The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการปี64ตำบลลาดบัวขาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paiinlove-you, 2021-09-09 02:48:50

แผนปฏิบัติการปี64ตำบลลาดบัวขาว

แผนปฏิบัติการปี64ตำบลลาดบัวขาว

1
แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทีร่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

2
แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทีร่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

3

คำนำ

แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลลาดบัวขาว จัดทำข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (ไตรมาส 3-4) โดยยึดแนวทางตาม
ยทุ ธศาสตร์และจดุ เน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปงี บประมาณ
2564 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดราชบุรี และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอบ้านโป่ง ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เพื่อกำหนดเป็นแนวปฏิบัติ และ
แนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลลาดบัวขาว ให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ การ
จัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลลาดบัวขาว ประจำปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส 3-4) เล่มน้ี สำเร็จ
ลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เก่ียวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพ
ปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึก ษา
ตามอัธยาศยั ของ กศน.ตำบลลาดบวั ขาว เพ่อื สนองตอบความต้องการของประชาชนในพืน้ ท่อี ยา่ งแท้จรงิ

คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลลาดบัวขาว ประจำปีงบประมาณ
2564(ไตรมาส 3-4) เล่มน้ี จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย
ตลอดจนเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ประชาชน ชมุ ชน สังคม และประเทศชาตติ อ่ ไป

กศน.ตำบลลาดบัวขาว
พฤษภาคม 2564

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

4

สารบัญ

เร่อื ง หนา้

ส่วนที่ 1 1
ข้อมลู พืน้ ฐาน กศน.ตำบลลาดบวั ขาว 12
สว่ นที่ 2
ขอ้ มลู พ้นื ฐานเพ่ือการวางแผน 22
สภาพทางสงั คม – ประชากร 27
สภาพทางเศรษฐกจิ
แหล่งวทิ ยาการชุมชน และทุนด้านงบประมาณท่ีสามารถนามาใชป้ ระโยชนเ์ พื่อการจดั การศึกษา
ส่วนท่ี 3
การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม กศน.ตำบลลาดบวั ขาว/ แขวง (SWOT Analysis)
สว่ นที่ 4
แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ
กศน.ตำบลลาดบวั ขาว
ภาคผนวก
ผูจ้ ัดทำ

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

5

สว่ นที่ 1
ขอ้ มลู พื้นฐาน กศน.ตำบลลาดบัวขาว

1. สภาพทางกายภาพของชุมชน ตำบลลาดบวั ขาว
1.1 ชื่อ : กศน.ตำบลลาดบัวขาว
1.2 สังกัด

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านโป่ง สำนักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ประวัติความเปน็ มา กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

กศน.ตำบลลาดบัวขาว ได้เปลยี่ นชื่อจากศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนมาเปน็ กศน.ตำบลลาดบัวขาว เม่ือ
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2553 ทาง กศน.ตำบลลาดบัวขาวได้ดำเนินการทำพิธีเปิด กศน.ตำบลลาดบัวขาว
อยา่ งเปน็ ทางการ และจดั โครงการฝกึ อบรมเชิงปฏิบัติการ “สง่ เสริมดา้ นอาชพี และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น

ในการน้ีได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ท้ัง คณะครูและเจ้าหน้าที่ กศน.อำเภอบ้านโป่ง
ส่วนราชการในตำบลลาดบัวขาวและบุคคลที่สำคัญในตำบลลาดบัวขาวรวมทั้ง นักศึกษา กศน. ตำบลลาด
บัวขาว ประชาชนในตำบลลาดบัวขาวเป็นอย่างดีและมีกิจกรรมต่าง ๆ มากมายอาทิเช่น กิจกรรมรักการ
อ่าน กิจกรรมนวดแผนไทย กิจกรรมส่งเสริมสขุ ภาพ กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง และกิจกรรมกลุ่มอาชีพ
ของตำบลลาดบัวขาวและมีผู้ดูแล กศน.ตำบลลาดบัวขาวคือ ว่าท่ีร้อยตรีวินัย สุนทรมัจฉะ ทำหน้าที่ครู
ประจำ กศน. ตำบลลาดบัวขาว
สถานท่ตี ั้ง กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

ต้งั อยู่ภายในวดั ลาดบวั ขาว หมู่ 4 ตำบลลาดบัวขาว
อำเภอบ้านโปง่ จงั หวดั ราชบรุ ี
หมายเลขโทรศพั ท์ 092-4956445
หมายเลขโทรสาร 032-211116

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

6

แผนท่ีเดินทางโดยสังเขป กศน.ตำบลลาดบัวขาว อำเภอบา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบุรี

ถนนสายลูกแก-ห้วยกระบอกกระ

วัดลาดบวั ขาว แม่ ้นำแม่กลอง วดั หนองกลางด่าน
กศน.ลาดบวั ขาว ไปจังหวัดกาญจนบุรี วัดหนองเสอื

ถนนสายเขาง-ู เบกิ ไพร ไปจงั หวัดนครปฐม
สภ. อำเภอบา้ นโป่ง
ท่ที ำการอำเภอบ้านโปง่
ท่ีทำการเทศบาลเมอื งบ้านโป่ง

หอนาฬิกา โรงเรยี นวดั ดอนตมู
นาฬกิ า

ทตี่ ั้ง กศน.ตำลาดบวั ขาว
ตง้ั อยู่ที่ วดั ลาดบัวขาว หมทู่ ี่ ๔ ตำบลลาดบัวขาว อำเภอบา้ นโปง่ จงั หวดั ราชบุรี
สถานที่ใกล้เคียง องค์การบริหารส่วนตำบลลาดบัวขาว

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

7

บทบาทหน้าทภี่ ารกิจ กศน.ตำบล

1. ศูนย์ข้อมลู ข่าวสารของชุมชน (Informationcenter)
1.1 พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู และสารสนเทศระดบั ชมุ ชนใหค้ รบถ้วนถูกตอ้ งทนั สมัย
1.1.1.จัดเกบ็ ขอ้ มลู ให้ครบถ้วนเป็นปัจจุบนั โดยใชแ้ บบของสำนักงาน กศน.
1.1.2 ประมวลผลเป็นรายตำบลและจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศนำมาใช้ในการบริหาร

จัดกจิ กรรม
1.2 จัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ กศน. ตำบลและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี
1.2.1 จดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพ กศน.ตำบล
1.2.2. จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี
1.2.3. นำเสนอแผนตอ่ คณะกรรมการ กศน. ตำบลและภาคเี ครือข่าย
1.2.4 กศน. ตำบลนำเสนอแผนให้ กศน. อำเภอ /เขตพจิ ารณาอนุมัติ
1.3 นำเสนอความรู้ขอ้ มูลข่าวสารสารสนเทศของชุมชนใหถ้ ูกต้องและทนั สมัย
1.3.1.นำเสนอขอ้ มูลสารสนเทศทีม่ คี วามจำเป็นตอ่ การดำรงชวี ติ ประจำวนั เชน่ ด้านการตลาด
ชุมชนสนิ คา้ ชมุ ชน การแนะแนวอาชีพแหลง่ เรยี นรใู้ นชุมชนฯลฯ
1.3.2.จัดแสดงข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบต่างๆเช่นเอกสารแผนภูมิแผ่นป้ายประชาสัมพันธ์

สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เวบ็ ไซต์เปน็ ตน้
1.3.3. สืบค้นและการเผยแพร่ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ

ดำรงชวี ติ
1.3.4. ส่งเสริมให้ประชาชน มีทักษะความรู้ในการใช้คอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่าย

อินเตอรเ์ นต็ ในการสืบค้นขอ้ มลู
2. ศนู ยส์ ร้างโอกาสการเรยี นรู้ (Opportunity Center)

2.1 ประสานความร่วมมอื ในแนวราบกับภาคเี ครือข่าย
1. ประสานงาน/วางแผนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชนเช่นคณะกรรมการชุมชน อบต.

พัฒนาที่ดินสถานีอนามัย พัฒนากรตำบล สหกรณ์ ปศุสัตว์ ประมง ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อสม
อาสาสมัคร ส่งเสริมการอา่ น วดั มัสยิดโรงเรยี นดีประจำตำบลฯลฯเพอ่ื จดั กจิ กรรมบรกิ ารชุมชน

2. รวบรวมและเผยแพร่องคค์ วามรขู้ องภาคเี ครือขา่ ยในการจดั การเรียนรู้
2.2 เช่ือมโยงรปู แบบการใหบ้ รกิ ารของหน่วยงานภาคเี ครือข่ายกบั กศน. ตำบล

1. ส่งเสริมและหรือจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายเช่นศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it
center) (สอศ.) ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (กระทรวงไอซีที) มุม
วิทยาศาสตร์เพ่ือชีวิต(สสวท.)บริการหน่วยแพทย์เคล่ือนท่ีธนาคารเคล่ือนท่ีการป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
อำเภอเคลื่อนท่ีฯกิจกรรมนี้จึงเป็นเสมือนที่นัดพบระหว่างประชาชนกับหน่วยงานบริการต่างๆของรัฐหรือ
องคก์ รอ่ืนๆ เพือ่ สร้างโอกาสการเรยี นรูข้ องประชาชน

2. พัฒ นารูปแบบกิจกรรมให้หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมายในชุมชน

2.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
1. จดั ทำเว็บไซด์ กศน.ตำบล
2. ใชไ้ ปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์เพอื่ การตดิ ต่อกบั ผ้เู รยี น/ผู้รบั บริการทอี่ ยู่ต่างหมู่บา้ น/ชุมชน

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

8

3. สืบค้นรวบรวมและการเผยแพร่ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตและแหล่งข้อมูลอ่ืนๆเช่นราคา
กลางของวตั ถดุ บิ ราคาผลผลิตทางการเกษตรราคาสินคา้ เปน็
3. ศนู ยก์ ารเรียนชมุ ชน(Learning Center)

3.1 ออกแบบกจิ กรรม/โปรแกรมการศกึ ษาทเี่ หมาะสมกบั กล่มุ เปา้ หมาย
3.1.1. กศน. ตำบลและกศน. อำเภอร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย ,ผู้เรียน,ผู้รับบริการออกแบบ

กิจกรรม/โปรแกรมหรอื โครงการในลักษณะบูรณาการระหวา่ งวิถชี ีวิตการทำงานและการเรยี นรู้
3.1.2. เลือกกิจกรรมทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทของชุมชน

3.2.จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใน
ชมุ ชน

3.2.1ส่งเสริมการรูห้ นังสือ
1. จดั ทำแผนการแกป้ ญั หาผู้ไมร่ หู้ นงั สอื สำหรบั กลุ่มเปา้ หมายในตำบลทช่ี ัดเจน
2. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการรู้หนังสอื ในกลมุ่ อาย๑ุ ๕ – ๕๙ ปีเปน็ ลำดบั แรก

3.2.2 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
1. จัดทำแผนยกระดับการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

โดยแยกกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเช่นเด็กออกกลางคันเด็กเร่ร่อนผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสผู้พิการกลุ่มผู้ย้ายถิ่น
ผนู้ ำทอ้ งถน่ิ กล่มุ อาชพี ประชากรวัยแรงงานเปน็ ต้น

2. วางแผนการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานร่วมกับภาคี
เครือขา่ ย

3. จดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. รายงานผลการดำเนินงาน
3.2.3 การศึกษาตอ่ เนอื่ ง
1 ) การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ(ดำเนนิ การเปน็ ลำดับแรก)
- จัดทำแผนจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/หลักสูตรอาชีพระยะสน้ั ที่สอดคล้อง
กับความตอ้ งการของชมุ ชน โดยเน้นการเพิ่มทกั ษะทางด้านเทคโนโลยีสมัยใหมแ่ ละอาชีพใหม่ ท่สี อดคล้อง
กบั สภาวการณ์ปัจจุบนั
2 ) การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวิต
- จัดทำแผนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการความจำเป็นของ
ชุมชนเช่นการป้องกันสาธารณภัย สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินคุณธรรมจริยธรรม
การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มเป็นต้น
3 ) การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน
1. จัดทำแผนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนโดยใช้รูปแบบท่ีเหมาะสม
กับกล่มุ เป้าหมายโดยการฝึกอบรมการประชุมสัมมนาการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรู้และรูปแบบอื่นๆเช่นจัด
กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยการจัดกระบวนการเรียนรู้ในการเป็นพลเมืองดีของชุมชนสังคมของประเทศ
เพอื่ นำไปสคู่ วามปรองดองสมานฉันทเ์ ศรษฐกิจชุมชนและการอนุรักษธ์ รรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
2. จัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืนตาม
แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

9

3.2.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย
1) การส่งเสริมการอ่าน
- จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆเช่นครอบครัวรักการอ่าน

มุมส่งเสริมการอ่านในชุมชน กศน.ตำบลเคล่ือนที่ อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเป้ความรู้สู่ชุมชน หีบ
หนังสือสู่หมู่บ้าน จุดบริการการอ่านชุมชนมุมอ่านหนังสือท่ีท่ารถร้านเสริมสวยร้านตัดผมสถานีอนามัย
เปน็ ต้น

2 ) จดั บริการสอ่ื
1. จัดบริการสื่อทุกประเภทเช่นสื่อส่ิงพิมพ์(นสพ.) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ส่ือสาธิตสื่อทดลอง
วทิ ยชุ มุ ชนหอกระจายขา่ วเป็นตน้
2.บริการ Student Channel เพอ่ื เสรมิ ศกั ยภาพใหก้ บั โรงเรยี นดีประจำตำบล
3.บรกิ ารการศึกษาทางไกล (ETV)ใหแ้ ก่นกั ศึกษากศน. และประชาชนท่ัวไป
4. ศนู ย์ชมุ ชน (CommunityCenter)
- จัดและส่งเสริมให้กศน. ตำบลเป็นศูนยก์ ลางการจัดกิจกรรมของชุมชนเช่นเวทีชาวบ้าน
สภากาแฟสถานท่ี พบปะเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตลาดนัดอาชีพกิจกรรมศาสนาวัฒนธรรมเวที
ประชาธิปไตยกีฬาฯลฯ โดยครูกศน.ตำบลเป็นผดู้ ำเนินการจัดให้มีกจิ กรรมเหล่านีข้ ึ้นเปน็ การทำงานรว่ มกัน
กับภาคเี ครือขา่ ยต่างๆ ท้ังอบต. อบจ. เทศบาลตลอดจนภาครัฐภาคเอกชนรวมทงั้ อาสาสมัครต่างๆในชุมชน
เช่นอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.) อาสาสมัครกศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ข้าราชการบำนาญ เยาวชนผู้นำทอ้ งถนิ่ เข้ามาร่วมกันทำงานเพื่อใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง

คณะกรรมการ กศน.ตำบลลาดบัวขาว ประธานกรรมการ

1. พระปลัดอนุวฒั น์ อนาวโิ ล เจา้ อาวาสวดั ลาดบวั ขาว ประธานกรรมการ

2. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลลาดบวั ขาว รองประธานกรรมการ

3. นายธีรยุทธ เกตเุ พชร กรรมการ

4. นายสมบูรณ์ เทยี นศริ โิ ชติ กรรมการ

5. นายบญั ชา นนทารักษ์ กรรมการ
กรรมการ
6. นายมาโนช เหมือนแท้ กรรมการ
7. นายบุญเลศิ พ่มุ บวั กรรมการ
8. นายประเสรฐิ แก้วรอด กรรมการ
9. นายสมาน ปานการะเกตุ กรรมการ
10. นางสมใจ คำเทวี กรรมการและเลขานกุ าร
11. นางสาววภิ สั สรานันท์ สิลสมบตั ิ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
12. ปลดั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลลาดบัวขาว
13.วา่ ท่ีร้อยตรีวินยั สุนทรมัจฉะ

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทรี่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

10

คณะกรรมการองค์กรนักศกึ ษา กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

1. คณะกรรมการผู้แทนองค์กรนักศกึ ษา กศน. ประกอบด้วย

1.1 ประธาน ได้แก่ นายเชาว์ หมวกเมือง นักศึกษาระดับประถมศึกษา

1.2 รองประธาน ได้แก่ นายสิงหา อารยี ์รอบ นกั ศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1.3 เลขานกุ าร ไดแ้ ก่ นางสาวออ้ ย ปีพัน นกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

1.4 ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ไดแ้ ก่ นางสาวดริญญา จำปาทอง นักศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

1.5 กจิ กรรมนักศึกษา ได้แก่ นางสาวมทุ ิตา ต่ายแพ นกั ศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

1.6 การเงนิ และบัญชี ไดแ้ ก่ นางสาววภิ ัสรานนั ทส์ ลิ สมบตั ิ นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

1.7 ประชาสมั พันธ์ ได้แก่ นางจำเรยี ง โพธิ์คลา้ ย นักศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

1.8 ปฏคิ ม ได้แก่ นางสาวสธุ ิษา หริ ญั สา นักศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

1.9 ผชู้ ว่ ยปฏิคม ได้แก่ นายธนพล เชาว์เครือ นักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

2.กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นตา่ งๆ

2.1 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านศาสนาและวัฒนธรรม ชอ่ื พระปลดั อนวุ ัฒน์ อนาวิโล

2.2 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒดิ า้ นการศึกษา ชือ่ นายสมบูรณ์ เทียนศิรโิ ชติ

3. ครทู ปี่ รึกษา ชือ่ วา่ ที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

คณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบลลาดบัวขาว

1. นายธีรยทุ ธ เกตุเพชร ประธานกรรมการ
2. นายบญั ชา นนทารักษ์ รองประธานกรรมการ
3. นายบญุ เลศิ พุ่มบวั กรรมการ
4. นายสมาน ปานการะเกตุ กรรมการ
5. นายสุจนิ ไชยสงเคราะห์ กรรมการ
6. นายประเสริฐ แก้วรอด กรรมการ
7. นายสันติ ชาติพศิ าล กรรมการ
8.วา่ ทีร่ อ้ ยตรีวินัย สนุ ทรมจั ฉะ กรรมการและเลขานุการ
9. นางบังอร ฤทธริ์ งค์ กรรมการ/ผู้ช่วยเลขานุการ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

11

คณะกรรมการขับเคล่ือนการดำเนนิ งานศนู ย์เรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ

เกษตรทฤษฎใี หม่ ประจำตำบลลาดบัวขาว

1.นายธีรยทุ ธ เกตุเพชร ประธานกรรมการ

2.นายบญั ชา นนทารกั ษ์ รองประธานกรรมการ

3.นายบุญเลิศ พมุ่ บวั กรรมการ

4.นายสมาน ปานการะเกตุ กรรมการ

5.นายสุจนิ ไชยสงเคราะห์ กรรมการ

6.นายประเสริฐ แกว้ รอด กรรมการ

7.นายสันติ ชาติพศิ าล กรรมการ

8.นางบังอร ฤทธร์ิ งค์ กรรมการ

9.ว่าท่ีร้อยตรีวนิ ัย สนุ ทรมัจฉะ กรรมการและเลขานุการ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

อาสาสมคั ร กศน.ต

ที่ รหัสนักศกึ ษา ชือ่ – สกุล วนั /เดอื น/ปเี กดิ อาย(ุ ป)ี

1 6212000758 นายณฐั พล ลอตระกลู 16พ.ย.2546 18 17
2 6212001139 22 17
3 6222000652 นายบลั ยงค์ สอยดาว 27ธ.ค.2541 15 17
4 6222000849 20 17
5 6312000247 นางสาวสุพตั รา แย่มน้อย 15 ม.ี ค.2548 16 17
6 6312000256 19 13
7 6312000788 นายธนภัทร์ แซเ่ จ่ยี 10 เม.ย.2543 16 17
8 6322000356 16 17
9 6322000374 นางสาวสพุ ชิ ชา ตวงวุฒิกุล 15 เม.ย.2547 53 37
10 6322000486 31 17
11 6223000383 นางสาวสุดธดิ า นิลเปล่ียน 3 พ.ย.2544 28 17
12 6223000392 20 17
13 6223000404 นางสาวธญั พร สุขโสม 12ก.ค.2547 48 37
14 6313000521 23 12
15 6323000555 นายอภิสทิ ธ์ิ ลบั เลิศลบ 26 ก.ย.2547 19 17

นางสาววัจณา พรหมพิทักษ์ 20 ธ.ค.2510

นางสาวกลั ยา วงศ์เปรม 16 ก.ย.2532

นายอิทธิพงษ์ บุตรแกว้ 9 ม.ิ ย.2535

นางสาววรรณพร แสงอ่อน 26 ก.พ.2543

นายทศพล เชค็ สกุล 23 ต.ค.2515

นางสาวฐติ ริ ัตน์ ชาญสมา 1 ธ.ค.2539

นายภานุพงศ์ มณโี ชติ 17 ส.ค.2544

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทร

ตำบลลาดบวั ขาว ท่อี ยู่ 12

เลขประจำตวั 16/57ม.173 ม.9 ต.ทา่ ผา อ.บ้านโปง่ หมายเลขโทรศัพท์
ประชาชน 32/3 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว อ.บ้านโป่ง 065-5878740
739902088548 44/1 ม.6 ต.สนามแย้ อ.ทา่ มะกา 063-6404500
709901245054 102 ม.3 ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโป่ง 061-5405900
718800070401 32/1 ม.8 ต.เบกิ ไพรอ.บ้านโปง่
709800337573 17/9 ม.8 ต.ทา่ ผา อ.บ้านโป่ง 065-6817034
709800441362 3 ม.4 ต.เจดีย์หัก อ.เมือง
368400007129 16/1 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโป่ง 063-8857277
709901538248 10/4 ม.4 ต.ลาดบัวขาว อ.บ้านโปง่ 092-8809552
7098500451643 96 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโป่ง 089-6093703
700500226383 86/3 ม.1 ต.ลาดบัวขาวอ.บา้ นโป่ง 062-4683022
709800110871 5 ม.13 ต.หนองปลาหมอ อ.บา้ นโป่ง 092-8674509
709800168666 15 ม.7 ต.ลาดบัวขาวอ.บา้ นโปง่ 092-6371027
709800335589 28/3 ม.8 ต.เบิกไพร อ.บา้ นโป่ง 082-2417148
700501037169 12 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโป่ง 095-8696798
209600205589 099-1075920
709901390607

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

อาสาสมัครส่งเสริมการอ่า

ท่ี รหัสนกั ศึกษา ชอ่ื – สกลุ วัน/เดอื น/ปีเกิด อาย(ุ ป)ี

16 6323000984 นายนพดล มาลา 5 ส.ค.2541 23 27
17 6323001011 นางสาวจรี วรรณ เช็คสกุล 2 ต.ค.2541 23 17
18 6323001196 นางสาวปาลดิ า นาทะคำ 30 ม.ค.2539 22 17
19 6323001347 นายธนฤทธิ์ เซ่ียงฟู 16 มี.ค. 17 18
20 6413000720 นายศุภโชค เกิดสุข 7 ก.ค.2543 21 17
21 6413000734 นางสาวนันธนิ ี ดำรงสจั ธรรม 1 ก.พ.2547 17 87
22 6413000784 นายสทิ ธิชัย พทุ ธา 30 เม.ย.2546 18 17
23 6413001044 นางสาววาสนา แก้วดำแดง 28 ส.ค.2543 21 17
24 6413001053 นายธนดล อนเุ ลศิ 11 ม.ี ค.2545 19 17
25 6413001062 นางสาวดารณุ ี แสงศิริ 28 พ.ค.2539 25

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทร

าน กศน.ตำบลลาดบัวขาว 13

เลขประจำตัว ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์
ประชาชน
700501028374 15/2 ม.9 ต.เบกิ ไพร อ.บ้านโปง่ 090-7953394
709800308301 31/7 ม.18 ต.ท่าผา อ.บ้านโป่ง 093-0758860
709800249739 158/1 ม.4 ต.โพหัก อ.บางแพ 063-1592983
869900509812 81/1 ม.18 ต.ท่าผา อ.บา้ นโป่ง 085-5234383
709800342437 8/2 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว อ.บา้ นโปง่ 062-5590092
710876028597 159/1ม.8 ต.หนองลู อ.สังขละ 064-9934853
709800401778 10/4 ม.12 ต.เบกิ ไพรอ.บ้านโปง่ 097-1394174
709800344910 75/1 ม.11 ต.เบิกไพรอ.บ้านโปง่
709800377630 53 ม.6 ต.คุง้ พยอม อ.บ้านโป่ง
1730600150161 24/6ม.5 ต.คงุ้ พยอม อ.บา้ นโป่ง

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

14

บคุ ลากรใน กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

ว่าที่รอ้ ยตรวี นิ ัย สนุ ทรมัจฉะ
หัวหน้า กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

15

ขอ้ มูลสารสนเทศ กศน.ลาดบวั ขาว

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทร่ี ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

16

ส่วนที่ 2
ข้อมูลพ้ืนฐานเพอ่ื การวางแผน

2.1 สภาพทัว่ ไปของตำบลลาดบัวขาว

ประวัตคิ วามเป็นมา ตำบลลาดบัวขาว
ตำบลลาดบัวขาว จากการบันทกึ ของนักประวตั ิศาสตร์ สถติ เลศิ วิชัย ไดบ้ นั ทึกไว้วา่ ตำบลลาด

บัวขาวเดิมเป็น "อำเภอลาดบัวขาว" ต้ังข้ึนเป็นคร้ังแรกเม่ือ พ.ศ. 2445 โดยเอาพ้ืนที่เขตตำบลท่าผา ตำบล
ธรรมเสน และตำบลลาดบัวขาว รวมกันตั้งเป็นอำเภอลาดบัวขาวและในขณะนั้นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอ
ลาดบัวขาวคือบริเวณที่วัดลาดบัวขาวปัจจุบันต่อมาในปี พ.ศ. 2446 หรือรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) 124 ทาง
ราชการได้ย้ายท่ีต้ังท่ีว่าการอำเภอลาดบัวขาวไปต้ังใหม่ท่ีตำบลพงตึก และได้เปล่ียนชื่อจากอำเภอลาดบัว
ขาว เป็นอำเภอพระแท่น ตำบลลาดบัวขาว จึงขึ้นอยู่กับอำเภอพระแท่น จังหวัดราชบุรี ต่อมาในปี พ.ศ.
2453 สมยั ขุนศรีสรนานิคม หรอื มหาจันทร์ ปุญสิริ เปน็ นายอำเภอไดย้ า้ ยทว่ี า่ การอำเภอพระแทน่ จากตำบล
พงตึกมาตั้งใหม่ท่ีหมู่บ้านถ้ำมะกา และต่อมาได้เปล่ียนชื่ออำเภอพระแท่นเป็นอำเภอท่ามะกา ในปี พ.ศ.
2460 สมัยขุน รามบุรีรักษ์ (แอร่ม สุนทรศารทูล) เป็นนายอำเภอ ตำบลลาดบัวขาวจึงข้ึนอยู่กับอำเภอท่า
มะกา จังหวัดราชบุรีและ ในปี พ.ศ. 2480 ทางราชการได้โอนอำเภอท่ามะกาไปข้ึนกับจังหวัดกาญจนบุรี
และไดโ้ อนตำบลลาดบัวขาวไปขน้ึ กับอำเภอบา้ นโปง่ จงั หวัดราชบุรีจนถึงปจั จบุ ัน

ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์

ตำบลลาดบัวขาว มพี ้ืนที่ ประมาณ มีเนอ้ื ที่ 13.62 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 8,514
ไร่โดยแยกเป็นพ้ืนท่ีในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลลาดบัวขาว มีจำนวนหมู่บ้าน 7 หมู่บ้าน คิดเป็นเนื้อ
ท่ี ร้อยละ ของพ้ืนที่อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี อยู่ห่างจากอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
ประมาณ 7 กโิ ลเมตร

สภาพภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่
สภาพพนื้ ท่ีโดยทว่ั ไปเป็นทร่ี าบลุ่ม มแี หล่งน้ำธรรมชาตทิ ่สี ำคญั คอื แม่นำ้ แม่กลองไหลผา่ น

ประชากรสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือรับจ้าง และค้าขาย รายได้เฉล่ียประมาณ
20,000 บาท/คน/ปี การคมนาคมสะดวก สำหรบั นอกภาคเกษตรกรรมประชากรส่วนใหญ่ จะไปทำงานใน
โรงงานประเภทต่าง ๆ ภายในอำเภอบ้านโปง่ อำเภอเมืองราชบรุ ี และจังหวัดใกล้เคยี งเช่น นครปฐม
กาญจนบรุ ี กรงุ เทพฯ เป็นตน้
อาณาเขตตดิ ต่อ

ตำบลลาดบัวขาว มีอาณาเขตติดตอ่ กบั ตำบล อำเภอ จังหวัด ดงั น้ี
• ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับตำบลท่าผา อำเภอบ้านโปง่ และอำเภอท่ามะกา จังหวดั กาญจนบุรี
• ทิศใต้ ติดตอ่ กบั ตำบลเบิกไพร อำเภอบา้ นโปง่
• ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับตำบลปากแรต
• ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั ตำบลท่าเสา อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบรุ ี

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทรี่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

17

ตำบลลาดบวั ขาว มีหนว่ ยการปกครองท้องถ่นิ คือ องค์การบริหารส่วนตำบลลาดบัวขาว ตงั้ อยู่ที่ หมทู่ ่ี4
ตำบลลาดบวั ขาว อำเภอบา้ นโปง่ จังหวัดราชบรุ ี ได้รับการจดั ตงั้ ขน้ึ เมอื่ วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2540

แผนท่ีตำบลลาดบัวขาว

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทร่ี ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

18

2.2 ขอ้ มูลด้านประชากร

จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพ้ืนทตี่ ำบลลาดบวั ขาว

หมทู่ ่ี ช่อื หมู่บ้าน์ จำนวน จำนวนประชากร(คน) จำนวนครวั เรอื นในพน้ื ท่ี
ครวั เรอื น ชาย หญิง รวม เขต อบต. เขตเทศบาล
1 บ้านท่าตน้ จันทน์ 512 600 1,097
2 บ้านขอบลาด 350 575 560 1,050 350
3 บา้ นทงุ่ ทอง 390 582 892 1,573 390
4 บ้านลาดบัวขาว 368 650 681 1,282 368
5 บา้ นหลังโรงหบี 424 162 182 344 424
6 บ้านท่าศาลเจ้า 161 350 377 727 161
7 บ้านรางวาลย์ 213 257 261 518 213
205 3,088 3,553 6,641 205
รวม 2,071 2,071

ตำบลลาดบัวขาว มีครัวเรือนอยู่ จำนวน 2,071 ครัวเรือน อยู่ในเขตปกครองขององค์การ
บรหิ ารส่วนตำบลลาดบัวขาวท้ังหมด มีประชากร รวมท้ังสิ้น 6,641 คน แยกเป็นประชากรชาย 3,088
คน คดิ เปน็ ร้อยละ 46.50 และประชากรหญิงจำนวน 3,553 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.50
จำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ

ชว่ งอายุ(ปี) จำนวน(คน) ร้อยละของประชากรท้ังหมด
0–5 626 9.43
6 – 14 1,120 17
15 – 39 2,374 36.05
40 – 59 1,250 18.98
60 – 69 513 7.79
70 - 79 342 5.19
80 - 89 340 5.16
76 1.15
90 ปีข้ึนไป 6,641 100
รวม

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

19

จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามชว่ งอายุ พบว่า ประชากรสว่ นใหญ่เป็นประชากรวัยแรงงานอายุ 15
-59 ปี คิดเป็นร้อยละ55.03ประกอบด้วย ประชากรในช่วงอายุระหว่าง 15-39 ปี ร้อยละ36.05ซ่ึงเป็นกลุ่ม
วัยแรงงานที่ให้ความสำคัญในการจัดบริการการเรียนรู้เป็นกลุ่มแรก และช่วงอายุ 40-59 ปี ร้อยละ18.98
เป็นกลุ่มวัยแรงงานที่ให้ความสำคัญในการจัดบริการการเรียนรรู้ องลงมา สำหรับกลุ่มผู้สงู อายุที่มีอายุ 60 ปี
ขึ้นไปร้อยละ19.29 เป็นกลุ่มที่ให้ความสำคัญในการจัดบริการการเรียนรู้ตามช่วงอายุจากมากไปน้อย
ตามลำดับ

จำนวนผพู้ ิการจำแนกประเภทตามความต้องการ

ประเภทผพู้ ิการ จำนวนผพู้ กิ าร(คน) รวม คดิ เปน็
ชาย หญงิ 8 ร้อยละ
1 10.12
- ทางสมอง 1 7 69 1.26
1 87.34
- ทางสายตา - 1 19 1.26
100
- ทางรา่ งกาย 34 35

-พกิ ารซ้ำซอ้ น 1 -

รวม 36 43

กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการท่ีจะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนร้ดู ้อยกว่าคนปกติทว่ั ไป อันเน่ืองมาจากข้อจำกัดทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญาหรือความสามารถใน
การเรียนรู้ จาตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลจำแนกตามประเภทความพิการ ส่วนใหญ่มีความ
พกิ ารทางรา่ งกายมากที่สุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 71.05 รองลงมาคอื ทางสมอง คดิ เป็นร้อยละ17.89

2.3 ขอ้ มลู ด้านสังคม

ด้านสังคมและประเพณีวัฒนธรรมของคนในชุมชน สภาพสังคมและประชาชนส่วนใหญ่อยู่เป็น

ครอบครัวใหญ่ปลูกบ้านอย่ใู นละแวกเดียวกัน นับถือบรรพบรุ ุษ มสี ัมมาคารวะต่อผูม้ ีอายุมากกว่าประชาชน

ในตำบลลาดบัวขาวสว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ โดยมศี าสนสถานเป็นสถานท่ีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

และเป็นศนู ย์รวมจิตใจของชาวบา้ น จำนวน 7 แห่ง คอื

1. วดั ลาดบวั ขาว ต้ังอยูท่ ่ี หมทู่ ่ี 4

2. วัดรางวาลย์ ตงั้ อยู่ที่ หมทู่ ี่ 7

มปี ระเพณแี ละวฒั นธรรมต่างๆทส่ี ำคัญดังนี้
1.ประเพณีสงกรานต์ ซ่ึงตรงกับวันท่ี 13-16 เมษายน ของทุกปี โดยมีประเพณีท่ีสำคัญ คือวันท่ี

15 เมษายน มีการจัดงานรดน้ำดำหัวแก่ผู้เฒ่าผู้แก่ เพ่ือขอขมาลาโทษในสิ่งที่เคยล่วงเกินและขอพรเพื่อ
ความเป็นสิริมงคล

2. ประเพณีแห่"พระครูวิจิตรสารคุณ" หรือ หลวงสุรินทร์ อดีตเจ้าอาวาสวัดลาดบัวขาว เจ้าของ
เหรียญหมขู วาง หมูตาม อนั ลือลั่นสนัน่ ท้องนำ้ แม่กลอง และรอยสกั ยันต์ที่ตำรวจต้องขอร้องใหห้ ลวงพ่อเลิก
สักคือ หมูโทนที่กระเบนเหน็บ และดำด้ือแดงเกเร เพราะคนที่สักแล้วไปเป็นโจร ตำรวจจับตัวยาก ฆ่าก็ไม่
ตาย ซ่ึงเป็นที่สกั การะและเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจของชาวตำบลลาดบัวขาวและตำบลใกล้เคียง ซึ่งจัดขึ้น
ตรงกับประเพณีสงกรานต์ของทุกปี

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทรี่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

20

3. ประเพณกี ารแข่งเรือยาวของวัดรางวาลย์ หมู่ที่ 7 ตำบลลาดบัวขาว ซ่ึงมีเรอื ยาวจากท่ัวประเทศ
เป็นจำนวนมากมาเข้าร่วมแข่งขันในแต่ละประเภทฝพี าย ซึ่งจัดข้นึ ตรงกับเดอื น 12 ของทุกปี

2.4 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
อาชพี ของประชาชนในตำบลลาดบัวขาว

- รับจ้าง (ด้านการเกษตร/โรงงาน) จำนวน 665 ครวั เรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ 38.66
- คา้ ขาย จำนวน 180 ครัวเรือน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.46
- เกษตรกร จำนวน 350 ครวั เรือน คดิ เป็นร้อยละ 20.35
- เล้ียงสัตว์ จำนวน 220 ครวั เรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.79
- รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 153 ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.90
- อื่นๆ 92 ครวั เรือน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.35
จากการสำรวจ พบว่า ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างเป็นหลัก คิด
เป็นร้อยละ 36.66 ของจำนวนครัวเรือนท้ังหมด สำหรับประชากรในตำบลลาดบัวขาวประกอบอาชีพ
รองลงมาคือเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 20.35 นอกจากน้ันประกอบอาชีพ ค้าขาย เล้ียงสัตว์ รับราชการ
และอื่นๆ

หนว่ ยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบล

-
กลุม่ อาชีพเศรษฐกจิ ชมุ ชน

การดำเนนิ การกลุม่ อาชีพเศรษฐกิจชุมชน มีการจดั ตั้งกลมุ่ การรวมกล่มุ อาชพี กลมุ่ เกษตรกร ทำให้
เกิดอาชีพที่หลากหลายในตำบล โดยมีหลายภาคส่วนได้ส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มอาชีพในหมู่บ้าน ในการ
พัฒนาท้ังทกั ษะ/ความรู้ และขอ้ มลู การพฒั นางานหรือผลิตภณั ฑ์ของทุกกลุ่มในตำบล
กลมุ่ อาชพี ทม่ี ีอย่ใู นปัจจุบัน

กลุ่มผลิตภัณฑ์น้ำพริกเผา บา้ นทา่ ต้นจันทน์ หมู่ท่ี 1 โดยการเร่ิมจากสำนักงานเกษตรอำเภอบ้าน
โป่งและศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านโป่งได้เข้า ไปจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาอาชีพ หลกั สูตรระยะส้นั ให้กับกลมุ่ แม่บา้ นและเกษตรกรในหมูบ่ ้าน

กลุ่มแปรรูปจากกล้วย บ้านท่าต้นจันทน์ หมู่ท่ี 1 เร่ิมจากการจัดการศึกษาต่อเนื่องของ ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านโป่ง โดย กศน.ตำบลลาดบัวขาว ได้เข้าไปจัด
การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ให้กับกลุ่มแม่บ้านและเกษตรกรที่ว่างงานในหมู่บ้านเพื่อให้เกิดรายได้และมี
อาชพี ที่ย่ังยนื ต่อไป

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทรี่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

21

แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชนและทุนดา้ นงบประมาณท่ีสามารถนำมาใชป้ ระโยชน์เพื่อจดั การศกึ ษา
ประเภทบุคคล ประเภทสถานท่ีและองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทางสังคม

วัฒนธรรมและตน้ ทนุ งบประมาณ(ระบแุ หล่งทนุ ดา้ นงบประมาณของชมชน)
1. แหล่งเรียนรปู้ ระเภทบุคคล ไดแ้ ก่

ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ความร้คู วามสามารถ ท่ีอยู่
พระปลัดอนวุ ฒั น์ อนาวโิ ล ผกู ผา้ พิธี วัดลาดบัวขาว
นายสมบูรณ์ เทียนศริ โิ ชติ การปลกู มะนาว 86 ม.2 ต.ลาดบวั ขาว
นางสาวดวงกมล ทันใจชน น้ำพริกเผา 99 ม.1 ต.ลาดบัวขาว
นางสาวนบน้อย ศรีพนมวรรณ์ การเล้ยี งไสเ้ ดอื นดิน บ้านท่าต้นจนั ทน์ ม.1
นายสมาน ปานการะเกตุ การทำนำ้ หมักชวี ภาพ
ม.6 ต.ลาดบัวขาว

2. แหลง่ เรยี นรู้ประเภทที่/ชมุ ชน/กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ /สงั คม ไดแ้ ก่

ชอ่ื แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทีต่ ้งั
วัดลาดบัวขาว
พพิ ธิ ภัณฑ์พนื้ บ้านวัดลาดบัวขาว ชุมชน 99 ม.1 ต.ลาดบวั ขาว
บ้านทา่ ตน้ จนั ทน์ ม.1
ผลิตภัณฑน์ ำ้ พรกิ เผา กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ

การแปรรูปจากกล้วย กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ

3. แหล่งสนับสนนุ ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่

ภาคีเครอื ข่าย การสนับสนนุ ทีอ่ ยู่
วดั ลาดบัวขาว อนเุ คราะหส์ ถานที่ หมูท่ ี่ 4
โรงเรยี นวดั ลาดบวั ขาว อนเุ คราะหส์ ถานที่/วทิ ยากร หมู่ท่ี 4
องค์การบริหารส่วนตำบลลาดบัวขาว อนุเคราะห์ข้อมลู สารสนเทศ หมู่ท่ี 4
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลลาดบัวขาว อนเุ คราะห์ข้อมูลสารสนเทศ/ หมู่ที่ 5
ประชาสมั พันธ์ชว่ ยกจิ กรรม กศน.
กลุ่มอสม./กล่มุ ผสู้ งู อายุ/กลมุ่ อาชีพ ประชาสัมพันธช์ ว่ ยกิจกรรม กศน. หม่ทู 1ี่ -หม่ทู ่ี 7

การทอ่ งเท่ียวและการบรกิ าร
- ไมม่ ีแหล่งท่องเท่ยี ว

2.2 การไฟฟ้า

การบริการไฟฟ้าในเขตเทศบาลตำบลลาดบัวขาว อยู่ในความรับผิดชอบของการไฟฟ้าส่วน

ภมู ิภาคอำเภอบ้านโป่ง โดยปัจจุบนั มีกระแสไฟฟ้าบรกิ ารท่ัวทุกหมู่บา้ น แตไ่ มค่ รบทุกหลังคาเรือน และใน

บางพน้ื ที่มปี ญั หาไฟฟ้าตกและไฟฟ้าสาธารณะยงั ไมเ่ พียงพอ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทรี่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

22

2.3 การประปา

เทศบาลตำบลลาดบัวขาว มีโครงการประปาหมู่บ้านเพ่ืออุปโภคบริโภคทุกหมู่บ้าน ครัวเรือน

สว่ นใหญใ่ ช้นำ้ จากบ่อประปา และบอ่ ดาลในการอปุ โภคบรโิ ภค

2.4 โทรคมนาคม

โทรศพั ทส์ าธารณะ ทกุ หมู่บา้ น

2.5 ขอ้ มูลด้านการศึกษา
ตำบลลาดบวั ขาว มีสถานศกึ ษารวมท้งั หมด 5 แหง่ มคี รู 570 คน และมนี ักเรยี น/นักศึกษา

1,766 คน ในแต่ละสถานศกึ ษาทอี่ ย่ใู นเขตตำบลลาดบวั ขาว มจี ำนวนนกั เรียนนกั ศกึ ษา ดงั น้ี

1. โรงเรียนวัดลาดบวั ขาว จำนวนนักเรียน 115 คน

2. วิทยาลยั การอาชีพบา้ นโปง่ จำนวนนักเรียน/นกั ศึกษา 894 คน

3. วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช จำนวนนกั ศกึ ษา 604 คน
4. ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ตำบลลาดบวั ขาว จำนวนนกั เรยี น 31 คน
5. กศน.ตำบลลาดบัวขาว จำนวนนักศึกษา 44 คน

ระดับการศึกษาของประชาชนในตำบลลาดบัวขาว

ระดบั การศึกษา รวม(คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ต่ำกวา่ ชน้ั ประถมศกึ ษา 1,544 23.45
จบชนั้ ประถมศึกษา 1,855 28.17
มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1,472 22.35
มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1,194 18.13
ปริญญาตรหี รือเทยี บเท่า 346 5.25
สูงกว่าปรญิ ญาตรี 174 2.64
6,585 100
รวม

กศน.ตำบลลาดบวั ขาว ในรอบปที ผ่ี า่ นมา มจี ำนวนนักศึกษาท้งั หมด 45 คน แยกตามระดับดงั น้ี

- ระดบั ประถมศกึ ษา - คน

- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 19 คน

- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 26 คน

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

23

- ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จำแนกตามลักษณะของกลมุ่ เปา้ หมาย
ด้านการรู้หนงั สือ ดา้ นการศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ด้านอาชีพ ดา้ นการพัฒนาทักษะชีวิต

ด้านการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ดา้ นปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษาตามอัธยาศยั

กลุ่มเป้าหมาย ปญั หาและความตอ้ งการ แนวทางแกไ้ ข

กลุ่มคนท่ไี ม่รู้หนังสอื /กลุ่มภาวะลืม -ส่วนใหญ่ จะเป็นกลุ่มผู้สูงอายุจะ -สนบั สนนุ สง่ เสริมการรู้หนังสอื

หนังสือ ประสบปญั หาเรอ่ื งความจำ สายตา -มีส่ือการเรียนการสอนที่จะช่วยให้

-กลุ่มอายุประมาณ 40-60ปีไม่มีเวลา กลุ่มเป้าหมายสามารถเรียนรู้ได้

มาเรียนเพราะต้องทำงานหาเล้ียง มากขึ้น

ครอบครัว

กลมุ่ วัยเดก็ - กลุ่มอายุ 1-14 ปี ส่วนใหญ่อยู่ใน -จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา

ความดูแลของพ่อแม่ กำลังศึกษาอยู่ใน ทักษะชีวิตและการศึกษ าเพ่ื อ

ภาคบังคับ ปัญหาที่พบคือ เด็กในวัยน้ี พัฒนาสังคมและชุมชนเช่นเรื่อง

กำลังเป็นวัยท่ีกำลังเรียนรู้ บางคน ครอบครวั อบอุ่น ความรูเ้ รื่องยาเสพ

ครอบครวั ไม่เอาใจใส่อย่างใกล้ชดิ ทำให้ ตดิ ท้องก่อนวยั อันควร

เด็กเหล่านี้หลงผิดไปได้ง่าย เพราะวัยน้ี

เป็นวยั อยากรู้อยากลอง กำลังตดิ เพ่ือน

ทำใหเ้ รยี นไม่รู้เร่อื งและเรียนไมจ่ บ

กลมุ่ เด็กและเยาวชน -เยาวชนกลุ่มอายุ 15 -25 ปี ประสบ -สนับสนุนส่งเสริมแนะแนว จัก

ปัญหาการเรียนไมจ่ บในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน

ด้วยสาเหตุต่างๆเช่นปัญหาครอบครัว ตามความพร้อมและคุณสมบัติของ

แตกแยก ปัญหาท้องในวัยเรียน ปัญหา ผู้เรียนในแต่ละระดับ

ติดเกมส์ เป็นจำนวนมาก -จั ด กิ จ ก ร ร ม พั ฒ น าคุ ณ ภ า พ ชี วิ ต

-กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้เม่ือเข้ามาเรียน (กพช)ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เสริมให้

การศึกษานอกระบบจะไม่มีความ ผู้เรียนตามหลักสูตร ส่งเสริมให้

รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง จึงทำ ผู้เรียนมีทักษะและการดำเนินชีวิต

ให้ไม่ประสบผลสำเร็จในการเรียน มจี ิตใจอาสา ชว่ ยเหลอื สงั คม

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

24

กลุม่ เป้าหมาย ปญั หาและความตอ้ งการ แนวทางแก้ไข

กลุ่มประชากรวัยแรงงานระหว่าง - กลุ่มจะเป็นกลุ่มวัยทำงานส่วนใหญ่ -สนับสนุนส่งเสริมแนะแนว จัก

อายุ 25-59 ปี จะประสบปัญหาในเรื่องการไม่มีเวลา การศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน

พัฒนาตนเองในด้านการศึกษาเพราะ ตามความพร้อมและคุณสมบัติของ

ตอ้ งทำงานหาเล้ียงครอบครัว ผู้เรียนในแตล่ ะระดับ

-ส่ ง เส ริ ม ส นั บ ส นุ น จั ด กิ จ ก ร ร ม

การศึกษาต่อเน่ืองได้แก่ การพัฒนา

อาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ

ชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม

และชุมชนและการสร้างสังคมแห่ง

ก า ร เรี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง

เศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือไปส่งเสริม

อาชีพให้กลมุ่ เป้าหมายมีอาชีพ เพ่ิม

รายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ที่ เส ริ ม ส ร้ า ง ทั ก ษ ะ

ต่างๆในการดำเนินชีวติ โดยนำหลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การ

ปฏิบัติ ให้เกิดการพัฒนาตนเอง

ชุ ม ช น เพื่ อ ส ร้ า ง สั ง ค ม แ ห่ ง ก า ร

เรียนร้แู ละการมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีขึ้น

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่รี ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

25

กลมุ่ เปา้ หมาย ปัญหาและความตอ้ งการ แนวทางแก้ไข
กลมุ่ ผูส้ ูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป
-ผู้สูงอายุขาดความรู้ความเข้าใจการ -จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา

ดูแลสุขภาพตนเอง ทักษะชีวิตด้านการดูแลสุขภาพ

-ผู้สูงอายุการขาดดูแลเอาใจใส่จาก อนามยั การออกกำลงั กาย

ครอบครวั -จัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา

-การส่งเสริมกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุ อาชีพ ที่เหมาะสมกับ ผู้สูงอายุ

ขาดความตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือให้ผู้สูงอายุมีรายได้ และมี

กิจกรรมทำอาจทำเป็นกลุ่มหรือ

เป็นบุคคลก็ได้เช่น การทำอาหาร-

ขนม หรืออาหารเพื่อสขุ ภาพ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

26

ส่วนที่ 3

การวิเคราะห์ SWOT ของ กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

ตารางวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร

ประเดน็ พจิ ารณา จดุ แขง็ (S : Strength) จุดอ่อน (W : Weakness)

1. ด้านบุคลากร/อาสาสมัคร/ 1. ครู กศน.ตำบล มีทักษะ ความรู้ 1. อาสาสมัคร/เครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม

เครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม กศน. ด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ กศน.ตำบล ขาดทักษะด้านการใช้สื่อ

ตำบล แ ล ะ มี ก ารพั ฒ น าต น เอ งอ ย่ าง เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ตอ่ เนอ่ื ง 2. อาสาสมัคร/เครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม

2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีวิทยากร กศน.ตำบล ขาดแรงจงู ใจในการทำงาน

ส อ น ห ลั ก สู ต ร วิ ช า ชี พ ร ะ ย ะ ส้ั น ท่ี

หลากหลาย

3. กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีภูมิ

ปั ญ ญ าท้ อ งถ่ิน แห ล่งเรียน รู้ท่ี

หลากหลายรองรบั ความต้องการของ

ผ้เู รียนและผู้รบั บริการ

2. ดา้ นหลกั สตู ร/กจิ กรรม 1. ก ศ น .ต ำบ ล ล าด บั ว ข าว มี 1. ผู้ เรียน บ างค น ไม่ ส าม ารถ ร่วม ท ำ

ห ลั ก สู ต ร วิ ช า ชี พ ร ะ ย ะ ส้ั น ท่ี กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน

หลากหลาย สอดคล้องกับความ (กพช.) จำนวน 200 ช่วั โมง

ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย 2. หลักสูตรการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนา

2. ครู กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีการ อาชีพยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย

พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกให้ ขาดความต่อเนื่องในการต่อยอดไปสู่การมี

สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและ รายไดแ้ ละการมีงานทำอยา่ งยัง่ ยนื

กลุ่มเปา้ หมาย

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่รี ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

27

ประเดน็ พจิ ารณา จุดแข็ง (S : Strength) จดุ อ่อน (W : Weakness)
3. ผู้เรียน/ผูร้ บั บริการ
1. ก ศ น .ต ำ บ ล ล า ด บั ว ข า ว มี 1. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีพื้นฐานความรู้ไม่
4. ดา้ นระบบบริหาร/จดั การ
- ดา้ นบริหารท่ัวไป ห ลั ก สู ต ร วิ ช า ชี พ ร ะ ย ะ ส้ั น ท่ี เท่ากัน ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการจัดการ

- ดา้ นบริหารการเรยี นการสอน หลากหลาย สอดคล้องกับความ เรียนการสอนของ กศน.ตำบล

ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย 2. ผู้เรียนบางคนต้องประกอบอาชีพทำให้

2. ครู กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีการ ไม่สามารถมาเรียนและไม่มาสอบตาม

พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือกให้ กำหนดได้

สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและ 3. ผู้เรียนส่วนใหญ่เป็นประชากรแฝง มี

กลุ่มเป้าหมาย ภาระต้องประกอบอาชีพเลี้ยงดูครอบครัว

และมีการย้ายถิ่นฐานบ่อย ส่งผลกระทบ

ต่อการจัดการเรียนการสอนของ กศน.

ตำบล

1. กศน.ตำบล มีระบบการนิเทศ 1. การใช้จ่ายงบประมาณรายไตรมาสไม่

กำกับ และติดตามผลการปฏิบัติงาน เป็นไปตามเป้าหมายทก่ี ำหนด

อย่างต่อเนือ่ งและเปน็ ปจั จบุ นั 2. กศน .ตำบ ล ได้รับ งบ ป ระมาณ ไม่

2. กศน.ตำบล มีโครงสร้างองค์กร/ เพียงพอตอ่ การปฏิบตั ิงาน

การดาเนินงานทชี่ ัดเจน ในทุกกลมุ่ เป้าหมาย

ทาให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี 3. บา้ นหนังสอื ชมุ ชนตั้งอยู่หา่ งไกลชมุ น

ประสทิ ธภิ าพ ไมเ่ ป็นไปตามวัตถุประสงคข์ องการจัดตั้งท่ี

3. กศน.ตำบล มีระบบบรหิ ารจดั การ มงุ่ เนน้ การมีส่วนรว่ มของประชาชนในพนื้ ท่ี

แบบมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย ผู้

นาชุมชน และอาสาสมัคร กศน.

ตำบล

1. กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีการใช้ 1. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ไม่มีการจัดการ

สื่อการสอนตรงตามหลักสูตรและ เรียนการสอนหลักสตู รอาชวี ศึกษา

สาระการเรยี นรู้รายวชิ าทก่ี ำหนด 2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ไม่มีการจัดการ

2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว มีการ เรยี นการสอนสาหรับผู้พิการ เด็กพิเศษ

จัดทำแผน

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทรี่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

28

ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร

ประเด็นพจิ ารณา จดุ แข็ง (S : Strength) จดุ ออ่ น (W : Weakness)
5. ด้านโครงการพื้นฐาน
แผนจัดการเรียนรู้ครบทุกรายวิชา

ทุ ก ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ใน แ ต่ ล ะ ภ า ค

เรยี น

1. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ตั้งอยู่ใน 1. กศน.ตำบลลาดบวั ขาว ไมม่ ีอนิ เทอร์เน็ต

พื้นที่ชุมชน มีความสะดวกในการ ความเร็วสูงเพ่ือใช้งานและให้บริการต่อ

คมนาคม ผู้เรียนและผู้รับบริการมี กลุม่ เป้าหมาย

ความสะดวกในการเดินทางและรับ 2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ไม่มีอาคารเป็น

บริการทางการศกึ ษา เอกเทศ ทำให้ไม่สะดวกในการจัดการเรียน

2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ใช้ส่ือ การสอนใหแ้ ก่ผ้รู ับบรกิ ารทางการศกึ ษา

เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบการ

จดั การเรียนการสอน

ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์กร

ประเด็นพิจารณา จดุ แขง็ (S : Strength) จุดออ่ น (W : Weakness)
1. ด้านนโยบายระดับตา่ งๆ
- นโยบายรัฐบาล 1. สำนักงาน กศน.มีนโยบายท่ีชัดเจน 1. มีการปรับเปล่ียนนโยบายบ่อยส่งผลให้
- นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- นโยบายสำนักงาน กศน. ทาให้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางใน ครู กศน.ตำบล มีภาระงานเพ่ิมขน้ึ ส่งผลให้
- นโยบายจงั หวัด
การปฏิบตั ิงานได้ การจัดกจิ กรรม กศน.ตำบล ไมต่ ่อเน่ือง
2. ดา้ นสภาพของชมุ ชน
- เศรษฐกจิ 2. สำนักงาน กศน.จังหวัด มีนโยบาย 2. ภารกิจของ ครู กศน.ตำบล มีมากขึ้น
-การเมอื ง
สอ ด ค ล้อ งกับ น โย บ าย ห ลั กข อ ง นโยบายเร่งด่วนในระยะเวลาจากัดส่งผล

สำนกั งาน กศน. ให้การปฏิบัติงานได้ไม่ทันตามระยะเวลาที่

3. สถานศึกษามนี โยบายสอดคล้องกับ กำหนด

นโยบายจากต้นสังกัด

1. ชุมชนให้การส่งเสริมสนับสนุนการ 1. ประชาชนในชุมชนมีความเช่ือด้าน

จดั กิจกรรม กศน.ตำบลอย่างดี การเมืองท่ีหลากหลาย ทำให้การจัด

2. ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ มคี วามรู้ กจิ กรรมของ กศน.ตำบล ไม่เป็นไปตาม

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทรี่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

29

ตารางวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกองคก์ ร

ประเด็นพิจารณา จุดแขง็ (S : Strength) จดุ อ่อน (W : Weakness)
-สังคม/วัฒนธรรม
ความสามารถท่ีหลากหลายและเอ้ือ เปา้ หมาย
3. ด้านภาคเี ครือข่าย
(ปริมาณ/คุณภาพ) ต่อการจัดการศกึ ษา กศน.ตำบล 2. ประชาชนบางส่วนมีรายได้น้อยต้องใช้

3. แหล่งเรียนรู้ในชุมชนมีอย่าง เวลาส่วนใหญ่ ในการประกอบอาชีพ

หลากหลาย สามารถนาไปใช้จัด การเกษตร และผู้ใช้แรงงาน จึงทำให้ไม่

กิจกรรม กศน.ตำบล ได้อย่างมี เห็นความสำคัญของการจัดการเรียนการ

คณุ ภาพ. สอนของกศน.ตำบล

ภาคีเครือข่ายและผู้นำชุมชน ให้การ 1. ภาคีเครือข่ายและผู้นำชุมชน ขาด

สนับสนุนการจัดกิจกรรม กศน. ทักษะด้านการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตำบลลาดบัวขาว เป็นอย่างดี เพ่ือการดำเนินชวี ติ ในประจำวนั

2. กศน.ตำบลลาดบัวขาว ขาดงบประมาณ

การสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายในการ

จัดตัง้ แหลง่ เรยี นร้ใู นตำบล

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ท่ีร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

30

ผลการวิเคราะห์ SWOT ของ กศน.ตำบลลาดบัวขาว ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓

จดุ แข็ง (Strengths - S) จุดอ่อน (Weaknesses - W)

- มีอาคาร และสถานที่ ใกล้ชุมชนและมีพ้ืนทใี่ นการ - ยังขาดความพร้อมด้านสื่อสอนเสรมิ เชน่ CD ,

จดั การเรยี นการสอน ท่ีเพียงพอ DVD , E-book , จานรับสัญญาณดาวเทยี มเพื่อ

- มสี าธารณปู โภค น้ำประปา ไฟฟ้า และไดร้ ับความ การศึกษา และส่ือมัลติมีเดยี ฯลฯ

อนุเคราะหค์ า่ สาธารณปู โภค จาก วัดลาดบัวขาว - นักศกึ ษา กศน.ลาดบัวขาว ขาดสอบคอ่ นข้างมาก

- มีโทรทัศน์ มสี อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ อินเทอรเ์ นต็ เนอ่ื งจากยังขาดความสนใจในการเรยี น และขาด

ความเร็วสงู ไวใ้ หผ้ ู้เรียนผรู้ บั บริการ ได้ใชง้ าน เป้าหมายในการเรยี นอยา่ งจริงจงั (ตามเกณฑ์ต้องได้

ตลอดเวลา ๘๐ % แต่เทอม ๒/๒๕๖๓ ได้ ๗๑%

- มสี อ่ื หนงั สอื ท่ีเพียงพอ ต่อการเรียนการสอน - นักศึกษา กศน.ลาดบวั ขาว จบการศกึ ษาในแตล่ ะ

- มีคณะกรรมการ กศน.ตำบลลาดบัวขาว ท่ีคอยให้ ภาคเรยี นค่อนข้างน้อย จากการสำรวจสอบถาม

คำแนะนำและชว่ ยประสานงานในการทำงาน สาเหตสุ ่วนมากมาจาก เวลาสอบปลายภาค ลาที่

ระหวา่ ง กศน.ลาดบัวขาว และเครือขา่ ยในพ้นื ท่ี ทำ ทำงานได้เฉพาะวนั อาทิตย์ ทำให้มาสอบไดไ้ ม่ครบ

ใหก้ ารทำงานมีความคล่องตวั เชน่ การประสานงาน ทุกวิชา ทำให้ไม่จบตามเกณฑ์

ด้านสถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรมงานต่อเนื่อง เปน็ ตน้ - นกั ศกึ ษา กศน.ลาดบวั ขาว มารว่ มกจิ กรรมพัฒนา

- มีการสำรวจและทำข้อมูล แหล่งเรยี นรู้และภมู ิ คุณภาพชีวติ (กพช.) ค่อนข้างน้อย เนือ่ งจากในวัน

ปญั ญาท้องถิน่ ทหี่ ลากหลาย อยา่ งเป็นระบบ และมี ธรรมดาไมส่ ามารถลางานมาทำกิจกรรมได้ มาทำ

การเผยแพรภ่ ายใน กศน.ตำบลและสอ่ื หนงั สอื ภมู ิ กจิ กรรมไดเ้ ฉพาะวนั อาทิตย์ในวนั ท่ที ำงานหยุด ถา้

ปัญญาท้องถิ่น หยดุ วันธรรมดาจะโดนหักค่าจา้ งแรงงาน

- นักศึกษา กศน.ลาดบวั ขาว มผี ลการสอบการ - นักศกึ ษา กศน.ลาดบัวขาว มยี อดนักศึกษาจบใน

ประเมินระดับชาติ เทอม ๒/๒๕๖๓ ได้ ๑๐๐% เทอม ๒/๒๕๖๓ ได้ ๘๐%

โอกาส (Opportunities - O) อุปสรรค/ความเสีย่ ง (Threats - T)

- ภาคีเครอื ขา่ ยในชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจัด - การจัดสรรงบประมาณจากหน่วยงานภาครฐั ล่าช้า

กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม ทำใหก้ ารประสานงานกบั ผ้รู บั บริการ วิทยากร ทำ

อธั ยาศยั ใหไ้ มเ่ ป็นไปตามแผนการดำเนินการที่ตง้ั ไว้

- มีแหลง่ เรยี นร้แู ละภมู ิปัญญาท้องถิน่ ด้านเศรษฐกิจ - การสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณจากองค์การ

พอเพียง และวิทยาการด้านวิชาชีพอย่างเพยี งพอ ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ภาคเอกชนไม่เพยี งพอตอ่ การ

- มีอาสาสมคั รชมุ ชนชว่ ยดำเนนิ งาน กศน.ตำบล จัดการศึกษาด้านต่างๆ

ช่วยใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย

- วดั ลาดบัวขาวใหค้ วามอนเุ คราะหอ์ าคารสถานที่ ที่

เปน็ สัดสว่ น ให้กบั กศน.ลาดบัวขาว ใช้ในการทำ

เป็นท่ีทำการ ของ กศน.ตำบลลาดบวั ขาวเปน็ อยา่ งดี

เยยี่ ม

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่ีร้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

31

- จากการสำรวจการใช้สื่อโทรศพั ท์ นักศึกษา กศน. อุปสรรค/ความเสีย่ ง (Threats - T)

ลาดบวั ขาว ทุกคนมโี ทรศพั ท์ส่วนตัว และสามารถใช้ - การจดั สรรงบประมาณจากหนว่ ยงานภาครัฐล่าช้า

อินเทอรเ์ นต็ ได้ และมีความสามารถในการใช้ ทำให้การประสานงานกับผู้รับบริการ วทิ ยากร ทำ

เทคโนโลยีดา้ นโทรศัพท์ ทำให้ ครู สามารถจดั การ ใหไ้ ม่เป็นไปตามแผนการดำเนินการท่ตี ัง้ ไว้

เรียนการสอนแบบออนไลน์ได้ เรียนไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา - การสนบั สนนุ ด้านงบประมาณจากองค์การ

เมื่อมเี วลาวา่ ง เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรู้ ปกครองสว่ นท้องถ่นิ ภาคเอกชนไมเ่ พียงพอตอ่ การ

ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง จดั การศกึ ษาด้านต่างๆ

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่รี ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

32

ส่วนท่ี 4
แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาของ กศน.ตำบลลาดบัวขาว

แนวทางการพัฒนา กศน.ตำบลลาดบวั ขาว

กศน.ตำบลลาดบัวขาว โดยครู ผู้เรียน คณะกรรมการ กศน.ตำบล อาสาสมัคร กศน.และ
ประชาชนในพื้นท่ีตำบลลาดบัวขาวมีส่วนร่วมในการกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ จุดเน้น/จุดเด่น
การดำเนินงาน พันธกิจ และเป้าประสงค์ ภายใต้กรอบปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ของ กศน.
อำเภอ โดยมีกลยุทธการดำเนินงานจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ภายใต้โครงการ/
กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับข้อมูลสภาพปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและข้อมูลผลการประเมิน
ตนเองในรอบปีที่ผ่านมา ไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการ
ปฏิบตั ิงานการพฒั นาคุณภาพการจัดกาศกึ ษาในพืน้ ที่ตำบลให้มีประสทิ ธภิ าพโดยมีทิศทางการพัฒนา ดงั น้ี
ปรชั ญา

“ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาชวี ติ และพฒั นาสังคม ”
วิสัยทัศน์

สรา้ งโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ พฒั นาคุณธรรม น้อมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พนั ธกจิ

1. จัดการศึกษานอกระบบขั้นพ้ืนฐานทุกระดบั อยา่ งทวั่ ถึงและมีคณุ ภาพ
2. จัดการศกึ ษาต่อเน่ืองเพอ่ื ใหป้ ระชาชนใหม้ ีคณุ ธรรมจริยธรรม มรี ายได้

สามารถดำรงอาชพี อยา่ งย่งั ยนื ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. จดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
4. ขยาย ส่งเสรมิ และพัฒนาภาคเี ครือขา่ ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
5.พัฒนาสถานศึกษาและบคุ ลากร
กลยุทธ์(Strateqy)
1. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกระดับและขยายการบริการให้ครอบคลุมทุ ก

กล่มุ เปา้ หมาย
2. พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี ทักษษะชวี ติ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน
3. พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั และสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ิต
4. ส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพของภาคีเครอื ขา่ ย
5. พฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การ
เป้าประสงค์
1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่มีคุณภาพ อยา่ งท่ัวถงึ และเท่าเทยี ม
2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยที่เปน็ ไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแตล่ ะกลุ่ม

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ท่รี ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

33

3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและปรัชญาคิดเป็น อาทิ หมู่บ้านตามรอยพระยุคลบาท หมู่บ้านแห่งการอ่าน บ้านหนังสือชุมชน
แหล่งการเรยี นรชู้ มุ ชน

4. ประชาชนได้รบั การส่งเสริมกระบวนการเรยี นรูเ้ พื่อแกป้ ญั หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตำบล ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อ่ืนในชุมชนเป็น
กลไกในการจดั การเรียนรู้

5. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สามารถประยกุ ต์ใช้ในการแกป้ ญั หา และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตได้อย่างสรา้ งสรรค์

6. ชุมชนมีการจัดการความรขู้ องชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และส่ิงแวดลอ้ ม

7. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

8. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาและนาสอ่ื เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ส่อื สาร มาใช้ในการเพ่ิมโอกาสและยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้

9. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาไดร้ บั การพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึง

10. หน่วยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล

ตวั ช้ีวัด
1. จำนวนกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาที่ได้รับบริการการศึกษานอกระบบ

ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานโดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย
2. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ (กลุ่มเป้าหมายทั่วไป กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มคนไทย

ทั่วไป เป็นต้น) ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ท่สี อดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหา และความต้องการ
3. รอ้ ยละของผเู้ รียนและผ้รู บั บริการท่ีมผี ลสมั ฤทธิต์ ามจดุ ม่งุ หมายการเรียนรู้ของแตล่ ะหลกั สตู ร/กิจกรรม
4. ร้อยละของผู้ไมร่ หู้ นงั สือทผ่ี ่านการประเมนิ การรู้หนังสือตามหลกั สตู รส่งเสรมิ การรู้หนังสือ
5. ร้อยละของชุมชนท่ีมีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้อันเป็นผลจากการเข้าร่วมกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
6. ร้อยละของชมุ ชนท่ใี ช้แหล่งการเรยี นร้ชู มุ ชนในการจดั กระบวนการเรียนรู้ในชุมชน
7. จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการศึกษาอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ และภาษากลุ่ม
ประเทศอาเซยี น
8. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษากลุ่มประเทศอาเซียนและ
อาเซยี นศึกษาท่ีผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามหลกั สตู ร

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทร่ี ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

34

9. จำนวนกิจกรรม/หลักสูตรที่ใช้กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็น
กระบวนการ/สาระในการเรยี นรู้
10. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ ท่ีร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
11. จำนวน/ประเภทของสื่อ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีการจัด/พัฒนาและนำไปใช้เพ่ือส่งเสริมการ
เรยี นรู้ของผเู้ รียน/ผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
12. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่เข้าถึงบริการความรู้นอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยผ่านช่องทางสือ่ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร
13. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
14. ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทำรายงานการประเมิน
ตนเอง
15. ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ผ่านการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ.
16. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน.ท่ีมีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
การจัดทำฐานข้อมูลชุมชนและการบริหารจัดการ เพ่ือสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ลดความเหลือ่ มล้ำ สรา้ งโอกาส และยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา
จุดเนน้ การดำเนนิ งาน

1.1 เร่งลดจำนวนผไู้ ม่ร้หู นังสอื
1.2 มุ่งเน้นจัดการศึกษานอกระบบให้กับกลุ่มเป้าหมายท่ัวไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ อาทิ
ประชาชนวัยแรงงานท่ีไม่จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เด็กออกกลางคัน พื้นที่ชายขอบ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ
เร่ร่อน กลุ่มชาติพันธ์ ชนกลุ่มน้อย ชายแดนใต้ แรงงานต่างด้าว ที่สอดคล้องกับ สภาพ ความต้องการ และ
ความจำเป็น ของแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย
1.3 ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาและการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย “ปรับวิธีเรียน เปล่ียนวิธีจัดการเรียนรู้” โดยการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาส่ือ การพัฒนาส่ือ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การพัฒนาระบบ ICT การพัฒนาบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง การพัฒนารูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา การประเมินเทียบระดับการศึกษา
การพฒั นาการสะสมและเทยี บโอนผลการเรียน และให้ความสำคัญกับการวิจยั เพื่อการพัฒนางานในรปู แบบ
ตา่ งๆ
1.4 ใช้สอื่ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยกี ารส่ือสารที่ทันสมัยและเหมาะสมเป็นเคร่ืองมือ
ในการสร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษา อาทิ การจัดการศึกษานอกระบบผ่านทีวีสาธารณะ (ติวเข้ม
เติมเต็มความรู้) ETV วิทยุกระจายเสียง Social Media ในรูปแบบต่างๆ Application บน Smart Phone
สื่อ Off Line ตลอดจนส่งเสริมให้มีการสร้างองค์ความรู้ท่ีหลากหลาย มีความถูกต้องและสอดคล้องกับ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : วา่ ทีร่ ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

35

ความจำเป็นและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั เสนอผ่านชอ่ งทางดังกล่าว

1.5 สร้างค่านิยมอาชีวศึกษา เพิ่มสัดส่วนอาชีวศึกษาโดยขยายโครงการ “เรียนร่วมหลักสูตร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.” (ทวิศกึ ษา กศน.) ใหค้ รอบคลมุ ทกุ จงั หวดั

1.6 มุ่งเน้นการฝึกหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ันในวิชาช่างพ้ืนฐาน (ช่างไม้ ช่างปูน ช่างเชื่อม ช่าง
ก่อสร้าง ช่างประปา ช่างไฟฟ้า ฯลฯ) และวิชาชีพระยะส้ันอ่ืนๆ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน บริบทของพ้ืนที่ และส่งเสริมการใช้ระบบเทคโนโลยีเพอื่ การพัฒนาอาชีพ ในอนั ที่จะประกอบ
อาชพี ท่สี ร้างรายไดไ้ ดจ้ ริง

1.7 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพแรงงาน ในจังหวัดท่ีมี
พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อสร้างโอกาสและศักยภาพ ในการสร้างงานและการพัฒนาอาชีพท่ีเป็นไปตาม
ความตอ้ งการและบรบิ ทของพน้ื ท่ีพิเศษ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 สร้างอุดมการณ์ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ และสรา้ งค่านยิ มท่พี งึ ประสงค์
จุดเน้นการดำเนินงาน

2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสนับสนุนโครงการอัน
เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกีย่ วเน่อื งจากพระราชวงศ์

2.2 ส่งเสริมให้ชุมชนจัดตั้งหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เพ่ือเสริมสร้างอดุ มการณ์ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.3 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต การสร้างจิตสาธารณะ การต้านยาเสพติด ใน
รปู แบบกิจกรรมลูกเสอื ยวุ กาชาด กจิ กรรมค่าย การแข่งขันกฬี า

2.4 ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เร่ืองประวัติศาสตร์และข้อมูลความเป็นมาของชุมชนเพ่ือสร้างสานึก
การรกั ถน่ิ และสรา้ งความเข้มแขง็ ของชุมชน

2.5 เร่งสร้างความรู้ ความตระหนัก และปลูกจิตสานึกด้านคุณธรรม จริยธรรมตามหลักธรรมาภิ
บาล ตลอดจนความรู้เร่ืองกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานให้กับ
บุคลากรทกุ ระดบั ทกุ ประเภท

ยุทธศาสตร์ที่ 3 จดั การศกึ ษาเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรียนรู้ทกุ ช่วงวยั และพัฒนาคุณภาพชีวิต
จุดเน้นการดำเนินงาน

3.1 มุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน “สร้างการอ่าน เสริมการเรียนรู้” ในรูปแบบ
หมูบ่ า้ น/ชมุ ชนแหง่ การอ่าน อาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น บา้ นหนังสือชมุ ชน

3.2 มุ่งเน้นการจัดการศึกษาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว อาทิ หลักสูตร
ครอบครัวการศกึ ษา คา่ ยครอบครวั การจดั กระบวนการเรียนรู้สาหรบั ผ้สู ูงอายุ Book-start การสง่ เสรมิ การ
อ่านสำหรบั ปฐมวยั บา้ นหลังเรียน

3.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนในรูปแบบกลุ่มสนใจในเรื่องต่างๆ อาทิ
การจัดการขยะ การประหยัดพลังงาน การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การใช้กระบวนการเรียนรู้

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่รี ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

36

ทางวิทยาศาสตร์ สุขภาพอนามัย ความรู้เร่ืองภาษาและวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศอาเซียน ความสามัคคี
ปรองดอง ความพอเพียง

3.4 ดำเนินการจัดต้ังศูนย์ข้อมูลด้านอาเซียนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ทำหน้าท่ีรวบรวมและ
จัดทำฐานข้อมูลพื้นฐานของศูนย์อาเซียนของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สังเคราะห์แนวทาง
การดำเนินการของศูนย์อาเซียนในแต่ละพื้นที่ และจัดทำข้อเสนอเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนามาตรฐาน
ศนู ยฯ์

3.5 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนเชิงรุกท่ีหลากหลาย ทันสมัย สร้างสรรค์
ต่อเน่ือง และตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชนและความจำเป็นเร่งด่วนต่างๆ ของแต่ละ
ชุมชน รวมท้ังมีการบูรณาการความรู้ในชุมชนเพ่ือเชื่อมโยงกับหลักสูตรต่างๆ ของ กศน. และใช้ทุนทาง
สังคมของแต่ละชุมชนให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ โดยใช้ กศน.ตำบล/แขวง ท่ีดำเนินการอยู่แล้วให้เกิด
ประโยชนส์ งู สุด

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 พัฒนา กศน.ตำบล ให้เป็นกลไกการขับเคลอ่ื นการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อ
สรา้ งและกระจายโอกาสในการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตในชมุ ชน
จุดเนน้ การดำเนินงาน

5.1 สง่ เสรมิ และพัฒนาเครอื ขา่ ย กศน.ตำบล/แขวง โดยเน้นการประสานเช่ือมโยงระหว่าง บา้ น วัด
โรงเรียน และภาคีเครือข่ายอ่ืน ที่ดำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ เพ่ือการทางานร่วมกัน การส่งต่อ
ผู้เรียน และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ ในอันที่จะเสริมสร้างสมรรถนะสาหรับการให้บริการทาง
การศึกษาทต่ี อบสนองตอ่ ความต้องการของผเู้ รียนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

5.2 พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน กศน.ตำบล ให้มีความพรอ้ มเกี่ยวกบั โครงสร้างพ้ืนฐานด้วย ICT และ
เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอ่ืนที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ี เพ่ือให้ความพร้อมในการให้บริการการศึกษาและการ
เรยี นรทู้ ีเ่ ป็นไปตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชน และสรา้ งโอกาสในการเรียนรู้ได้อย่างท่ัวถึง

5.3 พัฒนากระบวนการดำเนนิ งานใน กศน.ตำบล โดยให้ความสำคญั กับการใช้วงจรคุณภาพเดมม่ิง
(PDCA) เพ่ือการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล และการนาผลมาพัฒนาการดำเนินงาน
กศน.ตำบล/แขวง อย่างตอ่ เนือ่ ง

กลไกการขับเคล่ือน
1. ระดับตำบล

1.1 จัดทาแผนพฒั นา กศน.ตำบล ในรปู แบบ Micro Planning เพื่อการขบั เคล่ือนงานระดับตำบล
1.2 ใช้ “แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตำบล” เป็นแนวทางการขับเคลือ่ นงานในสถานศกึ ษาและเปน็ กรอบ
แนวทางในการตดิ ตามประเมินผล
1.3 ใช้ชุมชนเป็นฐานในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กศน.โดย กศน.ตำบล ศนู ย์การเรียนชุมชน และ
แหลง่ เรยี นรชู้ มุ ชน เป็นหน่วยจดั และให้บริการ
1.4 ใชว้ งจรคณุ ภาพเดมมงิ่ (PDCA) ในกระบวนการดำเนนิ งาน

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทีร่ ้อยตรีวินยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

37

2. ระดบั สถานศกึ ษา
2.1 จัดทำแผนพัฒนา กศน.อำเภอ และแผนปฏิบัติการ กศน.อำเภอ โดยใช้ข้อมูลจากแผนพัฒนา

กศน.ตำบล และแผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตำบล
2.2 ใช้ข้อมูลแผนพัฒนา กศน.ตำบล และแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล ในสังกัดของ กศน.อำเภอ

เป็นส่วนหนง่ึ ในการบรหิ ารจัดการดำเนินงาน
2.3 สถานศกึ ษาขึน้ ตรงจัดทำแผนพฒั นาสถานศึกษาตามบทบาทภารกิจท่ีสอดคลอ้ งกับภารกิจของ

พ้นื ท่ี และกลุ่มเปา้ หมาย ตลอดจนสง่ เสริมสนับสนนุ การดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา
3. ระดับจงั หวัด

3.1 จัดทำแผนพัฒนา และแผนปฏิบัติการ กศน.ระดับจังหวัด โดยใช้ข้อมูลจากแผนพัฒนา กศน.
อำเภอ และแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอ

3.2 บริหารและกำกบั ติดตามให้เปน็ ไปตามแผน
4. ระดบั สำนกั

4.1 จัดทำนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน
4.2 การส่ือสารทศิ ทางองค์กรเพื่อสร้างความเข้าใจในการดาเนินงานตามนโยบายและจดุ เน้นให้กับ
บุคลากรทุกระดับ ทุกประเภท
4.3 ใชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจดั การเพื่อเพ่มิ ประสิทธิภาพในการ
ดำเนินการ
4.4 จัดทำมาตรฐาน และตัวบ่งช้ีการดำเนินงานเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผล
4.5 ปรับปรุงแก้ไข กฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติ และข้อตกลงความร่วมมือต่างๆ ให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง เอือ้ ต่อการจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4.6 จดั ทำคมู่ อื แนวทางการดำเนนิ งานในแตล่ ะกจิ กรรม
4.7 ระดมสรรพกาลังทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดส่งเสริม และสนับสนุนการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทรมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

แผนการจัดการศึกษานอกระบ
สำหรบั กลุ่มเป้าหมาย

การศกึ ษาข
กศน.ตำบล ลาดบัวขาว กศน.

1. การจดั การเรียนการสอน จำนวน สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน
นักศึกษา
ระดับ -
ผูไ้ มร่ ู้หนังสือ - กศน.ตำบล ลาดบัวขาว
ประถม
3

มัธยมศึกษาตอนตน้ 17 กศน.ตำบล ลาดบวั ขาว

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 24 กศน.ตำบล ลาดบวั ขาว

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าท่รี ้อยตรีวินยั สนุ ทร

38

บบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ยในตำบลลาดบวั ขาว

ขัน้ พนื้ ฐาน
.อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบรุ ี

วนั /เวลาทจ่ี ดั การ งบประมาณใน คา่ ตอบแทน เงนิ ประกนั
เรียนการสอน การจัด ครผู สู้ อน สังคม
-
- - - -

วนั ศกุ ร์ - -
09.00-12.00 น.
- -
วันศกุ ร์
09.00-12.00 น. -

วนั อาทติ ย์
09.00-12.00 น.

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

2. การจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น สถานที่จดั โครงก
กศน.ตำบล ล
ท่ี โครงการ/กจิ กรรม
1. สอนเสรมิ วชิ าคณติ ศาสตร์

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทร่ี ้อยตรีวนิ ยั สนุ ทร

39

การ/กจิ กรรม จำนวนผ้เู ขา้ ร่วม งบประมาณ หมายเหตุ
ลาดบวั ขาว โครงการ/กิจกรรม 2,400 บาท
-
20 คน -
-

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

การศึกษา
กศน.ตำบล ลาดบัวขาว ก

1. หลักสตู รระยะส้นั (ไม่เกนิ 30 ชัว่ โมง)

ที่ หลักสตู ร จำนวนกล่มุ เป้าหมาย (คน)
ชื่อหลกั สูตร ช่ัวโมง ผูด้ อ้ ยโอกาส ผ้สู ูงอายุ อนื่ ๆ (ร
10 - - 8
1 การติดตง้ั ผ้าม่าน 25 - - 8

2 ชา่ งเดินไฟฟ้าภายในอาคาร

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทร่ี ้อยตรีวินยั สนุ ทร

40

าตอ่ เนอ่ื ง
กศน.อำเภอ บ้านโป่ง จังหวดั ราชบุรี

ระบุ) สถานท่ีจัด ระยะเวลาดำเนนิ การ งบประมาณ
คา่ ตอบแทน ค่าวสั ดุ

กศน.ตำบลลาดบวั ขาว 10-11 มถิ นุ ายน 2564 2,000 -

หม่ทู ่3ี ตำบลลาดบวั ขาว 28 มกราคม 2561 5,000 -

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

การศึกษา
กศน.ตำบล ลาดบัวขาว ก

2. หลักสตู ร ชัน้ เรยี น (31 ชว่ั โมงขน้ี ไป)

ที่ หลักสูตร จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (คน)
ชอ่ื หลักสตู ร
ช่ัวโมง ผู้ด้อยโอกาส ผูส้ ูงอายุ อืน่ ๆ (ร

1 การสานของใชจ้ ากเสน้ พลาสตกิ 35 - - 12

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวินยั สนุ ทร

41

าต่อเน่อื ง
กศน.อำเภอบา้ นโป่ง จังหวัดราชบุรี

ระบุ) สถานทจี่ ดั ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ
วัดลาดบัวขาว 2 - 16 มถิ ุนายน 2564 ค่าตอบแทน คา่ วสั ดุ

5,000 1,720

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

การศกึ ษาเพ่อื พ
กศน.ตำบล ลาดบัวขาว กศน.อ
กจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ

ที่ โครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร รปู แบบการจัด
กลุม่ สนใจ ชนั้ เรยี น ฝกึ อบร

1 การปอ้ งกนั และควบคุมโรค 17

ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าที่ร้อยตรีวนิ ยั สนุ ทร

42

พัฒนาทักษะชีวิต
อำเภอ บา้ นโป่ง จังหวัดราชบรุ ี

งบประมาณ
รม สถานท่จี ัด ระยะเวลาที่จดั คา่ วทิ ยากร ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ รวม

รพสต.ลาดบวั ขาว กรกฎาคม 1,000 734 - 1,734
2564

รมจั ฉะ ( ครู กศน.ตาบล )

การศกึ ษาเพอ่ื เรยี นรู้หลักป
กศน.ตำบล ลาดบวั ขาว กศน.อ

กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ขตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ที่ โครงการ/กิจกรรม/หลักสตู ร รูปแบบการจัด สถานท่จี ัด
กลุ่มสนใจ ชั้นเรียน ฝึกอบรม

1 การปลูกพืชสมนุ ไพรตา้ นภยั 15 ม.4ต.ลาดบวั ขาว

โควิด - 19

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.ตาบลลาดบวั ขาว ประจาปีงบประมาณ 2564 (ไตรมาส3-4) จดั ทาโดย : ว่าทร่ี ้อยตรีวินยั สนุ ทร


Click to View FlipBook Version