วัน เฟซ นิวส์
ปีที่ 234 ฉบับที่ 123 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
เตรียมตัวรับมือกับอุทกภัย
ภัยร้าย ที่เกิดจากน้ำ
ภัยใกล้ตัวที่หลาย ฝันร้ายปี 54
คนมองข้าม ตามหลอน
เตรียมรับมือกับ บทเรียนราคาแพง
ภัยร้ายนี้ด้วยการ 'อย่าประมาท
รู้สาเหตุและวิธี อย่าชะล่าใจ'
การป้องกัน
อันตรายจากภัย
น้ำท่วม
อ่านต่อหน้า 2
ปากีสถานอ่วม ปี 2554 เป็นปีที่เกิดอุทกภัยใน
พื้นที่ของหลายจังหวัดตลอดทั้งปี
น้ำท่วมหนัก โดยกรุงเทพ ฯ และ ปริมณฑล
ประสบภัยน้ำท่วมครั้งใหญ่ในช่วง
กระทบ ปากีสถานยังคงวิกฤต พื้นที่ 1 ใน เดือน ต.ค.-พ.ย. ที่ถูกบันทึกไว้ว่า
33 ล้านคน รุนแรงที่สุดในรอบ 70 ปี
เสียชีวิต 1,136 คน 3 ของประเทศยังจมอยู่ใต้น้ำ ตัวเลข
อ่านต่อหน้า 3
ผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็นกว่า 1,100 คน
เบื้องต้นคาดมูลค่าความเสียหายสูง
กว่า 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ขณะ
ที่สหประชาชาติ ประกาศระดมทุน
ช่วยเหลือ อ่านต่อหน้า 6
กทม.แง้มแผนพร้อมรับมือ เตือน
ปชช. 2 ฝั่ งเจ้าพระยา ‘จับตาน้ำ
เหนือ-ฝน’ ถึง 10 กันยานี้
เมื่อวันที่ 2 กันยายน กรุงเทพมหานคร คอนโด… ใกล้ รถไฟฟ้า
โดยสำนักการระบายน้ำ แจ้งว่า ตามที่ เซ็นทรัลลาดพร้าว
กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ มีประกาศ
ฉบับที่ 35/2565 ลงวันที่ 31 สิงหาคม อยู่ ที่นี่… ทุกที่ ใกล้ หมด
2565 เรื่อง กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ
แจ้งเฝ้าระวังระดับน้ำบริเวณแม่น้ำ ใกล้ รถไฟฟ้า
เจ้าพระยา จากการคาดการณ์จะมีฝน ใกล้ เซ็นทรัลลาดพร้าว
ตกหนักในช่วงวันที่ 3-8 กันยายนนี้ ใกล้ จุดขึ้น-ลงทางด่วน
บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง ใกล้ ถนนวิภาวดี และ
เหนือ และภาคตะวันออก ถนนพหลโยธิน เข้าออกได้
2 เส้นทาง
อ่านต่อหน้า 5
2 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
สาเหตุและวิธีปฏิบัติในการป้องกัน เตรียมเชือกมนิลามีความ
ตัวเองจากอุทกภัย ยาวไม่น้อยกว่า 10 เมตรใช้
ปลายหนึ่งผูกมัดกับต้นไม้
อุทกภัยคือภัยและอันตรายที่เกิด เตรียมไฟฉาย ถ่านไฟฉาย เป็นที่ยึดเหนี่ยว ในกรณีที่
จากสภาวะน้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับ และเทียนไข เพื่อไว้ใช้เมื่อ กระแสน้ำเชี่ยว และคลื่นลูก
พลัน มีสาเหตุมาจากการเกิดฝน ไฟฟ้าดับ ใหญ่ซัดมากวาดผู้คนลง
ตกหนักหรือฝนต่อเนื่องเป็นเวลา ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง ทะเล จะช่วยไม่ให้ไหลลอย
นาน เนื่องมาจาก หรือแพไม้ไว้ใช้ เพื่อใช้เป็น ไปตามกระแสน้ำ
พาหนะในขณะน้ำท่วมเป็น
หย่อมความกดอากาศต่ำ เวลานาน
พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ พายุ เตรียมเครื่องมือช่างไม้ ไม้
ดีเปรสชั่น, พายุโซนร้อน, พายุ กระดาน และเชือกไว้สำหรับ ขณะเกิดอุทกภัย
ใต้ฝุ่น ต่อแพ
ร่องมรสุมหรือร่องความกด เตรียมอาหารกระป๋อง หรือ ตัดสะพานไฟ และปิดแก๊สหุง
อากาศต่ำ อาหารสำรอง พอที่จะมี ต้มให้เรียบร้อย
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ อาหารรับประทานเมื่อมีน้ำ อยู่ในอาคารที่แข็งแรง และ
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ท่วมเป็นระยะเวลาหลายๆ อยู่ในที่สูงพ้นระดับน้ำที่เคย
เขื่อนพัง วัน ท่วมมาก่อน
เตรียมน้ำดื่มเก็บไว้ในขวด ไม่ควรขับขี่ยานพาหนะฝ่าลง
วิธีปฏิบัติในการป้องกันตัวเอง และภาชนะที่ปิดแน่นๆไว้ ไปในกระแสน้ำหลาก
จากอุทกภัย เพราะน้ำสะอาดที่ใช้ตาม ไม่ควรเล่นน้ำหรือว่ายน้ำเล่น
ปกติขาดแคลนลง ระบบการ ในขณะน้ำท่วม
ก่อนเกิดอุทกภัย ส่งน้ำประปาอาจจะหยุด ระวังสัตว์มีพิษที่หนีน้ำท่วม
ชะงักเป็นเวลานาน ขึ้นมาอยู่บนบ้านและหลังคา
เชื่อฟังคำเตือนอย่าง เตรียมเครื่องเวชภัณฑ์ เช่น เรือน กัดต่อย เช่น งู แมลง
เคร่งครัด ยาแก้พิษกัดต่อย แมลงป่อง ป่อง ตะขาบ เป็นต้น
ติดตามรายงานของกรม ตะขาบ งู และสัตว์อื่นๆ ติดตามเหตุการณ์อย่างใกล้
อุตุนิยมวิทยาอย่างต่อเนื่อง เพราะเมื่อเกิดน้ำท่วมพวก ชิด เช่น สังเกตลมฟ้าอากาศ
เคลื่อนย้ายคน สัตว์เลี้ยง สัตว์มีพิษ เหล่านี้จะหนีน้ำ เตรียมพร้อมที่จะอพยพไปใน
เช่น วัว ควาย และสิ่งของ ขึ้นมาอยู่บนบ้านและหลังคา ที่ปลอดภัยเมื่อสถานการณ์
ไปอยู่ในที่สูง ซึ่งเป็นที่พ้น เรือน จวนตัว หรือปฏิบัติตามคำ
ระดับน้ำที่เคยท่วมมาก่อน แนะนำของทางราชการ
ทำคันดินหรือกำแพงกั้นน้ำ เมื่อจวนตัวให้คำนึงถึงความ
โดยรอบ ปลอดภัยของชีวิตมากกว่า
เคลื่อนย้ายพาหนะ เช่น ห่วงทรัพย์สมบัติ
รถยนต์หรือล้อเลื่อนไปอยู่ที่
สูงหรือทำแพสำหรับที่พัก
รถยนต์
เตรียมกระสอบใส่ดินหรือ
ทราย เพื่อเสริมคันดินที่กั้น
น้ำให้สูงขึ้น
เตรียมวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉาย
เพื่อไว้ติดตามฟังรายงาน
ข่าวลักษณะอากาศจาก
กรมอุตุนิยมวิทยา
3 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
มองผ่านอดีตกับ วัน เฟซ นิวส์
"น้ำท่วมปี 54"
อดีตยากจะลืม
ปี 2554 เป็นปีที่เกิดอุทกภัยใน น้ำในเขื่อน-ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บ ปัจจัยด้านการบริหารจัดการน้ำ:
พื้นที่ของหลายจังหวัดตลอดทั้งปี น้ำเขื่อนภูมิพล จ.ตาก และเขื่อนสิริกิติ์ พื้นที่หน่วงน้ำในภาคเหนือตอนล่าง
โดยกรุงเทพ ฯ และ ปริมณฑล จ.อุตรดิตถ์ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ เช่น บึงบอระเพ็ด (จ.นครสวรรค์) บึง
ประสบภัยน้ำท่วมครั้งใหญ่ในช่วง
เดือน ต.ค.-พ.ย. ที่ถูกบันทึกไว้ว่า ขณะที่การระบายน้ำทำไม่ได้เพราะ สีไฟ (จ.พิจิตร) ขาดการดูแลและถูก
รุนแรงที่สุดในรอบ 70 ปี นับตั้งแต่
เหตุการณ์น้ำท่วมกรุงเทพ ฯ เมื่อปี พื้นที่ท้ายเขื่อนมีน้ำท่วม รุกล้ำ ทำให้ความจุน้ำลดลง
2485 น้ำทะเลหนุน-ช่วงปลายเดือน ต.ค. การผันน้ำออกทางฝั่ งตะวันออก
ถึงกลางเดือน พ.ย. เกิดภาวะน้ำทะเล
เรือกลายเป็นพาหนะจำเป็นในช่วงหลายเดือนที่น้ำ และฝั่ งตะวันตกของแม่น้ำ
ท่วมขัง แม้จะมีการขึ้นราคาสูงเป็นหลายพันบาท แต่ หนุนสูงบริเวณอ่าวไทยทำให้การ
คนจำนวนไม่น้อยก็ยอมจ่าย
ระบายน้ำเป็นไปได้ช้า เจ้าพระยาเป็นไปอย่างไม่เต็ม
เกิดอะไรขึ้นในอุทกภัยเมื่อ
ปี 2554? ปัจจัยทางกายภาพ : ศักยภาพ
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ พื้นที่ป่าไม้ซึ่งเป็นแหล่งกักเก็บน้ำตาม น้ำที่ระบายจากเขื่อนป่าสักชล
องค์การมหาชน สังกัดกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย ธรรมชาติลดลง สิทธิ์ (จ.ลพบุรี) และไหลมายัง
และนวัตกรรม สรุปสาเหตุ และ โครงสร้างพื้นฐานสำหรับการจัดการ เขื่อนพระรามหก
บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับมหาอุทกภัย น้ำไม่สามารถรับมือกับปริมาณฝนที่มี (จ.พระนครศรีอยุธยา) ไม่ถูกผัน
ปี 2554 ไว้ ดังนี้ ปริมาณมาก เข้าสู่คลองระพีพัฒน์อย่างเต็ม
ระบบโครงสร้างป้องกันน้ำท่วมมี ศักยภาพ ทำให้น้ำส่วนใหญ่ไหล
3 ปัจจัยเกิดอุทกภัยปี 54 ประสิทธิภาพลดลงจากการทรุดตัว เข้าสู่อำเภอพระนครศรีอยุธยา
ปัจจัยธรรมชาติ : ของพื้นที่ ขาดการบำรุงรักษา และ
ฝน-มาเร็วกว่าปกติและปริมาณฝน
สะสมทั้งประเทศสูงกว่าค่าเฉลี่ย การใช้ประโยชน์ที่ดินที่เปลี่ยนไป คลองระพีพัฒน์ไม่สามารถผันน้ำ
35% เนื่องมาจากปรากฏการณ์ลา ระบบระบายน้ำของกรุงเทพมหานคร เข้าทุ่งตะวันออกได้
นีญาในช่วงครึ่งแรกของปี 2554 มีปัญหา คือ ศักยภาพการป้อนน้ำเข้า ปัญหาการบริหารการระบายผ่าน
พายุ-ปี 2554 ประเทศไทยได้รับ สู่ระบบสูบและอุโมงค์ระบายน้ำไม่ พื้นที่และระบบบริหารจัดการน้ำที่
อิทธิพลจากพายุทั้งหมด 5 ลูก สมดุลกับศักยภาพของระบบสูบและ มีหลายหน่วยงานรับผิดชอบ
ได้แก่ พายุโซนร้อนไหหม่า นกเตน อุโมงค์ ประชาชนและองค์กรส่วนท้องถิ่น
ไห่ถาง เนสาด และนาลแก เริ่มจาก สะพานหลายแห่งที่มีตอม่อขนาด
พายุไหหม่าที่พัดถล่มภาคเหนือ
และภาคอีสานในเดือน มิ.ย. น้ำยัง ใหญ่ขัดขวางทางน้ำ สร้างพนังและคันกั้นน้ำเพื่อ
ระบายไม่ทันหมด พายุนกเตนก็ ป้องกันพื้นที่ของตัวเอง ทำให้การ
ถล่มซ้ำพื้นที่เดิมในช่วงปลายเดือน สิ่งปลูกสร้างรุกล้ำลำน้ำขัดขวางการ ระบายในภาพรวมไม่สามารถ
ก.ค. เดือน ก.ย. ภาคอีสานถูกพายุ ทำได้
เนสาดเล่นงานต่อ ปิดท้ายด้วยพา ระบายน้ำ โดยเฉพาะในพื้นที่
ยุนาลแก ที่ทำให้มีฝนมากในพื้นที่
ภาคกลางและภาคตะวันออกช่วง กรุงเทพฯ เช่น คลองเปรมประชากร
เดือน ต.ค.
และคลองลาดพร้าว
น้ำท่วมครั้งนั้น
ทำให้เราเห็นหลาย
สิ่งแปลกตาเกิดขึ้น
บนท้องถนน
อย่างเช่น เรือยนต์
ในภาพนี้
4 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
ปภ.เผยผลกระทบ นอกจากนี้ ยังเกิดวาตภัย (ภัย วันนี้ (30 ส.ค.) ที่คันดินกันน้ำหลัง
ธรรมชาติซึ่งเกิดจากพายุลม วัดถนน หมู่ 1 ตำบลโผงเผง
พายุโซนร้อน "หมา แรง) ใน ต.ห้วยกรด ต.ห้วย อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
กรดพัฒนา อ.สรรคบุรี ทหาร ป.1 พัน 11 รด. ลพบุรี ร่วม
อ๊อน" ยังทำไทยน้ำ จ.ชัยนาท บ้านเรือน กับชาวบ้านกรอกกระสอบทราย
ประชาชนเสียหาย 33 หลัง กว่า 3,500 กระสอบ นำไปปิดท่อ
ท่วม 8 จังหวัด หน่วยงานในพื้นที่เร่งสำรวจ ลอดขนาด 1.50 เมตร ที่อยู่ติด
ความเสียหายและให้การช่วย ลำคลองบริเวณเชิงสะพาน เพื่อ
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เหลือประชาชนในเบื้องต้น ป้องกันน้ำไหลทะลักเข้ามาท่วม
บ้านเรือนประชาชนในพื้นที่หมู่ 1
หรือ ปภ. ฐานะกองอำนวยการ
สำหรับการแก้ไขปัญหาและ
ตำบลโผงเผง
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ให้การช่วยเหลือประชาชนที่
กลาง (กอปภ.ก.) รายงาน
ได้รับผลกระทบจากอิทธิพล
นางวาสนา เจริญรัมย์ ผู้ช่วย
สถานการณ์ร่องมรสุมพาดผ่านภาค
พายุโซนร้อนหมาอ๊อน กรม
ผู้ใหญ่บ้านกล่าวว่า ท่อลอดขนาด
เหนือตอนบนเข้าสู่พายุโซนร้อน
ป้องกันและบรรเทา
ใหญ่นั้นไม่มีประตูปิดเปิดน้ำ เป็น
หมาอ๊อน” (MAON) บริเวณ
สาธารณภัย โดยสำนักงาน
ท่อขนาดใหญ่ที่ระบายน้ำทิ้งลง
ทะเลจีนใต้ตอนบน ประกอบกับ
ป้องกันและบรรเทา
คลอง ตอนนี้น้ำในคลองไหล
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม
ทะลักเพิ่มสูงขึ้นมาถึงปากท่อ จ่อ
ทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าว
สาธารณภัยจังหวัดได้
ไหล่เข้าท่วมพื้นที่บ้านเรือน
ไทย ช่วงวันที่ 24-30 ส.ค. 2565 ประชาชนในหมู่ 1 ตำบลโผงเผง
ลักษณะเช่นนี้ทำให้ประเทศไทยตอน
ประสานจังหวัด องค์กร
ชาวบ้านได้ร่วมกับทหารเร่งกรอก
บนมีฝนตกหนักบางแห่งบริเวณภาค
ปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ระสอบทรายเพื่อนำไปปิดกัน
เหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เร่ง
ป้องกันน้ำไหลเข้าท่วมหมู่บ้าน
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาค
ระบายน้ำออกจากพื้นที่และ
อย่างเร่งด่วน
ใต้ฝั่ งตะวันตก และที่ผ่านมาพบว่า
ให้การดูแลช่วยเหลือผู้
หลายพื้นที่มีปริมาณฝนตกสะสม
ประสบภัยอย่างต่อเนื่อง ส่วน
ด้านสถานการณ์แม่น้ำเจ้าพระยา
มากกว่า 150 มิลลิเมตร และ
พื้นที่ที่สถานการณ์อุทกภัย ไหลผ่านจังหวัดอ่างทอง เพิ่มสูง
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ที่สถานีโทร
ปริมาณน้ำในแม่น้ำสายหลัก ลำน้ำ
คลี่คลายแล้ว ได้จัดเจ้าหน้าที่
มาตร C7A หน้าศาลากลาง
จ.อ่างทอง ระดับน้ำสูง 6.99
สาขามีปริมาณมากในบริเวณลุ่ม
เข้าสำรวจประเมินความเสีย
เมตร จากระดับตลิ่ง 10 เมตร
น้ำป่าสัก ลุ่มน้ำชี ลุ่มน้ำมูล รวมถึง
ปริมาณน้ำไหลผ่าน 1,716 ลบ.ม./
การระบายน้ำเหนือเขื่อนเจ้าพระยา
หาย เพื่อดำเนินการช่วย
วินาที
1,500-1,800 ลูกบาศก์เมตรต่อ
เหลือตามระเบียบกระทรวง
วินาที ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน
โดยพื้นที่ในตำบลโผงเผง
น้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมขัง น้ำล้น
การคลังฯ ต่อไป อำเภอป่าโมก ที่เป็นแอ่งกระทะ
ตลิ่งในพื้นที่เฝ้าระวัง บ้านเรือนประชาชนที่อยู่บริเวณ
ชาวบ้านร่วมมือ นอกคันกั้นน้ำจะได้รับผลกระ
กับทหารกรอก ทบจากน้ำท่วมสูง 40-50
กระสอบทราย เซนติเมตร รวมถึงบ้านเรือน
ประชาชนในพื้นที่หมู่ 9 ตำบล
กกวร่ะาส3อ
,5บ00 บางจักร ริมแม่น้ำน้อย พื้นที่
ราบลุ่มนอกเขตพื้นที่กั้นน้ำ ได้
ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัย
ป้องกัน
น้ำท่วม รับผลกระทบจากน้ำท่วมบ้าน
8 จังหวัด ได้แก่ ตาก อุบลราชธานี
เรือนสูง 50-60 เซนติเมตร
มหาสารคาม ปราจีนบุรี นครนายก
พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง และ
สุราษฎร์ธานี รวม 22 อำเภอ 109
ตำบล 431 หมู่บ้าน
อ่างทอง - ชาวบ้าน ร่วมกับทหารกรอก
ทรายกว่า 3,500 กระสอบ อุดท่อลอดขนาด
1.50 เมตร บริเวณคันกั้นน้ำริมคลองเชิง
สะพาน ป้ องกันน้ำไหลเข้าท่วมพื้นที่ หมู่ 1
ต.โผงเผง
5 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
กทม. พร้อมรับมือ กรุงเทพมหานคร ได้มีการเตรียม ก อ ง อำ น ว ย ก า ร น้ำ แ ห่ ง
น้ำท่วม 24 ชั่วโมง ชาติ ได้ประเมิน
เฝ้าระวังต่อเนื่อง การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำ ส ถ า น ก า ร ณ์ น้ำ ลุ่ ม น้ำ
ถึง 10 กันยายน เจ้าพระยา จากฝนคาด
ท่วมจากน้ำฝน น้ำหลาก และน้ำ ก า ร ณ์ ข อ ง ก ร ม
วันที่ 2 กันยายน 2565 อุ ตุ นิ ย ม วิ ท ย า แ ล ะ ส ถ า บั น
นายณรงค์ เรืองศรี รองปลัด ทะเลหนุนสูง ซึ่งมีศูนย์ควบคุม ส า ร ส น เ ท ศ ท รั พ ย า ก ร น้ำ
กรุงเทพมหานครเปิดเผยว่า สำนัก (องค์การมหาชน) คาด
การระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร ระบบป้องกันน้ำท่วมเฝ้าติดตาม ก า ร ณ์ ว่ า จ ะ มี ป ริ ม า ณ น้ำ
แจ้งว่า ตามที่กองอำนวยการน้ำ ไ ห ล ผ่ า น ส ถ า นี วั ด น้ำ จั ง ห วั ด
แห่งชาติ มีประกาศฉบับที่ สถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด โดยมี นครสวรรค์ (C.2) อยู่ใน
35/2565 ลงวันที่ 31 สิงหาคม เกณฑ์ 2,000 – 2,200
2565 เรื่องกองอำนวยการน้ำแห่ง การประชุมหารือเพื่อประสาน ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ซึ่ง
ชาติ แจ้งเฝ้าระวังระดับน้ำบริเวณ จ ะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ป ริ ม า ณ น้ำ ไ ห ล
แม่น้ำเจ้าพระยา จากการคาด ข้อมูลร่วมกับกรมอุทกศาสตร์ ผ่ า น เ ขื่ อ น เ จ้ า พ ร ะ ย า เ พิ่ ม
การณ์จะมีฝนตกหนักในช่วงวันที่ ขึ้นอยู่ในเกณฑ์ 1,800 –
3 – 8 ก.ย. 65 บริเวณภาคเหนือ กองทัพเรือ กรมชลประทาน กรม 2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาค วินาที โดยจะส่งผลให้ระดับ
ตะวันออก อุตุนิยมวิทยา กองอำนวยการน้ำ น้ำ ด้ า น ท้ า ย เ ขื่ อ น เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น
จากเดิมประมาณ 0.40 –
แห่งชาติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง 0.50 เมตร ในช่วงวันที่ 1 –
10 กันยายน 2565 บริเวณ
ประเทศไทย และหน่วยงานที่ ชุ ม ช น พื้ น ที่ ลุ่ ม ต่ำ น อ ก คั น
กั้นน้ำ ซึ่งรวมถึงพื้นที่
เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
ซึ่งเป็นการบูรณาการความร่วมมือ
กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขับ
เคลื่อนการบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่
ลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนล่างและเป็น
แผนปฏิบัติการเตรียมการรองรับ
สถานการณ์ป้องกันและแก้ไข
ปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร เพื่อลดผลกระ
ทบและลดความเสียหายที่อาจเกิด
ขึ้นกับประชาชนให้น้อยที่สุด
น้ำท่วมแม่สาย อ่วม พายุมู่หลาน อ่อนกำลังลงแล้ว แต่ก่อให้เกิดฝนตกหนักน้ำป่าไหล
หลากเข้าท่วมพื้นที่หลายจังหวัด โดยเฉพาะภาคเหนือ 6 จังหวัด
หนัก พิษ "มู่หลาน" เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา น่าน และพิษณุโลก รวม 25
จับตาปลายสิงหา พายุ อำเภอ 70 ตำบล 391 หมู่บ้าน และบ้านเรือนประชาชนได้รับผลกระทบ
1,885 ครัวเรือน โดยหลายพื้นที่น้ำยังคงท่วมขัง คาดอีก 1-2 วัน น้ำจะ
จ่อเข้า 2-3 ลูกติด ลดกลับสู่สถานการณ์ปกติ
6 วันเสาร์ ที่ 3 กันยายน พ.ศ.2565 ขึ้น 8 ค่ำ เดือนสิบ ปีขาล วัน เฟซ นิวส์ O
F
n
อ่วม! “ปากีสถาน”น้ำท่วม โครงสร้างพื้นฐานและ
ใหญ่เสียหายเกิน 350,000 สะพานหลายแห่งเสียหาย
หนัก ปากีสถานอาจต้องใช้
ล้านบาท ประชาชนต้อง เวลาอีกราว 5 ปี ในการสร้าง
กลายเป็นคนไร้บ้าน เมืองใหม่และฟื้ นฟูประเทศ
ส่วนประชาชนอาจต้อง
จีน เผชิญน้ำท่วมฉับพลัน เผชิญกับปัญหาขาดแคลน
พบมีผู้เสียชีวิตกะทันหัน อาหารฉับพลันในไม่ช้านี้
นายอิกบาลยังระบุว่า เหตุน้ำ
เกิดน้ำท่วมฉับพลันที่ ท่วมปากีสถานครั้งนี้นับว่า
รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2553
ต้าถงฮุ่ยและเขตปกครอง ตน ขณะที่องค์การ
สหประชาชาติ หรือยูเอ็น
เองตุ๋ย (Datong Hui and Tu 2 กันยายน 2565 นายอาห์ ประกาศให้อุทกภัยใน
ปากีสถานเป็นภัยพิบัติครั้ง
Autonomous County) ใน ซาน อิกบาล รัฐมนตรีกระทรวง ใหญ่ที่สุดของโลกในปีนี้
มณฑลชิงไห่ ทางตะวันตก พัฒนาการวางแผนปากีสถาน ขณะนี้ ในเยอรมนี ยังมีผู้
สูญหายอีกหลายร้อยคน และ
เฉียงเหนือของจีน สื่อทางการ เปิดเผยว่า มูลค่าความเสียหาย หลายพื้นที่ยังไม่สามารถเข้า
ถึงได้เนื่องจากระดับน้ำท่วมยัง
ของจีนระบุว่า เมื่อคืนวันพุธที่ จากเหตุน้ำท่วมครั้งใหญ่ใน สูงอยู่ อีกทั้งระบบการสื่อสาร
โทรคมนาคมในพื้นที่ถูก
ผ่านมา ฝนตกหนักฉับพลัน ปากีสถานตั้งแต่เดือนมิถุนายนที่ ตัดขาดไม่สามารถใช้งานได้
ส่วนประชาชนในพื้นที่น้ำลดลง
ทำให้ดินถล่มและ เปลี่ยนเส้น ผ่านมา น่าจะสูงกว่า 10,000 แล้วก็ต้องเก็บกวาดทำความ
สะอาดบ้านเรือนและร้านค้า
ทางของแม่น้ำ จึงเกิดน้ำท่วม ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว ครั้งใหญ่
หนัก ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่าง 364,500 ล้านบาท) มีผู้เสียชีวิต
น้อย 16 ราย และสูญหายอีก กว่า 1,000 ศพ บ้านเรือนเกือบ1
18 ราย ขณะนี้เจ้าหน้าที่กู้ภัย ล้านหลัง ที่ได้รับความเสียหาย
กำลังดำเนินค้นหาอยู่ น้ำท่วม ชาวปากีสถานกว่า 33 ล้านคน
ครั้งนี้ได้ทำลายถนนและรถของ หรือคิดเป็นร้อยละ 15 จาก
ชาวบ้านไปจำนวนมาก และมีผู้ ประชากรทั้งหมด 220 ล้านคน
ได้รับผลกระทบ มากกว่า ได้รับผลกระทบจากเหตุน้ำท่วม
6,000 คน ใหญ่ในครั้งนี้ ที่ส่งผลให้ท้องถนน
พื้นที่เกษตร
เหยื่อน้ำท่วมยุโรปทะลุ
180 ศพ เยอรมนีผวา
เขื่อนแตก อพยพแล้วกว่า
4 พันคน
เมื่อ 18 ก.ค. 64 สำนัก เขต Ahrweiler ทางใต้
ข่าวรอยเตอร์รายงานความคืบ
หน้าสถานการณ์น้ำท่วมฉับ ของเมืองโคโลญ เมืองใหญ่
พลันครั้งใหญ่ แม่น้ำเอ่อล้นฝั่ ง
หลังเกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง อันดับ 4 ของเยอรมนี ซึ่งอยู่ใน
หลายวันในพื้นที่หลายประเทศ
ของยุโรป ในช่วงไม่กี่วันที่ผ่าน รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน
มา ส่งผลให้ยอดผู้เสียชีวิต เพิ่ม
ขึ้นเป็นอย่างน้อย 183 ศพแล้ว ริมฝั่ งแม่น้ำไรน์ มีผู้เสียชีวิตจาก
ขณะที่อาคารบ้านเรือน ยาน
พาหนะ ระบบสาธารณูปโภคได้ อุทกภัยรุนแรงครั้งนี้ถึง 110 ศพ
รับความเสียหายจำนวนมาก
จากจำนวนผู้เคราะห์ร้ายเสีย
ชีวิตแล้ว 143 ศพ
จัดทำโดย
กลุ่มที่ 1 ม.5/1 เลขที่ 6,9,10,20,24,29