The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pataraporn rukkarndee, 2019-10-14 03:32:59

คณิตศาสตร์

คณิตศาสตร์

หลักสตู รโรงเรยี นประถมฐานบินกาแพงแสน

1. สว่ นนา
1.1 ความนา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 1239/2560 ลง
วันที่ 7 สิงหาคม 2560 และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ 30/2561 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561
ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2561 โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4
ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา 2561 เปน็ ต้นไป ให้เป็นหลักสตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการ
เรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 เพอื่ ให้สอดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2561 ในกลุ่มสาระ
การเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สาระภมู ิศาสตร์ และบรู ณาการสาระหน้าที่พลเมืองเขา้ กบั วชิ าพน้ื ฐานของกลุ่มสาระ
การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในทุกระดับช้ัน ทั้งน้ีหลักสูตรสถานศึกษาจัดทาข้ึนเพื่อนาไปใช้ประโยชน์
และเป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสตู รไปสู่
การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ รวมถึงพัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อมตามจุดเน้นและวิสัยทัศน์ของโรงเรียน โดยมีกรอบจากหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นแนวทางทช่ี ัดเจนเพอื่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการ
ก้าวสู่สังคมคณุ ภาพ มีความรูอ้ ย่างแท้จรงิ และมีทักษะในศตวรรษท่ี 21

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องทั้ง
ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ื อง ในการ
วางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คุณภาพตาม
มาตรฐานการเรยี นรทู้ ี่กาหนดไว้

โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน เปิดสอนครั้งแรก ปี พ.ศ. 2512 เน่ืองด้วยกองทัพอากาศย้ายโรงเรียนการ
บินมาจากนครราชสีมา มาต้ังท่ีหมู่ 7 ตาบลกระตีบ อาเภอกาแพงแสน จังหวดั นครปฐม จงึ ย้ายโรงเรียนประจากองบินมา
ดว้ ย เพ่ือให้ลูกหลหานทหารไดม้ ที ่ีเรยี นในบริเวณท่ีตั้งของโรงเรียนการบนิ โดยแบ่งเนื้อท่ใี ห้ 52 ไร่ สร้างอาคารเรียนและ
อาคารประกอบให้บางส่วน คือสร้างอาคารเรียนแบบ 008 ดัดแปลงจานวน 2 หลัง 24 ห้องเรียน โรงอาหารขนาดใหญ่
จานวน 1 หลัง โรงจอดรถจักรยาน จานวน 2 หลัง ส้วมขนาดใหญ่สาหรับนักเรียนชาย – หญิง จานวน 1 หลัง 15 ที่นั่ง
เม่ือสร้างอาคารเรียนและอาคารประกอบเสร็จแล้วจึงเปิดสอนครั้งแรก เม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม 2512 กองทัพอากาศได้
มอบอาคารเรียนและอาคารประกอบทั้งหมดให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐมเป็นผู้บริหารการศึกษาต่อไป
สาหรบั ครู-อาจารย์สว่ นใหญ่ย้ายตดิ ตามสามีมาจากจังหวัดนครราชสีมา โรงเรียนเปดิ สอนตง้ั แต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 7 ในปี พ.ศ. 2516 องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นครปฐม มีนโยบายช่วยเหลือผ้ปู กครองจงึ ให้โรงเรยี น

เปิดสอนช้ันเด็กเล็กขึ้นดว้ ย ในครั้งแรกเปิด 2 ห้อง ตอ่ มาขยายเป็น 4 หอ้ ง การเรียนการสอนดาเนินไปตามหลักสูตรของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ สายการบังคับบญั ชาสมัยนั้นขึ้นอยกู่ ับองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั นครปฐม

ในวันท่ี 1 ตุลาคม 2523 ได้มีการโอนโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดไปสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ช้ันเด็กเล็ก ถึงชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 6 ต้ังแต่ปกี ารศึกษา 2536 เป็นตน้ มา

ในวันที่ 7 กรกฎาคม 2546 ได้เปลี่ยนจากสังกัดสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เป็นสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ
เปิดสอนต้งั แตช่ ั้นปฐมวยั ถึงชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

1.2 วสิ ัยทศั น์หลกั สูตรสถานศกึ ษา

โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสนมุง่ พฒั นาผู้เรยี นทกุ คน ซง่ึ เป็นกาลงั ของชาตใิ ห้เปน็ มนษุ ยท์ ่มี ีความสมดลุ ท้ัง
ดา้ นรา่ งกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก ในความเปน็ พลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต เป็นผู้นาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ให้ความสาคัญต่อ
การใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ให้ผู้เรียนรู้จักบูรณาการความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในกระบวนการ
แก้ปัญหา รวมถึงมีจิตสานึกในการร่วมกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีความสุข มีความรู้
ความสามารถ ได้มาตรฐานในระดับสากล โดยมงุ่ เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญบนพ้นื ฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรยี นรู้และ
พฒั นาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ

หลกั การ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 มหี ลกั การท่สี าคัญดังนี้
1. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย
สาหรบั พัฒนานักเรียนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพนื้ ฐานของความเป็นไทยควบคูก่ ับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคณุ ภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ
สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่ิน
4. เปน็ หลักสตู รทม่ี โี ครงสร้างยดื หยุน่ ทัง้ ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5. เปน็ หลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
6. เป็นหลักสูตรสถานศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุม่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรแู้ ละประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี
ศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรยี น เม่อื จบการศกึ ษาจากโรงเรียน ดงั น้ี
1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ
พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนบั ถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทกั ษะชีวติ
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกาลงั กาย

4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่ง
ทาประโยชน์และสร้างสิ่งทด่ี งี ามในสงั คมและอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสขุ

1.3 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ซ่ึงการพัฒนาผูเ้ รยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรียนรู้ท่กี าหนดน้นั จะช่วยให้ผูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ยี นข้อมลู ข่าวสารและประสบการณอ์ ันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดย
คานงึ ถึงผลกระทบท่มี ตี อ่ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการ
ตัดสินใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่เี ผชิญได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เขา้ ใจความ
สมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและ
สิง่ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดาเนิน
ชวี ิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง การทางาน และการอยูร่ ่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปล่ยี นแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและ
ผู้อืน่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆและมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ
แกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

1.4 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพ่อื ใหส้ ามารถอย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่นื ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซอ่ื สัตย์สุจรติ
3. มีวนิ ยั
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งม่ันในการทางาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

2. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาประกอบด้วยโครงสรา้ งเวลาเรยี นและโครงสร้างหลกั สูตรช้ันปี
2.1 โครงสรา้ งเวลาเรียน

โครงสร้างเวลาเรยี นตามโรงเรยี นประถมฐานบนิ กาแพงแสน

ตามหลกั สตู รโรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน พทุ ธศกั ราช 2561

กลุม่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม ป. 1 เวลาเรยี น ป. 6
ระดบั ประถมศึกษา
 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 200 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 160
ภาษาไทย 200 160
คณิตศาสตร์ 80 200 200 160 160 80
วทิ ยาศาสตร์ 40 200 200 160 160 80
สงั คมศึกษา ศาสนา และ 80 80 80 80
วฒั นธรรม 40 40 40 80 80 40
ประวัติศาสตร์ 40 80
สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 80
ศิลปะ 40 80
การงานอาชพี และเทคโนโลยี 160 40 40 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 840 840
รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 40 40 80 80
 รายวชิ า / กจิ กรรม ที่โรงเรียนจัด 40 40
เพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเนน้ 40 40 40 80 80 40
STEM 40 40
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 120 160 160 80 80 120
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร
รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เติม) 40 840 840 840 840 40
 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 40 40
กจิ กรรมแนะแนว 30 ปีละไมน่ ้อยกว่า 40 ชั่วโมง 30
– กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี
- กิจกรรมชุมนมุ 10 40 40 40 40 10
กิจกรรมเพื่อสังคมและ 40 40 40 40
สาธารณประโยชน์ 120 40 40 40 40 120
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 1,080 120 120 120 120 1,080
รวมเวลาทง้ั ส้นิ
40 40 40 40
40 40 40 40
30 30 30 30

10 10 10 10

120 120 120 120
1,080 1,080 1,080 1,080

2.2 โครงสร้างหลักสตู รชั้นปี
โครงสร้างหลกั สูตร ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1

รหัส กลุม่ สาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรียน ค่านา้ หนกั
(ชม./ปี)
ท11101 รายวชิ าพืน้ ฐาน 5
ค11101 ภาษาไทย 840 5
ว11101 คณติ ศาสตร์ 200 2
ส11101 วิทยาศาสตร์ 200 1
ส11102 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 1
พ11101 ประวัติศาสตร์ 40 1
ศ11101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ง11101 ศลิ ปะ 40 1
อ11101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 4
ภาษาองั กฤษ 40
ว11201 160 1
ว11202 รายวิชาเพ่ิมเติม / กจิ กรรมเพิ่มเติม 120 1
อ11201 STEM 40 1
เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสอื่ สาร 40
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 40
120
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 40
แนะแนว 40
ลกู เสอื – เนตรนารี 30
กจิ กรรมชุมนมุ 10
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ 1,080

รวมเวลาเรียนทั้งสนิ้

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี นและกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์
2. วิชาหนา้ ทพี่ ลเมืองบรู ณาการกับการเรยี นรู้ในรายวชิ าพืน้ ฐานสังคมศกึ ษาฯ
3. การจัดการเรยี นร้สู าระภมู ิศาสตร์ ในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กาหนดใหจ้ ดั แบบเขม้ ขน้

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2

รหัส กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น คา่ นา้ หนัก
(ชม./ป)ี
ท12101 รายวชิ าพ้ืนฐาน 5
ค12101 ภาษาไทย 840 5
ว12101 คณิตศาสตร์ 200 2
ส12101 วิทยาศาสตร์ 200 1
ส12102 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 1
พ12101 ประวัติศาสตร์ 40 1
ศ12101 สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ง12101 ศลิ ปะ 40 1
อ12101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 4
ภาษาองั กฤษ 40
ว12201 160 1
ว12202 รายวชิ าเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพ่ิมเติม 120 1
อ12201 STEM 40 1
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสือ่ สาร 40
ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 40
120
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 40
แนะแนว 40
ลกู เสือ – เนตรนารี 30
กิจกรรมชุมนุม 10
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ 1,040

รวมเวลาเรียนทง้ั สน้ิ

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กจิ กรรมนักเรียนและกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
2. วิชาหน้าท่ีพลเมืองบูรณาการกับการเรียนรใู้ นรายวิชาพน้ื ฐานสังคมศกึ ษาฯ
3. การจัดการเรียนรู้สาระภูมศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กาหนดให้จัดแบบเขม้ ข้น

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3

รหสั กลมุ่ สาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น คา่ นา้ หนัก
(ชม./ป)ี
ท13101 รายวชิ าพ้ืนฐาน 5
ค13101 ภาษาไทย 840 5
ว13101 คณิตศาสตร์ 200 2
ส13101 วิทยาศาสตร์ 200 1
ส13102 สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 1
พ13101 ประวัติศาสตร์ 40 1
ศ13101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 1
ง13101 ศิลปะ 40 1
อ13101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 4
ภาษาองั กฤษ 40
ว13201 160 1
ว12202 รายวิชาเพ่มิ เติม / กจิ กรรมเพ่ิมเติม 120 1
อ13201 STEM 3 40 1
เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสือ่ สาร 40
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 40
120
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 40
แนะแนว 40
ลกู เสอื – เนตรนารี 30
กจิ กรรมชมุ นุม 10
กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ 1,080

รวมเวลาเรียนทง้ั สิ้น

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กิจกรรมนกั เรยี นและกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์
2. วิชาหนา้ ที่พลเมืองบูรณาการกับการเรยี นรใู้ นรายวิชาพน้ื ฐานสังคมศกึ ษาฯ
3. การจดั การเรียนร้สู าระภมู ศิ าสตร์ ในกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กาหนดให้จัดแบบเขม้ ข้น

โครงสรา้ งหลักสูตร ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

รหัส กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น คา่ น้าหนัก
(ชม./ป)ี
ท14101 รายวิชาพ้นื ฐาน 4
ค14101 ภาษาไทย 840 4
ว14101 คณติ ศาสตร์ 160 2
ส14101 วทิ ยาศาสตร์ 160 2
ส14102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 1
พ14101 ประวัติศาสตร์ 80
ศ14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 2
ง14101 ศิลปะ 80 2
อ14101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 2
ภาษาองั กฤษ 80 2
ว14201 รายวชิ าเพิม่ เติม / กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ 80
ง14201 STEM 120 1
อ14201 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร 40 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 40 1
40
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120
แนะแนว 40
ลูกเสือ – เนตรนารี 40
กิจกรรมชุมนมุ 30
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ 10
1,080
รวมเวลาเรียนท้ังส้ิน

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์
2. วชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมืองบูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาพ้นื ฐานสงั คมศึกษาฯ
3. การจดั การเรยี นรู้สาระภูมิศาสตร์ ในกลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กาหนดใหจ้ ัดแบบเขม้ ขน้

โครงสรา้ งหลกั สูตร ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5

รหัส กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น(ชม./ ค่านา้ หนกั
ปี)
ท15101 รายวิชาพ้ืนฐาน 840 4
ค15101 ภาษาไทย 160 4
ว15101 คณติ ศาสตร์ 160 2
ส15101 วทิ ยาศาสตร์ 80 2
ส15102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 1
พ15101 ประวัตศิ าสตร์ 40
ศ15101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 2
ง15101 ศลิ ปะ 80 2
อ15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 2
ภาษาอังกฤษ 80 2
ว15201 รายวิชาเพ่มิ เติม / กจิ กรรมเพ่มิ เติม 120
ง 15202 STEM 40 1
อ15201 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการส่อื สาร 40 1
ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 40 1
120
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 40
แนะแนว 40
ลูกเสือ – เนตรนารี 30
กจิ กรรมชมุ นุม 10
กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน์
1,080
รวมเวลาเรยี นท้งั ส้ิน

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนและกจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์
2. วิชาหนา้ ทพ่ี ลเมืองบูรณาการกับการเรยี นรใู้ นรายวชิ าพื้นฐานสังคมศกึ ษาฯ
3. การจดั การเรยี นรู้สาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กาหนดใหจ้ ัดแบบเข้มข้น

โครงสรา้ งหลกั สตู ร ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

รหสั กลุ่มสาระการเรียนรู/้ กจิ กรรม เวลาเรียน ค่าน้าหนัก
(ชม./ป)ี
ท16101 รายวชิ าพ้นื ฐาน 4
ค16101 ภาษาไทย 840 4
ว16101 คณิตศาสตร์ 160 2
ส16101 วิทยาศาสตร์ 160 2
ส16102 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 1
พ16101 ประวตั ิศาสตร์ 80
ศ16101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 2
ง16101 ศิลปะ 80 2
อ16101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80 2
ภาษาอังกฤษ 80 2
ว16201 รายวิชาเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพม่ิ เติม 80
ง16202 STEM 120 1
อ16201 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการส่ือสาร 40 1
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 40 1
40
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 120
แนะแนว 40
ลูกเสอื – เนตรนารี 40
กจิ กรรมชมุ นมุ 30
กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน์ 10
1,080
รวมเวลาเรยี นทั้งสิ้น

หมายเหตุ
1. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจัดเป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” บังคับตามหลักสูตรประกอบด้วยกิจกรรม

แนะแนว กิจกรรมนกั เรยี นและกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์
2. วชิ าหน้าท่ีพลเมืองบูรณาการกบั การเรียนรู้ในรายวิชาพื้นฐานสังคมศึกษาฯ
3. การจัดการเรยี นรู้สาระภมู ิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม กาหนดให้จดั แบบเข้มข้น

3. รายวชิ าของโรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน จานวน 200 ชว่ั โมง
จานวน 200 ชั่วโมง
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย จานวน 200 ชว่ั โมง
รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน 160 ชว่ั โมง
ท11101 ภาษาไทย จานวน 160 ชว่ั โมง
ท12101 ภาษาไทย จานวน 160 ชั่วโมง
ท13101 ภาษาไทย
ท14101 ภาษาไทย จานวน 200 ชัว่ โมง
ท15101 ภาษาไทย จานวน 200 ชว่ั โมง
ท16101 ภาษาไทย จานวน 200 ชัว่ โมง
จานวน 160 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน 160 ชั่วโมง
รายวชิ าพื้นฐาน จานวน 160 ชว่ั โมง
ค11101 คณติ ศาสตร์
ค12101 คณติ ศาสตร์ จานวน 80 ชั่วโมง
ค13101 คณติ ศาสตร์ จานวน 80 ชว่ั โมง
ค14101 คณติ ศาสตร์ จานวน 80 ชั่วโมง
ค15101 คณิตศาสตร์ จานวน 80 ช่ัวโมง
ค16101 คณิตศาสตร์ จานวน 80 ชั่วโมง
จานวน 80 ชว่ั โมง
กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน 40 ชั่วโมง
ว11101 วิทยาศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง
ว12101 วิทยาศาสตร์ จานวน 40 ชัว่ โมง
ว13101 วิทยาศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง
ว14101 วทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง
ว15101 วทิ ยาศาสตร์ จานวน 40 ชวั่ โมง
ว16101 วทิ ยาศาสตร์
รายวิชาเพมิ่ เติม
ว11201 STEM
ว12201 STEM
ว13201 STEM
ว14201 STEM
ว15201 STEM
ว16201 STEM

ว11202 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร จานวน 40 ชว่ั โมง
ว12202 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสอื่ สาร จานวน 40 ชวั่ โมง
ว13202 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่อื สาร จานวน 40 ชั่วโมง
ว14202 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการสอ่ื สาร จานวน 40 ชั่วโมง
ว15202 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่อื สาร จานวน 40 ชั่วโมง
ว16202 เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการส่ือสาร จานวน 40 ชว่ั โมง

กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จานวน 40 ชั่วโมง
รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน 40 ชั่วโมง
ส11101 สังคมศึกษาฯ จานวน 40 ชว่ั โมง
ส12101 สงั คมศึกษาฯ จานวน 80 ชว่ั โมง
ส13101 สงั คมศึกษาฯ จานวน 80 ชวั่ โมง
ส14101 สงั คมศึกษาฯ จานวน 80 ชั่วโมง
ส15101 สังคมศึกษาฯ
ส16101 สงั คมศึกษาฯ จานวน 40 ชั่วโมง
จานวน 40 ชวั่ โมง
ส11102 ประวัติศาสตร์ จานวน 40 ชว่ั โมง
ส12102 ประวตั ิศาสตร์ จานวน 40 ช่วั โมง
ส13102 ประวัติศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง
ส14102 ประวัตศิ าสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง
ส15102 ประวัตศิ าสตร์
ส16102 ประวตั ิศาสตร์ จานวน 40 ชั่วโมง
จานวน 40 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จานวน 40 ชั่วโมง
รายวิชาพ้นื ฐาน จานวน 80 ชั่วโมง
พ11101 สุขศกึ ษาฯ จานวน 80 ชั่วโมง
พ12101 สขุ ศึกษาฯ จานวน 80 ชว่ั โมง
พ13101 สขุ ศึกษาฯ
พ14101 สุขศึกษาฯ
พ15101 สุขศกึ ษาฯ
พ16101 สุขศึกษาฯ

กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ จานวน 40 ชว่ั โมง
รายวชิ าพืน้ ฐาน จานวน 40 ชั่วโมง
ศ11101 ศลิ ปะ จานวน 40 ชวั่ โมง
ศ12101 ศลิ ปะ จานวน 80 ชัว่ โมง
ศ13101 ศลิ ปะ จานวน 80 ชั่วโมง
ศ14101 ศิลปะ จานวน 80 ชว่ั โมง
ศ15101 ศิลปะ
ศ16101 ศลิ ปะ จานวน 40 ชั่วโมง
จานวน 40 ชว่ั โมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี จานวน 40 ชั่วโมง
รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน 80 ชว่ั โมง
ง11101 การงานอาชีพฯ จานวน 80 ชั่วโมง
ง12101 การงานอาชพี ฯ จานวน 80 ช่วั โมง
ง13101 การงานอาชีพฯ
ง14101 การงานอาชพี ฯ จานวน 160 ช่ัวโมง
ง15101 การงานอาชพี ฯ จานวน 160 ชั่วโมง
ง16101 การงานอาชีพฯ จานวน 160 ชว่ั โมง
จานวน 80 ชว่ั โมง
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ จานวน 80 ชั่วโมง
รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน 80 ชว่ั โมง
อ11101 ภาษาอังกฤษ
อ12101 ภาษาอังกฤษ จานวน 40 ชัว่ โมง
อ13101 ภาษาอังกฤษ จานวน 40 ชวั่ โมง
อ14101 ภาษาอังกฤษ จานวน 40 ชว่ั โมง
อ15101 ภาษาองั กฤษ จานวน 40 ชั่วโมง
อ16101 ภาษาองั กฤษ จานวน 40 ชว่ั โมง
รายวิชาเพิ่มเติม จานวน 40 ช่วั โมง
อ11201 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร
อ12201 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสาร
อ13201 ภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสาร
อ14201 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร
อ15201 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร
อ16201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร

ทาไมต้องเรยี นคณิตศาสตร์
คณติ ศาสตร์มบี ทบาทสาคัญย่ิงต่อความสาเรจ็ ในการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ เนื่องจาก คณิตศาสตร์

ชว่ ยให้มนษุ ยม์ ีความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมีเหตุผล เป็นระบบมแี บบแผน สามารถ วิเคราะห์ ปัญหาหรือ
สถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยใหค้ าดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แกป้ ัญหาไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม และ
สามารถนาไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นอกจากน้ี คณิตศาสตร์ยงั เปน็ เครื่องมือในการศึกษาดว้ ยคณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และศาสตรอ์ นื่ ๆ อันเปน็ รากฐาน ในการพฒั นาทรัพยากรบุคคลของชาตใิ หม้ ีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศใหท้ ัดเทียม กบั นานาชาติ การศึกษาคณติ ศาสตรจ์ ึงจาเป็นต้องมีการพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือให้ทนั สมยั และ
สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกจิ สังคมและความรู้ทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีทีเ่ จรญิ กา้ วหนา้ อยา่ งรวดเรว็ ในยุคโลกาภิ
วตั น์

ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบับน้ี จัดทาขนึ้ โดยคานึงถงึ การสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนมี
ทกั ษะท่จี าเป็นสาหรบั การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นสาคัญ นน่ั คือ
การเตรียมผเู้ รียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสรา้ งสรรค์ การใช้
เทคโนโลยี การสอ่ื สารและการรว่ มมอื ซ่งึ จะส่งผลใหผ้ ้เู รียนรเู้ ทา่ ทัน การเปลย่ี นแปลงของระบบเศรษฐกจิ สงั คม
วฒั นธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและ อยรู่ ว่ มกับประชาคมโลกได้ ทง้ั น้ีการจดั การเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ท่ี
ประสบความสาเรจ็ น้ันจะต้อง เตรียมผู้เรียนให้มคี วามพร้อมทจ่ี ะเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ พร้อมท่จี ะประกอบอาชีพเม่ือจบ
การศกึ ษา หรอื สามารถศึกษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงข้ึนดังนนั้ สถานศึกษาควรจดั การเรยี นรู้ให้เหมาะสมตามศักยภาพของ
ผเู้ รียน

เรียนรอู้ ะไรในคณติ ศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์จดั เป็น ๓ สาระ ได้แก่ จานวนและพีชคณิตการวดั และ เรขาคณติ และ

สถติ แิ ละความน่าจะเป็น

✧ จานวนและพชี คณิต เรยี นรเู้ กยี่ วกบั ระบบจานวนจรงิ สมบัติเก่ียวกับจานวนจรงิ อัตราส่วน รอ้ ยละ
การประมาณค่า การแก้ปญั หาเกีย่ วกับจานวน การใชจ้ านวนในชวี ิตจรงิ แบบรูปความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ นั เซต ตรรกศาสตร์
นิพจน์ เอกนาม พหนุ าม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบีย้ และมูลค่า ของเงิน ลาดับและอนุกรม และ
การนาความรู้เก่ียวกบั จานวนและพีชคณติ ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

✧ การวดั และเรขาคณติ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั ความยาว ระยะทาง นา้ หนัก พนื้ ท่ี ปริมาตรและความจุ เงนิ
และเวลา หนว่ ยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเก่ียวกับการวดั อตั ราส่วนตรโี กณมติ ิ รปู เรขาคณิต และสมบตั ิของรูป
เรขาคณติ การนกึ ภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณติ การแปลงทางเรขาคณติ ในเรื่องการเลื่อน
ขนาน การสะท้อน การหมนุ และการนาความรเู้ กี่ยวกบั การวัด และเรขาคณติ ไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ

✧ สถติ ิและความน่าจะเป็น เรียนรูเ้ ก่ียวกบั การตั้งคาถามทางสถิติ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลการคานวณ
ค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรับขอ้ มูลเชงิ คุณภาพและเชงิ ปริมาณ
หลกั การนับ เบอื้ งตน้ ความน่าเปน็ การใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั สถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณต่าง ๆ และช่วย
ในการตัดสนิ ใจ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้ า ใจ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ข อ ง ก า ร แ ส ด ง จ า น ว น ร ะ บ บ จ า น ว น
การดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินการ สมบัติของการ
ดาเนินการ และนาไปใช้

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรปู ความสมั พันธ์ ฟงกช์ นั ลาดบั และ
อนุกรมและนาไปใช้

ม า ต ร ฐ า น ค ๑ .๓ ใช้ นิ พ จ น์ ส ม ก า ร แ ล ะ อ ส ม ก า ร อ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ห รื อ
ช่วยแกป้ ญหาท่กี าหนดให้

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณติ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

สาระท่ี ๓ สถิติและความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิและใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบอื้ งตน้ ความนา่ จะเป็น และนาไปใช้

ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้สิ่ง

ต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในท่ีนี้ เน้นท่ีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จาเป็น และต้องการพัฒนาให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ได้แก่
ความสามารถต่อไปนี้

๑. การแก้ปญหา เป็นความสามารถในการทาความเขา้ ใจปญหา คดิ วเิ คราะห์
วางแผนแก้ปญหา และเลือกใชว้ ิธีการทเ่ี หมาะสม โดยคานงึ ถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบพรอ้ ม
ทัง้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง

๒. การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รูปภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารสื่อความหมาย สรุปผลและนาเสนอได้อย่าง ถูกต้อง
ชัดเจน

๓. การเช่ือมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการ เรียนรู้
คณติ ศาสตรเ์ นอ้ื หาต่างๆหรอื ศาสตรอ์ ่ืนๆและนาไปใช้ในชีวติ จรงิ

๔. การใหเ้ หตุผล เปน็ ความสามารถในการให้เหตุผลรับฟังและให้เหตุผลสนับสนุนหรือโต้แย้งเพื่อ
นาไปสกู่ ารสรปุ โดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตร์รองรับ

๕. การคิดสร้างสรรค์ เปน็ ความสามารถในการขยายแนวคิดทม่ี อี ยเู่ ดมิ หรอื สร้าง
แนวคดิ ใหมเ่ พอื่ ปรบั ปรุงพัฒนาองค์ความรู้

คณุ ภาพผ้เู รยี น จบช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

✧ คณุ ภาพผ้เู รยี นจบช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓

✧ อ่ าน เขี ย น ตั ว เล ข ตั ว ห นั งสื อ แ ส ด งจ าน ว น นั บ ไม่ เกิ น ๑ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ แ ล ะ ๐ มี ค ว าม รู้สึ ก
เชิงจานวน มีทกั ษะการบวก การลบ การคูณ การหาร และนาไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ

✧ มีความร้สู กึ เชิงจานวนเกี่ยวกับเศษส่วนท่ีไมเ่ กิน ๑ มที กั ษะการบวก การลบ เศษส่วน
ทีต่ วั สว่ นเทา่ กนั และนาไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

✧ คาดคะเนและวัดความยาว น้าหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เคร่ืองมือและหน่วยท่ีเหมาะสม บอกเวลา
บอกจานวนเงิน และนาไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ

✧ จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลย่ี ม วงกลม วงรี ทรงส่เี หลีย่ มมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย เขยี นรูปหลายเหลย่ี ม วงกลม และวงรโี ดยใชแ้ บบของรูป ระบุรูปเรขาคณติ
ทม่ี แี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร และนาไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ

✧ อา่ นและเขยี นแผนภมู ิรูปภาพ ตารางทางเดยี วและนาไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ
คุณภาพผูเรียน จบชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖

✧ อ่าน เขียนตวั เลข ตวั หนังสอื แสดงจานวนนับ เศษสว่ น ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง อตั ราส่วน และร้อยละ มี
ความรู้สกึ เชงิ จานวน มที กั ษะการบวก การลบ การคณู การหาร ประมวลผลลัพธ์ และนาไปใช้ ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ

✧ อธิบายลักษณะและสมบตั ิของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรปู และพ้นื ทขี่ องรูปเรขาคณิต สรา้ งรูป
สามเหลยี่ ม รูปสเี่ หล่ียมและวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉาก และนาไปใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ

✧ นาเสนอข้อมูลในรปู แผนภูมแิ ท่ง ใช้ข้อมลู จากแผนภมู ิแทง่ แผนภูมิรปู วงกลม ตารางสองทาง และกราฟเส้น
ในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และตัดสนิ ใจ

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1)

สาระที่ ๑ จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน

การดาเนินการของจานวนผลที่เกิดข้นึ จากการดาเนินการ สมบัติของ

การดาเนนิ การ และนาไปใช้

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.๑ ๑. บอกจานวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ แสดงส่งิ จานวนนบั ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐

ตา่ ง ๆตามจานวนที่กาหนด อ่านและ - การนับทีละ ๑ และทลี ะ ๑๐

เขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย - การอา่ นและการเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก

แสดงจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ตัวเลขไทยแสดงจานวน

๒. เปรยี บเทยี บจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐ - การแสดงจานวนนับไม่เกนิ ๒๐ ในรูป

และ ๐ โดยใช้เคร่ืองหมาย = ≠ > < ความสมั พันธข์ องจานวนแบบสว่ นยอ่ ย -

๓. เรียงลาดับจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐ ส่วนรวม (part - whole relationship)

และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จานวน - การบอกอันดบั ที่

- หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักและ

การเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

- การเปรยี บเทียบจานวนและการใช้

เคร่ืองหมาย = ≠ > <

- การเรียงลาดบั จานวน

๔. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค การบวก การลบ จานวนนบั ๑ ถงึ ๑๐๐ และ ๐

สญั ลักษณแ์ สดงการบวกและ - ความหมายของการบวก ความหมาย

ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการลบ ของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ

ของจานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ และความสัมพนั ธ์ของการบวกและการลบ

๕. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก โจทยป์ ัญหา

การบวกและโจทย์ปัญหาการลบ การลบ และการสร้างโจทยป์ ัญหา

ของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐ และ ๐ พรอ้ มทั้งหาคาตอบ

สาระที่ ๑ จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ นั ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. ระบจุ านวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของ แบบรปู

จานวนทเ่ี พิม่ ข้ึนหรือลดลงทลี ะ ๑ และ - แบบรปู ของจานวนทีเ่ พิ่มขึน้ หรือลดลง

ทีละ ๑๐ และระบรุ ูปที่หายไปในแบบ ทีละ ๑ และทีละ ๑๐

รปู ซา้ ของรูปเรขาคณิตและรปู อนื่ ๆ ที่ - แบบรูปซา้ ของจานวน รูปเรขาคณิต

สมาชิกในแต่ละชดุ ทซี่ า้ มี ๒ รูป และรปู อื่น ๆ

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทตี่ ้องการวัดและนาไปใช้

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. วดั และเปรียบเทยี บความยาวเป็น ความยาว

เซนติเมตรเปน็ เมตร - การวดั ความยาวโดยใช้หนว่ ยที่ไม่ใช่

หนว่ ยมาตรฐาน

- การวัดความยาวเปน็ เซนติเมตร เปน็ เมตร

- การเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตร

เป็นเมตร

- การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การลบเกย่ี วกับ

ความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร

๒. วัดและเปรียบเทยี บน้าหนกั เปน็ น้าหนกั

กโิ ลกรัมเป็นขดี - การวดั นา้ หนักโดยใช้หน่วยทไี่ ม่ใชห่ น่วย

มาตรฐาน

- การวัดนา้ หนักเปน็ กิโลกรมั เปน็ ขดี

- การเปรียบเทียบนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เป็นขีด

- การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบเกีย่ วกับ

น้าหนักทีม่ หี นว่ ยเป็นกโิ ลกรัม เป็นขีด

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรปู

เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. จาแนกรปู สามเหล่ียม รูปสีเ่ หลีย่ ม รูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละรูปเรขาคณติ สามมิติ

วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก ทรง - ลกั ษณะของทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก ทรงกลม

กลมทรงกระบอก และกรวย ทรงกระบอก กรวย

- ลกั ษณะของรปู สามเหลีย่ ม รปู สเ่ี หลี่ยม

วงกลม และวงรี

สาระที่ ๓ สถิติและความนา่ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระท้องถ่นิ

ป.๑ ๑. ใชข้ อ้ มลู จากแผนภมู ริ ูปภาพ การนาเสนอขอ้ มลู

ในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา - การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ

เมื่อกาหนดรูป ๑ รูป แทน ๑ หน่วย - (การอา่ นแผนภูมเิ ก่ยี วกับข้อมูลในโรงเรียนและข้อมูล

ในทอ้ งถิ่น)

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2)

สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน

การดาเนนิ การของจานวนผลทเี่ กิดขนึ้ จากการดาเนินการ สมบตั ขิ อง

การดาเนนิ การ และนาไปใช้

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๒ ๑. บอกจานวนของสิ่งตา่ งๆ แสดงส่งิ ตา่ งๆ จานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐

ตาม จานวนทก่ี าหนด อา่ นและเขียน ตัวเลข - การนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทลี ะ ๑๐๐
ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย แสดงจานวนนบั
ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ - การอา่ นและการเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ
๒. เปรยี บเทยี บจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจานวน
และ ๐ โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย =, ≠, >, < - จานวนคู่ จานวนคี่
๓. เรยี งลาดับจานวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ - หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และ

และ ๐ ตัง้ แต่ ๓ ถึง ๕ จานวน การเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย

- การเปรียบเทียบและเรยี งลาดบั จานวน

๔. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค การบวก การลบ การคูณ และการหาร

สัญลักษณ์แสดง การบวก และ ประโยค จานวนนับไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
สัญลกั ษณแ์ สดง การลบของ จานวนนับ - การบวกและการลบ
ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ - ความหมายของการคูณ ความหมาย
๕. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยค ของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ
สัญลักษณแ์ สดงการคูณของจานวน และความสัมพันธ์ของการคณู และการหาร
๑ หลกั กับจานวนไม่เกนิ ๒ หลัก - การบวก ลบ คูณ หาร ระคน
๖. หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค - การแก้โจทยป์ ญั หา และการสร้างโจทย์ปัญหา
สญั ลกั ษณแ์ สดงการหารท่ีตวั ตัง้ ไม่เกนิ

๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลัก โดยท่ีผลหาร พรอ้ มทง้ั หาคาตอบ
มี ๑ หลักท้งั หารลงตวั และหารไม่ลงตัว
๗. หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน
ของจานวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐

๘. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

๒ ขนั้ ตอนของจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐
และ ๐

สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณิต

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๒ แบบรปู

- แบบรปู ของจานวนทเี่ พิม่ ขึน้ หรอื ลดลง

ทีละ ๒ ทีละ ๕ และทลี ะ ๑๐๐

- แบบรปู ซา้

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทีต่ ้องการวดั และนาไปใช้

ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/

สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

ป.๒ ๑. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา เวลา

เกี่ยวกับเวลาทีม่ ีหน่วยเดีย่ วและเป็นหนว่ ย - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกา และนาที (ช่วง ๕ นาที)
เดยี วกัน
- การบอกระยะเวลาเปน็ ชว่ั โมง เป็นนาที

- การเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นช่วั โมง เปน็ นาที

- การอา่ นปฏิทนิ

- การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั เวลา

๒. วัดและเปรียบเทียบ ความยาวเป็น ความยาว

เมตรและเซนติเมตร - การวัดความยาวเป็นเมตร เปน็ เซนตเิ มตร
๓. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร
การบวก การลบเกี่ยวกับความยาว - การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใช้ความสมั พนั ธ์
ทมี่ ีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร ระหวา่ งเมตรกับเซนติเมตร

- การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกบั ความยาวท่ีมหี นว่ ยเป็น

เมตร และเซนติเมตร

๔. วัดและเปรียบเทียบนา้ หนักเปน็ นา้ หนัก
กโิ ลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขีด - การวัดน้าหนักเปน็ กโิ ลกรมั และกรัม เปน็ กิโลกรัม
๕. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา และขีด
การบวกการลบเกยี่ วกับน้าหนกั ทีม่ หี นว่ ย - การคาดคะเนน้าหนกั เปน็ กิโลกรัม
เปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด - การเปรยี บเทียบน้าหนกั โดยใชค้ วามสมั พันธ์
กโิ ลกรมั กับกรัม เปน็ กิโลกรัมกบั ขีด
๖. วัดและเปรยี บเทยี บปริมาตร - การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับน้าหนักที่มหี นว่ ยเปน็
และความจเุ ป็นลิตร กิโลกรมั และกรัม เปน็ กโิ ลกรัมและขีด
ปรมิ าตรและความจุ
- การวดั ปรมิ าตรและความจโุ ดยใชห้ นอ่ ยท่ไี ม่ใช่
หนว่ ยมาตรฐาน
- การวดั ปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ชอ้ นโตะ๊
ถว้ ยตวง ลติ ร
- การเปรียบเทยี บปรมิ าตรและความจุเปน็ ช้อนชา
ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร
- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ปริมาตรและความจทุ ม่ี ี
หน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถว้ ยตวง ลิตร

สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณติ ความสัมพันธ์ระหวา่ งรูป

เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/

สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่

ป.๒ ๑. จาแนกและบอกลักษณะของ รูปเรขาคณติ สองมติ ิ
รปู หลายเหลยี่ มและวงกลม - ลกั ษณะของรปู หลายเหล่ียม วงกลม และวงรี และ

การเขยี นรปู เรขาคณิตสองมิติ

โดยใช้แบบของรปู

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น

มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถิติในการแกป้ ัญหา

ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/

สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่

ป.๒ ๑. ใชข้ อ้ มูลจากแผนภมู ิรูปภาพในการ การนาเสนอขอ้ มูล

หาคาตอบของโจทย์ปัญหาเมื่อกาหนด - การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ ของจานวนครูและนกั เรยี น

รูป ๑ รูปแทน ๒ หนว่ ย ๕ หน่วยหรอื ในโรงเรยี น

๑๐ หน่วย

ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง (ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3)

สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน

การดาเนินการของจานวนผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การ สมบตั ขิ อง

การดาเนินการ และนาไปใช้

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. อา่ นและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ จานวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐

ตวั เลขไทย และตวั หนังสือ แสดง - การอ่าน การเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย

จานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ และตัวหนังสือแสดงจานวน

๒. เปรียบเทียบและเรยี งลาดับจานวน - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียน

นับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ ตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

ต่าง ๆ - การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนเศษสว่ น

๓. บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วนแสดง - เศษส่วนที่ตัวเศษนอ้ ยกว่าหรอื เท่ากบั ตัวสว่ น

ปรมิ าณสง่ิ ต่าง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ - การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั เศษสว่ น

ตามเศษส่วนที่กาหนด

๔. เปรยี บเทียบเศษสว่ นทีต่ ัวเศษ

เทา่ กันโดยท่ที ี่ตวั เศษน้อยกว่าหรือ

เทา่ กบั ตวั สว่ น

๕. หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยค การบวก การลบ การคูณ การหารจานวนนับไม่เกิน

สัญลักษณ์แสดงการบวกและประโยค ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

สญั ลักษณแ์ สดงการลบของจานวนนบั - การบวกและการลบ

ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ - การคณู การหารยาวและการหารสน้ั

๖. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค - การบวก ลบ คูณ หารระคน

สญั ลกั ษณ์ แสดงการคูณของจานวน - การแก้โจทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา พรอ้ ม

๑ หลักกับจานวนไมเ่ กิน ๔ หลัก และ ท้ังหาคาตอบ

จานวน ๒ หลกั กับจานวน ๒ หลกั

๗. หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค

สญั ลกั ษณ์ แสดงการหารท่ีตัวต้งั ไม่

เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก

๘. หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หาร

ระคนของจานวนนับไม่เกิน

๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๙. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หา

๒ ขนั้ ตอน ของจานวนนับไมเ่ กิน

๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๑๐. หาผลบวกของเศษสว่ นที่มีตวั สว่ น การบวก การลบเศษส่วน

เท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผล - การบวกและการลบเศษสว่ น
ลบของเศษส่วนท่มี ตี ัวสว่ นเท่ากนั - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบ
๑๑. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ เศษส่วน

ปญั หาการบวกเศษสว่ นท่ีมตี วั ส่วน

เทา่ กนั และผลบวกไม่เกิน๑ และโจทย์

ปญั หาการลบเศษส่วนที่มีตัวสว่ น

เทา่ กนั

สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณิต

มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั ก์ชัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. ระบจุ านวนที่หายไปในแบบรปู ของ แบบรปู

จานวนท่เี พิ่มขนึ้ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ - แบบรปู ของจานวนท่ีเพิม่ ขึน้ หรอื ลดลง

กนั ทีละเท่า ๆ กัน

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพนื้ ฐานเก่ียวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทต่ี ้องการวดั และนาไปใช้

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑.แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา เงิน

เกย่ี วเงิน - การบอกจานวนเงินและเขียนแสดงจานวนเงิน แบบ

๒.แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา ใชจ้ ดุ

เกยี่ วกบั เวลา และระยะเวลา - การเปรียบเทยี บจานวนเงินและการแลกเงนิ

- การอา่ นและเขยี นบันทึกรายรับ รายจา่ ย

- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกยี่ วกบั เงนิ

เวลา

- การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที

- การเขียนบอกเวลาโดยใชม้ หพั ภาค (.) หรือทวิภาค

(:) และการอ่าน

- การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมงและนาที

- การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธ์

ระหวา่ งชวั่ โมงกับนาที

- การอา่ นและเขียนบนั ทึกกจิ กรรมท่ีระบุเวลา

- การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ียวกบั เวลาและระยะเวลา

๓.เลอื กใชเ้ ครอื่ งมือวัดความยาวท่ี ความยาว

เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่ง - การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตร และมิลลิเมตร เมตร

ต่าง ๆเปน็ เซนติเมตรและมิลลเิ มตร และเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร

เมตร และเซนติเมตร - การเลอื กเครื่องวัดความยาวทีเ่ หมาะสม

๔.คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร

เซนตเิ มตร - การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสัมพนั ธ์

๕.เปรียบเทียบความยาวระหว่าง ระหว่างหนว่ ยความยาว

เซนตเิ มตรกบั มิลลเิ มตร เมตรกับ - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ความยาว

เซนตเิ มตร กิโลเมตรกับเมตร จาก

สถานการณ์ต่าง ๆ

๖. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา

เก่ยี วกับความยาว ท่ีมหี นว่ ยเป็น

เซนติเมตรและมิลลเิ มตร เมตรและ

เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร

๗. เลอื กใช้เคร่ืองชง่ั ทเี่ หมาะสม วดั นา้ หนกั

และบอกน้าหนักเป็นกโิ ลกรมั และขดี - การเลอื กเครอื่ งชัง่ ท่ีเหมาะสม

กิโลกรัมและกรมั - การคาดคะเนนา้ หนกั เป็นกโิ ลกรมั และเป็นขดี

๘. คาดคะเนนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และ - การเปรียบเทยี บนา้ หนักโดยใชค้ วามสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง

เป็นขดี กโิ ลกรัมกับกรมั เมตริกตนั กับกโิ ลกรัม

๙. เปรียบเทียบน้าหนกั ระหว่าง - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั น้าหนกั

กิโลกรมั กับกรมั เมตริกตันเป็นกิโลกรมั

จากสถานการณต์ า่ ง ๆ

๑๐. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์

ปัญหาเก่ยี วกับน้าหนักท่มี หี น่วยเป็น

กโิ ลกรัมกับกรมั เมตริกตนั กับกิโลกรมั

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ

มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพันธร์ ะหว่างรปู

เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๓ ๑. ระบุรปู เรขาคณิตสองมติ ิท่ีมีแกน รูปเรขาคณติ สองมติ ิ

สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร - รูปทีม่ แี กนสมมาตร

สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการแกป้ ัญหา

ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ป.๓ ๑. เขียนแผนภูมิ และใชข้ อ้ มูลจาก การเก็บรวบรวมข้อมลู และการนาเสนอข้อมลู

แผนภูมริ ปู ภาพในการหาคาตอบของ - การเก็บรวบรวมข้อมูลและจาแนกข้อมลู

โจทย์ปัญหา - การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ

๒. เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมลู ที่ - การอา่ นและเขยี นตารางทางเดียว
เป็นจานวนนับ และใชข้ ้อมูลจาก (One – Way table)
ตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของ
โจทยป์ ญั หา

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง (ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4-6)

สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวนผลที่เกดิ ขึ้น
จากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้

ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระท้องถ่ิน

ป.๔ ๑. อา่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ จานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

ตัวเลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวน - การอา่ น การเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทยและ

นับท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ ตวั หนังสือแสดงจานวน

๒. เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวน - หลัก ค่าประจาหลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และ

นับท่มี ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จาก การเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

สถานการณ์ต่าง ๆ - การเปรยี บเทยี บและเรียงลาดบั จานวน

- คา่ ประมาณของจานวนนับและการใชเ้ ครอ่ื งหมาย ≈

๓. บอก อ่านและเขยี นเศษสว่ น จานวน เศษสว่ น

คละแสดงปริมาณสง่ิ ต่าง ๆ และแสดงส่ิง - เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ

ตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ นจานวนคละที่ - จานวนคละ

กาหนด - ความสัมพนั ธ์ระหว่างจานวนคละและเศษเกิน

๔. เปรียบเทยี บ เรยี งลาดับเศษส่วนและ - เศษสว่ นทเี่ ท่ากัน เศษสว่ นอยา่ งต่า และเศษส่วนทเ่ี ทา่ กับ

จานวนคละทตี่ วั ส่วนตัวหนึง่ เปน็ พหุคณู จานวนนับ

ของอกี ตวั หน่ึง - การเปรยี บเทียบ เรยี งลาดับเศษส่วนและจานวนคละ

๕. อา่ นและเขยี นทศนยิ มไมเ่ กิน ๓ ทศนิยม

ตาแหน่งแสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และ - การอ่านและการเขยี นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ ตาม

แสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามทศนิยมท่ีกาหนด ปรมิ าณที่กาหนด

๖. เปรยี บเทยี บและเรยี งลาดับทศนยิ ม - หลัก คา่ ประจาหลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักของทศนิยม

ไม่เกนิ ๓ ตาแหน่งจากสถานการณต์ ่าง และการเขยี นตวั เลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย

ๆ - ทศนยิ มทีเ่ ทา่ กนั

- การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดับทศนยิ ม

๗. ประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบ การบวก การลบ การคูณ การหารจานวนนับ

การคูณ การหารจากสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีมากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

อยา่ งสมเหตุสมผล - การประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร

๘. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค - การบวกและการลบ

สัญลกั ษณ์ แสดงการบวกและประโยค - การคูณและการหาร

สญั ลกั ษณแ์ สดงการลบของจานวนนับท่ี - การบวก ลบ คูณ หารระคน

มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา พรอ้ มทั้งหา

คาตอบ

ป.๔ ๙. หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค

(ตอ่ ) สัญลักษณ์ แสดงการคูณของจานวน

หลายหลัก ๒ จานวน

ที่มีผลคณู ไมเ่ กิน ๖ หลกั และประโยค

สญั ลักษณแ์ สดงการหารท่ีตัวตัง้ ไมเ่ กิน ๖

หลัก ตัวหารไมเ่ กิน ๒ หลกั

๑๐. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หาร

ระคนของจานวนนบั และ ๐

๑๑. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

๒ ขั้นตอน ของจานวนนับท่ีมากกวา่

๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

๑๒. สร้างโจทยป์ ัญหา ๒ ขน้ั ตอนของ

จานวนนับ และ ๐ พร้อมทัง้ หาคาตอบ

๑๓. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ การบวก การลบเศษสว่ น

จานวนคละ ท่ีตัวส่วนตัวหนง่ึ เปน็ พหุคูณ - การบวก การลบเศษส่วนและจานวนคละ

ของอีกตวั หน่งึ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หาการลบเศษส่วน

๑๔. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา และจานวนคละ

การบวกและโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน

และจานวนคละทตี่ วั ส่วนตวั หนง่ึ เปน็

พหคุ ูณของอีกตวั หนง่ึ

๑๕. หาผลบวก ผลลบของทศนยิ มไม่ การบวก การลบทศนยิ ม

เกนิ ๓ ตาแหน่ง - การบวก การลบทศนิยม

๑๖. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหา - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การลบ ทศนยิ ม

การบวก การลบ ๒ ขน้ั ตอนของทศนยิ ม ไมเ่ กนิ ๒ ขน้ั ตอน

ไม่เกิน ๓ ตาแหนง่

ป.๕ ๑. เขยี นเศษสว่ นท่มี ีสว่ นประกอบของ ทศนยิ ม

๑๐ หรอื ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ในรูป - ความสัมพนั ธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนยิ ม

ทศนยิ ม - ค่าประมาณของทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหนง่ ท่ีเป็นจานวนเต็ม

ทศนิยม ๑ ตาแหน่ง และ ๒ ตาแหนง่ การใช้เครื่องหมาย ≈

๒. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา จานวนนับ และ ๐ การบวก การลบ

โดยใชบ้ ญั ญัติไตรยางศ์ - การแก้โจทยป์ ัญหาโดยใชบ้ ัญญตั ไิ ตรยางศไ์ ด้

๓. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและ เศษส่วน และการบวก การลบ การคูณ และการหาร
จานวนคละ - เปรยี บเทียบเศษสว่ นและจานวนคละ
๔. หาผลคณู ผลหารของเศษส่วนแลละ - การบวก การลบของเศษสว่ นและจานวนคละ
จานวนคละ - การคณู การหารของเศษส่วนและจานวนคละ
- การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว่ นและจานวนคละ
๕. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การ - การแก้โจทย์ปญั หาเศษส่วนและจานวนคละ
ลบ การคูณ การหาร เศษส่วน ๒ ขัน้ ตอน

ป.๕ ๖. หาผลคูณของทศนยิ มเปน็ ทศนิยมไม่ การคูณและการหารทศนยิ ม

(ต่อ) เกิน ๓ ตาแหน่ง - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร

๗. หาผลหารท่ีตัวต้งั เปน็ จานวนนับหรอื ทศนิยม

ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหนง่ และตัวหาร - การคณู ทศนิยม

เป็นจานวนนบั ผลหารเปน็ ทศนิยมไม่ - การหารทศนยิ ม

เกิน ๓ ตาแหน่ง - การแก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ทศนยิ ม

๘. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา

การบวก การลบ การคณู การหาร

ทศนยิ ม ๒ ข้นั ตอน

๙. แสดงวิธหี ารคาตอบของโจทยป์ ัญหา ร้อยละหรือเปอรเ์ ซ็นต์

รอ้ ยละไมเ่ กนิ ๒ ข้นั ตอน - การอ่านและเขียนรอ้ ยละหรอื เปอรเ์ ซ็นต์

- การแก้โจทยป์ ัญหารอ้ ยละ

ป.๖ ๑. เปรยี บเทียบ เรียงลาดบั เศษส่วนและ เศษส่วน

จานวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ - การเปรยี บเทยี บและเรียงลาดับเศษส่วน และจานวนคละโดย

ใชค้ วามรเู้ รื่อง ค.ร.น.

๒. เขยี นอตั ราสว่ นแสดงการ อัตราส่วน

เปรยี บเทยี บ ปริมาณ ๒ ปรมิ าณจาก - อตั ราส่วน และอัตราสว่ นที่เท่ากัน และมาตราสว่ น

ขอ้ ความหรือ สถานการณ์ โดยทป่ี รมิ าณ

แตล่ ะปรมิ าณเปน็ จานวนนับ

๓. หาอัตราสว่ นทเ่ี ท่ากบั อัตราสว่ นท่ี

กาหนดให้

๔. หา ห.ร.ม. ของจานวนนับไม่เกนิ ๓ จานวนนบั และ ๐

จานวน - ตัวประกอบ จานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการ

๕. หา ค.ร.น. ของ จานวนนับไม่เกิน ๓ แยกตวั ประกอบ

จานวน - ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

๖. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หา - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ยี วกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

โดยใชค้ วามรู้ เกี่ยวกบั ห.ร.ม. และ

ค.ร.น.

๗. หาผลลพั ธ์ของ การบวก ลบ คณู การบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น

หารระคนของเศษสว่ นและจานวนคละ - การบวก การลบเศษสว่ นและจานวนคละ โดยใชค้ วามร้เู รื่อง

๘. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ค.ร.น.

เศษสว่ นและจานวนคละ ๒ - ๓ ขน้ั ตอน - การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ

- การแก้โจทย์ปัญหาเศษสว่ นและจานวนคละ การแกป้ ัญหา

เศษสว่ นและจานวนคละ

ป.๖ ๙. หาผลหารของทศนยิ มที่ตัวหารและ ทศนยิ ม และการบวก การลบ การคณู การหาร

(ตอ่ ) ผลหารเปน็ ทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตาแหน่ง - ความสัมพันธร์ ะหว่างเศษสว่ นและทศนิยม

๑๐. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การหารเศษสว่ น

การบวก การลบ การคูณ การหาร - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ทศนิยม (รวมการแลกเงิน

ทศนยิ ม ๓ ข้ันตอน ต่างประเทศ)

๑๑. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา อตั ราส่วนและร้อยละ

อัตราสว่ น - การแก้โจทยป์ ัญหาอตั ราสว่ นและมาตราส่วน

๑๒. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปญั หา - การแกโ้ จทย์ปญั หาร้อยละ

ร้อยละ ๒ - ๓ ขั้นตอน

สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ นั ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระท้องถิ่น
ป.4 -
แบบรปู
ป.๕ - - แบบรูปของจานวนท่ีเกดิ จากการคูณ การหาร ด้วยจานวน
ป.๖ ๑. แสดงวิธีคิดและหาคาตอบของ เดียวกนั

ปัญหาเก่ียวกบั แบบรูป -

แบบรปู
- การแกป้ ัญหาเกย่ี วกับแบบรูป

สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พนั ธห์ รอื ช่วยแก้ปัญหาทก่ี าหนดให้

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระทอ้ งถน่ิ
ป.4 - -
ป.๕ - -
ป.๖ - -

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการวัด
และนาไปใช้

ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระทอ้ งถิ่น

ป.4 1. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา เวลา

เกย่ี วกบั เวลา - การบอกระยะเวลาเป็นวนิ าที นาที ชวั่ โมง วนั สปั ดาห์ เดอื น ปี

- การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสมั พนั ธร์ ะหว่างหนว่ ย

เวลา

- การอา่ นตารางเวลา

- การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั เวลา

๒. วดั และสร้างมมุ โดยใชโ้ พร การวัดและสร้างมุม

แทรกเตอร์ - การวดั ขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์

- การสรา้ งมุมเม่ือกาหนดขนาดของมุม

๓. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา รูปส่เี หลี่ยมมุมฉาก

เกย่ี วกบั ความยาวรอบรูปและพื้นที่ของ - ความยาวรอบรปู ของรปู สเี่ หลยี่ มมุมฉาก

รปู สี่เหลีย่ มมุมฉาก - พ้ืนท่ีของรูปส่ีเหลยี่ มมมุ ฉาก

- การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ความยาวรอบรูป และพน้ื ที่ของรูป

ส่เี หลยี่ มมุมฉาก

ป.๕ ๑. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ความยาว

เกี่ยวกับความยาวท่ีมกี ารเปลี่ยนหน่วย - ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาวเซนติเมตรกับมิลลิเมตร

และเขยี นในรูปทศนิยม เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้ความรู้เร่ืองทศนิยม

- แก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวโดยใช้ความรู้เร่ืองการเปลี่ยน

หนว่ ยและทศนยิ ม

๒. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา นา้ หนัก

เกี่ยวกบั นา้ หนักทม่ี ีการเปล่ียนหน่วย - ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้าหนักกิโลกรัมกับกรัม โดยใช้

และเขยี นในรูปทศนยิ ม ความรู้เรื่องทศนยิ ม

- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนักโดยใช้ความรเู้ ร่ืองการเปลี่ยน

หนว่ ยและทศนยิ ม

๓. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ปริมาตรและความจุ

เกีย่ วกบั ปริมาตรของทรงสีเ่ หลยี่ มมุม - ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง

ฉากและความจุของภาชนะทรงส่ีเหลย่ี ม สเี่ หลี่ยมมุมฉาก

มุมฉาก - ความสัมพันธ์ระหว่างมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตรและ

ลูกบาศกเ์ มตร

- การแก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและ

ความจุของภาชนะทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระท้องถน่ิ

ป.๕ ๔. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา รปู เรขาคณิตสองมติ ิ

(ต่อ) เกีย่ วกับความยาวรอบรูปของรปู - ความยาวรอบรูปของสี่เหลี่ยม

สีเ่ หลีย่ มและพืน้ ท่ขี องรปู ส่ีเหลย่ี มดา้ น - พ้นื ท่ขี องรูปสเ่ี หล่ียมด้านขนานและรปู สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

ขนานและรปู สีเ่ หลี่ยมขนมเปียกปูน - การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรปู ของรูปสเี่ หลี่ยมและ

พน้ื ท่ขี องรปู สีเ่ หลี่ยมดา้ นขนานและรปู สีเ่ หลี่ยมขนมเปยี กปนู

ป.๖ ๑. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ปริมาตรและความจุ

เกี่ยวกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณติ สาม - ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงส่ีเหล่ียมมุม

มติ ิทป่ี ระกอบดว้ ยทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก ฉาก

- การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ี

ประกอบดว้ ยทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก

๒. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา รปู เรขาคณิตสองมิติ

เก่ยี วกับความยาวรอบรปู และพน้ื ที่ของ - ความยาวรอบรูปและพน้ื ท่ขี องรปู สามเหลีย่ ม

รูปหลายเหลย่ี ม - มมุ ภายในของรูปหลายเหล่ียม

๓. แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา - ความยาวรอบรปู และพ้ืนท่ขี องรปู หลายเหล่ียม

เกี่ยวกบั ความยาวรอบรูปและพ้ืนทขี่ อง - การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูป

วงกลม หลายเหล่ียม

- ความยาวรอบรปู และพ้นื ท่ีของวงกลม

- การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของ

วงกลม

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง

รปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระท้องถนิ่

ป.4 ๑. จาแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม รปู เรขาคณติ

สว่ นประกอบ ของมมุ และเขียน - ระนาบ จุด เสน้ ตรง รงั สี สว่ นของเสน้ ตรงและสัญลกั ษณ์แสดง

สญั ลักษณ์แสดงมุม เส้นตรง รังสี สว่ นของเส้นตรง

- มุม

o สว่ นประกอบของมมุ

o การเรยี กชื่อมมุ

o สัญลักษณ์แสดงมุม

๒. สรา้ งรปู สี่เหลย่ี มมุมฉากเม่ือกาหนด o ชนดิ ของมุม

ความยาวของด้าน - ชนดิ และสมบตั ขิ องรูปสีเ่ หล่ียมมุมฉาก

- การสรา้ งรูปส่ีเหลีย่ มมุมฉาก

ป.๕ ๑. สร้างเสน้ ตรงหรอื สว่ นของเสน้ ตรงให้ รปู เรขาคณติ

ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่ - เส้นตั้งฉากและสญั ลกั ษณ์แสดงการต้ังฉาก

กาหนดให้ - เสน้ ขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน

- การสร้างเส้นขนาน

- มุมแย้ง มุมภายใน และมุมภายนอกท่ีอยู่บนข้างเดียวกันของ

เสน้ ตัดขวาง (Transversal)

๒. จาแนกรูปสเ่ี หลีย่ มโดยพิจารณาจาก รปู เรขาคณิตสองมิติ

สมบัติของรูป - ชนิดและสมบัติของรูปสเี่ หล่ยี ม

๓. สรา้ งรูปส่ีเหล่ียมชนิดต่างๆ เมอ่ื - การสรา้ งรปู สี่เหลีย่ ม

กาหนดความยาวของด้านและขนาดของ

มุม หรอื เม่ือกาหนดความยาวของเสน้

ทแยงมุม

๔. บอกลักษณะของปริซึม รปู เรขาคณิตสามมิติ

- ลักษณะและส่วนตา่ งๆของปรซิ มึ

ป.๖ ๑. จาแนกรูปสามเหล่ยี มโดยพิจารณา รปู เรขาคณิตสองมิติ

จากสมบัตขิ องรปู - ชนิดและสมบตั ิของรูปสามเหลย่ี ม

๒. สรา้ งรปู สามเหลยี่ มเม่ือกาหนดความ - การสร้างรูปสามเหล่ยี ม

ยาวของด้านและขนาดของมุม - สว่ นต่าง ๆ ของวงกลม

- การสรา้ งวงกลม

๓. บอกลกั ษณะของรปู เรขาคณิตสามมติ ิ รปู เรขาคณิตสามมิติ

ชนดิ ตา่ ง ๆ - ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พรี ะมิด

๔. ระบรุ ูปเรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบ - รปู คล่ขี องทรงกระบอก กรวย ปรซิ ึม พีระมดิ

จากรปู คล่ีและระบุรูปคลี่ของรูป

เรขาคณิตสามมิติ

สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.3 เข้าใจเรขาคณติ วเิ คราะห์ และนาไปใช้

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระท้องถ่ิน
ป.4 - -
ป.๕ - -
ป.๖ - -

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ

มาตรฐาน ค ๒.4 เข้าใจเวกเตอร์ การดาเนินการของเวกเตอร์ และนาไปใช้

ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระทอ้ งถน่ิ
ป.4 - -
ป.๕ - -
ป.๖ - -

สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ัญหา

ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระทอ้ งถ่ิน

ป.4 ๑. ใช้ข้อมูลจากแผนภมู แิ ทง่ ตารางสอง การนาเสนอขอ้ มูล

ทาง ในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ิแทง่ (ไม่รวมการยน่ ระยะ)

- การอ่านตารางสองทาง (two-way table)

- อา่ นและเขยี นแผนภูมเิ กีย่ วกับข้อมลู บุคลากรในโรงเรียน

- อ่านและเขียนเกยี่ วกับสถิติเกี่ยวกับรายได้ในครัวเรอื น

ป.๕ ๑. ใช้ขอ้ มลู จากกราฟเส้นในการหา การนาเสนอข้อมลู

คาตอบของโจทยป์ ัญหา - การอ่านและการเขยี นแผนภมู แิ ทง่

๒. เขียนแผนภูมแิ ท่งจากขอ้ มูลทเ่ี ป็น - การอา่ นกราฟเส้น

จานวนนบั - (อา่ นและเขียนแผนภมู ิและกราฟเสน้ เกยี่ วกบั ข้อมลู บคุ ลากร/

ทรพั ยากรในชุมชน)

ป.๖ ๑. ใช้ขอ้ มูลจากแผนภูมิรูปวงกลมในการ การนาเสนอข้อมลู

หาคาตอบของโจทย์ปัญหา - การอา่ นแผนภูมริ ูปวงกลม

- (ศึกษารวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับอาชีพประชากร

และขอ้ มลู ทางเศรษฐกิจในชมุ ชน)

สาระที่ ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนับเบ้ืองตน้ ความนา่ จะเป็น และนาไปใช้

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระท้องถิ่น
ป.4 - -
ป.๕ - -
ป.๖ - -

ค11101 คณิตศาสตร์

รายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 เวลา 200 ชวั่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกทักษะการแก้ปัญหา จานวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การบอก
จานวน การอ่านและการเขยี นตัวเลขแสดงจานวน การนับเพ่ิมและนับลดทลี ะ 1 และทีละ 10 การแสดงจานวนนบั ไม่
เกิน 20 ในรูปความสัมพนั ธ์ของจานวนแบบส่วนย่อย - สว่ นรวม (part - whole relationship) การบอกอนั ดับที่
การเขียนในรปู กระจาย การเปรียบเทยี บจานวน การใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠ > < การเรยี งลาดบั จานวน การบวก การ
ลบ จานวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบและ
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ และการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อม
ทงั้ หาคาตอบ แบบรูป แบบรปู ของจานวนท่เี พม่ิ ข้ึนหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 แบบรปู ซ้าของจานวน รูปเรขาคณิต
และรูปอ่นื ๆ ความยาว การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยท่ีไมใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนตเิ มตร เป็นเมตร
การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวทม่ี ีหน่วยเป็น
เซนติเมตร เป็นเมตร น้าหนกั การวัดนา้ หนักโดยใช้หนว่ ยท่ีไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน การวัดนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขีด
การเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรมั เปน็ ขดี การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกีย่ วกับนา้ หนักท่ีมีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั
เปน็ ขีด รปู เรขาคณติ สองมิติและรปู เรขาคณติ สามมิติ ลักษณะของทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย
ลักษณะของรูปสามเหลี่ยม รูปสเ่ี หลยี่ ม วงกลม และวงรี การนาเสนอขอ้ มลู การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ การอ่านแผนภูมิ
เก่ียวกบั ข้อมูลในโรงเรียนและข้อมูล ในท้องถ่ิน

โดยใชท้ กั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รจู้ ักใช้
วธิ ีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหา

เพือ่ ให้มคี วามรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การสอ่ื สาร
สื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ และสามารถนาไปใชใ้ นการเรยี นรสู้ ่งิ ตา่ งๆ และใชใ้ นชีวติ ประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ มี
ระเบยี บ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถทางานอยา่ งเปน็ ระบบ รวมทงั้ เห็นคณุ ค่า
และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์

ตัวช้ีวัด
ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3,ป.1/4,ป.1/5
ค 1.2 ป.1/1
ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ค 2.2 ป.1/1
ค 3.1 ป.1/1

รวม 10 ตัวช้วี ดั

37

โครงสรา้ งรายวิชา เวลา 200 ชั่วโมง
รายวชิ า ค 11101 คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1

หน่วย ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนกั
ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนร/ู้ (ช่ัวโมง) คะแนน
1 จานวนนับ 1
ถงึ 10 และ 0 ตัวชี้วัด จานวนนับ 1 ถึง 10 และศูนย์ใช้บอก 12 2
ค1.1 ป.1/1, ป. จานวนของสิ่งต่างๆ ตัวเลขฮินดูอา 10 2
2 การบวกจานวน 1/2 ป.1/3, รบิกและตัวเลขไทยเป็นสัญลักษณ์ที่
สองจานวนทมี่ ี แสดงจานวน ส่วนการเขียนแสดง
ผลบวกไม่เกนิ 9 ค 1.1 ป.1/4 ป. จานวนนับ
1/5 ไมเ่ กิน 10 ในรปู ความสมั พนั ธข์ อง
จานวนแบบส่วนย่อย-ส่วนรวม เป็น
การเขียนแสดงความสัมพันธ์ของ
จานวนใดๆ
ในรูปของ 2 จานวนข้ึนไป โดยท่ี
ผลรวมของจานวนเหล่านั้นเท่ากับ
จานวน เดิม เมื่อน าจาน วน สอง
จานวนมาเปรียบเทียบกัน จะเท่ากัน
มากกว่าหรือน้อยกว่ากันอย่างใด
อย่างหนึ่งเท่าน้ัน การเรียงลาดับ
จานวนเป็นการเรียงลาดับจานวน
จาก
น้อยไปมากและจากมากไปน้อย สว่ น
การบอกลาดับที่เป็นการใช้ตัวเลข
บอกตาแหนง่ ของสิ่งต่างๆ

การบวกเป็นการนาจานวนตั้งแต่
สองกลุ่ม

ข้ึนไปมารวมกัน การหาผลบวกมี
วิธีการ

ที่หลากหลาย จานวนใดๆ บวกกับ
ศนู ย์

จะได้ผลบวกเท่ากับจานวนนั้น การ
บวก

จ า น ว น ส อ ง จ า น ว น เมื่ อ ส ลั บ ท่ี กั น
ผลบวก

ยังคงเท่าเดิม ส่วนการแก้โจทย์
ปญั หาการ

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

38

หน่วย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู/้ (ชั่วโมง) คะแนน

ตวั ชี้วัด

บวก ต้องวิเคราะห์โจทย์ และแสดง
วธิ ที า

เพ่ือหาคาตอบ รวมทั้งตรวจสอบ
ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบ การสร้าง
โจทย์

ปญั หาการบวกให้พิจารณาข้อมลู ท่ี
กาหนดให้จากน้นั จึงกาหนดคาสาคญั
และสร้างโจทยป์ ญั หาการบวก

3. การลบจานวน ค1.1 ป.1/4, ป. การลบเป็นการนาจานวนหนึ่งออกจาก 15 3

สองจานวนท่ีมีตวั 1/5 อกี

ตั้งไมเ่ กนิ 9 จานวนหน่ึง แล้วหาจานวนที่เหลอื การ

หา

ผลลบมีวิธีการที่หลากหลาย จานวน

ใดๆ

ลบด้วยศูนย์ จะไดผ้ ลลบเท่ากับจานวน

นั้น

เสมอ การหาตวั ไม่ทราบค่าในประโยค

สัญลักษณ์หาได้โดยใช้ความสัมพันธ์

ของ

การบวกและการลบ การแก้โจทย์

ปญั หา

การลบ ต้องวิเคราะห์โจทย์ และแสดง

วธิ ีทา

เพ่ือหาคาตอบ รวมทัง้ ตรวจสอบความ

สมเหตุผลของคาตอบ ส่วนการสร้าง

โจทย์ปัญหาการลบให้พิจารณาขอ้ มูลที่

กาหนดให้จากนั้นจึงกาหนดคาสาคัญ

และสร้างโจทยป์ ญั หาการลบ

4. จานวนนบั 11 ค1.1 ป.1/1, ป. จานวนนบั 11 ถึง 20 เป็นจานวนนับ 10 2
ถงึ 20 1/2 ท่ี

ป.1/3 เพ่ิมข้ึนทีละ 1 ตามลาดับ ในการ

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

39

หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ การเรียนรู/้ (ชวั่ โมง) คะแนน

ตวั ช้ีวดั

5. การบวกจานวนที่ ค1.1 ป.1/4, ป. เขยี น 18 3
มีผลบวกไม่เกนิ 1/5 ตัวเลขแสดงจานวนใดๆ ใชส้ ญั ลกั ษณ์
20 0,
(จานวนตาบล 1 ,2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 หรือ
และอาเภอใน ๑,๒,๓,๔,๕,๖,๗,๘,๙ เรยี ก
จังหวดั นครปฐม) สญั ลกั ษณน์ วี้ ่า
เลขโดด การเขยี นตวั เลขแสดง
จานวนนับ
ใดๆ ในรูปกระจาย เป็นการเขียนใน
รปู ของการบวกค่าของเลขโดดใน
กลักต่างๆของจานวนนั้น เม่อื นา
จานวนสองจานวนมาเปรียบเทยี บกนั
จะเทา่ กนั มากกวา่ หรือน้อยกว่ากนั
อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเท่านัน้
การเรียงลาดบั จานวนเปน็ การ
เรียงลาดบั
จานวนจากนอ้ ยไปมากและจากมาก
ไปน้อย

การหาผลบวกมวี ิธีการทห่ี ลากหลาย
ใ ช้ ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง
คณิตศาสตร์
ในการหาคาตอบและตรวจสอบ
ความ
สมเหตุผลของคาตอบ การบวก
จานวน
สองจานวนเม่อื สลับท่ีกนั ผลบวกจะ
เทา่ เดมิ เสมอ การบวกจานวนสาม
จานวนใหบ้ วกทลี ะสองจานวน การ
หาตัวไมท่ ราบคา่
ในประโยคสญั ลักษณท์ าได้โดยใช้
ความสมั พันธ์ของการบวกและการ
ลบ
การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก ต้อง
วิเคราะห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

40

หนว่ ย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนัก
ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ช่ัวโมง) คะแนน

ตัวช้ีวดั

6. การลบจานวนทีม่ ี ค1.1 ป.1/4, ป. โจทย์ และแสดงวิธที าเพ่ือหาคาตอบ 10 2
ตัวตงั้ ไม่เกิน 20 1/5 รวมท้ังตรวจสอบความสมเหตุสมผล 5 2
ของคาตอบ สว่ นการสร้างโจทย์
7. รูปเรขาคณติ ค 2.2 ป.1/1 ปัญหาการบวก ให้พจิ ารณาข้อมูลที่
กาหนดใหจ้ ากนัน้ จึงกาหนดคาสาคญั
และสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวก

การหาผลลบมีวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
ใ ช้ ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง
คณติ ศาสตร์
ในการหาคาตอบและตรวจสอบ
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ การ
ห า ตั ว ไม่ ท ร า บ ค่ า ใน ป ร ะ โย ค
สญั ลกั ษณท์ าไดโ้ ดย
ใช้ความสัมพนั ธ์ของการบวกและการ
ลบ
การแก้โจท ย์ปั ญ หาการลบ ต้อง
วเิ คราะห์
โจทย์ และแสดงวิธที าเพ่อื หาคาตอบ
รวมท้ังตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของ
คาตอบ ส่วนการสร้างโจทย์ปัญหา
การลบ
ใหพ้ ิจารณาข้อมูลทกี่ าหนดให้จากนั้น
จึง
ก า ห น ด ค า ส า คั ญ แ ล ะ ส ร้ า ง โจ ท ย์
ปญั หา
การลบ

รูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม วงกลม
และ
วงรีเป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ ส่วน
ท รงส่ี เห ลี่ ย ม มุ ม ฉ าก ท รงก ล ม
ทรงกระบอก
และกรวยเป็นรูปเรขาคณิตสามมติ ิ

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

41

หน่วย ช่อื หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนกั
ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน

8. แบบรปู ตัวช้ีวัด แบบรปู ของรปู ที่มีรูปรา่ งสมั พนั ธ์กนั 6 2
แบบรูปของรูปท่ีมีสีสัมพันธ์กัน แบบ 12 2
ค 1.2 ป. 1/1 รูป
ของรูปท่ีมีขนาดสัมพันธ์กัน สามารถ
9. การวดั ความยาว ค. 2.1 ป.1/1 บอก
รปู ต่อไปหรือรปู ท่หี ายไปได้

การวัดความยาวของสิง่ ของใดๆเปน็
การวัดระยะทางจากปลายข้างหนึ่ง
ไปยงั
ปลายอีกขา้ งหนงึ่ การวัดความยาว
ค ว าม สู งแ ล ะ ระ ย ะ ท างอ าจ ใช้
เครื่องวดั
ความยาวทไ่ี ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน
เซ น ติ เม ต ร เม ต ร เป็ น ห น่ ว ย
มาตรฐานที่
ใช้บอกความยาว ความสูง และ
ระยะทาง
การเป รียบ เทียบ ความยาวเป็ น
เซนติเมตร
เปน็ เมตรเป็นการหาวา่ ส่ิงใดยาวกวา่
ส้ันกว่า สูงกว่า เต้ียกว่า ไกลกว่า
หรอื
ใกล้กว่า ส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการ
บวก
การลบเกี่ยวกับความยาวท่ีมีหน่วย
เป็น
เซนติเมตร เป็นเมตร ให้วิเคราะห์
โจทย์
แล ะแสดงวิธีท าเพ่ื อห าคาตอ บ
รวมทั้งตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคาตอบ

10. การวัดน้าหนกั ค 2.1 ป.1/2 ป. การวัดน้าหนักเป็นการช่ังน้าหนัก 10 4
4/5 ของ

สิ่งต่างๆ กิโลกรัม ขีด เป็นหน่วย

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

42

หนว่ ย ช่ือหน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนกั
ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้/ (ชั่วโมง) คะแนน

ตัวชี้วดั มาตรฐาน
ท่ีใช้บอกนา้ หนัก ในการเปรียบเทยี บ
นา้ หนกั ในหน่วยกิโลกรัม ขดี เป็นการ
เปรียบเทียบว่าสง่ิ ของใดท่ีมนี า้ หนกั
มากกว่า หรือน้อยกว่า ส่วนการแก้
โจทย์
ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับ
นา้ หนัก
ที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด ให้
วเิ คราะห์
โจทย์ และแสดงวธิ ีทาเพือ่ คาตอบ
รวมทั้งตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของคาตอบ

11. จานวนนับ 21 ถึง ค 1.1 ป.1/1 ป. จานวนนับ 21 ถึง 100 การเขียน 20 4
100 1/2 ป.1/3 ตัวเลข 30 6
แสดงจานวนในรูปกระจาย เป็นการ
เขยี น
ในรูปการบวกค่าของเลขโดด เม่อื นา
จานวนสองจานวนมาเปรยี บเทยี บกนั
จะมีค่าเท่ากัน มากกว่า หรือน้อย
กว่า
อย่างใดอย่างหน่ึงเท่าน้ัน ส่วนแบบ
รูปของ
จ าน ว น เป็ น ชุ ด ข อ งจ าน ว น ท่ี มี
ความสมั พนั ธ์
กัน สามารถบอกจานวนต่อไปหรือ
จานวน
ทีห่ ายไปได้

12. การบวกจานวนที่ ค 1.1 ป.1/4 ป. การหาผลบวกมวี ธิ ีทห่ี ลากหลาย

มีผลบวกไม่เกนิ 1/5 และใช้ทั ก ษ ะก ระบ วน การท าง

100 คณติ ศาสตร์

ในการหาคาตอบและตรวจสอบ

ความ

สมเหตุสมผลของคาตอบ การหาตัว

ไม่

ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ทาได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

43

หน่วย ช่อื หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนกั
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนร/ู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

ตัวชี้วัด

โดย

ใช้ความสัมพันธ์องการบวกและการ

ลบ

การแกโจทย์ปัญหาการบวก ต้อง

วิเคราะห์

โจทย์ และแสดงวิธที าเพ่อื หาคาตอบ

รวมทั้งตรวจสอบความสมเหตุสมผล

ของ

คาตอบ ส่วนการสร้างโจทย์ปัญหา

การบวก ใหพ้ ิจารณาข้อมลู ที่

กาหนดใหจ้ ากนนั้ จึงกาหนดคาสาคญั

และสรา้ งโจทยป์ ัญหาการบวก
13. การลบจานวนทมี่ ี ค1.1 ป.1/4 ป. การหาผลลบมีวธิ กี ารที่หลากหลาย
และใช้ทั ก ษ ะก ระบ วน การท าง 32 6

ตัวตงั้ ไม่เกนิ 100 1/5 คณิตศาสตร์
ในการหาคาตอบและตรวจสอบ
(จานวนผลไมใ้ น ความ
จังหวัดนครปฐม)

สมเหตุสมผลของคาตอบ การหาตัว
ไม่
ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ทาได้
โดย
ใช้ความสัมพนั ธ์ของการบวกและการ
ลบ
การแก้โจท ย์ปั ญ หาการลบ ต้อง
วเิ คราะห์
โจทย์ และแสดงวธิ ที าเพือ่ หาคาตอบ
รวมท้ังตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของ
คาตอบ ส่วนการสร้างโจทย์ปัญหา
การลบ
ให้พิจารณาข้อมูลท่กี าหนดใหจ้ ากนั้น
จงึ
ก า ห น ด ค า ส า คั ญ แ ล ะ ส ร้ า ง โจ ท ย์
ปัญหา
การลบ
ค.3.1 ป.1/1 แผนภูมิรูปภาพเป็นวิธีการนาเสนอ 5
14. การนาเสนอ ขอ้ มลู -
ขอ้ มูล

กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

44

หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา นา้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้/ (ชั่วโมง) คะแนน

ตวั ชี้วัด อย่างหนึ่ง เพื่อความสะดวกในการ

อ่าน
ข้อ มูล ส่ วน การอ่ าน ข้อมู ลจาก
แผนภูมิ
รูปภาพเป็นการอ่านข้อมูลเพื่อตอบ
คาถาม
ของโจทย์ปญั หา
รวมระหวา่ งปี
195 60
ปลายปี
5 40

รวม 200 100

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตรด์ าเนนิ การวดั และประเมินโดยใชเ้ กณฑ์ 60:40

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

45

ค12101 คณติ ศาสตร์

รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 200 ชั่วโมง

ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการคิดคานวณ และฝกึ การแกป้ ญั หา จานวนนบั 1 ถงึ 1,000 การอา่ น และการเขียน
ตัวหนงั สือ ตัวเลขแทนจานวน ชือ่ หลกั คา่ ของตวั เลขในแต่ละหลกั การเขยี นในรูปกระจาย การเปรียบเทยี บจานวน การ

ใชเ้ ครอ่ื งหมาย =  > < การเรียงลาดบั จานวน การนบั เพิม่ ทลี ะ 5 และ ทลี ะ 10 และ ทีละ 100 การนับลดทีละ 2 ที
ละ 10 และทลี ะ 100 จานวนคู่ จานวนค่ี การบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปญั หา การบวกจานวนทม่ี ี
ผลบวก ไมเ่ กนิ 1,000 การลบจานวนท่มี ีตวั ตง้ั ไมเ่ กิน 1,000 การคูณจานวนท่ีมีหนึง่ หลกั กบั จานวนไม่เกนิ สอง
หลกั การหารทีต่ ัวตงั้ ไม่เกนิ สองหลักและตวั หารหนึง่ หลัก โดยทีผ่ ลหารมหี น่ึงหลกั การบวก ลบ คณู หารระคน
โจทยป์ ญั หา การวัดความยาว การวัดความยาว ความสงู และระยะทางโดยใชเ้ ครอื่ งวดั ท่ีมหี น่วยมาตรฐานเปน็ เมตร
และเซนตเิ มตร การเปรยี บเทยี บความยาวในหน่วยเดียวกนั การแกป้ ญั หา การชง่ั การชงั่ โดยใชเ้ ครือ่ งช่ังที่มีหนว่ ย
มาตรฐานเปน็ กโิ ลกรมั และขีด การเปรียบเทียบนา้ หนกั ในหนว่ ยเดียวกัน การแกป้ ญั หา การตวง การตวงโดยใช้
เคร่อื งตวงท่ีมหี น่วยมาตรฐานเปน็ ลติ ร การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุในหน่วยเดียวกัน การแก้ปญั หา เงนิ
การจาแนกชนิดของเงนิ เหรยี ญและธนบัตร การบอกค่าของเงนิ เหรียญและธนบตั ร การเปรยี บเทยี บค่าของเงนิ และ
การแลกเงนิ การบอกจานวนเงนิ การแกป้ ญั หา เวลา การบอกเวลาเป็นชวั่ โมงกบั นาที (ชว่ ง 5 นาท)ี ชื่อวนั วนั ท่ี
เดอื น อนั ดับท่ีของเดือน และการอ่านปฏทิ นิ การแก้ปญั หา รปู เรขาคณติ และสมบตั บิ างประการของรูปเรขาคณิต
รปู สามเหลยี่ ม รปู สีเ่ หลย่ี ม รปู วงกลม รปู วงรี ทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก แบบรูปและ
ความสัมพนั ธ์ แบบรปู ของจานวนท่ีเพิม่ ขึ้นทีละ 5 ทลี ะ 10 และทลี ะ 100 แบบรปู ของจานวนท่ลี ดลงทลี ะ 2 ทลี ะ
10 และทลี ะ และทลี ะ 100 แบบรปู ของรปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ ที่สัมพนั ธก์ นั ในลกั ษณะของรูปรา่ ง หรอื ขนาด
หรือสี

โดยใชว้ ิธกี ารทห่ี ลากหลายแก้ปญั หาใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการแก้ปญั หาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ใหเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อยา่ งเหมาะสม ใช้ภาษาและ
สญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสอ่ื สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอไดอ้ ย่างถกู ต้อง เชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ
ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชื่อมโยงคณติ ศาสตรก์ ับศาสตร์อ่ืน ๆ มคี วามคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์

เพ่ือให้เห็นคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบยี บ รอบคอบ มี
ความรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ เชอ่ื มั่นในตนเอง รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสตั ยส์ ุจริต มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่าง
พอเพียง มุ่งมน่ั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย และ มจี ิตสาธารณะ
รหัสตัวชีว้ ัด
ค.1.1 ป.2/1 ป.2/2
ค.1.2 ป.2/1 ป.2/2
ค.2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6
ค.2.2 ป.2/1
ค.3.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3
ค.3.2 ป.2/1
ค.4.1 ป.2/1 ป.2/2
ค.6.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 ป.2/6
รวมทั้งหมด 23 ตวั ช้วี ดั

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

46

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวชิ า ค 12101 คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 200 ชว่ั โมง

หนว่ ย ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา น้าหนกั
ที่ การเรียนรู้ การเรียนร/ู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

ตวั ช้วี ดั

1 จานวนนับ 1 - ค1.1 ป.2/1, ป. จานวนนับใช้บอกจานวนของสิ่ง 20 3

1000 และ 0 2/2 ต่างๆ ซึ่งจานวนนับหนึ่ง สอง สาม

ค4.1 ป.1/1 ... หนึ่งพัน เป็นจานวนที่เพิ่มข้ึนที

ค6.1 ป.2/1, ละหนงึ่ ตามลาดับ

ป.2/2 ป.2/3, 1,000 เป็ น ตัวเลขที่ มี สี่ห ลั ก

ป.2/4 ป.2/5, ตัวเลขทางซ้ายของหลักร้อยอยู่ใน

ป.2/6 หลักพัน จานวนของส่ิงต่างๆ ท่ี

นามาจัดเป็นคู่แล้วเหลือ 0 หรือ

ห ม ด พ อ ดี เรีย ก ว่า จ าน วน คู่

จานวนของสิ่งต่างๆ ท่ีนามาจัดเป็นคู่

แลว้ เหลอื 1 เรียกวา่ จานวนคี่

2. การบวกและ ค1.2 ป.2/1, การหาผลบวกของจานวนสอง 20 6

การลบจานวนท่ี ป.2/2 จานวน ให้นาจานวนท่ีอยู่ในหลัก

มีผลลพั ธ์และตัว ค 6.1 ป.2/1, เดียวกันบวกกัน โดยเริ่มบวกจาก

ต้งั ไมเ่ กิน 100 ป.2/2 ป.2/3, ป. หลักหน่วยก่อน ถ้าผลบวกของ

(จานวนการ 2/4 ป.2/5, ป. จานวนในหลักใดเป็นสองหลักให้ทด

เล้ยี งสัตว์ใน 2/6 จานวนท่ีครบสิบไปรวมกับจานวนท่ี

ท้องถ่ิน อาหาร อยู่ในหลักถัดไปทางซ้ายมือ ในการ

สัตว์ น้าหนกั บวกจานวนสามจานวนก็ใช้วิธีการ

ราคา) เดียวกัน และการบวกจานวนสอง

จานวนเม่ือสลับทกี่ ันผลบวกยงั คงเท่า

เดมิ

การหาผลลบของจานวนสอง

จ า น ว น ให้ น า จ า น ว น ท่ี อ ยู่ ใ น ห ลั ก

เดียวกันมาลบกัน การลบจะมีการ

กระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย

เมื่อจานวนในหลักหน่วยของตัวตั้ง

น้อยกว่าจานวนในหลักหน่วยของตัว

ลบ และจะมีการกระจายจากหลัก

ร้อยไปหลักสิบ เมื่อจานวนในหลัก

สิบของตัวต้ังน้อยกว่าจานวนในหลัก

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

47

หนว่ ย ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ (ช่วั โมง) คะแนน

ตัวช้ีวดั

3. การวดั ความ ค2.1 ป.2/1 สบิ ของตวั ลบ 12 3
13 6
ยาว ค2.2 ป.2/1 การวัดความยาว ความสูง และ
ระยะทางโดยใช้หน่วยกลางที่แต่ละ
(แผนผงั มาตรา ค6.1 ป.2/1, คนกาหนดข้ึนเอง อาจทาให้ผลการ
วั ด ไม่ ต ร งกั น ดั งน้ั น จึ งต้ อ งมี
ส่วนของ ป.2/2 ป.2/3, เคร่ืองวัดท่ีมีหน่วยมาตรฐาน ซึ่ง
เคร่ืองวัดที่มีหน่วยมาตรฐานน้ันมี
โรงเรยี น ป.4/4 ป.2/5, หลายชนิด เช่น ไม้บรรทัด ไม้เมตร
ส าย วั ด ช นิ ด ต ลั บ แ ล ะ ห น่ ว ย
หมู่บ้าน ตาบล ป.2/6 มาตรฐานท่ีใช้บอกความยาว ความ
สู ง แ ล ะระย ะท าง เช่ น เ ม ต ร
อาเภอ) เซนติเมตร

4. การบวกและ ค1.2 ป.2/1, การหาผลบวกของจานวนสองจานวน
การลบจานวนท่ี ป.2/2 ให้นาจานวนท่ีอยู่ในหลักเดียวกัน
มผี ลลัพธแ์ ละตัว ค6.1 ป.2/1, บวกกัน โดยเร่ิมบวกจากหลักหน่วย
ต้งั ไมเ่ กนิ 1,000 ป.2/2 ป.2/3, ก่อน ถ้าผลบวกของจานวนในหลัก
ป.2/4 ป.2/5, ใดเป็นสองหลักให้ทดจานวนท่ีครบ
ป.2/6 สิบไปรวมกับจานวนที่อยู่ในหลัก
ถัดไปทางซ้ายมือ ในการบวกจานวน
สามจานวนก็ใช้วิธีการเดียวกัน และ
การบวกจานวนสองจานวนเม่ือสลับ
ทก่ี ันผลบวกยังคงเท่าเดมิ

การหาผลลบของจานวนสอง
จ า น ว น ให้ น า จ า น ว น ท่ี อ ยู่ ใ น ห ลั ก
เดียวกันมาลบกัน การลบจะมีการ
กระจายจากหลักสิบไปหลักหน่วย
เมื่อจานวนในหลักหน่วยของตัวตั้ง
น้อยกว่าจานวนในหลักหน่วยของตัว
ลบ และจะมีการกระจายจากหลัก
ร้อยไปหลักสิบ เมื่อจานวนในหลัก
สิบของตัวต้ังน้อยกว่าจานวนในหลัก
สบิ ของตวั ลบ
การลบมี ความสั มพั นธ์กั บการบวก
กล่าวคือ ผลลบของจานวนสองจานวนใดๆ

กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

48

หนว่ ย ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู/้ (ชวั่ โมง) คะแนน
5. การช่ัง
ตวั ชวี้ ัด
6. การคูณ
เม่ือบวกกบั ตวั ลบจะเท่ากบั ตวั ตัง้
7. เวลา การช่ัง โดยใช้เครื่องมือหรือหน่วยท่ี
ค2.1 ป.2/2 แต่ละคนกาหนดขึ้นเองอาจทาให้ผล 10 5
8. เงนิ ค2.2 ป.2/1 การชั่งไม่ตรงกันจึงต้องมีเคร่ืองชั่งที่มี
ค6.1 ป.2/1, หน่วยมาตรฐาน ซึ่งเคร่ืองช่ังท่ีมี
ป.2/2 ป.2/3, หน่วยมาตรฐานสาหรับช่ังของมีหลาย
ป.2/4 ป.2/5, ชนิด เช่น เครื่องชั่ง-สปริง เครื่องชั่งสอง
ป.2/6 แขน ห น่ วยม าต รฐาน ท่ี ใช้บ อ ก
นา้ หนกั ได้แก่ ขีด กโิ ลกรมั

ค1.2 ป.2/1, การบวกจานวนท่ีเท่ากันหลายๆ 22 7

ป.2/2 จานวน เขียนแสดงได้ด้วยการคูณ

ค6.1 ป.2/1, จานวนที่ได้จากการคูณ เรียกว่าผล

ป.2/2 ป.2/3, ป. คูณจานวนสองจานวนที่คูณกัน เม่ือ

2/4 ป.2/5, สลับที่กันแล้วผลคณู ยงั คงเท่าเดิม

ป.2/6

ค2.1 ป.2/5, นาฬิกา เป็นเคร่ืองมือใช้สาหรับ 20 4

ป.2/6 บอกเวลา

ค6.1 ป.2/1, ปฏิทิน เป็นสิ่งท่ีเราใช้ดู วัน

ป.2/2 ป.2/3, เดอื น ปี

ป.2/4 ป.2/5, ในหนึ่งปี มีท้ังหมด 12 เดือน

ป.2/6 เดือนที่ลงท้ายด้วย “คม” มี 31

วัน เดือนที่ลงท้ายด้วย “ยน” มี 30

วัน ส่วนเดือนกุมภาพันธ์ มี 28 หรือ

29 วนั

ค2.1 ป.2/4 เงินเหรียญและธนบัตรใช้เป็น 12 8

ค2.2 ป.2/1 ส่ือกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยน

ค6.1 ป.2/1, ซ่ึงเงินเหรียญและธนบัตรที่ใช้อยู่ใน

ป.2/2 ป.2/3, ปัจจุบันมีหลายชนิด มีค่าแตกต่าง

ป.2/4 ป.2/5, กนั ตามชนดิ ของเงิน

ป.2/6 การบอกจานวนเงิน เป็นการ

รวมจานวนเงินท้ังหมดที่กาหนดให้

โดยบอกหน่วยเป็นบาทและสตางค์

และการอ่านจานวนเงิน ให้อ่าน

ตัวเลขหนา้ จดุ มีหนว่ ยเป็นบาท และอ่าน

ตวั เลขหลงั จดุ มหี นว่ ยเปน็ สตางค์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

49

หน่วย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา น้าหนกั
ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นร้/ู (ช่ัวโมง) คะแนน
9. การหาร
ตัวชว้ี ัด การแบ่งของจานวนหน่ึงออกเป็น 24 6
10. การตวง ค1.2 ป.2/1, กลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน เพอื่ หาจานวน 12 5
ป.2/2 กลุ่ม หรือจานวนท่ีเท่าๆ กันในแต่ละ
ค6.1 ป.2/1, กลุ่ม อาจอาศัยการลบออกครั้งละ
ป.2/2 ป.2/3, เท่าๆกัน ซ่ึงสามารถเขียนแสดงได้
ป.2/4 ป.2/5, ด้ ว ย ก า ร ห า ร จ า น ว น ส อ ง จ า น ว น
ป.2/6 จานวนท้ังหมดท่ีนามาแบ่งเรียกว่า
ตัวตั้ง จานวนกลุ่มท่ีมีของเท่าๆกัน
ค2.1 ป.2/1, ป. หรือจานวนของที่เท่ากันในแต่ละ
2/3ค2.2 ป.2/1 กลุ่ม เรียกว่า ตัวหาร จานวนที่ได้
จากการหารจานวนสองจานวน
เรยี กว่า ผลหาร การหารโดยการลบ
ตัวต้ังด้วยตัวหารซ้าๆกัน จนกระทั่ง
ไดผ้ ลลบเป็นศนู ย์ เปน็ การหารลงตัว

การหารโดยการลบตัวตั้งด้วย
ตัวหารซ้าๆกัน จนกระทั่งได้ผลลบ
น้อยกว่าตัวหาร และมากกว่าศูนย์
เป็นการหารไม่ลงตัว หรือ การหารที่
เหลือเศษ ผลลบท่ีน้อยกว่าตัวหาร
เรียกว่า เศษ

การคูณมีความสัมพันธ์กับการ
หาร กลา่ วคือ ผลคูณของจานวนสอง
จานวนใดๆ เมื่อหารด้วยจานวนใด
จานวนหนึ่งของสองจานวนน้ัน จะได้
ผลลัพธ์เท่ากับจานวนท่ีเหลอื

การหารลงตัว ตัวต้ัง ตัวหาร
และผลหารมคี วามสมั พันธก์ นั ดังน้ี

ตวั ตงั้  ตวั หาร ผลหาร
การหารไม่ลงตัว ตัวตั้ง ตัวหาร

ผลหาร และเศษ มีความสมั พนั ธก์ ันดังน้ี

ตัวต้ัง  (ตัวหาร ผลหาร) 
เศษ

การตวงโดยใช้เคร่ืองมือ หรือหน่วย
ท่ีแต่ละคนกาหนดข้ึนเองอาจทาให้ผล

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน

50

หนว่ ย ชือ่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ การเรยี นร/ู้ (ช่วั โมง) คะแนน

ตวั ชีว้ ดั

ค6.1 ป.2/1, การตวงไม่ตรงกันจึงต้องมีเคร่ืองตวงท่ีมี
หน่วยมาตรฐานในการตวง เคร่ือง
ป.2/2 ป.2/3, ตวงที่มีหน่วยมาตรฐานสาหรับตวงมี
หลายชนิดเช่น ถัง ลิตร ถ้วยตวง
ป.2/4 ป.2/5, ช้อนตวงถัง ลิตร ถ้วยตวงเป็นมาตรฐาน
ท่ีใช้บอกปรมิ าตร หรือความจุ
ป.2/6
การเปรียบเทียบปริมาตรของ
11. รูปเรขาคณิต ค3.1 ป.2/1, ส่ิงของอาจทาไดโ้ ดยการเปรยี บเทียบจาก 18 4
และรูปทรง ป.2/2 ป.2/3 จานวนหน่วยตวงทีต่ วงได้ 12 3
เรขาคณิต ค3.2 ป.2/1
(องคพ์ ระปฐม ค4.1 ป.2/2 การเปรียบเทียบความจุของภาชนะ
เจดีย์ ,กระบอก ค6.1 ป.2/1, อาจทาไดโ้ ดยการเปรยี บเทยี บปริมาตร
ขา้ วหลาม) ป.2/2 ป.2/3, ของส่ิงท่ี บ รรจุอยู่เต็ม ภ าช น ะท่ี
ป.2/4 ป.2/5, ต้องการเปรียบเทยี บ
ป.2/6
การจาแนกชนิดของรูปหลายเหลี่ยม
12. การบวกลบคูณ ค1.2 ป.2/1, ใช้วธิ พี จิ ารณาจานวนด้านหรือ
หารระคน ป.2/2 ค6.1 ป. จานวนมุมของรปู
2/1, ป.2/2 -รูปสามเหลี่ยมมดี ้าน 3 ดา้ นมุม3 มุม
ป.2/3, ป.2/4 -รูปสเ่ี หล่ยี มมดี ้าน 4 ดา้ น มมุ 4 มมุ
ป.2/5, ป.2/6 การเขยี นรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหลยี่ ม
รูปวงกลม และรปู วงรี วธิ หี นึง่ เขยี น
ได้โดยลากเสน้ ไปตามขอบของส่งิ ที่
นามาเป็นแบบ

รูปเรขาคณิตสองมติ แิ ละรูปเรขา
คณิตสามมติ ติ ่างกนั รูปเรขาคณติ
สองมติ ิไมม่ ีความหนา ส่วนรปู เรขา
คณิตสามมติ มิ ีความหนา

แบบรูปของรปู เรขาคณิตเป็นชุด
ของรูปเรขาคณติ ท่ีมีความสัมพันธ์กัน
อยา่ งใดอย่างหนึ่ง

การบวก ลบ คูณ หารระคน
- การบวก ลบ คูณ หารระคน
-โจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คณู
หารระคน

กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | โรงเรียนประถมฐานบินกาแพงแสน


Click to View FlipBook Version