หน่วยท่ี 3การผสมพนั ธุ์สตั ว์
รัฐศาสตร์ รักษาเพชร
บทที่ 3 การผสมพนั ธ์สุ ตั ว์
ความหมายระบบการผสมพนั ธ์สุ ตั ว์
ระบบการผสมพนั ธ์สุ ตั ว์ (Mating system) หมายถงึ แบบหรือวิธีการจบั คสู่ ตั ว์มาผสม
พนั ธ์กุ นั การผสมพนั ธ์บุ างคู่ คผู่ สมมีความเหมือนกนั และบางคู่ คผู่ สมพนั ธ์ุมีความแตกตา่ งกนั ทางด้าน
พนั ธุกรรม หรือลกั ษณะท่ีปรากฏให้เห็นดงั นนั้ ผลที่ได้จะเกิดกบั ลกู ซง่ึ จะมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ขนึ ้ อยกู่ บั
ลกั ษณะของคผู่ สมพนั ธ์นุ นั้
2. การจําแนกระบบการผสมพนั ธ์ุสตั ว์
ระบบการผสมพนั ธ์สุ ตั ว์ แบง่ กว้าง ๆ ได้ 2 ระบบคอื
1.1 ระบบผสมเลือดชิด (Inbreeding) หรือ ระบบการผสมระหวา่ งญาติ (Close
breeding)
1.2 ระบบการผสมข้าม(Out breeding)
3. ระบบการผสมเลือดชดิ (Inbreeding)
1.1 ความหมายของการผสมแบบเลือดชิด
การผสมเลือดชิดหรือการผสมระหวา่ งญาติ เป็นรูปแบบ หรือวธิ ีการผสมพนั ธุ์ที่คูผ่ สมพนั ธุ์มี
ความสัมพนั ธ์เป็นเครือญาติกนั เช่น พ่ีผสมกบั นอ้ ง พอ่ ผสมกบั ลูก แมผ่ สมกบั ลูก เป็นตน้
พ่ี
F1
น้อง
3.2 ประเภทของการผสมแบบเลือดชดิ
การผสมแบบเลือดชดิ แบง่ ได้ 4 ลกั ษณะ คอื
3.2.1 การผสมพนั ธ์ุสตั ว์ตา่ งพอ่ หรือตา่ งแมก่ นั (Halfsib mating) คอื การผสม
ระหวา่ งคผู่ สมพนั ธ์ทุ ี่เป็นพ่ีน้องตา่ งพอ่ หรือตา่ งแมก่ นั
DE
BB
AEA D
DC
CF
F
3.2.2 การผสมพนั ธ์รุ ะหวา่ งพอ่ หรือแมก่ บั ลกู (Parent - offspring) คือการผสมพนั ธ์รุ ะหวา่ ง
คผู่ สมพนั ธ์ทุ ี่เป็นพอ่ กบั ลกู สาว หรือแมก่ บั ลกู ชาย
D
B BD
AEA
C
C
3.2.4 การผสมในสายพนั ธ์ุ (Line - breeding) คอื การผสมของพอ่ พนั ธ์ุลกั ษณะดีเดน่
กบั สตั ว์พืน้ ฝงู
BB
A AB
BC
CD
D
1.2 ผลการผสมแบบเลือดชิด
1.2.1 ผลทางพนั ธุกรรม เพิ่ม Homozgous ทําให้มีลกั ษณะสม่ําเสมอที่พอ่ – แม่
สามารถถ่ายทอดไปให้ลกู ได้สงู เชน่ โคพนั ธ์เุ ฮียร์ฟอร์ด สามารถถ่ายทอดลกั ษณะหน้าขาวไปยงั ลกู
3.3.2 ผลดขี องการผสมแบบเลือดชิด
1. ใช้ผสมพนั ธ์สุ ตั ว์เพื่อสร้างตระกลู ใหมข่ องสตั ว์ได้ เพราะการผสมระหวา่ งญาติ
ทําให้ได้สตั ว์พนั ธ์แุ ท้ หรือสตั ว์ที่มี gene เหมือนกนั มาอยดู่ ้วยกนั มากขนึ ้
BB X Bb
F1 BB X BB,Bb
F2 BB
2. การผสมระหวา่ งญาตสิ ามารถคดั ทิง้ ลกั ษณะ recessive gene (ยีนด้อย)
เพราะลกั ษณะยีนด้อยที่แฝงอยกู่ ็จะมารวมกนั แสดงปรากฏให้เหน็ ทําการคดั ทิง้ ได้
Bb X Bb
F1 BB,2Bb,bb
3. ใช้ในการสร้างสายพนั ธ์ุ (Line) เพ่ือประโยชน์ในการผสมนอกสายสมั พนั ธ์ซง่ึ
นิยมในการผสมสตั ว์เป็นการค้า
3.3.3. ผลเสียของการผสมแบบเลือดชิด
1. ยีนด้อยที่บกพร่องจะแสดงลกั ษณะออกมาทําให้สตั ว์ออ่ นแอ ความสามารถให้ผลผลติ ลดลงมกั
ตายเมื่ออายยุ งั น้อยเนื่องจากไมท่ นตอ่ สภาพแวดล้อมโตช้า ประสิทธิภาพในการผสมพนั ธ์ุตาํ่
2. ทําให้ลกั ษณะทาง Phenotype ไมส่ มํ่าเสมอขนึ ้ อยกู่ บั สภาพแวดล้อมเป็นสว่ นใหญ่
3.3.4 ผลการผสมเลือดชดิ ที่มีตอ่ สตั ว์เลีย้ ง
ก. โคเนือ้ มีรายงานวา่ การผสมเลือดชดิ ทําให้เกิดผลเสียตอ่ โคเนือ้ ดงั นี ้
1. นํา้ หนกั หยา่ นมของลกู โคลดลง 0.30 % ตอ่ ความเป็นเลือดชิดของลกู โคท่ีเพ่มิ ขนึ ้ 1
%
2. การผสมตดิ ของแมโ่ คลดลง เชน่ ความเป็นเลือดชดิ ของลกู โคท่ีเพม่ิ ขนึ ้ 10 % ทําให้แม่
โคตงั้ ท้องลดลงมากกวา่ 2 % และโคตวั ผ้เู ลือดชิดจะผลิตนํา้ เชือ้ ที่มีคณุ ภาพตํา่ กวา่ โคเพศผ้ทู ี่เกิดจากการ
ผสมข้าม
ข. โคนม มีรายงานว่าการผสมเลอื ดชิดทาํ ให้เกดิ ผลเสียต่อโคนม ดังนี้
1. อตั ราการตายหลงั จากเกิดของลกู โค เลือดชิดเทา่ กบั 15 % ในขณะลกู โคท่ีเกิดจาก
การผสมข้ามมีเพียง 8 %
2. โคนมพนั ธ์ุโฮลสไตน์ ให้นมลดลง 95 กิโลกรัม และไขมนั ลดลง 2.2 กิโลกรัม ตอ่
ความเป็นเลือดชิดที่เพิ่มขนึ ้ 15 %
ค. สกุ ร มีรายงานวา่ การผสมเลือดชดิ ทําให้เกิดผลเสียตอ่ สกุ ร ดงั นี ้
การผสมเลือดชิดในสุกรทาํ ใหจ้ าํ นวนลูกตอ่ ครอกเมื่อเกิดลดลง 0.3 – 0.6 ตวั จาํ นวนลูกตอ่ ครอกเมื่อ
หยา่ นมลดลง 0.5 – 0.7 ตวั และน้าํ หนกั เมื่อสุกรอายุ 154 วนั ลดลง 1.4 – 2.7 ก.ก./ตวั จาํ นวนลูกต่อครอกที่
ลดลงมีผลเสียในทางเศรษฐกิจมากกวา่ อตั ราการเจริญเติบโตที่ลดลง
ง. สตั ว์ปี ก ในสตั ว์ปี กมีอตั ราการขยายพนั ธ์ุสงู ทําให้มีโอกาสเลือดชิดมาก และมีรายงานวา่
การผสมเลือดชิดทําให้เกิดผลเสียตอ่ สตั ว์ปี กดงั นี ้
1. การผสมเลือดชิดทําให้ผลผลิตไขล่ ดลง 1 ฟอง ตอ่ ความเป็นเลือดชิดที่เพ่ิมขนึ ้ 1 %
2. อตั ราการตายเพม่ิ ขนึ ้ 0.55 % ตอ่ ความเป็นเลือดชดิ ท่ีเพิม่ ขนึ ้ 1 %
3. สรุปได้วา่ ความเป็นเลือดชิดเพม่ิ 50 % ต้นทนุ การผลิตไขเ่ ป็น 1 ½ เทา่ ของความเป็น
เลือดชดิ ศนู ย์
4. ระบบการผสมข้าม (Out crossing)
4.1 ความหมายขอการผสมข้าม
การผสมข้าม เป็นรูปแบบหรือวธิ ีการผสมพนั ธ์ุที่คผู่ สมพนั ธ์ไุ มม่ ีความสมั พนั ธ์ุเป็นเครือ
ญาตกิ นั หรือไมม่ ีความเก่ียวข้องทางสายเลือดกนั เชน่ การผสมข้ามภายในพนั ธ์ุ การผสมข้ามพนั ธ์ุ เป็น
ต้น
สกุ รแลนเรช
ลกู ผสม 2 สายเลือด
สกุ รลาร์จไวท์
1.2 ประเภทของการผสมข้าม
4.2.1 การผสมข้ามภายในพนั ธ์ุ (Out – Crossing)
การผสมข้ามภายในพนั ธ์ุ หมายถงึ คผู่ สมพนั ธ์เุ ป็นสตั ว์สายพนั ธ์ุเดียวกนั แตไ่ ม่
มีความสมั พนั ธ์ทางสายเลือดหรือไมไ่ ด้เป็นพี่ - น้องกนั เชน่ สกุ รลาร์จไวท์คอกที่ 1 ผสม
กบั สกุ รลาร์จไวท์คอกที่ 2 เป็นต้น
ตวั อยา่ ง การเขียนแผนผงั การผสมได้ดงั นี ้
D
B
AE
F
C
G
1.2.2 การผสมข้ามระหวา่ งพนั ธ์ุ (Cross - breeding)
การผสมข้ามระหวา่ งพนั ธ์ุ หมายถึง คผู่ สมพนั ธ์ุเป็นสตั ว์คนละสายพนั ธ์ุกนั เชน่
โคเนือ้ พนั ธ์ุอเมริกนั บราห์มนั ผสมกบั โคเนือ้ พนั ธ์ชุ าโรเลส์หรือสกุ รแลนด์เรชผสมลาร์จไวท์และผสมดรู ็อค
(สกุ ร 3 สายเลือด)
ตวั อยา่ ง การเขียนแผนผงั การผสมพนั ธ์ุ
ดรู ็อค ลาร์จไวท์
X2 ; X1
X1 แลนด์เรช
การผสมเพม่ิ เลือด (Up-grading) เป็นการผสมข้ามระหวา่ งสตั ว์พนั ธ์ดุ ี กบั สตั ว์พนั ธ์ุ
พืน้ เมือง เพ่ือยกระดบั พืน้ ฝงู ให้สงู ขนึ ้
ตวั อยา่ ง การเขียนแผนผงั การผสมพนั ธ์ุ
บราห์มนั บราห์มนั
F3 ; F2
F2 บราห์มนั
F1
พืน้ เมือง
4.2.3 การผสมข้ามระหวา่ งสตั ว์ตา่ งชนิดกนั (Species - hybridization)
การผสมข้ามระหวา่ งสตั ว์ตา่ งชนดิ กนั หมายถงึ การผสมพนั ธ์ทุ ี่คผู่ สมพนั ธ์เุ ป็น
สตั ว์คนละชนิด หรือคนละตระกลู แตม่ ีจํานวนคโู่ ครโมโซมใกล้เคียงกนั เชน่ พอ่ ลาผสมกบั แมม่ ้า ได้ลกู
ออกมาเป็ นลอ่ ลา X ม้า
ล่อ
4.3 ผลดีขอการผสมข้าม
การผสมข้ามมีผลดีดงั นี ้
4.3.1 ทําให้สตั ว์เกิดลกั ษณะ Heterosis หรือ Hybrid viger สงู หมายถึง เป็นการเพิม่
สมรรถภาพ และความแข็งแรงในรุ่นลกู ที่เกิดสงู กวา่ พอ่ - แมท่ ี่เป็นคผู่ สมพนั ธ์ุซง่ึ ไมม่ ีความสมั พนั ธ์กนั
4.3.2 ทําให้เกิดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสตั ว์เปล่ียนแปลงไป ทําให้เกิดความ
หลากหลายของลกั ษณะซง่ึ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การคดั เลือกพนั ธ์ุในรุ่นตอ่ ไป
4.3.3 เป็นการนําเอาลกั ษณะดีเดน่ ของสตั ว์จากฝงู อ่ืนเข้ามาปลกู ฝังในฝงู สตั ว์ที่มีอยู่
ดงั้ เดมิ เชน่ กรณีการผสมเพ่ือยกระดบั เลือด หรือการผสมเพ่ิมระดบั เลือดในโคพืน้ เมืองโดยใช้พอ่ โคบราห์
มนั เข้ามาผสมเป็นต้น
4.3.4 เป็นการลดอตั ราสมั พนั ธ์ของสตั ว์ในฝงู ซง่ึ จะมีผลทําให้สตั ว์ที่เกิดในรุ่นตอ่ ไปมี
ประสิทธิภาพการเจริญเตบิ โตดขี นึ ้ เรื่อย ๆ และลกั ษณะด้อยท่ีแฝงอยกู่ ็จะไมม่ ีโอกาสปรากฏให้เห็นเพราะ
ถกู ขม่ ไว้
4.4 ผลเสียของการผสมข้าม
4.4.1 การผสมข้ามมีข้อเสียดงั นี ้
การผสมแบบนีไ้ มเ่ กิดสตั ว์พนั ธ์ุแท้ (breed true) เพราะโอกาสท่ียีนเหมือนมา
จบั คกู่ นั ไมม่ ีโอกาสที่จะเกิดดงั นนั้ ลกู ท่ีได้จากการผสมแบบนี ้ จะเป็นสตั ว์พนั ธ์ลุ กู ผสมเทา่ นนั้
4.4.2 การผสมแบบนีจ้ ะทําให้เกิดการลด Homozygosity ของ gene (สภาพของยีนท่ี
เหมือนกนั อยดู่ ้วยกนั )
5. วิธีการผสมพนั ธ์สุ ตั ว์
วธิ ีการผสมพนั ธ์สุ ตั ว์ แบง่ กว้าง ๆ ได้ 2 วิธี คือ
5.1 การผสมจริง เป็นรูปแบบ หรือ วิธีการนําสตั ว์ตวั ผ้แู ละตวั เมียท่ีอยใู่ นระยะเป็นหนมุ่
– สาวมาผสมจริงตามธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น 2 วิธี ได้แก่
5.1.1 วิธีจงู มาผสม เชน่ จงู ตวั เมียมาผสมกบั ตวั ผู้ หรือนําตวั ผ้ไู ปผสมในคอกตวั เมียเป็น
ต้น
5.1.2 การผสมเทียม เป็นรูปแบบ หรือ วิธีการท่ีมนษุ ย์รีดนํา้ เชือ้ จากตวั ผ้มู าเก็บไว้ด้วย
วิธีการที่เหมาะสมแล้วนําเอานํา้ เชือ้ ของตวั ผ้ใู สใ่ นระบบสืบพนั ธ์ขุ องตวั เมียในระยะท่ีตวั เมียเป็นสดั หรือตก
ไขแ่ ละทําให้ตวั เมียตงั้ ท้อง