศกึ ษาตอ่ ไป
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ด้วยการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มในชั้นเรียน
ของนักเรยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
สมมตุ ฐิ าน
การเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มในช้ันเรียน ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
ของนกั เรียนระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง หน่วยของสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 มคี ่าระดับคะแนนไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 70
2. นักเรียนในกลุ่มที่ทาการวิจัยมีปฏิสัมพันธ์เพื่อช่วยกันทางานกลุ่มในช้ันเรียนก่อให้เกิดทักษะ
การร่วมคดิ และสรุปผล
3. นกั เรยี นมีความสนใจและมคี วามตั้งใจในการเรียนมากข้นึ
ขอบเขตของการวิจัย
กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวน 30 คน
ตวั แปร ตวั แปรต้น คอื การเรยี นรูแ้ บบกระบวนการกลุ่มในช้ันเรยี น
ตัวแปรตาม คือ ผลสมั ฤทธิใ์ นการเรยี นรู้ เรื่อง หนว่ ยของสิ่งมีชีวติ
เนอ้ื หา เรอ่ื ง หน่วยของสิ่งมชี ีวติ ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
ระยะเวลา จานวน 8 ชว่ั โมง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
เอกสารประกอบการวิจัย
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง หน่วยของสงิ่ มชี ีวิต ในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1
2. กิจกรรมการเรยี นรู้ เร่ือง หนว่ ยของสง่ิ มชี ีวิต
3. แบบทดสอบหลงั เรียน เรอื่ ง หน่วยของสงิ่ มชี ีวติ
นยิ ามศพั ท์
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Learning Achievement)
หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้หรือผลความสาเร็จท่ีได้จากกิจกรรมการเรียนการสอน วัดได้จาก
คะแนนในการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างข้ึนตามเน้ือหาและจุดประสงค์การเรียนรู้
ในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ โดยวัดความสามารถดงั ต่อไปนี้
1) ด้านความรู้ ความจา หมายถึง ความสามารถในการจดจา และระลึกเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
หลกั การและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ออกมาได้ถกู ต้องแม่นยา
2) ด้านความเขา้ ใจ หมายถึง ความสามารถในการอธบิ าย บ่งบอกใจความสาคัญโดยการแปรความ
ตีความได้ สรุปใจความสาคัญเกย่ี วกับข้อเทจ็ จรงิ หลกั การและทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์ได้
3) ด้านการนาไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการนาหลักการ กฎเกณฑ์และวิธีดาเนินการต่างๆ
ทางวทิ ยาศาสตรท์ ไ่ี ดเ้ รยี นรูม้ า ไปใชแ้ ก้ปัญหาในสถานการณใ์ หม่ได้
4) ด้านการวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในเรื่องราวสิ่งต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อยที่เป็น
องค์ประกอบสาคัญได้ เข้าใจความหมายแฝงและมองเหน็ ความสาพันธข์ องส่วนท่ีเกย่ี วข้องกนั
2. เทคนคิ การสอนโดยใชก้ ระบวนการกล่มุ
หมายถึง กลวิธีท่ีครูใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไปตามลาดับต่อเน่ืองกันให้ได้มาซึ่ง
การรวมตัวกันเป็นกลุ่มของนักเรียนและการดาเนินกิจกรรมของกลุ่มนักเรียนเพ่ือช่วยให้นักเรียนเกิดการ
เรยี นรู้เนื้อหาสาระตามวัตถปุ ระสงค์ องคป์ ระกอบของกล่มุ มีดังน้ี
1) ผู้นา คือ ผู้ที่ทาหน้าท่ีเป็นผู้นากลุ่มให้สามารถทางานจนบรรลุเป้าหมายของกลุ่มได้ ส่วนหน่ึง
ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถของผูน้ า หากกลุ่มใดมีผู้นาทด่ี ีกล่มุ น้นั กย็ อ่ มมีโอกาสประสบความสาเรจ็
2) สมาชิกกลุ่ม สาหรบั สมาชกิ กลมุ่ ท่ีดนี ้ันจาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตน
โดยรู้ว่าตนเองควรทาอะไรท่ีจะช่วยอานวยใหก้ ารทางานเปน็ ทีมจนบรรลผุ ลสาเร็จได้
3) กระบวนการทางาน คือ วิธีท่ีกลุ่มใช้ในการทางาน ผลงานของกลุ่มจะออกมาดีมากน้อยเพียงใด
ข้ึนอยู่กับวิธีและขั้นตอนท่ีกลุ่มใช้ในการทางานด้วย หากกลุ่มใช้วิธีการทางานที่เหมาะสมกับ
ลักษณะของงาน ผลงานก็มักจะมีคุณภาพตามไปดว้ ย
งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง
1. ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษา
ปที ่ี 2 (สมวาท โพธิ์กฎ : 2552)
โดยสรปุ แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูด้ ้วยกล่มุ รว่ มมอื แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีประสิทธิภาพเหมาะสม ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีทักษะ
การเรียนรู้กลุ่มร่วมมือและให้ความร่วมมือในการเรียนดีข้ึน สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา
คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ จึงควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูนาแผนนี้ไปใช้
ในการจัดการเรียนการสอนกล่มุ สาระการเรียนรอู้ ่นื ต่อไป
2. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ด้วยกลุ่ม
ร่วมมือ แบบ STAD (จิระนนั ท์ ไตรแสง: 2551)
โดยสรุป แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ
STAD ส่งผลให้นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะด้วยการอ่านเชิงวิเคราะห์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จงึ เหมาะในการทจี่ ะนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลของนักเรียน
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ดว้ ยเทคนิค STAD (สกุ ญั ญา พทิ ักษ์: 2554)
โดยสรุป นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์
และความสามารถในการคิดอยา่ งมเี หตผุ ลไม่แตกต่างกัน
วิธกี ารดาเนนิ การ
การวิจัยในคร้งั น้ี ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการตามลาดบั ดงั น้ี
1. กลมุ่ เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล ๓
(เทศบาลสงเคราะห)์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 30 คน
2. เครอ่ื งมือวจิ ัย
แผนการจัดการเรียนรู้และใบงานกจิ กรรม วิชาวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง หน่วยของสง่ิ มชี วี ติ
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ดาเนินการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มในชั้นเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
4. การวิเคราะห์ข้อมลู
วิเคราะห์คะแนนและร้อยละของคะแนนท่ีได้จากแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
เทียบกับเกณฑ์ท่ีได้กาหนดไว้ คือ รอ้ ยละ 70
ผลการวิจยั
จากการดาเนินการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง หน่วยของส่ิงมีชีวิต ด้วยการเรียนรู้
แบบกระบวนการกลุ่มในช้ันเรียนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
จานวน 30 คน เสร็จส้ินแล้วให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
ซ่งึ สรปุ ผลการบันทกึ คะแนนไดใ้ นตารางดงั ต่อไปนี้
ตารางคะแนนจากการทาแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง หน่วยของสิ่งมีชวี ิต จานวน 25 คน
ด้วยการเรียนรู้แบบกระบวนการกลมุ่ ในช้ันเรยี น
คะแนนที่ได้ คิดเปน็ รอ้ ยละ จานวนนกั เรยี น ความถี่สะสม คดิ เป็นรอ้ ยละ
(ข้อ) (คน) (คน)
10 100.00 1 1 3.33
9 90.00 5 6 20.00
8 80.00 4 10 33.33
7 70.00 11 21 70.00
6 60.00 6 27 90.00
5 50.00 3 30 100.00
รวม - 30 - -
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
สรปุ ผลการวิจยั
1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง หน่วยของส่ิงมีชีวิต สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70
จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 73.33
2. นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย มีการร่วมมือกันในกลุ่มเพื่อช่วยกันคิด วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น
และสรปุ ผลในกิจกรรมตา่ งๆ เปน็ อยา่ งดี ซง่ึ กระบวนการกลมุ่ ชว่ ยใหน้ กั เรยี นเกดิ การคิดอย่างมรี ะบบข้ึน
3. จากการวิจัยพบว่า การดาเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มในช้ันเรียน
ชว่ ยพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี นดขี น้ึ
ข้อเสนอแนะจากผลการวจิ ัย
1. จากผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตา่ กวา่ เกณฑ์ ซง่ึ นักเรียนกลุ่มน้ีควรได้รับการพัฒนาด้วยเทคนิควิธีอื่นๆต่อไป
เพื่อใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทด่ี ขี น้ึ
2. ในระหว่างดาเนินการเรียนการสอน ครูผู้สอนควรหาโอกาสสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม
ในเร่ืองความรับผดิ ชอบ ความซ่ือสัตย์ ตลอดจนสร้างเจตคติทดี่ ีต่อวิชาวทิ ยาศาสตรใ์ หก้ ับนกั เรียนด้วย
แบบทดสอบหลงั เรยี น เรือ่ ง หนว่ ยของสงิ่ มีชีวิต
เอกสารประกอบการจัดการเรียนร้วู ชิ าวิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2564
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ครูผูส้ อน : นายรชั ภมู ิ อยู่กาเหนิด
คาชแ้ี จง 1. ข้อสอบมีท้งั หมด 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ให้นกั เรยี นกากบาทเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดียวลงในกระดาษคาตอบ
1. สิ่งมชี ีวติ ทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยทเี่ ลก็ ที่สดุ เรยี กว่าอะไร
ก. เซลล์ ข. แวควิ โอล ค. นิวเคลยี ส ง. อวัยวะ
2. สิง่ มีชีวติ ในขอ้ ใด เป็นสงิ่ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว
ก. พยาธิ ข. ไฮดรา ค. แมงกะพรนุ ง. พารามเี ซยี ม
3. อะมบี า เคล่ือนท่อี ย่างไร
ก. เทา้ เทยี ม ข. แส้ ค. ใชข้ น ง. ถูกทุกข้อ
4. หนา้ ท่ีสาคญั ของนวิ เคลยี สคือข้อใด
ก. ควบคมุ การแลกเปลี่ยนสารภายในเซลล์ ข. เป็นโครงสร้างที่ทาใหเ้ ซลล์แขง็ แรงและคงรปู อยู่ได้
ค. ควบคุมการทางานของเซลล์ ง. กักเก็บของเสียภายในเซลล์
5. ส่วนประกอบในข้อใดพบแตใ่ นเซลลพ์ ชื
ก. นิวเคลียส ข. ไซโทรพลาซมึ ค. เยือ่ หมุ้ เซลล์ ง. คลอโรพลาสต์
6. เซลล์ชนิดใดมีอยใู่ นพืชทุกชนิด
ก. เซลลค์ มุ ข. เซลล์กลา้ มเนอ้ื ค. เซลลเ์ มด็ เลือดแดง ง. เซลลป์ ระสาท
7. ส่งิ ใดเปน็ เกณฑใ์ นการจาแนกสิง่ มชี ีวติ เซลล์เดยี วกบั สิ่งมีชีวติ หลายเซลล์
ก. จานวนเซลล์ ข. ขนาดของเซลล์ ค. รูปร่างของเซลล์ ง. ส่วนประกอบของเซลล์
8. เซลล์ในข้อใดแตกต่างจากเซลล์ในข้ออืน่ ๆคือ ไมม่ นี วิ เคลียส
ก. เซลล์อะมีบา ข. เซลล์กลา้ มเนอ้ื ค. เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง ง. เซลลป์ ระสาท
9. เซลล์ของส่ิงมชี วี ติ ทุกชนิดมีส่วนประกอบพนื้ ฐานเหมือนกันตามข้อใด
ก. ผนังเซลล์ ไซโทพลาซึม นวิ เคลยี ส
ข. เยอ่ื หมุ้ เซลล์ โครโมโซม นวิ เคลยี ส
ค. เยื่อหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นิวเคลียส
ง. ผนังเซลล์ โครโมโซม นวิ เคลียส
10. ส่วนประกอบใดของเซลลท์ ีม่ ีลักษณะเปน็ เยอ่ื บางๆ ทาหน้าท่คี วบคมุ ปริมาณและชนดิ ของสาร
ที่ผา่ นเข้าออกจากเซลล์
ก. คลอโรพลาสต์
ข. ไซโทพลาซึม
ค. เยอ่ื หุ้มเซลล์
ง. ผนังเซลล์
**********************************
ภาพการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการกลมุ่ ในชั้นเรยี น