The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kru BIM, 2021-10-10 08:10:24

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

Keywords: วิทยาการคำนวณ

1.1 การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 | เทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

ในชีวติ ประจาวนั ของเรา เทคโนโลยสี ารสนเทศมีบทบาทกับการดาเนนิ ชีวติ ในปัจจุบนั เปน็ อย่างมาก
ในขณะทใี่ นทุก ๆ วันเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เราเองกต็ ้องเรยี นรูแ้ ละปรบั ตัวให้ทันตอ่ การ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยนี ้นั มที งั้ คณุ ประโยชนแ์ ละโทษในเวลาเดียวกนั เพ่ือให้เรา
มคี วามรู้และสามารถใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งมีประโยชน์และปลอดภัย กจ็ าเปน็ ที่จะต้องมคี วามรู้เกีย่ วกับความรู้
ทางด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1.การทาธุรกรรมออนไลน์ คอื

การประกอบธุรกจิ การพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์เกยี่ วกับการให้บรกิ ารทาธรุ กรรมทางการเงินต่างๆผา่ นอุปกรณห์ รือ
ระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ เชน่ โทรศพั ท์มอื ถือหรืออนิ เตอร์เนต็ มีการใหบ้ ริการเชน่ การฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงนิ หรือ สอบถาม
ยอดเงนิ เปน็ ต้น โดยในอนาคตการใหบ้ ริการของธนาคารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ยังสามารถพัฒนาได้อีกเรอื่ ยๆ เพื่อรองรบั ความ
ต้องการในการใช้บริการของผู้ใช้บรกิ ารธนาคารอเิ ล็กทรอนิกสท์ ่ีเพิ่มมากขน้ึ อยา่ งต่อเนอื่ ง เน่อื งจากธนาคารอิเล็กทรอนิกส์
ทาใหเ้ กิดความรวดเร็วและสะดวกสบายในการทาธุรกรรมมากขน้ึ และประหยดั ทรพั ยากร

ดังนน้ั การทาธรุ กรรมออนไลนม์ ี 9 วิธีทาธุรกรรมออนไลนใ์ ห้ปลอดภัย ไดแ้ ก่

วธิ ีที่ 1 ใช้อุปกรณ์ทเี่ ชือ่ ถือได้

เครอื่ งท่ีใช้ทาธุรกรรมนั้นต้องปลอดภัยเปน็ อันดบั แรก อย่างคอมพวิ เตอร์, แทบ็ เลต็ หรอื สมาร์ทโฟนของคุณเองเปน็ ตัวเลอื ก
ทีด่ ี เพราะคุณจะสามารถจบั สัญญาณผดิ ปกตไิ ด้ เมอื่ เกิดเหตุการณ์น่าสงสยั และถา้ เป็นไปได้ ต่อให้มีธุระดว่ นแค่ไหนอย่ายืม
โทรศัพท์ของคนอื่น หรือใช้โทรศพั ทส์ าธารณะทาธุรกรรม เพราะจะเป็นการเอาบัญชขี องคณุ เขา้ ไปเสยี่ ง

วิธที ี่ 2 รตู้ ัวอยู่เสมอว่ากาลังใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตทีไ่ หนอยู่

ไม่ใชอ่ นิ เตอร์เน็ตทุกท่ที จี่ ะปลอดภัยสาหรับการทาธุรกรรมออนไลน์ Free-Wifi ในรา้ นกาแฟรา้ นโปรดของคุณ หรือ
อนิ เตอรเ์ น็ตฟรีตามแหลง่ ท่องเที่ยวอาจจะไม่ใชท่ างเลอื กท่ีดีสาหรับการจ่ายบลิ หรือโอนเงินเทา่ ไหร่นัก แตถ่ า้ หากจาเป็น
จรงิ ๆ ให้ใช้ Virtual Private Network หรอื (VPN) เพื่อเข้ารหัสกิจกรรมของคุณ (ทาให้คนอื่นไม่สามารถเขา้ มา หรอื แอบดู
กจิ กรรมท่ีเราทาได้)

วธิ ีที่ 3 อัพเดทอุปกรณข์ องคุณใหเ้ ป็นเวอร์ชนั ล่าสดุ

การทคี่ ุณมีอุปกรณ์ที่ใช้ซอฟท์แวร์ตัวล่าสดุ นนั่ หมายความว่า คุณมีอปุ กรณท์ ่ีปิดทกุ ช่องโหว่ (ท่ีอาชญากรไซเบอรอ์ าจใชเ้ ปน็
หนทางเข้ามาในอุปกรณ์ของคุณได้) ดังนั้นเพ่ือประหยดั เวลา และความปลอดภัยสูงสุดของคณุ หลายโปรแกรมมรี ะบบ
อพั เดทอัตโนมตั ิ ทีจ่ ะอัพเดทโปรแกรมของคุณในทันทที ่ีมีอัพเดทใหม่เขา้ มา แต่อย่าลมื บอกให้ใช้ Wifi ละ่ เพราะมันกิน
อนิ เตอร์เน็ตเยอะมาก

42

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 | เทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

วิธีที่ 4 ใชโ้ ปรแกรมรกั ษาความปลอดภัยท่นี า่ เชื่อถือ
กอ่ นคณุ จะเช่อื มต่อเขา้ สูบ่ ัญชีของคุณ ติดต้งั โปรแกรมป้องกันหลายชน้ั และอพั เดทสม่าเสมอ โปรแกรม
เหลา่ นีจ้ ะสามารถรบั มือกับไวรสั และมัลแวรไ์ ดห้ ลายชนิด หรอื แม้กระทั่งกลลวงจากอเี มล์ หรอื เวบ็ ไซต์ปลอมทห่ี ลอกให้
คุณกรอกข้อมูลสาคญั ลงไปได้อกี ดว้ ย
วธิ ีท่ี 5 ใชร้ หสั ผา่ นที่ซับซ้อน และอยา่ ใช้ซ้า
ลองถามตวั เองว่ารหสั ผา่ นที่ทาธรุ กรรมนนั้ แนน่ หนาพอหรอื ไม่ ถา้ คิดไม่ออกว่าจะใช้รหัสผ่านอะไร? เรามีวิธีการ
คิดรหัสผา่ นแบบงา่ ยๆแต่ซับซ้อน ในบทความ รหสั ผ่าน? เราต้องใชม้ ากกวา่ นั้นอีกหน่ึงกฎเหลก็ ของการตงั้ รหัสผ่านคือ
อยา่ ใชร้ หัสผ่านซา้ กนั พวกเราทราบดวี า่ มนั ยากท่จี ะจารหัสผา่ นยากๆหลายบัญชี แต่เม่ือถึงเหตุการณ์ล้วงข้อมลู บัญชีของ
คณุ อาจจะเสยี ข้อมูลของอกี บัญชกี ็ได้ ดังนน้ั โปรแกรมจดั การรหสั ผา่ น หรือ Password Manager กเ็ ป็นอีกทางเลือกหน่งึ
วิธีท่ี 6 ใช้การยนื ยนั ตนสองข้ันตอน
ถา้ หากธนาคารของคุณเสนอการใช้ การยนื ยนั ตนสองขัน้ ตอน หรอื (2FA) เราขอแนะนาใหใ้ ช้ เพราะวธิ ีนจี้ ะเป็น
การเช็คความปลอดภัยซ้า เพ่ือเปน็ การตรวจสอบความถูกต้อง และยืนยันการทาธุรกรรมดว้ ยพร้อมๆกนั อีกทัง้ ยังปอ้ งกัน
การทาธุรกรรมโดยคนทีม่ ขี ้อมูลรหัสผา่ นของเราได้อกี ด้วย เพราะรหัสผ่านท่ีคุณใช้ยืนยันจะเข้ามาทางสมารท์ โฟน
วธิ ที ี่ 7 อยา่ ตกหลุมพราง
อาชญากรไซเบอรจ์ ะใช้ทุกวถิ ีทางเพ่ือเอาข้อมูลสาคัญของคุณ อยา่ งการปลอมตวั เป็นธนาคาร หรอื แจ้งเตือนให้
เปล่ียนรหัสผา่ น ด้วยลิงก์ปลอมท่เี ขยี นมาในอเี มล์
วิธีท่ี 8 ใช้ปุ่ม Logout
เมื่อใช้โปรแกรมธรุ กรรมเสรจ็ อยา่ ลืม Logout เพราะถา้ หากคุณโดยแฮกเข้ามาในช่วงนัน้ เคา้ อาจทาธรุ กรรม
ตอ่ ได้

วิธที ี่ 9 ใชร้ ะบบ SMS กับ Online Banking
ถา้ หากคุณเปน็ คนไม่ค่อยเช็คยอดเงิน หรือทาธรุ กรรมออนไลน์บ่อยสกั เทา่ ไหร่ การใหฝ้ ่ายธนาคารใช้ระบบ
แจ้งเตอื นมาเป็นข้อความ SMS ก็จะทาให้คุณได้รบั ข้อมลู การเงนิ ของคุณได้อย่างปลอดภยั

43

2. การซอื้ สินคา้ ออนไลน์ (Online shopping) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 | เทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

เป็นรปู แบบหนง่ึ ของการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สท์ ีผ่ ู้บรโิ ภคสามารถซื้อสนิ คา้ โดยตรงหรือจากการใหบ้ ริการของผูข้ าย

ทางอนิ เทอรเ์ น็ตผา่ นทางเว็บเบราวเ์ ซอร์ ผบู้ ริโภคจะหาสนิ ค้าท่ีสนใจโดยการเขา้ ชมเว็บไซตข์ องรา้ นคา้ โดยตรงหรือค้นหาผู้

จาหน่ายตา่ ง ๆ ผา่ นเสิร์ชเอนจนิ ซื้อของ ทจี่ ะมีการแสดงสนิ ค้าลกั ษณะเดียวกนั ท่มี ีอยู่และเปรยี บเทยี บราคาของรา้ นคา้

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ณ ปี ค.ศ. 2016 ผู้บรโิ ภคสามารถซ้อื ของออนไลนจ์ ากคอมพวิ เตอรห์ ลายรปู แบบหรอื อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เชน่

คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ แล็ปท็อป แท็บเลต็ คอมพิวเตอร์ และสมาร์ตโฟน

คำแนะนำกำรซือ้ สนิ ค้ำทำงออนไลน์อย่ำงไรใหม้ ่นั ใจ
1. หากพบสนิ ค้าที่ราคาถูกกว่าราคาท้องตลาดมากๆจนผดิ สงั เกตุให้ตรวจสอบกับผู้ ซอ้ื ให้ม่นั ใจเสยี กอ่ น
อยา่ โลภเห็นของถูกจนโอนเงินไปให้ก่อนและ ผู้ร้ายมกั ตง้ั ราคาสนิ ค้าให้ถูกกว่าท้องตลาดเพอื่ โนน้ น้าวใหค้ ุณสนใจและซอ้ื
2. หลกี เล่ยี งการจา่ ยเงนิ จานวนมากๆ ให้กบั คนที่เราไม่เคยซ้ือของดว้ ยมากอ่ น หากต้องการซือ้ ของ
จริงๆ ขอให้ไปเจอหน้า แล้วมอบเงนิ ให้กนั ดีกว่า (ส่วนใหญ่ ผ้รู า้ ยมกั หลกี เล่ยี งการพบหน้ากนั จริงๆ จะมเี ทคนิคการโน้มน้าว
ให้คุณโอนเงนิ ไปให้ก่อน ระวงั )
3. เมอ่ื พบหนา้ (หากไดพ้ บจริงๆ) ขอเอกสารยนื ยันการซื้อ หรอื ตดิ ต่อ เชน่ สาเนาบตั รประชาชน
หรอื เอกสารยนื ยันการซื้อสินค้า หรอื ขอถา่ ยภาพของเค้าเอาไว้
4. ลองส่ังซอื้ ของจานวนน้อยๆ กอ่ น เพ่อื สรา้ งความม่ันใจว่า ผ้คู า้ คนน้ัน สง่ ของจรงิ และมีตัวตนจรงิ ๆ
(หากเปน็ คนโกง เคา้ จะพยายามใหค้ ณุ สง่ั ของทีละมากๆ ระวงั เอาไว้)
5. อยา่ ไวใ้ จแค่ social network ของผู้ขาย เพราะบางคนมีหลายแอค็ เคา้ พยายามขอแอค็ เคา้ จริงๆ
ท่เี คา้ ใช้ทส่ี ามารถเหน็ เพื่อนๆ และพฤติกรรมของเค้าจริงๆ ได้ (หากเค้าจรงิ ใจ เค้าตอ้ งให้)
6. ดูว่ามี ชือ่ จริง นามสกลุ จริง ของเจ้าของร้านแสดงอยู่ไหม หากมีชอื่ จริง หรอื เลขบัญชีธนาคาร
ที่เราตอ้ งจ่ายเงนิ ไปให้ ลองใช้ชือ่ เหล่านน้ั ค้นหาตรวจสอบใน Google กอ่ นวา่ มปี ระวัติอยา่ งไรมาบา้ ง เพราะหากเปน็ ช่ือ
หรือบญั ชที ่เี คยโกงมาก่อน ก็อาจจะเจอคนอื่นๆ มาพดู ถงึ หรอื บน่ ถึงไวใ้ นที่อ่ืนๆ เชน่ กนั หากเป็นบญั ชธี นาคารในรปู แบบ
บริษทั หรอื นิตบิ ุคคล ก็จะมีความน่าเช่ือถือมากข้ึน
7. หากเปน็ ผทู้ ีข่ ายกับผู้ให้บริการที่มชี ื่อเสียงกจ็ ะมคี วามน่าเชอ่ื ถอื ระดบั นงึ เพราะผู้ให้บริการ
จะมีการตรวจสอบร้านคา้ มาก่อน
8. เช็คการพูดคยุ และโต้ตอบกันก่อนหนา้ น้ี ของผ้ขู ายหรอื เวบ็ นน้ั ๆ เชน่ ในเว็บบอร์ด หรอื โซเชยี ลมีเดีย ดูว่ามีคนเข้า
ไปเขียนตอบอะไรบ้าง หรือกระท้ลู า่ สดุ ท่ตี อบคือเมอ่ื วนั ไหน?เพราะหากคาถามถูกทงิ้ ไม่ได้ตอบไว้นานและต้องเช็คว่ามผี ู้เคย
ได้รับสินค้าแล้วหรอื ยังดว้ ย เพราะจะสามารถตรวจสอบตวั ตนของเจ้าของน้นั ได้ (ระวัง Account ทีเ่ พิ่งสรา้ งขึ้นมาใหมๆ่ )
9. ตรวจสอบดูความใหม่ของสินคา้ หนา้ เว็บไซต์ และการอัพเดทเว็บไซต์ หากเว็บไซตม์ ีการอพั เดท
เปน็ ประจา เชน่ มสี นิ คา้ ใหม่ๆ, มกี ารเปลีย่ นแปลงโปรโมชั่น การเปลีย่ นแปลงขา่ วสารหน้าเว็บเป็นประจา ก็แสดงใหเ้ ห็นวา่
เจ้าของรา้ นดูแลหนา้ เวบ็ ไซต์เปน็ ประจา ทาให้เรามั่นใจได้มากข้ึน
10. ดูวา่ มีลูกค้าที่เคยซื้อสนิ ค้ากับร้านนหี้ รอื ไม่ ลองเช็คได้ทางเวบ็ บอรด์ ของทางร้าน (หากม)ี หรือลอง
email ตดิ ต่อไปหาคนท่เี คยซื้อไป ว่าบรกิ ารของร้านคา้ เป็นอยา่ งไรบ้าง เราจะไดม้ ัน่ ใจมากขน้ึ
11. เช็คเบอร์ติดต่อของรา้ นค้าที่ หากมเี บอรท์ ่เี ป็น 02 หรือ เบอร์บ้านจะมีความน่าเช่ือถือมากกว่า
เพราะมีที่อยหู่ ลักแหล่งแน่นอน ในเวบ็ ไซตค์ วรมที ี่อยู่ของธุรกิจแสดงอยู่ เพื่อบง่ บอกว่าร้านคา้ หรือเจ้าของรา้ นอยู่ที่ไหน
จะดกี ว่าเว็บไซตท์ ่ีไมแ่ สดงขอ้ มูลทอ่ี ย่จู รงิ ๆ
12. ชาระเงินดว้ ยบตั รเครดิต (หากร้านคา้ รองรับ) เพราะหากมปี ัญหา เราสามารถดึงเงินกลบั ไดเ้ พราะ
เปน็ ชาระเงินแบบ “เครดติ ” ซึง่ แตกต่างกบั การจา่ ยเงนิ สด หรือโอนเงิน เพราะหากจา่ ยไปแล้ว แลว้ ผู้ขายเอาเงนิ ออกไปก็
ยากท่ีจะไปเอาเงนิ คืน

44

1.2 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมคี วาม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 | เทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

จะเห็นไดว้ ่าปัจจบุ ันคอมพวิ เตอร์เขา้ มามบี ทบาทต่อการดารงชวี ิตประจาวันของมนุษย์มากข้นึ ซ่ึงเราจะพบวา่ ย่ิงมี
ประโยชน์เพียงไร เทคโนโลยีสารสนเทศอาจเป็นภยั มากเท่ากนั หากผ้ใู ชไ้ ม่มีความรคู้ วามรบั ผดิ ชอบและนาไปใชใ้ นทางทีไ่ ม่
ถูกต้อง ดงั นั้นในแต่ละประเทศจึงได้มีการกาหนดระเบยี บ กฎเกณฑร์ วมถึงกฎหมายที่ใช้เปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิเพื่อให้เกิด
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

ซ่งึ มีการกาหนดบัญญตั ิทผี่ ้ใู ช้เทคโนโลยีควรยึดถอื และปฏบิ ัตติ ามมดี งั นี้

1. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรท์ าร้ายหรือละเมิดผู้อ่นื
2. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นการรบกวนการทางานของผู้อื่น
3. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการเข้าถงึ ข้อมลู หรอื คอมพวิ เตอรข์ องบคุ คลอ่ืนโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
4. ไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพ่อื การโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เปน็ เท็จ
6. ไมค่ ัดลอกโปรแกรมผู้อน่ื ไม่มสี ทิ ธิ์ไปใช้งาน
7. ไมล่ ะเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยท่ีตนเองไม่มีสทิ ธ์ิ
8. ไม่นาเอาผลงานของผ้อู น่ื มาเปน็ ของตน
9. คานงึ ถึงสง่ิ ท่ีจะเกิดข้ึนกับสงั คมอนั ติดตามมาจากการกระทา
10. ไม่ใช้คอมพวิ เตอร์ก่อความเสียหายหรือความราคาญแกผ้อู ่นื เช่น การนาภาพหรือข้อมลู สว่ นตัวของบุคคล

ไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
11. ไมเ่ ผยแพร่ขอ้ มูลทีไ่ ม่เหมาะสมหรอื ไม่ควรจะเผยแพร่
12. ใชค้ อมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบและกติกามารยาท

45

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 | เทคโนโลยสี ารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

เม่ือพจิ ารณาถงึ คุณธรรมจรยิ ธรรมเกย่ี วกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศแล้วยัง
สามารถแยกเป็นอีก 4 ประเดน็ ทร่ี ู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA
ซึง่ จะประกอบดว้ ย

1. ความเปน็ ส่วนตัว (Information Privacy) ความเป็นส่วนตัวของข้อมลู และสารสนเทศ โดยท่ัวไปหมายถึง สทิ ธทิ ี่
จะอยตู่ ามลาพัง และเปน็ สทิ ธิทเ่ี จา้ ของสามารถท่จี ะควบคุมข้อมลู ของตนเองในการเปิดเผยใหก้ ับผู้อ่นื สทิ ธนิ ีใ้ ชไ้ ด้ครอบคลมุ
ท้งั ปัจเจกบุคคล กล่มุ บุคคล และองค์การต่างๆปจั จุบันมปี ระเด็นเกีย่ วกบั ความเป็นสว่ นตัว

2. ความถกู ต้อง (Information Accuracy) ในการใชค้ อมพวิ เตอร์เพ่ือการรวบรวม จดั เก็บ และเรียกใชข้ ้อมูลนน้ั
คุณลกั ษณะทส่ี าคัญประการหน่งึ คือ ความนา่ เชื่อถือไดข้ องขอ้ มลู ทง้ั น้ี ข้อมูลจะมีความน่าเชือ่ ถือมากน้อยเพียงใดย่อมขนึ้ อยู่
กบั ความถูกต้องในการบันทึกข้อมลู ดว้ ย ประเดน็ ด้านจรยิ ธรรมทเี่ กยี่ วข้องกับความถูกต้องของขอ้ มูล โดยท่วั ไปจะพจิ ารณาวา่
ใครจะเป็นผรู้ บั ผิดชอบตอ่ ความถกู ต้องของข้อมลู ทจี่ ัดเกบ็ และเผยแพร่ เช่น ในกรณีทีอ่ งค์การใหล้ ูกค้าลงทะเบยี นดว้ ยตนเอง
หรอื กรณีของข้อมูลท่ีเผยแพร่ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ อกี ประเด็นหนงึ่ คอื จะทราบได้อย่างไรว่าขอ้ ผิดพลาดท่ีเกิดข้นึ นัน้ ไม่ไดเ้ กิด
จากความจงใจ และผ้ใู ดจะเป็นผู้รับผดิ ชอบหากเกิดขอ้ ผิดพลาด

3. ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สทิ ธิความเปน็ เจ้าของ หมายถึง กรรมสทิ ธ์ิในการถือครองทรัพย์สิน
ซง่ึ อาจเป็นทรัพย์สนิ ทว่ั ไปท่จี ับตอ้ งได้ เชน่ คอมพวิ เตอร์ รถยนต์ หรอื อาจเปน็ ทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด) ที่จบั ต้องไมไ่ ด้
เชน่ บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบนั ทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เชน่ สิง่ พิมพ์ เทป ซีดรี อม เป็นต้น

4. การเขา้ ถึงข้อมลู (Data Accessibility) ปจั จุบนั การเขา้ ใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพวิ เตอรม์ ักจะมีการ
กาหนดสทิ ธิตามระดบั ของผูใ้ ชง้ าน ทัง้ นี้ เพ่ือเปน็ การป้องกันการเขา้ ไปดาเนนิ การต่างๆ กับข้อมลู ของผใู้ ช้ที่ไมม่ สี ว่ นเก่ียวข้อง
และเป็นการรักษาความลับของข้อมลู ตัวอย่างสิทธิในการใชง้ านระบบ เชน่ การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็น
ตน้ ดังนนั้ ในการพฒั นาระบบคอมพิวเตอรจ์ ึงได้มกี ารออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเขา้ ถึงของผู้ใช้ และการ
เข้าถึงข้อมูลของผู้อ่นื โดยไมไ่ ด้รับความยนิ ยอมนัน้ กถ็ ือเปน็ การผิดจริยธรรมเชน่ เดียวกับการละเมิดข้อมลู ส่วนตัว ในการใช้
งานคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ขา่ ยร่วมกันใหเ้ ปน็ ระเบยี บ หากผูใ้ ชร้ ่วมใจกนั ปฏบิ ัตติ ามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงาน
อยา่ งเคร่งครดั แล้ว การผดิ จริยธรรมตามประเด็นดังทีก่ ล่าวมาขา้ งต้นก็คงจะไม่เกิดขึน้

46

กฎหมายคอมพวิ เตอร์ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 | เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
เพื่อการใช้ออนไลนอ์ ย่างถูกกฎหมาย สาหรบั สาระสาคัญท่ีหลายคนควรพงึ ระวงั ใน พ.ร.บ.วา่ ด้วย
กระทาความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบบั 2 มี

สาระสาคญั จาง่ายๆ ดังนี้

1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเปน็ สแปม ปรับ 200,000 บาท

2. สง่ SMS โฆษณา โดยไมร่ บั ความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏเิ สธข้อมลู น้ันได้ ไมเ่ ชน่ นั้นถือเปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท

3. ส่ง Email ขายของ ถอื เปน็ สแปม ปรบั 200,000 บาท4. กด Like ได้ไมผ่ ิด พ.ร.บ.คอมพฯ์ ยกเว้นการกดไลค์ เปน็ เรื่อง
เกย่ี วกับสถาบนั เสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรอื มีความผิดรว่ ม

5. กด Share ถือเปน็ การเผยแพร่ หากข้อมลู ท่แี ชรม์ ีผลกระทบต่อผอู้ นื่ อาจเขา้ ขา่ ยความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดย
เฉพาะท่ีกระทบต่อบุคคลที่ 3

6. พบข้อมูลผดิ กฎหมายอยูใ่ นระบบคอมพิวเตอรข์ องเรา แตไ่ ม่ใช่สิ่งท่ีเจา้ ของคอมพิวเตอร์กระทาเอง สามารถแจ้งไปยงั
หน่วยงานที่รับผดิ ชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมลู ออกเจา้ ของกจ็ ะไมม่ ีความผดิ ตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ตา่ ง ๆ
รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ทใี่ ห้แสดงความคดิ เห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผดิ กฎหมาย เมื่อแจ้งไปทีห่ น่วยงานทร่ี ับผดิ ชอบเพอ่ื
ลบไดท้ ันที เจ้าของระบบเวบ็ ไซต์จะไม่มีความผดิ

7.สาหรับ แอดมินเพจ ทีเ่ ปดิ ใหม้ ีการแสดงความเห็น เมือ่ พบขอ้ ความทผ่ี ิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เม่ือลบออกจากพ้นื ท่ีทต่ี นดูแล
แล้ว จะถอื เปน็ ผู้พน้ ผดิ

8. ไม่โพสตส์ ิ่งลามกอนาจาร ที่ทาให้เกดิ การเผยแพรส่ ปู่ ระชาชนได้

9. การโพสต์เกย่ี วกบั เด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเม่ือเป็นการเชิดชู ชน่ื ชม อย่างให้เกยี รติ

10. การใหข้ ้อมลู เก่ยี วกับผูเ้ สยี ชีวิต ตอ้ งไมท่ าให้เกิดความเสือ่ มเสียเชอื่ เสยี ง หรือถูกดหู ม่นิ เกลยี ดชัง ญาตสิ ามารถฟ้องร้อง
ไดต้ ามกฎหมาย

11. การโพสตด์ า่ ว่าผอู้ ื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรอื ถกู ตัดต่อ ผถู้ ูกกล่าวหา เอาผดิ ผูโ้ พสต์ได้ และมีโทษ
จาคกุ ไมเ่ กิน 3 ปี ปรับไม่เกนิ 200,000 บาท

12. ไม่ทาการละเมดิ ลิขสทิ ธผ์ิ ู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรอื วิดีโอ

13. ส่งรปู ภาพแชรข์ องผู้อืน่ เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใชใ้ นเชงิ พาณชิ ย์ หารายได้

47

ลขิ สิทธ์ิ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 | เทคโนโลยีสารสนเทศ

1เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
ลขิ สทิ ธ์ิ หมายถงึ สิทธแิ ตเ่ พียงผ้เู ดียวที่จะกระทาการใด ๆ เกยี่ วกบั งานที่ผูส้ รา้ งสรรค์ไดร้ ิเริม่ โดยการใช้
สตปิ ัญญาความรู้ ความสามารถ และความวริ ยิ ะอุตสาหะของตนเองในการสร้างสรรค์ โดยไม่ลอกเลยี นงาน
ของผ้อู ่นื โดยงานที่สร้างสรรคต์ อ้ งเปน็ งานตามประเภทที่กฎหมายลขิ สิทธใิ์ หค้ ุ้มครอง โดยผสู้ ร้างสรรค์จะ
ไดร้ ับความคุ้มครองทันทที ี่สรา้ งสรรคโ์ ดยไม่ต้องจดทะเบียน

3.1 การคมุ้ ครองลขิ สิทธิ์

การคุ้มครองลิขสทิ ธิต์ ามกฎหมายไทยจะกาหนดให้มีอายุการคุ้มครอง 50 ปี นบั ต้ังแตผ่ ู้สร้างสรรค์ผลงานเสยี ชวี ิต
กรณีเจ้าของเปน็ นิติบคุ คล จะเรม่ิ นบั อายุตั้งแตผ่ ลงานถูกสร้างขนึ้ มานับไปอีก 50 ปี หรือเริ่มนบั เม่อื มีการโฆษณาเป็นคร้งั
แรก แล้วแต่วา่ อย่างไหนจะเกิดทีหลงั แต่การโฆษณาคร้ังแรกนั้นจะต้องเกิดขึ้นภายใน 50 ปี นบั ตงั้ แต่มกี ารสร้างสรรค์
ผลงานน้นั ขนึ้ มา ถ้าพ้น 50 ปีไปแลว้ โดยทีย่ งั ไมไ่ ด้มีการโฆษณา ถือวา่ ลิขสทิ ธิ์หมดอายุ โดยที่การโฆษณาในภายหลงั จะไม่
มผี ลต่อการนับต่ออายลุ ิขสิทธิ์อกี การโฆษณานจี้ ะต้องเป็นการโฆษณาโดยความยินยอมของเจา้ ของลขิ สิทธิด์ ว้ ย จึงจะ
นับเป็นการโฆษณาครง้ั แรกท่ีใหเ้ ริ่มนับอายุลิขสิทธิ์ได้ กฎหมายลขิ สทิ ธ์ใิ ห้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท
ตามทก่ี ฎหมายกาหนด ได้แก่

1. งานวรรณกรรม ( หนงั สือ จุลสาร ส่ิงพมิ พ์ คาปราศรัย โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ฯลฯ )
2. งานนาฎกรรม ( ทา่ รา ทา่ เต้น ฯลฯ )
3. งานศิลปกรรม ( จิตรกรรม ประตมิ ากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถา่ ย ศลิ ปประยุกต์ ฯลฯ )
4. งานดนตรกี รรม ( ทานอง ทานองและเนื้อร้อง ฯลฯ )
5. งานสิง่ บนั ทกึ เสยี ง ( ซีดี )
6. งานโสตทัศนวสั ดุ ( วีซีดี ดีวีดี ท่ีมีภาพหรือมีทง้ั ภาพและเสยี ง )
7. งานภาพยนตร์
8. งานแพร่เสยี งแพรภ่ าพ
9. งานอน่ื ใดในแผนกวรรณคดี วทิ ยาศาสตร์ หรอื ศลิ ปะ

48

1การใชง้ านโดยชอบธรรม เป็นสว่ นหน่งึ ของกฎหมายลขิ สิทธิ์สหรฐั ท่อี นญุ าตใหใ้ ช้งานท่ีมีลขิ สทิ ธิโ์ ดยไม่ตอ้ งขอ
3.2 การใช้สิทธผิ ู้อืน่ โดยชอบธรรม (Fair Use) หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 | เทคโนโลยสี ารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

อนญุ าตผู้ทรงลิขสิทธ์ิเสยี กอ่ น ซง่ึ กฎหมายเจตนาสรา้ งสมดุลระหวา่ งประโยชนข์ องผทู้ รงลขิ สทิ ธ์ิกบั ประโยชน์สาธารณะใน

การจาหน่ายในวงกวา้ งและการใชง้ านสร้างสรรค์ ใหไ้ ม่ถูกดาเนินคดใี นข้อหาละเมดิ ลขิ สิทธิ์ สว่ น "การปฏบิ ตั ิที่เปน็

ธรรม" (fair dealing) เป็นหลักทานองเดียวกนั ในกฎหมายบริติช

การใชล้ ิขสิทธข์ิ องผู้อน่ื โดยชอบ เป็นหลกั การที่อนญุ าตให้ใช้เนอ้ื หาทมี่ ีลิขสิทธ์โิ ดยไมต่ ้องขออนุญาตเจา้ ของ

ลิขสิทธิ์ ตวั อยา่ งการใชง้ าน เชน่ ใชใ้ นการวจิ ารณ์ เสริ ช์ เอนจนิ การล้อเลียน การรายงานขา่ ว งานวิจยั การเรียนการสอน

การเกบ็ งานเอกสาร เป็นต้น

การใชล้ ขิ สิทธิ์ของผู้อ่นื โดยชอบ ประกอบดว้ ย การใช้โลโก้หรอื สัญลักษณท์ างการคา้ หรือการนาภาพส่วนใดสว่ น

หนึ่งของภาพยนตร์ หรอื ปกหนงั สือไปใชง้ านในความละเอียดตา่ หรือมีขนาดเลก็ โดยไม่ทาให้ก่อให้เกดิ ความเสียหายของ

สนิ คา้ หรือทาใหส้ ินค้านั้นขาดรายได้

ประเทศสหรัฐอเมรกิ ามปี ระมวลกฎหมาย Copyright Act of
1976, U.S. Code Title 17, Section 107 ว่าดว้ ย Limitations on Ex-
clusive Rights: Fair Use แม้ไม่ไดม้ ีการนิยามไวอ้ ย่างชดั เจนวา่ อะไรคอื
Fair Use แตม่ หี ลักเกณฑ์ในการพจิ ารณาความเป็น Fair Use ตาม
เง่อื นไข 4 ประการ คือ

PURPOSE: พจิ ารณาวตั ถปุ ระสงคแ์ ละลกั ษณะของการนาไปใช้
งานอนั มีลขิ สิทธ์ิ ว่าเปน็ การนาไปใช้ในเชงิ พาณิชย์ หรือนาไปใช้เพือ่
การศกึ ษาโดยไมห่ วงั ผลกาไร

NATURE: พจิ ารณาลักษณะตามธรรมชาตขิ องงานอันมีลิขสิทธ์ิ
AMOUNT: พิจารณาจานวนหรือปริมาณที่นาไปใชง้ าน เม่ือเทียบสัดส่วนกบั ปรมิ าณงานอนั มลี ขิ สทิ ธิ์ท้งั หมด
และพิจารณาวา่ ได้นาส่วนสาคญั ท่ีเป็นหวั ใจหลักของงานอันมีลิขสทิ ธิ์ ไปใช้หรอื ไม่อยา่ งไร
EFFECT: พิจารณาผลกระทบท่ีมีต่อตลาด และมูลคา่ ของงานอันมลี ขิ สิทธิ์
นอกจากน้นั ยังมี Section 108 วา่ ด้วย Limitations on Exclusive Rights: Reproduction by Libraries
and Archives หรอื ข้อยกเวน้ การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์สาหรบั ผทู้ ่ปี ฏบิ ตั ิงานในห้องสมุดและจดหมายเหตุ เป็นมาตราท่ี
เก่ียวข้องอีกด้วย สาหรับประเทศไทย พระราชบญั ญัตลิ ิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 กาหนดข้อยกเว้นการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ ในมาตรา
32-43 โดยการกระทาท่เี ปน็ ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ สามารถจาแนกเปน็ หลักเกณฑ์ได้ดังน้ี

1. การกระทานั้นเปน็ การกระทาเพ่ือใช้งานประโยชน์ทางการศึกษาหรือการวิจยั
2. การกระทานน้ั มิได้เป็นการกระทาเพ่ือหากาไร
3. การกระทานัน้ ไมข่ ดั ต่อการแสวงหาผลประโยชน์ของเจ้าของลขิ สิทธิ์ และไมก่ ระทบกระเทือนถึงสิทธ์ิอนั ชอบ
ดว้ ยกฎหมายของเจา้ ของลิขสิทธิ์เกินสมควร

49

การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศให้ปลอดภัย

คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามท่กี าหนด

1. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถงึ …….............................………………………………………
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
........................................................................................... .................................................................................... ...............
............................................................................................................................. ..................................................................
.......................................................................................... .................................................................................... .................
............................................................................................................................. ..................................................................
........................................................................................ .................................................................................... ...................
............................................................................................................................. ..................................................................
...................................................................................... .................................................................................... .....................

2.การแบ่งระดบั ของสารสนเทศตามลักษณะของ การนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ซงึ่ สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ ได้แก่
2.1 ........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
2.2 ......................................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
2.3 ......................................................................................................................... ...............................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................

50

กฎหมำยที่เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามท่ีกาหนด

พ.ร.บ.ว่าด้วยกระทาความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หรือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบบั 2 มี สาระสาคัญจางา่ ยๆ
คอื ............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................. .................................................................................... ..............
............................................................................................................................. ..................................................................
.......................................................................................... .................................................................................... .................
............................................................................................................................. ..................................................................
........................................................................................ .................................................................................... ...................
............................................................................................................................. ..................................................................
...................................................................................... .................................................................................... .....................

ลขิ สทิ ธ์ิ

คาชี้แจง ให้นักเรยี นตอบคาถามทกี่ าหนด

ลิขสิทธิ์ หมายถงึ ......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................
............................................................................................................................. .....................................................................

51

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถกู ตอ้ งทสี่ ดุ เพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดคอื การทาธุรกรรมทางการเงนิ ออนไลน์ท่ีไม่ปลอดภยั
ก. ออกจากระบบทุกครัง้ หลังการใชง้ าน
ข. ตั้งวงเงินในการธุรกรรมให้เหมาะสม
ค. ใช้บรกิ ารแจง้ เตือนเงินเข้า-ออกผ่าน SMS
ง. ตั้งรหสั ผ่านโดยใชว้ ันเดินปีเกิดหรือชอื่ ของตนเอง

2. ข้อใดคอื การซือ้ สนิ คา้ ทางออนไลน์อยา่ งปลอดภยั
ก. เลือกซื้อของผา่ นเวบ็ ไซต์ที่ขน้ึ ตน้ ดว้ ย http://
ข. ตรวจสอบราคาตลาด คาอธิบายสนิ ค้าไมเ่ กินจรงิ
ค. ใช้งาน Wifi สาธารณะในการสง่ั ซอ้ื สินค้าออนไลน์
ง. เลอื กซือ้ สนิ ค้าจากรา้ นคา้ ที่ชนื่ ชอบและสนใจโดยไม่มีการจดทะเบยี นพาณชิ ย์

3. ข้อใดไมใ่ ช่การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยความรับผดิ ชอบ
ก. การกาหนดความเป็นสว่ นตัวของข้อมูล
ข. การเผยแพร่ข้อมลู ข่าวสารอยา่ งถูกต้องแม่นยา
ค. การดดั แปลงผลงานผูอ้ นื่ และอา้ งว่าเปน็ ผลงานของตนเอง
ง. การไมเ่ ข้าถึงขอ้ มูลที่ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต หรือยินยอมให้เขา้ ถึง

4. บริษทั ฟอ้ นมิวสิค จากัด ไดส้ รา้ งผลงานเพลงชือ่ กอดขาเถียง ขึ้นใหม่ใหก้ บั ศิลปนิ ในสงั กดั ตัง้ แต่วนั ที่ 16 กนั ยายน
พ.ศ. 2542 จากนน้ั ทาการเผยแพร่และโฆษณาบน YouTube เมือ่ วันท่ี 8 กันยายน พ.ศ. 2562 ตามพระราชบัญญัติ
ลขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. 2537 ดงั นนั้ ผลงานดงั กลา่ วจะถกู เริ่มนบั ลขิ สิทธต์ิ ้งั แต่วันทใ่ี ด

ก. วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2542 ข. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562
ค. วันท่ี 8 กนั ยายน พ.ศ. 2562 ง. วนั ที่ 16 กนั ยายน พ.ศ. 2562

5. การสรา้ งข่าวปลอมและเผยแพร่ในอินเทอร์เน็ต เปน็ การกระทาความผดิ ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา
ความผิดเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ มาตราใด

ก. มาตรา 7 ข. มาตรา 14
ค. มาตรา 15 ง. มาตรา 17

6. พระราชบัญญตั ใิ ดพดู ถงึ การกระทาความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์รวม มาตรา 30
ก. พระราชบญั ญตั ิการรักษาความมนั่ คงปลอดภยั ไซเบอร์
ข. พระราชบญั ญตั ิการกระทาความผิดเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ค. พระราชบัญญัตวิ า่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์
ง. พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทาความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์

52

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3

คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบที่ถูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งข้อเดียว

7. ตามพระราชบัญญตั ิลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537 ได้ให้ความคมุ้ ครองเกี่ยวกับผลงาน 9 ประเภท ผลงานในขอ้ ใด
ไมจ่ ัดอยใู่ นประเภท “งานวรรณกรรม”
ก. หนงั สอื
ข. ทานอง
ค. สง่ิ พมิ พ์
ง. ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอร์

8. การทาซา้ โดยการเปล่ยี นแปลงรูปแบบใหม่ ปรับปรุงแก้ไข เพ่มิ เติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยไมม่ ีลักษณะ
ในการจดั ทาขน้ึ ใหม่ ตามพระราชบัญญัตลิ ิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 เป็นการละเมิดลิขสทิ ธติ์ ามข้อใด
ก. การทาซ้า
ข. การทาสาเนา
ค. การเผยแพร่
ง. การดัดแปลง

9. เอ็มทาซ้าแผน่ วีซดี ภี าพยนตร์ โดยการคดั ลอกจากแผ่นต้นฉบับเพ่ือนามาขายในร้านของตนเอง ตามพระราชบญั ญัติ
ลขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 เอม็ มีความผิดตามข้อใด
ก. การเผยแพรต่ ่อสาธารณชน
ข. ขาย มีไว้เพ่อื ขาย เชา่ มไี วเ้ พ่ือเชา่
ค. ขายหรือนาเข้ามาในราชอาณาจักร
ง. แจกจา่ ยในลกั ษณะทกี่ ่อให้เกิดความเสยี หายแกเ่ จา้ ของลิขสิทธ์ิ

10. การแสดงความคดิ เห็นต่อผลงานเพลงของศลิ ปินใน YouTube ถือว่าเป็นการยกเวน้ การละเมิดลิขสทิ ธ์ติ ามข้อใด
ก. การนาผลงานนั้นมาเปน็ ส่วนหนึ่งในงานของตน
ข. เสนอรายงานขา่ วทางสอื่ สารมวลชนโดยมีการรับร้ถู ึงความเปน็ เจ้าของลิขสิทธ์ใิ นงานนั้น
ค. การติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรถู้ ึงความเป็นเจา้ ของลขิ สทิ ธ์ใิ นงานน้ัน
ง. ใช้เพือ่ ประโยชนข์ องตนเอง หรอื บุคคลอื่นในครอบครัว

53

หน่วยการเรียนรู้ท่ี

แอปพลเิ คชัน

ตัวชว้ี ัด ว 4.2 ม.3/1 พัฒนาแอปพลเิ คชนั ท่มี กี ารบูรณาการกับวิชาอน่ื อยา่ งสร้างสรรค์

เทคโนโลยี IOT

IOT หรือ Internet of Things (อินเทอรเ์ นต็ ของสรรพส่ิง)
หมายถึง วตั ถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิง่ ของเครอ่ื งใช้ และสงิ่ อานวยความสะดวกในชีวิตอ่ืน ๆ ทม่ี นุษย์สรา้ งขึน้ โดยมีการฝัง
ตวั ของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชอ่ื มต่อกับเครอื ข่าย ซึ่งวตั ถุส่งิ ของเหล่าน้ี สามารถเก็บ
บนั ทกึ และแลกเปลี่ยนข้อมลู กนั ได้ อกี ท้ัง สามารถรับรูส้ ภาพแวดลอ้ มและถูกควบคมุ ไดจ้ ากระยะไกล ผา่ นโครงสรา้ ง
พืน้ ฐานการเชอื่ มต่อเข้ากบั สมารท์ โฟนเท่าน้ัน แต่ IoT สามารถประยกุ ตใ์ ช้กบั อุปกรณท์ ุกอย่างท่ีถกู ออกแบบมาให้
เชอื่ มโยงกนั ไดบ้ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ ทีจ่ ะสามารถสือ่ สารกนั ได้

54

สรรพส่ิง (Things) หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4 | แอปพลเิ คชัน
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

สรรพส่ิง (Things) ในความหมายของ IoT "สรรพสิ่ง" หมายถงึ อุปกรณ์ สงิ่ ของเครือ่ งใชท้ แ่ี ตกต่าง
หลากหลาย เชน่ เครอ่ื งจักรต่าง ๆ ในโรงงาน รถยนต์ สกูต๊ เตอร์ จกั รยานที่มีเซน็ เซอร์ในตวั เครื่องใช้ภายในบา้ น กล้อง
อัจฉรยิ ะ นาฬกิ าเดก็ อปุ กรณ์วดั อตั ราการเต้นของหัวใจ แท็กไบโอชิปท่ีตดิ กบั ปศุสัตว์ อุปกรณ์วเิ คราะห์ดีเอ็นเอใน
สิ่งแวดล้อมหรืออาหาร หรอื อุปกรณ์ภาคสนามของนักผจญเพลงิ ในภารกจิ คน้ หาและช่วยเหลือ หนุ่ ยนต์ดูแลผปู้ ว่ ยและ
ผ้สู งู อายุ และอื่น ๆ ซึ่งไม่เว้นแม้ เสยี งพดู สง่ั งานของมนษุ ย์

การประยกุ ตใ์ ชง้ าน IoT (Internet of Things)

การประยุกตใ์ ช้งาน IoT (Internet of Things) ในปจั จุบัน
ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคอตุ สาหกรรมการผลติ ตลอดจนประชาชนทัว่ ไป ได้นา IoT ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการ
ทางานและชวี ติ ประจาวนั เพื่อสร้างรายได้ โอกาส และความสะดวกสบายยง่ิ ข้นึ ในอตุ สาหกรรมและโครงการตา่ ง ๆ เช่น

Smart Industry เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสยู่ ุคของการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม Industry 4.0
Smart City เพอ่ื นามาปรับใช้รว่ มกบั โครงสรา้ งพื้นฐาน และระบบต่าง ๆ ของเมืองใน 4 ด้าน
คือ ดา้ นการท่องเทีย่ ว ดา้ นความปลอดภยั ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม และดา้ นเศรษฐกจิ โดยพฒั นา IoT เพ่อื ตอบสนอง และ
อานวยความสะดวกในแตล่ ะดา้ นของเมือง อาทิ

Smart Living เมืองน่าอยู่
Smart Governance เมืองทบี่ รหิ ารจดั การโปร่งใส
Smart Mobility เมืองท่สี ามารถติดต่อส่ือสารและเดนิ ทางได้อยา่ งสะดวกสบาย
Smart People เมอื งท่ใี ห้ความเทา่ เทยี มกันในสงั คม
Smart Safety เมอื งปลอดภัย
Smart Economy เมืองที่เอื้อต่อการทาธรุ กิจ
Smart Environment เมืองประหยดั พลงั งาน
Smart Tourism เมอื งท่องเทีย่ ว
Smart Farming เมอื งเกษตรกรรมทันสมยั
Smart Life เพ่ือใหร้ ูปแบบของการใชช้ วี ิตของมนุษย์เปลี่ยนไปจากเดิม มนษุ ย์สามารถพูดคุยกับส่งิ ของ
ไดส้ ิง่ ของสามารถพูดคยุ และรับรพู้ ฤติกรรมของมนุษยไ์ ด้ ซ่ึงในอนาคตเทคโนโลยีจะมีการพฒั นาให้สิ่งของสามารถ
พดู คยุ กันเองไดโ้ ดยไม่ต้องผ่านมนุษย์

55

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 | แอปพลเิ คชนั
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

จะเห็นได้วา่ Internet of Things (IoT) เรม่ิ เขา้ มาเป็นส่วนหน่งึ ในชีวติ ของคนเรามากขึ้น ไมว่ า่
จะเป็นการดาเนินชีวติ ภายในบา้ น หรือท่ีทางาน หรอื ระหวา่ งการเดินทาง IoT จะเข้ามาชว่ ยอานวยความ
สะดวก ลดข้นั ตอนการทางาน และทาใหก้ ารใช้ชีวิตงา่ ยข้นึ แตอ่ ย่างไรกต็ าม เทคโนโลยี IoT ทเี่ ชอ่ื มโยง
อุปกรณ์ต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน ก็อาจมีผลก่อให้เกดิ ความเสยี่ งต่อภยั คุกคามต้ังแต่ระดบั บุคคลไปจนถงึ องคก์ ร
มากข้ึน ดังนน้ั การเตรยี มความพร้อมรับมือภัยคุกคามท่มี าพร้อมกบั เทคโนโลยเี ป็นประเดน็ ทที่ ุกคนให้
ความสาคัญ เพ่อื ขบั เคล่ือนนวตั กรรมให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในยุคดจิ ทิ ัล

1.1 องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT

โดยท่วั ไป ระบบการสร้างผลติ ภัณฑห์ รือบริการโดยใช้เทคโนโลยี IoT จาเปน็ ตอ้ งมีองค์ประกอบของเทคโนโลยีด้าน
ตา่ งๆ ทีเ่ ชา้ มาสนับสนนุ การติดต่อสื่อสารและการทางานท่ีสมั พันธ์กัน ดังน้ี

สมองฝังตัวและเซนเซอร์ สมองกลฝังตวั ทีป่ ระกอบด้วยเซนเซอร์ เปน็ อปุ กรณใ์ ช้ในการ
เชอ่ื มต่อระหว่างโลกทางกายภาพ และโลกดิจิทลั โดยเซนเซอร์สามารถตรวจจับสงิ ทส่ี นใจ รวมท้ังประมวลผลและจดั เกบ็
ขอ้ มลู แบบทันทีทนั ใด และมีหลายหลายชนดิ ขน้ึ อยกู่ บั วัตถุประสงค์ของการใชง้ าน เช่น เซนเซอร์วดั อุณหภูมคิ ุณภาพ
อากาศ ความชื้น การเคลอ่ื นไหวและความเรว็ เซนเซอรส์ ามารถวัดสมบัตทิ างกายภาพและเปลยี่ นคา่ ทีว่ ัดได้ใหเ้ ปน็
สญั ญาณที่อปุ กรณน์ น้ั ๆ สามารถเขา้ ใจได้

เกตเวยแ์ ละเครอื ข่าย เซนเซอร์ส่วนใหญต่ อ้ งการเชื่อมต่อไปยังเครอื ขา่ ยและเกตเวยเ์ พื่อเข้า
สู่อนิ เทอรเ์ น็ตจึงทาใหเ้ กดิ การเชอื่ มต่อแบบแลน (Local Area Network ) เครือขา่ ยไรส้ าย เครอื ข่ายโทรศพั ท์ เครือข่าย
ส่วนบคุ คล

ส่วนสนับสนุนการบริการ ส่วนสนบั สนุนการบริการ เปน็ ส่วนท่ีทาหนา้ ทใี่ นการสนับสนุน
เชน่ การประมวลผลขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู การควบคุมความปลอดภยั การบริหารจัดการการเช่ือมต่อของอปุ กรณ์
การควบคุมการรบั -ส่งขอ้ มลู และทาหนา้ ทีเ่ ป็นตัวกลางสนับสนุนการเชือ่ มโยงระหวา่ งแอปพลิเคชันกบั อุปกรณ์ IoT การ
ใช้งานแบบคลาวด์ ช่วยในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่

แอปพลิเคชนั แอปพลิเคชันเป็นส่วนตดิ ตอ่ ส่ือสารระหวา่ งมนษุ ยก์ บั อุปกรณ์ และทาใหเ้ รา
สามารถควบคุมอปุ กรณ์ IoT ไดจ้ ากระยะไกลผา่ นางอนิ เทอร์เนต็ นอกจากนี้ยังอาจเป็นระบบทค่ี วบคุมอปุ กรณ์ให้ทางาน
สอดคล้องกนั ตามวตั ถุประสงคข์ องการทางานแบบอตั โนมัติ

56

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 | แอปพลิเคชนั
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

1.2 ตวั อยา่ งอปุ กรณ์ IoT สาหรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

อปุ กรณ์ IoT บนสมารท์ โฟน ทเ่ี ห็นในการนามาใช้งานอยู่บอ่ ย ๆ คอื การใช้งานบนสมารท์ โฟน
ดว้ ยเสยี ง ซึ่งท่ีเหน็ กนั อย่ใู นปัจจุบันกค็ ือ การที่ Google นาระบบการสงั่ งานดว้ ยเสียงเข้ามาใช้บนสมาร์ทโฟนเพ่ือเขา้ ถงึ ใน
การใชง้ านบนแอปพลิเคชนั ตา่ ง ๆ เชน่ การใช้เสียงในการสัง่ งานในการพิมพ์ การใชเ้ สียงในการสัง่ งานเปิดปิดหน้าจอ
โทรศพั ท์มอื ถือ หรอื แมก้ ระท่ังการสง่ั ถา่ ยรปู และการใชง้ านแอปพลเิ คชันตา่ ง ๆ ผ่านเสียง

อุปกรณ์ IoT รถยนต์อัตโนมัติ ทีม่ าพร้อมกับระบบท่สี ามารถส่ังการให้รถยนต์นนั้ ขับเคลอื่ นได้ด้วย
ตัวเอง ผา่ นระบบการเลยี นแบบพฤติกรรมของมนษุ ยก์ ารควบคมุ ทิศทางการเดินรถและระบบอุปกรณ์ IoT ที่เชือ่ มต่อกับ
อินเทอรเ์ น็ตเข้ากบั ระบบ inkaNet เครอื่ งมืออัจฉรยิ ะแบบไร้สาย หรอื แอปพลเิ คชันที่รองรบั การใชง้ านท้งั ในระบบ iOS
และ Android เพ่ือช่วยให้รถยนตม์ ปี ระสทิ ธภิ าพในการทางานได้ดีย่ิงขน้ึ ไมว่ ่าจะเปน็ เรื่องของการแจง้ เตือนข้อมลู ความ
ผิดปกตขิ องรถยนต์ ชว่ ยควบคุมการใช้งานของรถยนต์ได้อย่างอตั โนมัติ ทง้ั ในเร่ืองของการสงั่ ล็อคหรือปลดล็อครถยนต์
ตดิ ตามตาแหน่งของรถยนต์ ปอ้ งกันการสญู หายสามารถมองเหน็ รถยนต์ของเราได้แมก้ ระทัง่ ในท่มี ดื ด้วยระบบ Find my
car สาหรับการสั่งงานใหร้ ถยนตเ์ ปดิ ไฟดา้ นหนา้ เพือ่ การมองเหน็ รถยนตไ์ ด้ง่ายข้นึ

อปุ กรณ์ IoT บลูทธู ระบบการเชือ่ มตอ่ กับอุปกรณ์ IoTอยา่ งบลูทธู ทชี่ ่วยให้การรับส่งข้อมลู
เป็นไปไดง้ า่ ยดายและสะดวกสบายมากยงิ่ ขึน้ ด้วยประสทิ ธิภาพการทางานมากข้นึ ด้วยการนาระบบการเช่ือมต่อ
อินเทอรเ์ น็ตอย่างอุปกรณ์ IoT หรือ Internet of thing ทสี่ ามารถเชือ่ มตอ่ กับอุปกรณ์ท่ีหลากหลาย ไม่ว่าจะเปน็
โทรศพั ท์มือถือ กล้อง แท็บเลต็ นาฬกิ า ลาโพงไรส้ าย และคอมพิวเตอร์ ใหส้ ามารถทาการเช่ือมต่อและสง่ ต่อข้อมูล
ระหวา่ งกันไดง้ า่ ยไดม้ ากยงิ่ ขึ้น ซึง่ ในปัจจบุ นั ก็ได้มีการพัฒนา อุปกรณ์ IoT อยา่ ง
บลทู ธู ข้ึนมาอีกหนึ่งระดับภายใตช้ อื่ ท่เี รียกว่า Bluetooth 5.0 ทอี่ อกแบบมาใหต้ อบโจทย์การใชง้ านมากยิ่งขึ้น ซ่ึงจุดเด่น
ของการใช้งานอุปกรณ์ IoT ตัวนก้ี ็คือ การรับสง่ ข้อมลู ผา่ นอุปกรณ์ IoT ท่ีมากขึน้ และรวดเร็วมากกว่าเดิมถึง 2 เท่า
เช่ือมตอ่ ได้ไกลมากย่งิ ข้นึ และรับสง่ ข้อมูลได้มากขึ้นถึงกวา่ 8 เทา่ นอกจากนย้ี งั มรี ะบบ Bluetooth beacon ซ่งึ เป็นอกี
หนึง่ ฟังกช์ ันการนาทางไปยงั สถานทต่ี ่าง ๆ เช่น รา้ นคา้ ภายในห้างสรรพสินค้า ตาแหนง่ การจดั กิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนถึง
การหาสินคา้ ตามจุดตา่ ง ๆ ได้มากขึ้น

อปุ กรณ์ IoT ทีจ่ อดรถอตั โนมัติ (Auto Parking) ท่ีมาพรอ้ มกับชุดอปุ กรณ์ไม้กัน้ รถยนต์ ที่
สามารถควบคุมการทางานดว้ ยระบบเช่ือมตอ่ อนิ เทอร์เน็ตอย่าง อุปกรณ์ IoT ทต่ี ดิ ต้ังอยู่บริเวณไม้กั้นของลานจอดรถ ท่ี
ทาใหส้ ามารถตรวจสอบการเข้าออกของรถยนต์ได้ผา่ นกล้อง HD Camera พรอ้ มกบั หนา้ จอแสดงผล LCD ไป ทีแ่ สดง
รายละเอียดของรถยนต์ไดอ้ ย่างครอบคลุม ทง้ั ในสว่ นของหมายเลขทะเบียนรถ เวลาในการใช้บรกิ าร และอัตราค่าโดยสาร
ใหส้ ามารถใช้งานไดอ้ ย่างรวดเร็วและไม่เสยี เวลา พร้อมทงั้ ระบบใหม่ที่น่าสนใจทนี่ า อุปกรณ์ IoT เขา้ มาใชใ้ นการเช่ือมตอ่
ระหว่างลานจอดรถและโทรศัพทม์ ือถือ ท่สี ามารถเช็คทีจ่ อดรถลว่ งหน้ากอ่ นเข้ามาจอดและจองท่จี อดรถล่วงหนา้ เอาไวไ้ ด้
พรอ้ มทง้ั ตรวจสอบค่าบรกิ ารการจอดรถผ่านแอปพลเิ คชนั บนมือถือไดแ้ บบเรียลไทม์ และสามารถเขา้ ถงึ นอกจากนย้ี ังมี
ระบบการชาระเงินทีส่ ามารถชาระเงนิ ผ่านชอ่ งทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์

57

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 | แอปพลเิ คชัน
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

1.2 ตวั อยา่ งอปุ กรณ์ IoT สาหรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

อุปกรณ์ IoT ลาโพงอัจฉริยะ ท่ีมาพร้อมกับระบบเซนเซอรอ์ จั ฉริยะทีผ่ สมผสานเขา้ กันไดด้ ี
กับการเช่ือมต่อกับอนิ เทอรเ์ น็ต ทสี่ ามารถทาให้ลาโพงอจั ฉริยะของเราน้นั สามารถส่งั ปิดเปิดเพลงเองได้ ซ่งึ ในปัจจุบัน
ลาโพงอัจฉริยะนี้ก็มาพร้อมกับฟังกช์ ันการใชง้ านทหี่ ลากหลาย ทสี่ ามารถทาได้มากกว่าแค่การเปิดปิดเพลง ดังเชน่ ตวั อย่าง
อปุ กรณ์ IoT จากหลากหลายบรษิ ัทเทคโนโลยี ทมี่ าพรอ้ มกับประสิทธภิ าพและฟงั กช์ ่นั การใชง้ านท่หี ลากหลาย เช่น
Google Home ลาโพงอัจฉรยิ ะทมี่ าพร้อมกบั หลอดไฟ อุปกรณ์ IoT จาก Google ทม่ี าพร้อมกบั ระบบอัตโนมตั ิท่ี
สามารถเปดิ ปิดเพลงและไฟฟ้าเองได้ อีกทั้งยงั สามารถถามตอบปญั หาเร่ืองตา่ ง ๆ เช่นสภาพอากาศในแตล่ ะวัน พร้อมทั้ง
ฟงั กช์ ันการใช้งานอ่นื ๆ อยา่ ง การตง้ั นาฬิกาปลุก การจดั วางแผนการทางานในแต่ละวนั หรือจะให้อา่ นข่าวประจาวนั
เลน่ หนงั วดิ ีโอจากแอปพลิเคชันยอดนิยมต่าง ๆ

อปุ กรณ์ IoT หลอดไฟอจั ฉริยะ อีกหนึง่ อุปกรณ์ IoT ในบ้าน ทมี่ าพร้อมกับฟีเจอรก์ ารทางาน
ทที่ าได้มากกว่าเพยี งแค่การให้แสงสว่าง และไมเ่ พยี งแค่มจี ุดเด่นทีท่ าใหส้ ามารถการปิดเปิดอตั โนมัติเท่านน้ั

อุปกรณ์ IoT เครื่องปรับอากาศอจั ฉรยิ ะ ท่ีทางานรว่ มกบั รีโมทควบคุมท่ีทาใหเ้ ครอ่ื งปรับ
อากาศในบ้านกลายเป็นเครื่องปรับอากาศอัจฉรยิ ะ ทีม่ าพร้อมกับฟเี จอรก์ ารใชง้ านที่หลากหลาย ไมว่ ่าจะเปน็ การเปดิ
แอรไ์ ว้ก่อนถงึ บ้าน ด้วยระบบ GPS ท่ีสามารถตรวจจบั และส่งสญั ญาณเขา้ ไปเพ่อื แจง้ เตือนการเปิดใชง้ าน
เครอ่ื งปรบั อากาศอัจฉรยิ ะก่อนถึงบา้ น ต้งั เวลาเปิด-ปิดการใช้งานและปรบั อณุ หภูมไิ ดอ้ ย่างอตั โนมัติ ทีส่ ามารถควบคมุ
การใช้งานได้ผ่านทางแอปพลเิ คชนั บนมอื ถือที่ใชง้ านได้ท้ังในระบบ Android และ IOS

ปลก๊ั ไฟอัจฉรยิ ะอุปกรณ์ IoT ในบา้ น ท่สี ามารถเช่ือมตอ่ การใชง้ านได้ผา่ นระบบเซน็ เซอร์ใน
ตัวและระบบอินเทอร์เนต็ ท่ีสามารถใช้งานไดผ้ ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพทม์ ือถือ

อปุ กรณ์ IoT เครอ่ื งทากาแฟอจั ฉริยะ อกี หน่ึงทางเลือกใหม่ท่ตี อบโจทย์การใช้งานของนัก
ดมื่ กาแฟโดยเฉพาะ ซ่ึงทาให้สามารถใช้งานดว้ ยการสัง่ ชงกาแฟไดผ้ ่านทางแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มอื ถอื ทสี่ ามารถใช้
งานได้ท้ังในระบบ Android และ IoT ท่ีสามารถส่ังชงกาแฟได้ตั้งแตต่ อนตื่นนอน พร้อมท้ังระบบการแจ้งเตือนที่ชว่ ยให้
สะดวกรวดเรว็ ในการลงมารับกาแฟได้ทนั ทโี ดยไมต่ อ้ งเปลืองแรงไปชงเองใหย้ ุง่ ยาก

58

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 | แอปพลิเคชัน
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

1.3 ขอ้ ด-ี ขอ้ เสยี ของเทคโนโลยี IoT

ขอ้ ดี ของเทคโนโลยี IoT ข้อเสยี ของเทคโนโลยี IoT

- สามารถควบคุมอุปกรณต์ า่ งๆ ได้ไม่จากดั ระยะทาง - ต้องเช่อื มต่ออนิ เทอร์เน็ตตลอดเวลา
- ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ - ค่าใชจ้ า่ ยดา้ นอุปกรณท์ ่ีค่อนข้างมรี าคาแพง
- สามารถทางานแทนมนุษย์ได้ - ค่าใช้จา่ ยในการติดต้ังอุปกรณ์
- ลดเวลาหรอื ลดคา่ ใชจ้ ่าย

การพัฒนาแอปพลเิ คชัน

ความหมายของแอปพลเิ คช่นั นน้ั หลายท่านอาจไดท้ ราบจากบทความทผี่ ่านมาแล้ว สาหรบั
บทความนี้จะพามารู้จกั กบั ประเภทของ Application ว่ามีอะไรบ้าง เพ่ือให้เกดิ เป็นความรอู้ ย่างสงู สุด
และประเภทของ Mobile application นน้ั แบง่ ออกได้ 3 ประเภท คอื Native Application, Hybrid
Application และ Web Application ซ่ึงมรี ายละเอียดดงั น้ี

ประเภทที่ 1 Native Application
Application ท่ถี ูกพฒั นามาด้วย Library (ไลบราร่ี) หรอื SDK (เอส ดี เค) เป็นเครื่องมือท่เี อาไวส้ าหรับพัฒนา
โปรแกรมหรือแอปพลิเคชั่น ของ OS Mobile (โอ เอส โมบายล)์ โดยเฉพาะ อาทิ Android (แอนดรอยด์) ใช้ Android
SDK, IOS ใช้ Objective c, Windows Phone ใช้ C# เป็นต้น
ประเภทท่ี 2 Hybrid Application
Application ทีถ่ ูกพัฒนาขึ้นมาดว้ ยจุดประสงค์ท่ีต้องการใหส้ ามารถ รนั บนระบบปฏิบัติการได้ทุก OS โดยใช้
Framework เขา้ ชว่ ย เพื่อให้สามารถทางานได้ทกุ ระบบปฏิบตั ิการ
ประเภทที่ 3 Web Application
Application ท่ีถูกเขยี นขึ้นมาเพือ่ เปน็ Browser สาหรบั การใชง้ านเวบ็ เพจต่างๆ ถูกปรับแต่งให้แสดงผลแตส่ ว่ นที่
จาเป็น เพ่อื เปน็ การลดทรัพยากรในการประมวลผลของสมาร์ทโฟน หรอื แท็บเล็ต ซงึ่ ทาใหโ้ หลดหนา้ เว็บไซตไ์ ด้เรว็ ขนึ้ และ
ผูใ้ ชง้ านยังสามารถใชง้ านผ่านอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ตในความเรว็ ต่าได้อีกดว้ ย

59

การพัฒนาแอปพลิเคชนั หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 | แอปพลเิ คชัน
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน่ คอื การเขียนซอฟแวรส์ าหรับอุปกรณ์พกพา เช่น สมาร์ทโฟน(Smart phone)
และ แทบ็ เล็ต(Tablet) หรือพูดกันงา่ ยๆ คือ การทาแอพลเิ คชนั่ หรือการสร้างแอพลิเคชั่นสาหรบั มือถือ ซ่ึงผ้พู ฒั นาจะเขยี น
แอพลิเคช่ันมอื ถอื เพ่ือใชป้ ระโยชนจ์ ากอปุ กรณ์บางอย่างของมือถือท่ีมีคุณลักษณะเฉพาะ เช่น เซน็ เซอรต์ รวจจับลกั ษณะการ
เคล่ือนไหวของสมาร์ทโฟน (Accelerator Sensor), GPS และข้อมลู จากเซ็นเซอรต์ วั อื่นๆ เปน็ ตน้ ขอ้ เสยี ของการพัฒนา
แอพพลเิ คชน่ั มือถือ คือ ผูพ้ ัฒนาไม่สามารถนา source code ของระบบปฎิบัติการหน่งึ ไปใช้อกี ระบบปฏบิ ัตกิ ารได้
ตวั อยา่ งเช่น source code ทใี่ ชท้ าแอพพลเิ คชนั่ หรือสรา้ งแอพพลิเคช่ันดง้ั เดิมสาหรบั อุปกรณ์ Android ไม่สามารถทางาน
รว่ มกบั Windows Phone โปรแกรมประยุกต์ทใี่ ช้เบราวเ์ ซอร์ต้องมี equipment-agnostic เพอ่ื ให้เบราวเ์ ซอร์ทางานบน
อุปกรณม์ ือถือตา่ งๆได้

2.1 การพฒั นาแอปพลิเคชนั ประกอบด้วย

การพัฒนาแอปพลิเคชนั่ หรอื ผลติ ภณั ฑท์ าง
ซอฟต์แวร์นัน้ สามารถนากระบวนการทางวศิ วกรรมที่ใชใ้ น
การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ประเภทอน่ื มาประยุกต์ใช้เพ่ือวาง
แผนการดาเนนิ งาน ซึง่ มีข้ันตอนท่วั ไปดังนี้

ขัน้ ตอนที่ 1 การศกึ ษาความต้องการ – แอปพลิเคช่นั ถกู สรา้ งขึ้นตามความต้องการและเพอ่ื แกป้ ญั หาของลูกคา้
หรอื ผ้ใู ช้ ผ้พู ฒั นาตอ้ งทราบความตอ้ งการหรอื ปญั หาก่อนดาเนนิ การออกแบบ ซ่ึงจะได้ข้อกาหนดทเ่ี ปน็ คุณสมบัตติ า่ งๆ ของ
แอปพลเิ คชนั่ ซงึ่ เปน็ ข้นั ตอนท่ตี อ้ งอาศัยประสบการณ์ของผู้พฒั นา เพ่ือใหไ้ ด้ความต้องการของลูกคา้ หรือผู้ใชท้ แี่ ท้จริง
เพราะอาจมีการสอื่ สารความต้องการทค่ี ลาดเคลื่อน

ขั้นตอนท่ี 2 การออกแบบ – เปน็ หัวใจสาคัญในการพฒั นาแอปพลเิ คช่นั ซงึ่ ค่อนขา้ งมีความซับซ้อนและมี
รายละเอียดจานวนมาก ต้องอาศยั แนวคดิ เชงิ คานวณมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบอยา่ งเป็นระบบ ผลจากการออกแบบ จะ
ได้เปน็ โครงร่างของแอปพลเิ คช่นั ท่ีมสี ่วนประกอบย่อยทมี่ ีการกาหนดหน้าท่ีการทางานไว้

ข้ันตอนที่ 3 การลงมือพัฒนา – ผพู้ ัฒนาหรือโปรแกรมเมอร์ (programmer) ลงมอื เขียนคาสั่งในส่วนประกอบย่อย
ท่ไี ด้ออกแบบไว้ ซึง่ อาจพบข้อจากดั หรอื ขอ้ บกพร่องจากขัน้ ตอนการออกแบบ หรอื ข้ันตอนศึกษาความต้องการ จึงเป็นเรอื่ ง
ปกติท่ีต้องย้อนกลับไปแกไ้ ขการออกแบบหรือศึกษาความต้องการ

ขัน้ ตอนที่ 4 การทดสอบ – เป็นการตรวจสอบคุณภาพของแอปพลเิ คชนั่ เพื่อคน้ หาข้อผิดพลาดทม่ี ีอย่รู ะหว่างท่ี
แอปพลิเคชนั่ ทางาน และสร้างความมั่นใจแอปพลิเคชน่ั ทางานได้ถูกต้องและตรงความต้องการอย่างแท้จริง หากพบ
ขอ้ ผดิ พลาด ต้องทาการปรบั ปรุง แก้ไข และทดสอบซา้ เพื่อไมใ่ หเ้ กิดข้อผิดพลาดระหวา่ งการใช้งานจริง ซง่ึ อาจทาใหเ้ กดิ
ความเสียหายอย่างรุนแรงตามมา

ในแต่ละข้ันตอนนน้ั สามารถย้อนกลบั ไปปรบั แกไ้ ขผลลพั ธ์ทีไ่ ด้ในขั้นตอนก่อนหนา้ โดยเฉพาะในกรณที ่ลี กู ค้าหรอื
ผใู้ ชม้ สี ว่ นรว่ มในแตล่ ะข้นั ตอนของการดาเนนิ งาน จะทาให้กาหนดความต้องการของแอปพลิเคช่นั ได้ชัดเจนมากยิง่ ขนึ้ และ
ไดผ้ ลติ ภณั ฑซ์ อฟต์แวรท์ มี่ คี วามสามารถตรงกับต้องการโดยแท้จริง

60

2.2 ซอฟต์แวร์ที่ใชใ้ นการพัฒนาแอปพลิเคชัน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 | แอปพลเิ คชัน
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

ในปจั จุบันมแี อปพลเิ คชันต่าง ๆ เกิดข้นึ มากมาย โดยแต่ละแปพลิเคชันจะถกู สรา้ งหรือถูกพัฒนาขนึ้ ดว้ ยภาษา
โปรแกรมตา่ ง ๆ ทั้งท่ีอยู่ในรูปแบบของการเขียนชดุ คาสั่งโดยการพมิ พ์คาส่งั แตล่ ะคาสั่งโดยใชแ้ ปน้ พมิ พ์ เชน่ โปรแกรม
ภาษาไพธอน (Python) ภาษาจาวา (Java) ภาษาซี (C) หรือในรูปแบบบล็อคคาสง่ั โดยใช้วิธีการลาบล็อคคาส่งั ไปตอ่
ในส่วนท่ตี ้องการ เช่น Scratch, Blockly, Snap โดยในที่นีจ้ ะเลอื กใชโ้ ปรแกรมภาษาไพทอน (Python)

โปรแกรมภาษาไพทอน (Python) อยใู่ นอนั ดับต้น ๆ ของรายการเม่ือพดู ถึงภาษาโปรแกรม หนง่ึ ในหลาย

สาเหตุคอื การสนบั สนนุ ห้องสมดุ ทย่ี อดเยีย่ มในการสร้างแอปพลิเคชันระดบั โลก และภาษาไพทอนเป็นภาษาสครปิ ต์ ทาให้ใช้
เวลาในการเขียนและคอมไพล์ไม่มาก ทาใหเ้ หมาะกบั งานด้านการดแู ลระบบ (System administration) เป็นอย่างย่งิ มกี าร
สนับสนนุ ภาษาไพทอนโดยเป็นสว่ นหน่งึ ของระบบปฏบิ ตั กิ ารยูนกิ ซ,์ ลินกุ ซ์ และสามารถติดตง้ั ใหท้ างานเปน็ ภาษาสคริปต์
ของวนิ โดวส์ ผ่านระบบ Windows Script Host ไดอ้ ีกดว้ ย

จุดเดน่ ของภาษาไพทอน
ไวยากรณ์ที่เขียนอา่ นงา่ ยความเป็นภาษากาว (Glue Language) เหมาะที่จะใชเ้ ขยี นเพื่อประสานงานโปรแกรม
ทเ่ี ขียนในภาษาตา่ งกนั ได้ มีความปลอดภยั สงู เนอ่ื งจากภาษาไพทอนทางานอยูใ่ นดา้ น Server เปน็ หลกั
ไมต่ ้องเสียค่าใช้จา่ ยในการจัดซ้อื โปรแกรมตน้ ฉบับ

จุดด้อยของภาษาไพทอน
การาทางานของโปรแกรมผา่ นอนิ เทอรพ์ รีเตอรจ์ ะชา้ กวา่ การทางานจากโปรแกรมท่ีผา่ นการแปลโปรแกรม
เปน็ ภาษาเคร่ืองแลว้ เพราะอินเทอร์พรเี ตอร์จะตอ้ งแปลแตล่ ะคาสงั่ ในระหวา่ งการทางานวา่ จะตอ้ งทาอะไร
ในขน้ั ตอนต่อไป

61

การใชเ้ ทคโนโลยี IoT

คาชแ้ี จง ให้นักเรียนตอบคาถามท่กี าหนด

1. IoT หรอื Internet of Things (อินเทอรเ์ นต็ ของสรรพสิ่ง) หมายถงึ …….............................………………………………………
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
........................................................................................... .................................................................................... ...............
............................................................................................................................. ..................................................................
......................................................................................... .................................................................................... ..................
............................................................................................................................. ..................................................................
....................................................................................... .................................................................................... ....................
............................................................................................................................. ..................................................................
..................................................................................... .................................................................................... .....................

2. องค์ประกอบของเทคโนโลยี IoT ได้แก่ …….............................………………............................................………………………
......................................................................................... .................................................................................... ..................
............................................................................................................................. ..................................................................
....................................................................................... .................................................................................... ....................
............................................................................................................................. ..................................................................
..................................................................................... .................................................................................... ......................
........................................................................................ .................................................................................... ...................
............................................................................................................................. ..................................................................
...................................................................................... .................................................................................... .....................
............................................................................................................................. ..................................................................
...............................................................................................................................................................................................
....................................................................................... .................................................................................... ....................
............................................................................................................................. ..................................................................
..................................................................................... .................................................................................... ......................
............................................................................................................................. ..................................................................
................................................................................... .................................................................................... ........................

62

การพฒั นาแอปพลิเคชนั

คาชแี้ จง ให้นกั เรียนตอบคาถามทก่ี าหนด

จดุ เด่นและจุดด้อยของภาษาไพทอน มีดังน้ี

- จุดเด่นของภาษาไพทอน คือ ..............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................

- จดุ ด้อยของภาษาไพทอน คือ ………...............................………………………………………………………………………………………….
.................................................................................. .................................................................................... .........................
............................................................................................................................. ..................................................................
................................................................................ .................................................................................... ...........................
............................................................................................................................. ..................................................................
.............................................................................. ............................................................................................ .....................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................................................

63

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4

คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนเลอื กคาตอบท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดียว

1. หากระบบควบคุมแอรอ์ าคารแหง่ หนงึ่ ถูกออกแบบให้เช่อื มเข้าอินเทอรเ์ น็ตโดยอาศยั wifi เพือ่ ใหส้ ่งั งาน
การเปดิ -ปดิ แอร์ได้จากมือถือจากการส่ือสารดว้ ยอินเทอรเ์ น็ต ถอื วา่ เป็นลกั ษณะของเทคโนโลยี IoT หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. ไมใ่ ช่ เพราะ ต้องมีอุปกรณ์มากกวา่ หนึ่งอยา่ งที่เช่ือมเข้ากับระบบ wifi และอินเทอรเ์ นต็
ข. ใช่ เพราะ ระบบแอรเ์ ชอ่ื มกับสญั ญาณ wifi และอินเทอร์เนต็
ค. ใช่ เพราะ ระบบแอรเ์ ชอ่ื มกับอินเทอรเ์ น็ตและการส่ังงานจากมือถือได้
ง. ไม่ใช่ เพราะ ระบบการทางานของเทคโนโลยีตอ้ งเชื่อมกับอุปกรณ์ไฟฟา้ มากกว่าหน่ึงชนิด

2. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของเทคโนโลยี IoT

ก. Compiler ข. Dashboard

ค. Smart Device ง. Cloud Computing

3. หากกาลังพูดถงึ “แอปพลเิ คชน่ั ระบบและแอปพลิเคชนั ที่ตอบสนองต่อความต้องการผใู้ ช้”

แสดงวา่ ผ้พู ูดกาลงั พดู ถึงเร่ืองอะไร

ก. ประเภทของผังงาน ข. ประเภทของแอปพลเิ คชนั

ค. ขนั้ ตอนการเขียนของผังงาน ง. ขนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั

4. “Windows Android Linux” ข้อใดเก่ยี วข้องกบั ข้อความดังกล่าว

ก. แอปพลิเคชนั่ บราวเซอร์ ข. แอปพลิเคชั่นบรกิ าร

ค. แอปพลิเคชันเทคนิค ง. แอปพลเิ คชนั ระบบ

5. ขอ้ ใดคอื ขั้นตอนแรกของขั้นตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชั่น

ก. กาหนดปญั หา ข. วิเคราะหป์ ัญหา

ค. ศกึ ษาความเป็นไปได้ ง. วเิ คราะหค์ วาม

6. คาสง่ั print() จะใหผ้ ลลัพธ์การทางานอยา่ งไร

ก. แสดงผลบนเว็บไซต์ ข. แสดงผลบนหน้าจอ

ค. แสดงผลบนบราวเซอร์ ง. แสดงผลผา่ นเครื่องพิมพ์

64

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4

7. หากตอ้ งการให้โปรแกรมแสดงผลคาวา่ Monday ต้องกรอกเลขใดในโปรแกรม

ก. เลข 1 ข. เลข 2

ค. เลข 3 ง. เลข 4

8. หากตอ้ งการเปล่ียนโปรแกรมตอ่ ไปน้ใี ห้รบั คา่ เฉพาะจานวนเตม็ สามารถทาไดด้ ้วยวิธีใด

ก. บรรทัดท่ี 6 เป็น dollar = baht / rate (int)
ข. บรรทดั ที่ 4 และ 5 เปน็ rate = float(int(' ปอ้ นอตั ราแลกเปลยี่ นเงินบาทไทยต่อ 1 ดอลลาร์ : ')
rate = float(int('ป้อนจานวนเงนิ บาทไทย : ')
ค. บรรทดั ที่ 4 และ 5 เปน็ rate = int(input('ป้อนอัตราแลกเปลยี่ นเงินบาทไทยต่อ 1 ดอลลาร์ : ')
rate = int(input('ปอ้ นจานวนเงนิ บาทไทย : ')
ง. บรรทัดที่ 8 เป็น print('คานวณเป็นเงินดอลลารไ์ ด้ : %.f ดอลลาร์' % dollar)
9. หากต้องการตัวแปรเก็บขอ้ ความคาว่า Welcome to program และค่าตัวเลข 497 ข้อเขยี นคาสั่งได้ถกู ต้อง
ก. text = Welcome to program , x = 497
ข. text = Welcome to program ; x = "497"
ค. text = "Welcome to program" ; x = 497
ง. text = "Welcome to program" , x = "497"
10. ข้อใดจะให้ผลลัพธ์เปน็ การแสดงผลคาวา่ Application 3 รอบ
ก. ข.

ค. ง.

65

66

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (ม.ป.ป.). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนร้แู กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551.
(ม.ป.ท.) : (ม.ป.พ.).

ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารสานักงานปลดั กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ
นวตั กรรม. (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge-
base/article-pr/655-iot-กาลังจะเปลย่ี นโลก. (2563). สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี 9 กนั ยายน, (2564).

ครไู อที “การประเมินความน่าเช่อื ถือของขอ้ มลู ”. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://kru-it.com/
computing-science-p5/credibility/. (2563). สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กนั ยายน, (2564).

ทมี วชิ าการ อจท. (2564). แบบฝกึ หดั รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี(วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรฐิ ทศั น.์

ชนินทร เฉลมิ สขุ และอภิชาต คาปลวิ . (2564). แบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) ม.3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริฐทัศน.์

สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/know/
estat1_9.html. (2475). สบื ค้นเมื่อวันท่ี 1 กนั ยายน, (2564).

สุเมศ ชาแทน่ “การตรวจสอบความนา่ เช่ือถือของข้อมูล”. (ออนไลน์). เข้าถึงไดจ้ าก : https://sites.
google.com/ site/teacherreybanis1/ngan-xdirek-laea-khwam-samarth-phises/bth-thi-7-

kar-trwc-sxb-khwam-na-cheux-thux-khxng-khxmul. (2563). สืบค้นเม่อื วนั ที่ 5 กันยายน, (2564).
โอภาส เอ่ยี มสิรวิ งศ์. (2551). วทิ ยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : ซเี อ็ดยเู คชัน.

เริ่มต้นสอนเขียนโปรแกรมง่ายนิดเดยี ว. (ออนไลน์). สบื คน้ เม่อื วันที่ 19 พฤษภาคม, (2562). จาก
เว็บไซต์http://oho.ipst.ac.th/intro-to-programming.
Code.org. (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://Code.org. สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 19 พฤษภาคม, (2562).
Condonewb. (ออนไลน์). เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.condonewb.com/lifestyle/571/รวมอปุ กรณ์-
iot-ในบา้ น (2563). สบื ค้นเม่ือวันท่ี 9 กนั ยายน, (2564).
Imagineering Education สถาบันผู้พัฒนาหลกั สตู รวทิ ยาศาสตร์แบบ STEM และ Technology ตาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 2560. (ออนไลน)์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://imagineering.co.th/
digital-kids. สืบคน้ เม่อื วันท่ี 19 พฤษภาคม, (2562).
Pinterest. (ออนไลน์). เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://lh3googleusercontent.com. (2560). สืบค้นเมอื่ วนั ที่ 19
พฤษภาคม, (2562).
Pinterest. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://i.pinimg.com. (2560). สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 19 พฤษภาคม,
KRU ไวฒิชดุ ห้องเรยี นออนไลน์. (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก : https://wuttichaiteacher.online/archives
/1244. (2563). สบื ค้นเมอื่ วันที่ 5 กันยายน, (2564).

66


Click to View FlipBook Version