The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kru BIM, 2021-10-10 08:10:24

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ม.3

Keywords: วิทยาการคำนวณ

กิจกรรมการเรียนการสอน วชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 กล่มุ สาระการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด กิจกรรม เคร่อื งวดั ผล

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/2 รวบรวมข้อมลู หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 การจดั การข้อมลู 1. ตรวจคาตอบในใบกจิ กรรม

มาตรฐาน ว 4.2 ประมวลผลประเมินผล และสารสนเทศ 2. แบบสงั เกตการมสี ่วนร่วม

เข้าใจและใชแ้ นวคดิ นาเสนอข้อมูลและ เรือ่ งที่ 1 การรวบรวมข้อมลู ในการทากจิ กรรม

เชิงคานวณในการ สารสนเทศ ตาม 1. นกั เรียนทาเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความรู้การ

แก้ปัญหาที่พบในชวี ติ วตั ถปุ ระสงค์โดยใช้ จดั การข้อมลู และสารสนเทศ จากนน้ั ดู

จริงอย่างเปน็ ขั้นตอน ซอฟต์แวรห์ รอื บริการ วดี ีโอเกีย่ วกับการจัดการข้อมูลและ

และเป็นระบบ ใช้ บนอินเทอรเ์ น็ตที่ สารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลาย 2. นกั เรยี นทาใบกิจกรรมเรื่องการจดั การ

และการสื่อสารในการ ขอ้ มูลและสารสนเทศแลว้ สุ่มนักเรียน

เรียนรู้ การทางาน นาเสนอคาตอบ

และการแกป้ ญั หาได้ 3.นักเรียนรว่ มกันอภิปรายและสรปุ การ

อย่างมปี ระสิทธภิ าพ การจดั การข้อมลู และสารสนเทศการนาไป

รู้เทา่ ทนั และมี ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั

จริยธรรม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี ม.3/2 รวบรวมข้อมลู หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 การจัดการข้อมลู 1. ตรวจคาตอบในใบ

มาตรฐาน ว 4.2 ประมวลผลประเมินผล และสารสนเทศ กจิ กรรม

เข้าใจและใช้แนวคดิ นาเสนอข้อมูลและ เร่อื งท่ี 2 การประมวลผลข้อมลู 2. แบบสังเกตการมสี ่วนร่วม

เชิงคานวณในการ สารสนเทศ ตาม 1. นกั เรียนเขยี นแผนผงั ความคดิ ในการทากจิ กรรม

แก้ปญั หาท่ีพบในชีวิต วัตถปุ ระสงค์โดยใช้ กิจกรรมลงในกระดาษ A4 หัวขอ้ “การ

จรงิ อย่างเปน็ ขัน้ ตอน ซอฟต์แวร์หรือบริการ ประมวลผลข้อมลู ”

และเปน็ ระบบ ใช้ บนอนิ เทอร์เนต็ ที่ 2. นักเรยี นทาใบกิจกรรมเรื่องการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลาย ประมวลผลขอ้ มลู

และการสื่อสารในการ 3. นกั เรียนร่วมกันอภิปรายและสรปุ

เรียนรู้ การทางาน “การประมวลผลขอ้ มลู ”

และการแก้ปญั หาได้ โดยการนาเสนอหนา้ ช้ันเรยี นเปน็

อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รายบุคคล

รเู้ ทา่ ทนั และมี

จรยิ ธรรม

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/2 รวบรวมข้อมลู หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 การจดั การข้อมูล 1. ตรวจคาตอบในใบ

มาตรฐาน ว 4.2 ประมวลผลประเมินผล และสารสนเทศ กิจกรรม

เข้าใจและใช้แนวคิด นาเสนอข้อมลู และ เร่อื งที่ 3 การใช้ซอฟแวรใ์ นการจดั การ 2. แบบสงั เกตการมสี ว่ นร่วม

เชิงคานวณในการ สารสนเทศ ตาม ขอ้ มูลและสารสนเทศ ในการทากจิ กรรม

แกป้ ัญหาที่พบในชีวติ วัตถปุ ระสงค์โดยใช้ 1. นกั เรียนทาความเข้าใจเกยี่ วกบั ความรู้

จริงอยา่ งเปน็ ข้นั ตอน ซอฟต์แวร์หรอื บริการ การใชซ้ อฟแวรใ์ นการจัดการข้อมลู และ

และเป็นระบบ ใช้ บนอนิ เทอร์เนต็ ที่ สารสนเทศจากนน้ั ดูวีดโี อเกีย่ วกับการใช้

เทคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลาย ซอฟแวร์ในการจดั การข้อมลู และ

และการส่ือสารในการ สารสนเทศ

เรียนรู้ การทางาน 2. นักเรียนทาใบกจิ กรรมเรื่องการใช้
และการแก้ปัญหาได้ ซอฟแวร์ในการจดั การข้อมลู และ
อย่างมีประสิทธภิ าพ สารสนเทศแล้วสุ่มนักเรียนนาเสนอคาตอบ
รู้เทา่ ทัน และมี 3.นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายและสรปุ การใช้
จริยธรรม ซอฟแวรใ์ นการจัดการข้อมูลและ
สารสนเทศการนาไปประยุกต์ใช้ใน
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/3 ประเมินความ ชวี ิตประจาวนั
มาตรฐาน ว 4.2 นา่ เชื่อถือของข้อมูล
เข้าใจและใชแ้ นวคิด วเิ คราะห์ส่อื และผล หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความนา่ เชื่อถอื ของ 1. ตรวจคาตอบในใบ
เชงิ คานวณในการ กระทบจากการให้ ข้อมูล กิจกรรม
แก้ปัญหาที่พบในชวี ติ ข่าวสารทีผ่ ิด เพอื่ การ เรือ่ งที่ 1 การสบื คน้ เพอ่ื หาแหลง่ ข้อมลู 2. แบบสงั เกตการมสี ว่ นรว่ ม
จริงอยา่ งเป็นขัน้ ตอน ใช้งานอยา่ งร้เู ทา่ ทนั 1. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 -6 คน ในการทากจิ กรรม
และเปน็ ระบบ ใช้ จากนั้นใหน้ ักเรยี นเล่นเกมการสบื คน้ เพ่อื
เทคโนโลยีสารสนเทศ หาแหล่งข้อมลู (ตามจานวนกลมุ่ )
และการสื่อสารในการ 2. นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั เกม
เรยี นรู้ การทางาน เกมการสืบคน้ เพื่อหาแหล่งข้อมูลว่ามี
และการแกป้ ญั หาได้ วธิ ีการใดให้สาเร็จและรวดเร็วท่สี ุด
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. นกั เรยี นทาใบกิจกรรม เรอื่ ง การสบื ค้น
รู้เทา่ ทนั และมี เพื่อหาแหล่งข้อมลู โดยการลองผดิ ลองถกู
จรยิ ธรรม เพือ่ ใหส้ าเร็จ (ครูคอยให้คาแนะนาว่าควร
สาระที่ 4 เทคโนโลยี ม.3/3 ประเมนิ ความ เปลี่ยนวิธีเพ่อื ไปส่จู ุดหมายให้ท่ดี ที ่ีสุด)
มาตรฐาน ว 4.2 น่าเชื่อถอื ของข้อมูล
เข้าใจและใชแ้ นวคดิ วิเคราะหส์ ่ือและผล หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 ความน่าเชื่อถือของ 1. ตรวจคาตอบในใบ
เชงิ คานวณในการ กระทบจากการให้
แกป้ ญั หาที่พบในชวี ิต ข่าวสารทผี่ ดิ เพ่ือการ ขอ้ มลู กิจกรรม
จรงิ อย่างเปน็ ขนั้ ตอน ใช้งานอย่างรู้เท่าทนั
และเปน็ ระบบ ใช้ เร่อื งที่ 2 การประเมินความน่าเชื่อถือ 2. แบบสงั เกตการมีสว่ นรว่ ม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในการ ของข้อมูล ในการทากิจกรรม
เรยี นรู้ การทางาน
และการแก้ปญั หาได้ 1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มกลุม่ ละ 3 -6 คน
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ร้เู ท่าทนั และมี จากนนั้ ให้นักเรยี นเล่นเกมการประเมนิ
จริยธรรม
ความนา่ เช่ือถือของข้อมลู (ตามจานวนกลุ่ม)
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/3 ประเมนิ ความ
มาตรฐาน ว 4.2 นา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมูล 2. นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั เกม
เข้าใจและใชแ้ นวคดิ วิเคราะห์ส่ือและผล
เชิงคานวณในการ กระทบจากการให้ เกมการประเมินความนา่ เชือ่ ถือของข้อมูล

ว่ามวี ิธีการใดให้สาเรจ็ และรวดเร็วทส่ี ุด

3. นักเรยี นทาใบกจิ กรรมการประเมิน

ความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล พร้อมกับเฉลย

4. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายสรุปเก่ยี วกบั

ความรทู้ ไี่ ด้รบั จากกจิ กรรมการประเมนิ

ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มลู

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความน่าเชื่อถอื ของ 1. ตรวจคาตอบในใบ

ขอ้ มูล กจิ กรรม

เรื่องท่ี 3 การรู้เทา่ ทันสอื่ 2. แบบสังเกตการมีส่วนร่วม

ในการทากิจกรรม

แกป้ ัญหาที่พบในชีวติ ข่าวสารทีผ่ ดิ เพ่อื การ 1. นักเรยี นทาความเข้าใจเกี่ยวกบั ความรู้

จรงิ อยา่ งเป็นขน้ั ตอน ใช้งานอยา่ งร้เู ท่าทัน การรเู้ ทา่ ทันส่ือจากนั้นดวู ีดีโอเกีย่ วกบั การ

และเป็นระบบ ใช้ รู้เทา่ ทันสอ่ื

เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. นกั เรียนทาใบกจิ กรรมเร่ืองการรู้เทา่ ทนั

และการส่ือสารในการ สือ่ แลว้ สมุ่ นักเรียนนาเสนอคาตอบ

เรยี นรู้ การทางาน 3.นกั เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปการ

และการแก้ปญั หาได้ ร้เู ท่าทันสอ่ื และการนาไปประยุกต์ใช้ใน

อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ชีวิตประจาวนั

รเู้ ทา่ ทนั และมี

จริยธรรม

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/4 ใชเ้ ทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ตรวจคาตอบในใบ

มาตรฐาน ว 4.2 สารสนเทศอย่าง เร่อื งท่ี 1 การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ กิจกรรม

เข้าใจและใชแ้ นวคิด ปลอดภยั และมีความ 1. ครแู ละนกั เรยี นสนทนาซักถามกนั ใน 2. แบบสังเกตการมีสว่ นร่วม

เชงิ คานวณในการ รับผิดชอบตอ่ สงั คม ประเดน็ ดังน้ี ในการทากิจกรรม

แก้ปญั หาท่ีพบในชวี ิต ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย - นกั เรยี นเคยพบเห็นการใช้งานเทคโนโลยี

จริงอยา่ งเปน็ ขัน้ ตอน เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ สารสนเทศทีใ่ ดบ้าง

และเป็นระบบ ใช้ ใช้ลขิ สทิ ธิ์ของผู้อ่ืนโดย - เทคโนโลยีสารสนเทศท่นี กั เรียนเคยพบ

เทคโนโลยีสารสนเทศ ชอบธรรม เหน็ มีลักษณะอยา่ งไร

และการส่ือสารในการ - นักเรียนเคยใชค้ อมพิวเตอร์/แทบ็ เลต็

เรียนรู้ การทางาน หรือไม่ ใช้ทาอะไร

และการแก้ปญั หาได้ 2. นกั เรียนจบั คกู่ นั ทาใบกิจกรรม เรอื่ ง

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและ

รู้เทา่ ทัน และมี นักเรียนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอผลงานของ

จริยธรรม ตนเอง แลว้ นาคาตอบของท้ังหอ้ ง

มาจัดกลุ่ม และนาไปตดิ บอร์ดหน้าหอ้ ง

3. ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายสรปุ ร่วมกัน

เกี่ยวกับความรู้ทไี่ ดร้ ับจากการทากจิ กรรม

การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/4 ใช้เทคโนโลยี หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ตรวจคาตอบในใบ

มาตรฐาน ว 4.2 สารสนเทศอย่าง เร่อื งที่ 2 กฎหมายคอมพิวเตอร์ กิจกรรม

เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ ปลอดภยั และมีความ 1. นกั เรียนทาความเขา้ ใจเก่ยี วกับความรู้ 2. แบบสังเกตการมีส่วนร่วม

เชงิ คานวณในการ รับผดิ ชอบต่อสงั คม เร่ืองกฎหมายคอมพิวเตอร์จากน้ันดูวดี ีโอ ในการทากิจกรรม

แก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิต ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย เกย่ี วกบั กฎหมายคอมพวิ เตอร์

จริงอย่างเป็นข้นั ตอน เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ 2. นกั เรยี นทาใบกิจกรรมเร่ืองกฎหมาย

และเป็นระบบ ใช้ ใช้ลขิ สทิ ธข์ิ องผู้อ่ืนโดย คอมพิวเตอร์แลว้ สุ่มนกั เรียนนาเสนอ

เทคโนโลยีสารสนเทศ ชอบธรรม คาตอบหนา้ ช้นั เรียนเปน็ รายบคุ คล

และการสื่อสารในการ 3.นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรุป

เรยี นรู้ การทางาน เก่ยี วกับกับเรื่องกฎหมายคอมพวิ เตอร์

และการแก้ปัญหาได้ และการนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั

อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

ร้เู ทา่ ทัน และมี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 1. ตรวจคาตอบในใบ
จริยธรรมแกป้ ัญหาได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ เรื่องท่ี 3 ลิขสทิ ธ์ิ กจิ กรรม
รู้เท่าทัน และมี
จรยิ ธรรม 1. นักเรยี นทาความเข้าใจเก่ยี วกบั ความรู้ 2. แบบสังเกตการมีสว่ นร่วม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี ม.3/4 ใชเ้ ทคโนโลยี เรอื่ งลขิ สิทธิ์จากน้นั ดูวีดโี อเกี่ยวกบั เรอ่ื งของ ในการทากิจกรรม
มาตรฐาน ว 4.2 สารสนเทศอย่าง
เข้าใจและใช้แนวคดิ ปลอดภยั และมีความ ลิขสทิ ธ์ิและกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องเกีย่ วกับ
เชิงคานวณในการ รับผิดชอบต่อสังคม
แก้ปัญหาที่พบในชวี ติ ปฏิบัติตามกฎหมาย การละเมดิ ลิขสิทธ์ิ
จรงิ อย่างเป็นขนั้ ตอน เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์
และเป็นระบบ ใช้ ใชล้ ขิ สิทธข์ิ องผู้อืน่ โดย 2. นักเรียนทาใบกิจกรรมเรื่องของลิขสิทธ์ิ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ชอบธรรม
และการสื่อสารในการ และกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องเกย่ี วกบั การละเมิด
เรียนรู้ การทางาน
และการแกป้ ัญหาได้ ลขิ สทิ ธิ์แลว้ สมุ่ นกั เรียนนาเสนอคาตอบหนา้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ร้เู ท่าทัน และมี ชนั้ เรียนเป็นรายบุคคล
จรยิ ธรรมแกป้ ัญหาได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ 3.นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายและสรปุ เก่ียวกับ
รเู้ ท่าทัน และมี
จรยิ ธรรม กบั เรือ่ งเรื่องของลิขสทิ ธิ์และกฎหมายท่ี

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ม.3/1 พฒั นาแอป เก่ียวข้องเก่ยี วกับการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิและ
มาตรฐาน ว 4.2 พลเิ คชนั ทมี่ ีการบรู ณา
เข้าใจและใชแ้ นวคิด การกับวิชาอน่ื อย่าง การนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั
เชงิ คานวณในการ สร้างสรรค์
แก้ปญั หาที่พบในชวี ิต หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 แอปพิเคชัน 1. ตรวจคาตอบในใบ
จรงิ อย่างเป็นข้ันตอน
และเปน็ ระบบ ใช้ เรื่องท่ี 1 เทคโนโลยี IoT กิจกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในการ 1. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ ใหม่ กลุม่ ละ 3- 2. แบบสงั เกตการมีส่วนร่วม
เรียนรู้ การทางาน
และการแก้ปญั หาได้ 4 คน โดยไม่ให้มสี มาชิกในกลุม่ ซ้ากบั ในการทากจิ กรรม
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
รู้เทา่ ทัน และมี กจิ กรรมอนื่ จากนนั่ แจกใบกิจกรรม เรอ่ื ง
จรยิ ธรรม
การใช้เทคโนโลยี IoT

2. นักเรยี นดคู ลิปวีดโี อเรอ่ื ง การใช้

เทคโนโลยี IoT และข้นั ตอนการสร้าง

แอปพเิ คชันเบ้ืองตน้ บนเว็บไซต์ YouTube

3. ครแู ละนักเรยี นอภิปรายสรปุ ร่วมกนั

เก่ยี วกับความรู้ท่ไี ด้รับจากการทากิจกรรม

4. นักเรยี นทาใบกจิ กรรม เรอื่ งการใช้

เทคโนโลยี IoT และข้นั ตอนการสรา้ ง

แอปพิเคชนั เบ้ืองต้น

5. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายและสรุป

เกยี่ วกบั กบั เรื่องการใชเ้ ทคโนโลยี IoT

และขนั้ ตอนการสร้างแอปพิเคชนั เบ้ืองตน้

และการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั

สาระที่ 4 เทคโนโลยี ม.3/1 พัฒนาแอป หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 แอปพเิ คชนั 1. ตรวจคาตอบในใบ
มาตรฐาน ว 4.2 พลเิ คชนั ทม่ี ีการบูรณา เรือ่ งท่ี 2 การพฒั นาแอปพลเิ คชนั กจิ กรรม
เขา้ ใจและใชแ้ นวคิด การกับวิชาอื่นอย่าง 1. นกั เรียนทาใบกิจกรรมการพฒั นาแอป 2. แบบสงั เกตการมีส่วนร่วม
เชงิ คานวณในการ สรา้ งสรรค์ พลเิ คชัน ในการทากิจกรรม
แก้ปญั หาที่พบในชีวิต 2. นกั เรียนดคู ลปิ วดี โี อเรื่อง การพฒั นา
จริงอยา่ งเปน็ ข้ันตอน แอปพลิเคชนั บนเวบ็ ไซต์ YouTube
และเป็นระบบ ใช้ 3. นักเรียนทาใบกจิ กรรม Unit Test
เทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมกบั เฉลย
และการส่ือสารในการ 4. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั การพัฒนา
เรยี นรู้ การทางาน แอปพลเิ คชนั พร้อมท้ังให้ดูวีดีโอตัวอย่าง
และการแกป้ ญั หาได้ ใน YouTube ทเ่ี กี่ยวกบั การพัฒนาแอป
อย่างมปี ระสิทธิภาพ พลิเคชัน 1 เรือ่ ง
รู้เท่าทัน และมี
จริยธรรม

คานา

เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3 เลม่ นจี้ ดั ทำขน้ึ สำหรบั ใช้ประกอบ
กำรเรียนกำรสอนในชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 ซง่ึ ดำเนนิ กำรจดั ทำใหส้ อดคลอ้ งกบั มำตรฐำนกำรเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน
พทุ ธศักรำช 2551 ทุกประกำร

กิจกรรมภายในเล่ม อำศยั กระบวนกำรเรียนรโู้ ดยใชป้ ัญหำเป็นฐำน เพอ่ื เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดกำรเรียนรู้
จำกกำรฝกึ แกป้ ัญหำตำ่ ง ๆ ผ่ำนกระบวนกำรคิด กำรใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในกำรแกป้ ัญหำและลงมือปฏิบตั ิ
กิจกรรมอยำ่ งเป็นระบบ และสรำ้ งองคค์ วำมรู้ใหม่จำกกำรใช้ปญั หำทีเ่ กิดขึ้นในชีวิตจรงิ จนกระทั่งผ้เู รียนเกดิ
ควำมรคู้ วำมเข้ำใจและสำมำรถประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน

ในแต่ละหนว่ ย กำรจัดกำรเรียนร้แู บบ Active Learning โดยทีเ่ น้นใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏบิ ตั กิ ิจกรรม
ต่ำง ๆ ได้พฒั นำทกั ษะทุกด้ำนได้แก่ ทักษะกำรสำรวจคน้ หำ ทกั ษะกำรคิดเชิงคำนวณ กำรคดิ วิเครำะห์
ทกั ษะกำรแก้ปญั หำ ทักษะกำรตัดสนิ ใจเพื่อแก้ปัญหำที่พบในชีวิตประจำวัน และกำรเรียนรู้ทผี่ เู้ รยี นเปน็
ผู้สรำ้ งควำมร้ไู ด้ด้วยตนเอง โดยใช้คำถำมผำ่ นกระบวนกำรคิดขั้นพ้ืนฐำนและขัน้ สงู ซ่ึงกิจกรรมกำรเรียนร้เู ลม่
น้ี ใชก้ ระบวนกำร GPAS 5 Steps ท่ีกระตุ้นกำรทำงำนของสมองตำมหลกั Brain Based Learning เพ่ือหล่อ
หลอมกำรคิดทุกมติ ใิ ห้ผูเ้ รยี น และผ้เู รียนจะสำมำรถพัฒนำตนเองตำมควำมแตกตำ่ งของแต่ละบุคคลไดเ้ ต็ม
ศักยภำพ

ประภาพร วชิ ญศาสตรา

คาอธบิ ายรายวชิ า สารบัญ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ หน้า

เรอ่ื งที่ 1 การรวบรวมขอ้ มูล 1
เรื่องท่ี 2 การประมวลผลข้อมลู 1
เร่ืองท่ี 3 การใชซ้ อฟแวรใ์ นการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ 6
10
Activity 1.1 แยกประเภทข้อมลู 11
Activity 1.2 วธิ ีกำรเก็บข้อมูล 12
Activity 1.3 ลกั ษณะของกำรประมวลผลขอ้ มูล 13
Activity 1.4 กำรประมวลผลขอ้ มูล 14
Unit Test 15
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู 16
เรอื่ งที่ 1 การสืบค้นเพ่ือหาแหลง่ ข้อมลู 16
เรื่องที่ 2 การประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู 24
เรือ่ งท่ี 3 การรเู้ ท่าทันส่ือ 30
Activity 2.1 ประโยชนแ์ ละโทษของอินเตอร์เน็ต 35
Activity 2.2 เหตุผลวบิ ตั ิ (fallacy) 36
Activity 2.3 องคป์ ระกอบกำรรเู้ ทำ่ ทันสือ่ 36
Activity 2.4 ทกั ษะและเท่ำทันกำรใช้สื่อในยคุ ดจิ ิทลั 37
Unit Test 38
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ 40
เรื่องที่ 1 การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 40
เรือ่ งท่ี 2 กฎหมายคอมพิวเตอร์ 47
เรื่องที่ 3 ลิขสทิ ธ์ิ 48
Activity 3.1 กำรใชง้ ำนเทคโนโลยสี ำรสนเทศใหป้ ลอดภยั 50
Activity 3.2 กฎหมำยทีเ่ กย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ 51
Activity 3.3 ลิขสิทธ์ิ 51
Unit Test 52
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 แอปพลิเคชนั 54
เร่อื งท่ี 1 เทคโนโลยี IoT 54
Activity 4.1 กำรใช้เทคโนโลยี IoT 62
เรือ่ งที่ 2 การพฒั นาแอปพลเิ คชัน 59
Activity 4.2 กำรพฒั นำแอปพลิเคชนั 63
Unit Test 64

บรรณานุกรม 66

เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
คาอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศกึ ษาขน้ั ตอนการพัฒนาแอปพลิเคชนั Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพฒั นาแอปพลิเคชนั
ข้อมูลปฐมภมู ิและทตุ ิยภมู ิ การประมวลผลข้อมลู การสร้างทางเลือกและประเมินผล ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอนิ เทอร์เนต็ ที่
ใช้ในการจดั การขอ้ มูล การประเมนิ การความนา่ เชื่อถือของข้อมลู การสบื คน้ หาแหลง่ ตน้ ตอของข้อมูล เหตผุ ลวิวัติ ผลกระทบ
จากขา่ วสารท่ีผดิ พลาด การรู้เท่าทันสอ่ื กฎหมายทีเ่ ก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ การใช้ลขิ สทิ ธ์ิของผูอ้ ่นื โดยชอบธรรม

รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู หิ รือทตุ ิยภูมิ ประมวลผล สรา้ งทางเลือก และนาเสนอการตัดสินใจไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ออกแบบและเขยี นโปรแกรม เพ่อื พัฒนาแอปพลเิ คชันทม่ี ีการบรู ณาการกบั วิชาอ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ใชง้ านเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทนั และมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

ตวั ชว้ี ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)

ม.3/1 พฒั นาแอปพลเิ คชันที่มีการบรู ณาการกับวชิ าอื่นอย่างสรา้ งสรรค์
ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวตั ถุประสงคโ์ ดยใช้
ซอฟต์แวร์หรอื บริการบนอนิ เทอร์เน็ตท่หี ลากหลาย
ม.3/3 ประเมินความนา่ เช่อื ถือของข้อมลู วเิ คราะห์สือ่ และผลกระทบจากการให้ขา่ วสารท่ผี ดิ เพือ่ การใช้
งานอยา่ งรู้เท่าทัน

รวมท้ังหมด 4 ตวั ช้ีวดั

หน่วยการเรียนรู้ที่

การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ

ตัวช้ีวดั ว 4.2 ม.3/2 รวบรวมข้อมลู ประมวลผลประเมนิ ผล นำเสนอข้อมลู และสำรสนเทศ
ตำมวตั ถุประสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวรห์ รอื บริกำรบนอนิ เทอร์เน็ตทีห่ ลำกหลำย

1 การรวบรวมข้อมลู
การรวบรวมขอ้ มลู เป็นขัน้ ตอนหน่ึงของกระบวนการ ทางสถติ ิ ที่มคี วามสาคญั เพอ่ื ให้ได้มา
ซ่ึงข้อมูลที่ตอบสนองวัตถปุ ระสงค์ และสอดคลอ้ งกบั กรอบแนวความคิด สมมตุ ฐิ าน เทคนคิ การวดั
และการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ซง่ึ หมายรวมทั้ง การเก็บขอ้ มลู ( Data Collection) คอื การเกบ็ ข้อมลู
ข้ึนมาใหมแ่ ละการรวบรวมข้อมลู ( Data Compilation) ซ่งึ หมายถงึ การนาเอาขอ้ มูลต่างๆ
ทผี่ อู้ น่ื ได้เกบ็ ไวแ้ ล้ว หรือรายงานไวใ้ นเอกสารต่างๆมาทาการศกึ ษาวเิ คราะหต์ ่อ

1.1 ประเภทของข้อมลู
ข้อมลู (Data) หมำยถึง ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือเร่อื งรำวทเี่ ก่ียวข้องกับสิง่ ต่ำง ๆ เช่น คน สัตว์ สิ่งของ

สถำนท่ี ฯลฯ โดยอยูใ่ นรูปแบบที่ เหมำะสมตอ่ กำรสื่อสำร กำรแปลควำมหมำยและกำรประมวลผล
ซ่งึ ขอ้ มลู อำจจะไดม้ ำจำกกำรสงั เกต กำรรวบรวม กำรวดั ขอ้ มลู เป็นได้ท้งั ข้อมูลตัวเลขหรือสญั ลักษณใ์ ด ๆ
ทสี่ ำคญั จะต้องมีควำมเปน็ จรงิ และตอ่ เนอ่ื งตวั อยำ่ งของขอ้ มลู เช่น คะแนนสอบ ชอื่ นกั เรียน เพศ อำยุ
เปน็ ข้อเท็จจรงิ เก่ียวกบั ตัวแปรท่สี ำรวจโดยใชว้ ิธกี ำรวดั แบบใดแบบหนงึ่ โดยทัว่ ไปจำแนกตำมลกั ษณะของ
ข้อมลู ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ

1) ข้อมูลเชงิ ปริมาณ (Quantitative Data) คอื ขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ ตวั เลขหรอื นำมำให้รหัสเปน็ ตวั เลข
ซ่งึ สำมำรถนำไปใชว้ ิเครำะหท์ ำงสถิติได้

2) ข้อมลู เชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คอื ขอ้ มลู ท่ีไม่ใช่ตวั เลข ไม่ไดม้ ีกำรให้รหัสตัวเลขท่ี
จะนำไปวิเครำะห์ทำงสถติ ิ แตเ่ ปน็ ขอ้ ควำมหรอื ขอ้ สน

1

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

1.2 แหล่งทีม่ าของข้อมูล
ข้อมลู ปฐมภูมิ ( Primary Data) คือ ขอ้ มูลที่ผวู้ จิ ยั เกบ็ ขนึ้ มำใหมเ่ พ่ือ ตอบสนองวตั ถุประสงคก์ ำรวจิ ัยใน

เรือ่ งน้นั ๆ โดยเฉพำะ กำรเลือกใชข้ ้อมูลแบบปฐมภมู ิ ผวู้ ิจัยจะสำมำรถเลอื กเก็บข้อมลู ได้ตรงตำมควำมตอ้ งกำร
และสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคกำรวิเครำะห์ แตม่ ีข้อเสยี ตรงท่ีส้ินเปลืองเวลำ คำ่ ใช้จ่ำย และ
อำจมคี ณุ ภำพไม่ดพี อ หำกเกิดควำมผดิ พลำดในกำรเกบ็ ข้อมูลภำคสนำม วิธเี ก็บรวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิ กำร
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภูมิซึ่งอำจทำไดโ้ ดยกำรสำมะโนหรอื สำรวจสำมำรถทำได้หลำยวธิ ี แต่วิธีทีน่ ิยมใช้กนั ท่วั
ๆ ไปมี 5 วิธคี อื

(1) วิธีการสมั ภาษณจ์ ากผู้ให้คาตอบโดยตรง (Personal interview หรอื Face to face interview)
เป็นวธิ กี ำรทีส่ ่งเจ้ำหน้ำท่หี รือพนักงำนออกไปสัมภำษณ์ผู้ให้คำตอบ และบนั ทกึ คำตอบลงในแบบข้อถำม

วิธนี ี้นิยมใช้กันมำกในกำรทำสำมะโนและสำรวจ
โดยเฉพำะอยำ่ งยงิ่ กับสภำพกำรณ์ของประเทศไทย
เปน็ วิธกี ำรทจ่ี ะทำให้ไดข้ ้อมลู ที่ละเอียด พนกั งำน
สัมภำษณ์สำมำรถช้แี จงหรืออธบิ ำยให้ ผตู้ อบเขำ้ ใจใน
คำถำมได้ ทำใหไ้ ด้รบั คำตอบตรงตำมวัตถปุ ระสงค์
แต่กำรทีจ่ ะให้ได้คำตอบที่ดี กต็ อ้ งขนึ้ อยกู่ บั ปจั จัยอ่นื ๆ
เช่น วสิ ัยสำมำรถของผู้ตอบท่จี ะเข้ำใจคำถำม ควำม
ตั้งใจของผตู้ อบและควำมสจุ ริตใจทีจ่ ะให้คำตอบ
ควำมสำมำรถของพนักงำน ท่จี ะสมั ภำษณ์ได้อยำ่ ง
ละเอยี ดครบถ้วน และบันทกึ คำตอบอย่ำงถูกตอ้ ง
และทีส่ ำคญั ทสี่ ดุ คอื ควำม ซ่ือสัตย์สจุ รติ ของพนกั งำนสมั ภำษณท์ ีจ่ ะไม่กรอกขอ้ มลู เอง ซง่ึ ในทำงปฏบิ ัติก่อนท่ี
จะส่งเจ้ำหน้ำที่หรือพนกั งำนออกไปปฏบิ ตั ิงำน จะตอ้ งทำกำรอบรมชแ้ี จงให้เข้ำใจถงึ ข้นั ตอนกำรสมั ภำษณ์
ตลอดจนวัตถปุ ระสงค์ของโครงกำร คำจำกัดควำมหรอื ควำมหมำยของคำต่ำงๆ ท่ใี ช้ในแบบข้อถำม กำรกรอก
แบบข้อถำม ซึ่งรำยละเอียดตำ่ งๆ เหลำ่ นี้ ไดก้ ำหนดไว้ในคู่มอื กำรปฏิบตั ิงำนเก็บรวบรวมขอ้ มลู

(2) วธิ กี ารส่งแบบขอ้ ถามให้ผตู้ อบทางไปรษณีย์ (Mailed questionnaire)
เป็นวิธีท่ีส่งแบบขอ้ ถำม ให้ผู้ตอบทำงไปรษณีย์ และให้ผู้ตอบสง่ แบบ
ข้อถำมทีก่ รอกข้อมูลแล้วกลับคืนมำทำงไปรษณีย์เชน่ เดยี วกนั วธิ นี ้ีคลำ้ ย
กับกำรทอดแบบ แตต่ ่ำงกันตรงที่สง่ แบบทำงไปรษณีย์ เป็นวธิ กี ำรที่
เสียคำ่ ใช้จำ่ ยน้อยท่ีสุด เพรำะเสยี เพียงค่ำแสตมป์แทนค่ำใช้จ่ำยของ
พนกั งำนสนำม โดยเฉพำะในกรณีทีผ่ ู้ท่ีจะใหค้ ำตอบอยกู่ ระจดั กระจำย
กันมำก ซ่งึ ไมอ่ ยใู่ นวิสยั ท่ีจะสง่ พนกั งำนสนำมไปทำกำรสมั ภำษณไ์ ด้
ในกรณีท่ผี ูต้ อบเหน็ ควำมสำคัญของขอ้ มูล

2

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

1.2 แหล่งทมี่ าของข้อมลู
ขอ้ มูลที่ไดอ้ ำจมีคุณภำพดีกว่ำขอ้ มลู ท่ไี ด้จำกกำรสัมภำษณ์เพรำะผตู้ อบมีเวลำคิด ก่อนตอบ และไมต่ ้อง

ตอบภำยใตส้ ภำวกำรณเ์ รง่ รบี ของพนักงำนสมั ภำษณ์ แตว่ ิธนี ก้ี ็มขี อ้ เสยี ท่มี กั จะมีอัตรำกำรไมต่ อบ
(non-response rate) สงู วธิ ีนี้มีข้อจำกดั ในกำรใชค้ ือ
 แบบตอ้ งไม่ยำกและไมย่ ำวเกนิ ไป
 ใชใ้ นประเทศทม่ี บี รกิ ำรไปรษณีย์ดี
 ผู้ตอบต้องสำมำรถอำ่ นคำถำม และขอ้ สั่งชแ้ี จงไดเ้ ข้ำใจ
 ผู้ตอบต้องสำมำรถอ่ำนคำถำม และข้อสง่ั ชแ้ี จงไดเ้ ขำ้ ใจ
 ตอ้ งใช้เวลำคอยจนกวำ่ จะได้รบั แบบครบจำนวนทตี่ ้องกำร และบำงทีต้องมกี ำรทวงถำมหลำยครัง้
 ถ้ำคำตอบไมช่ ัดเจน ต้องเสยี เวลำถำมซำ้ โดยวธิ ีกำรอ่นื

(3) วิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ (Enumeration by telephone) เปน็ วธิ กี ำรที่อำจทำได้อย่ำง
รวดเรว็ และทุ่นค่ำใชจ้ ่ำย เพรำะไม่ตอ้ งเดนิ ทำง แต่มีขอบเขตจำกัด คอื ใชไ้ ด้
เฉพำะผทู้ ีม่ ีโทรศัพท์เท่ำน้ัน คำถำมทถ่ี ำมจะต้องส้ันและเขำ้ ใจงำ่ ย วิธนี จ้ี งึ ใช้ใน
กำรเก็บรวบรวมท่ีรำยกำรข้อถำมไมม่ ำกนัก ประมำณ 1 – 2 รำยกำร จึงมกั ใช้
รว่ มกบั วิธอี น่ื หรอื ใช้ในกำรทวงถำมใบแบบขอ้ ถำม หรือสอบถำมเพ่ิมเตมิ เมือ่
มขี ้อสงสัย เก่ียวกับคำตอบ หรอื ไมไ่ ดร้ ับคำตอบในบำงรำยกำร หรืออำจใชใ้ น
กำรตรวจสอบกำรทำงำนของพนักงำน

(4) วิธีการสงั เกตการณ์ (Observation) เปน็ วธิ ีเก็บขอ้ มลู โดยกำรสังเกตโดยตรงจำกปฏิกิริยำ
ทำ่ ทำง หรือเหตุกำรณห์ รือปรำกฏกำรณ์ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ในขณะใดขณะหนึ่ง และ
จดบนั ทึกไว้โดยไมม่ กี ำรสัมภำษณ์ วิธีน้ีใช้กันอย่ำงกวำ้ งขวำงในกำรวจิ ัย
เชน่ จะศึกษำดูปฏกิ ริ ิยำของผขู้ ับรถยนตบ์ นท้องถนนภำยใต้ สภำพกำรณ์
จรำจรต่ำง ๆ กนั กอ็ ำจจะส่งเจำ้ หน้ำท่ไี ปยนื สังเกตกำรณ์ได้ กำรสังเกต
จำนวนลกู คำ้ และบนั ทกึ ปริมำณกำรขำยของสถำนประกอบกำร โดย
พนกั งำนเก็บภำษีของกรมสรรพำกร เพรำะกำรไปสัมภำษณผ์ ปู้ ระกอบกำร

ถึงปริมำณกำรขำย ยอ่ มไม่ได้ขอ้ มลู ทแ่ี ทจ้ รงิ

(5) วธิ ีการทดลอง (Experimental Method) เป็นวิธีกำรเก็บข้อมูลโดยมกี ลุม่ เปรยี บเทยี บ 2 กลมุ่
กลมุ่ หนึง่ เป็นกลมุ่ ทดลอง อีกกล่มุ หนงึ่ เป็นกลมุ่ ควบคมุ กล่มุ ควบคมุ คอื กลมุ่ ท่ีสำมำรถควบคุมปัจจัยอื่นๆ
ทไ่ี ม่ไดต้ อ้ งกำรจะศกึ ษำให้ คงท่ี ส่วนกลุ่มทดลอง คือ กลมุ่ ท่ไี มส่ ำมำรถ
ควบคุมปัจจัยอนื่ ๆ ท่ีไมไ่ ด้ต้องกำรจะศกึ ษำให้คงทไ่ี ด้ ตอ้ งปล่อยให้
เป็นไปตำมสภำวะของเหตุกำรณ์จริง เมอื่ ไดผ้ ลของกำรทดลองแล้วจะทำ
กำรเปรียบเทยี บ ถึงคุณสมบัตขิ องสงิ่ ทจี่ ะศกึ ษำทดลองวำ่ เปน็ อย่ำงไร
กำรเกบ็ ข้อมูลโดยกำรทดลอง เหมำะสำหรบั ใชก้ ับกำรศกึ ษำเพอื่
แก้ไขปญั หำหน่ึงที่สำมำรถควบคุมปจั จยั หรือตวั แปรอ่นื ๆ ใหค้ งท่ี

3

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

1.2 แหล่งทมี่ าของขอ้ มูล

ข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ (Secondary Data) คือ ข้อมลู ต่ำงๆ ทม่ี ีผเู้ ก็บหรอื รวบรวมไวก้ อ่ นแล้ว เพียงแตน่ ักวจิ ยั นำ
ข้อมูลเหลำ่ น้นั มำศึกษำใหม่ เชน่ ข้อมลู สำมะโนประชำกร สถิติจำกหนว่ ยงำน และเอกสำรทุกประเภท ชว่ ยใหผ้ ้วู ิจัย
ประหยัดคำ่ ใชจ้ ำ่ ย ไมต่ ้องเสยี เวลำกับกำรเก็บข้อมูลใหม่ และสำมำรถศึกษำย้อนหลังได้ ทำให้ทรำบถงึ กำร
เปลยี่ นแปลงและแนวโนม้ กำรเปลีย่ นแปลงของปรำกฏกำรณ์ท่ศี กึ ษำ แตจ่ ะมีข้อจำกัดในเร่อื งควำมครบถว้ นสมบูรณ์
เนอื่ งจำกบำงคร้งั ขอ้ มูลท่ีมีอยูแ่ ล้วไมต่ รงตำมวตั ถุประสงคข์ องเรอื่ งทีผ่ ู้วจิ ยั ศกึ ษำ และปญั หำเรือ่ งควำม นำ่ เชอ่ื ถือของ
ขอ้ มูล ก่อนจะนำไปใช้จึงต้องมีกำรปรบั ปรงุ แก้ไขข้อมลู และเก็บข้อมลู เพ่ิมเตมิ จำกแหล่งอน่ื ในบำงสว่ นที่ไมส่ มบูรณว์ ิธี
เก็บรวบรวมขอ้ มลู ทุติยภมู ิ ซึง่ ส่วนใหญ่มกั จะอยใู่ นหนงั สือ รำยงำน บทควำมหรอื เอกสำรตำ่ ง ๆ ควรดำเนนิ กำร
ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) พิจำรณำตัวบคุ คลผู้เขียนรำยงำน บทควำม หรือเอกสำรเหลำ่ นน้ั เสยี ก่อนว่ำเปน็ ผมู้ ีควำมรูแ้ ละมีควำม
เช่ียวชำญในเร่ืองทเี่ ขยี นถงึ ขัน้ พอทจ่ี ะเชือ่ ถือได้หรือไม่ กำรเขยี นอำศัยเหตุผลและหลักวิชำกำรมำกนอ้ ยเพียงใด ขอ้ มลู
ทีจ่ ะนำมำใชซ้ ง่ึ รวบรวมจำกรำยงำน บทควำม หรอื เอกสำรดังกล่ำวควรใช้ขอ้ มูลทผ่ี ู้เขยี นเก็บรวบรวมมำเองโดยตรง

(2) ถ้ำข้อมลู ที่ตอ้ งกำรเกบ็ รวบรวมสำมำรถหำไดจ้ ำกหลำย ๆ แหล่ง ควรเกบ็ รวบรวมมำจำกหลำย ๆ แหลง่
เพือ่ ใช้ในกำรเปรยี บเทยี บวำ่ ขอ้ มลู ทตี่ ้องกำรมคี วำมผดิ พลำดเนอื่ งจำกกำรลอกผิด พมิ พผ์ ดิ หรอื เขำ้ ใจผิดบำ้ งหรือไม่

(3) พจิ ำรณำจำกลกั ษณะของข้อมลู ทต่ี อ้ งกำรเกบ็ รวบรวมวำ่ เป็นข้อมูลทเี่ ป็นข้อควำมจรงิ ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ำก
ทะเบียน ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ควำมคดิ เหน็ หรอื เจตคติ ขอ้ มูลประเภทควำมลับ หรอื ขอ้ มูลซ่งึ ผูต้ อบอำจตอ้ งเสียประโยชน์จำก
กำรตอบ ถ้ำเป็นขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ขอ้ ควำมจริง ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จำกทะเบยี นหรือขอ้ มลู ที่เปน็ ควำมคดิ เหน็ หรือเจตคติส่วนใหญ่
มักจะมคี วำมถกู ต้องเชื่อถือไดส้ ูง แตถ่ ้ำเปน็ ขอ้ มูลประเภทควำมลบั หรือขอ้ มูลซงึ่ ผู้ตอบอำจตอ้ งเสยี ประโยชนจ์ ำกกำร
ตอบ ส่วนใหญม่ ักจะมีควำมถูกต้องเช่อื ถอื ไดน้ อ้ ย

4

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

1.2 แหลง่ ทีม่ าของข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิทาได้ 2 วธิ ี

คอื การสามะโน ( census ) และการสารวจจากกล่มุ ตัวอย่าง ( sample survey )

1. การสามะโน (census) คือ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู จำกทุก ๆ หน่วยของประชำกรหรือสงิ่ ทเี่ รำตอ้ งกำรศกึ ษำ
ซึง่ กำรเกบ็ ขอ้ มูลในลกั ษณะนี้ทำให้เสียเวลำและค่ำใชจ้ ่ำยในกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู มำก กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
โดยวธิ นี ี้จงึ ไมค่ ่อยนยิ มใช้ในทำงปฏบิ ตั ิ ยกเว้นกรณีท่ปี ระชำกรมขี นำดเล็กหรือมขี อบเขตไม่กว้ำงขวำงมำกนกั

2. การสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง (sample survey) คือ กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จำกบำงหนว่ ยทีเ่ ลอื กมำเป็น
ตัวแทนจำกทุก ๆ หน่วยของประชำกรหรือสิ่งทีเ่ รำต้องกำรศกึ ษำเทำ่ น้นั เนือ่ งจำกกำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู จำกทุก
หนว่ ยของประชำกร อำจทำให้เสียเวลำและค่ำใชจ้ ่ำยโดยไมจ่ ำเปน็ เพรำะสง่ิ ที่ต้องกำรศึกษำอำจจะมีบำงกลมุ่ ที่มี
ลักษณะท่ีต้องกำรศึกษำอยเู่ หมือน ๆ กัน หรอื ใกล้เคยี งกันมำก กำรเลือกตัวอยำ่ งหรือตวั แทนของแตล่ ะกล่มุ มำ
ทำกำรศกึ ษำก็เปน็ กำรเพยี งพอทจี่ ะทำให้สำมำรถประมำณคำ่ ของส่ิงทเี่ รำตอ้ งกำรศึกษำทง้ั หมดได้ เชน่ กำร

สำรวจรำคำเฉลยี่ ของสนิ คำ้ ชนดิ หนงึ่ ทม่ี ีขนำดบรรจใุ กล้เคียงกนั จำกรำ้ นค้ำปลกี ทว่ั ประเทศ รำคำมักจะใกลเ้ คียงกนั ด้วย

ดงั น้นั เรำอำจเลอื กร้ำนคำ้ ปลกี เพียงบำงร้ำนมำเปน็ ตัวแทนของร้ำนคำ้ ปลีกทง้ั หมดได้ แต่จำนวนรำ้ นคำ้
ปลีกที่เลอื กมำเป็นตวั แทนจะมจี ำนวนมำกหรือนอ้ ยเพยี งใดข้นึ อยู่กับควำมตอ้ งกำรของผูเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู ว่ำ
ตอ้ งกำรให้รำคำเฉล่ียของรำคำสินคำ้ ชนิดนัน้ ทีห่ ำได้จำกรำคำสนิ คำ้ ในรำ้ นคำ้ ตวั อย่ำงท่เี ลอื กข้นึ มำเพือ่ เก็บ
รวบรวมขอ้ มลู น้ใี กล้เคียงกบั ค่ำท่ีควรเป็นจรงิ ซึง่ ได้จำกกำรเก็บรวบรวมข้อมูลจำกรำ้ ยค้ำปลีกทุก ๆ รำ้ นมำกนอ้ ย
เพียงใด ถำ้ ต้องกำรให้ไดผ้ ลใกล้เคียงมำกก็ควรเลอื กตวั อย่ำงรำ้ นคำ้ ปลกี มำเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นจำนวนมำก

รปู แบบกำรเก็บข้อมลู ทตุ ยิ ภูมิ (secondary data collection)

5

2 การประมวลผลขอ้ มูล หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ

1เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3
การประมวลผลข้อมลู (Data Processing) การประมวลผลข้อมลู ที่เก็บรวบรวมไดม้ า
ผา่ นกระบวนการตา่ งๆ เพื่อแปรสภาพข้อมลู ใหอ้ ยใู่ นรูปแบบท่ตี ้องการเรยี กวา่ ขอ้ สนเทศ
หรอื สารสนเทศ (Information) วิธกี ารประมวลผลข้อมลู อาจจาแนกได้ 3 วธิ ี โดยจาแนก
ตามอุปกรณท์ ใี่ ช้ในการประมวลผล ได้แก่

2.1 การประมวลผลดว้ ยมอื (Manual Data Processing)

เปน็ วธิ กี ำรที่ใชม้ ำต้ังแต่อดีตโดยใช้อุปกรณ์ง่ำย ๆ สำมำรถจำแนกตำมอปุ กรณ์ทใ่ี ชไ้ ดเ้ ป็น 3 ประกำรคอื
– อปุ กรณ์ทอ่ี ำนวยควำมสะดวกในกำรเกบ็ รกั ษำ และคน้ หำข้อมูล ได้แก่ บตั รแขง็ แฟม้ ตู้เกบ็ เอกสำร
– อปุ กรณ์ทีช่ ว่ ยในกำรนับและคิดคำนวณเปน็ อุปกรณ์ท่งี ่ำยต่อกำรใช้ ไดแ้ ก่ ลกู คดิ เคร่อื งคิดเลข เป็นต้น
– อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในกำรคัดลอกข้อมูล ได้แก่ กระดำษ ปำกกำ ดนิ สอ เครอ่ื งอัดสำเนำ เป็นต้น
กำรประมวลผลแบบน้ีเหมำะกบั ธรุ กจิ ขนำดเลก็ ทีม่ ีข้อมูลปรมิ ำณไมม่ ำกนัก และกำรคำนวณไมย่ งุ่ ยำกซบั ซ้อน

2.2 การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเคร่ืองจักรกล (Mechanical Data Processing)

เปน็ ววิ ฒั นำกำรมำจำกกำรประมวลผลด้วยมอื แต่ยงั ต้องอำศยั แรงคนบำ้ ง เพ่ือทำงำนร่วมกบั เครื่องจักรกล
ในกำรประมวลผลทำงธุรกิจ เครอ่ื งทีใ่ ช้กนั มำกที่สดุ คอื เคร่อื งทำบัญชี (Accounting Machine) และเครอ่ื ง
ที่ใชใ้ นกำรประมวลผลทั่วไปเป็นเครอื่ งกึ่งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรียกวำ่ เครอ่ื ง Unit Record

2.3 การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยเคร่อื งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (EDP : Electronic Data Processing)

หมำยถึงกำรประมวลผลดว้ ยเครอื่ งคอมพิวเตอร์ นัน้ เอง ลกั ษณะงำนทเ่ี หมำะสมต่อกำรประมวลผลด้วย
เคร่อื งคอมพิวเตอร์ คอื

– งำนท่มี ีปริมำณมำก ๆ
– ต้องกำรควำมถูกตอ้ งรวดเรว็
– มขี ั้นตอนในกำรทำงำนซ้ำ ๆ กัน เช่น งำนบญั ชี งำนกำรเงิน งำนทะเบียนประวตั ิและงำนสถิติ เปน็ ต้น
– มกี ำรคำนวณทีย่ งุ่ ยำกและสลับซับซอ้ น เช่น งำนวิจยั และวำงแผน งำนด้ำนวิศวกรรมศำสตร์ เป็นตน้

6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 ขั้นตอน ดงั นี้

ขัน้ เตรยี มขอ้ มลู (Input)

เป็นกำรจัดเตรียมขอ้ มลู ทร่ี วบรวมมำแลว้ ให้อยู่ในลกั ษณะทีส่ ะดวกต่อกำรประมวลผลแบ่งเปน็ ขัน้ ตอน
ย่อย ๆ ดังน้ี

ก. กำรลงรหัส(Coding) คือ กำรใช้รหสั แทนข้อมูลจริง ทำใหข้ อ้ มลู อยู่ในรปู แบบทีส่ ะดวกแก่กำรประมวลผล ทำใหร้ ะหยดั
เวลำและเน้อื ทร่ี หัสอำจเปน็ ตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได้เช่นข้อมลู เก่ียวกบั เพศ หร้ หสั 1 แทนเพศชำย รหัส2 แทนเพศหญิง เป็นต้น

ข. กำรตรวจสอบแก้ไขข้อมลู (Editing) เป็นกำรตรวจสอบควำมถูกต้องและควำมเปน็ ไปไดข้ องข้อมูล และปรบั ปรุงแก้ไข
เทำ่ ทจ่ี ะทำไดห้ รือคดั ข้อมลู ท่ีไมต่ อ้ งกำรออกไปเชน่ คำตอบบำงคำตอบขดั แย้งกันกอ็ ำจดูคำตอบจำกคำถำมข้ออื่นๆประกอบ
แลว้ แกไ้ ขตำมควำมเหมำะสม

ค. กำรแยกประเภทข้อมูล (Classifying) คอื กำรแยกประเภทข้อมูลออกตำมลกั ษณะงำนเพ่ือ สะดวกในกำรประมวลผล
ตอ่ ไป เชน่ แยกตำมคณะวชิ ำ แยกตำมเพศ แยกตำมอำยุ เป็นตน้

ง. กำรบนั ทกึ ข้อมลู ลงส่ือ (Media) ที่เหมำะสม หมำยถึง กำรจดั เตรียมขอ้ มูลให้อยู่ในสอ่ื หรืออุปกรณ์ทีอ่ ยู่ในรูปทเ่ี ครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์สำมำรถเขำ้ ใจ และนำไปประมวลได้ เช่น บนั ทกึ ข้อมลู ลงในจำนแม่เหล็ก หรอื เทปแม่เหลก็ เพ่ือนำไปประมวลผล
ด้วยเครอื่ งคอมพิวเตอรต์ ่อไป

2. ขนั้ ตอนการประมวลผล (Processing)

เปน็ วิธีกำรจดั กำรกบั ขอ้ มูล โดยนำขอ้ มูลทีเ่ ตรียมไว้แล้วเข้ำเครือ่ ง แตก่ ่อนท่เี ครอื่ งจะทำงำนต้องมีโปรแกรมสง่ั งำน ซงึ่
โปรแกรมเมอร์ (Processing) เป็นผู้เขียน เคร่ืองคอมพิวเตอรจ์ ะทำกำรประมวลผลจนกระท่ังไดผ้ ลลัพธอ์ อกมำและยงั คงเกบ็ ไว้
ในเครือ่ งข้ันตอนต่ำง ๆ อำจเปน็ ดังนี้

ก. กำรคำนวณ (Calculation) ได้แก่ กำรคำนวณทำงคณิตศำสตร์ เช่น กำรบวก ลบ คณู หำร และทำงตรรกศำสตร์
เชน่ กำรเปรยี บเทยี บค่ำต่ำง ๆ

ข. กำรเรยี งลำดับข้อมลู (Sorting) เช่นเรยี งข้อมลู จำกน้อยไปมำกหรอื มำกไปน้อยหรือเรยี งตำมตวั อักษร A ถึง Zเปน็ ตน้
ค. กำรดงึ ข้อมลู มำใช(้ Retrieving) เปน็ กำรคน้ หำข้อมลู ท่ตี ้องกำรเพื่อนำมำใช้งำน เช่น ต้องกำรทรำบยอดหนีข้ องลูกค้ำ
คนหนง่ึ หรอื ต้องกำรทรำบยอดขำยของพนักงำนคนหนง่ึ เป็นตน้
ง. กำรรวมข้อมูล (Merging) เป็นกำรนำข้อมลู ตง้ั แต่ 2 ชดุ ข้นึ ไปมำรวมเปน็ ชดุ เดียวกัน เช่นกำรนำเอำเงินเดอื น
พนักงำน รวมกับเงนิ ค่ำล่วงเวลำ จะได้เปน็ เงนิ ทต่ี ้องจ่ำยให้แกพ่ นักงำน
จ. กำรสรุป (Summarizing) เปน็ กำรรวบรวมขอ้ มูลท่มี ีอยู่ท้ังหมดให้อยู่ในรูปแบบสน้ั ๆ กะทัดรดั ตำมต้องกำร เช่น
กำรสรุปรำยรับรำยจ่ำย หรือ กำไรขำดทุน
ฉ. กำรสรำ้ งข้อมลู ชดุ ใหม่ (Reproducing) เป็นกำรสรำ้ งขอ้ มลู ชุดใหม่ข้นึ มำจำกข้อมลู เดิม
ช. กำรปรับปรุงขอ้ มูล (Updating) คอื กำรเพ่ิมข้อมูล (Add) กำรลบข้อมลู (Delete) และกำรเปลยี่ นค่ำ (change)
ข้อมูลที่มอี ยู่ให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ

7

3. ข้นั ตอนการแสดงผลลัพธ์ (Output) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

เป็นงำนที่ได้หลงั จำกผ่ำนกำรประมวลผลแล้วเป็นขน้ั ตอนในกำรแปลผลลัพธท์ ่ีเก็บอยู่ในเครื่อง ให้ออกมำอยใู่ นรปู ที่
สำมำรถเขำ้ ใจงำ่ ยไดแ้ ก่ กำรนำเสนอในรูปแบบรำยงำน เช่น แสดงผลสรปุ ตำรำงรำยงำนกำรบัญชี รำยงำนทำงสถติ ิ รำยงำน
กำรวเิ ครำะหต์ ่ำง ๆ หรอื อำจแสดงด้วยกรำฟ เช่น แผนภมู ิ หรอื รปู ภำพสรุปข้นั ตอนกำรประมวลผลดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

วธิ ีการประมวลผลด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ กำรใชเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์ในกำรประมวลผล แบ่งออกเปน็ 2 วธิ ี คอื

1. การประมวลผลแบบแบทซ์ (Batch Processing) คือกำรประมวลผลโดยกำรรวบรวมข้อมูลไวช้ ่วงเวลำหน่งึ
กอ่ นทจี่ ะนำขอ้ มูลเข้ำเคร่ือง เพอื่ ประมวลผลในครำวเดี่ยวกัน เช่น กำรทำบัญชีจำ่ ยเงนิ เดือนพนักงำนทุกสิ้นเดือน ระบบกำรคิด
ดอกเบ้ยี ธนำคำร ซ่งึ ต้องใชร้ ะยะเวลำรวมสะสม 3 เดอื น 6 เดือน หรือ 1 ปี หรอื ระบบกำรเรยี นกำรสอน กำรบนั ทกึ เกรดของ
นักศกึ ษำในแต่ละเทอมจนเทอมสดุ ท้ำยจึงพมิ พ์ใบรับรองเกรด ดงั นัน้ กำรประมวลผลข้อมูลโดยใชร้ ะยะเวลำในกำรสะสมขอ้ มลู
อยูร่ ะยะหน่ึงก่อน แลว้ จึงนำมำประมวลผลพร้อมกันและในกำรทำงำนจะไม่มีกำรโตต้ อบระหว่ำงผใู้ ชก้ ับเครื่องคอมพวิ เตอร์
ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์ทใี่ ช้ในกำรประมวลผลแบบนีเ้ รยี กว่ำ ระบบออฟไลน์ (Off-Line System)

ระบบออฟไลน์ (Off-Line System) เป็นระบบทีท่ ำงำนในลกั ษณะเตรยี มกำรในกำรประมวลผลข้นั ต่อไป

โดยใชอ้ ปุ กรณ์ประเภท Input/output Unit อปุ กรณ์เหลำ่ น้ีไม่อยภู่ ำยใต้กำรควบคมุ ของหนว่ ยประมวลผลกลำง
(CPU : Central Processing Unit) เช่น เคร่อื งบนั ทึกเทป (Key to tape) เคร่ืองบนั ทึกจำนแมเ่ หล็ก (Key to disk) เครื่อง
เจำะบัตร (Key Punch Machine)

โดยการประมวลผลแบบอินเทอรแ์ อคทฟี ที่พบเห็นไดใ้ นปจั จบุ ันมี 2 ประเภท ดงั นี้

2.1 การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-Line Processing System) กำรประมวลผลแบบน้เี ปน็ กำรรบั ข้อมลู

เขำ้ สูค่ อมพวิ เตอร์แลว้ ทำกำรประมวลผลทนั ที ไมต่ ้องรอรวบรวมสะสมข้อมลู โดยกำรประมวลผลแบบนี้ กำรปอ้ นข้อมูลเขำ้

เครอ่ื งคอมพิวเตอร์สำมำรถป้อนจำกทใ่ี ดกไ็ ด้ทม่ี ีอปุ กรณ์ติดต่อกบั หน่วยประมวลลกลำง (CPU) โดยตรง เช่น กำรฝำก - ถอน

เงินผำ่ นทำง ATM

ข้อดี ไดข้ ้อมูลทันสมัย เหมำะกบั งำนที่ต้องกำรควำมรวดเร็วในกำรตัดสินใจ

ขอ้ เสีย ต้องใชค้ ่ำใช้จำ่ ยสูง ในกำรติดต้ัง จดั หำ วัสดุ อุปกรณ์

2.2 การประมวลผลแบบทนั ที (real-time processing) คือ กำรประมวลผลขอ้ มลู จำกสถำนทจี่ ริงจำกเวลำ
และเหตุกำรณจ์ รงิ โดยปกติแลว้ จะทำควบคู่กับแบบ On-line processing (On-line processing ก็คือกำรทำงำนแบบ
ตอบสนองหรือให้ Output แบบทันทีทนั ใด) ซ่ึงบำงคร้ังจะเรยี กว่ำ "on-line real-time" กำรประมวลผลแบบทนั ที (real-
time processing) นี้มีจุดประสงค์เพ่อื นำ Output ท่ีไดไ้ ปใชใ้ นกำรตัดสนิ ใจแกป้ ัญหำ และดำเนนิ กำรต่ำง ๆ ได้ทันท่วงที หรอื
ทันกำล ตวั อย่ำงเช่น กำรนำคอมพวิ เตอรม์ ำต่อเชื่อมกับเคร่ืองตรวจจบั ป้องกันไฟไหม้ (โดยกำหนดว่ำถำ้ มีควนั มำกและอุณหภมู ิ
สูงผิดปกตถิ ือว่ำเกดิ ไฟไหม)้ ซึ่งคอมพิวเตอรจ์ ะต้องนำขอ้ มูล (จำกสถำนท่เี หตุกำรณ์และเวลำจริง) มำประมวลผลอยำ่ งต่อเนือ่ ง
ตลอดเวลำ และถ้ำประมวลผลแล้วพบว่ำไฟไหม้ คอมพวิ เตอร์กจ็ ะส่งั ให้น้ำยำดบั เพลิงที่ติดต้ังไว้ทำงำน (ตอบสนองทนั ท)ี กำรท่ี
คอมพวิ เตอร์ฉดี ทนั ทเี รำอำจกล่ำวไดว้ ่ำเป็นผลจำกกำรทำงำนแบบ On-line นัน่ เอง

8

กรรมวธิ ใี นการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

1. การคานวณ (calculation) เปน็ กำรนำข้อมลู ทเี่ ปน็ ตวั เลขท่ีสำมำรถคำนวณได้ มำผ่ำนกระบวนกำรทำง
คณิตศำสตร์ เชน่ กำรบวก ลบ คูณ หำร หำค่ำเฉลีย่ กำรประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบกำรคำนวณ เช่น กำรคำนวณ
ผลกำรศกึ ษำของนกั เรียน กำรคำนวณภำษเี งินได้ กำรคำนวณดอกเบีย้ เงินฝำกธนำคำร

2. การจดั เรียงข้อมูล (Sorting) เปน็ กำรเรยี งข้อมูลตำมเงือ่ นไขทกี่ ำหนด เช่น กำรจัดเรียงขอ้ มลู ตวั เลข 1 ถงึ 100 กำร
เรียงจำกนอ้ ยไปมำก หรือกำรจัดเรียงตวั อกั ษร จำกตัวแรกถงึ ตัวสุดท้ำย ซงึ่ กำรเรยี งข้อมูลจะทำใหข้ ้อมูลเหลำ่ นัน้ สำมำรถนำไปใช้
ประโยชนไ์ ด้งำ่ ยขน้ึ เชน่ กำรเรียงคะแนนสอบจำกมำกไปนอ้ ย กำรเรียงชือ่ ของนกั เรียนตำมตัวอักษรภำษำไทย จำก ก ถึง ฮ

3. การจดั กลุ่มข้อมลู (Classifying) เปน็ กำรจัดกำรขอ้ มลู โดยกำรแยกออกเป็นกลุ่ม ประเภทหรอื ตำมเงื่อนไขที่กำหนด
เช่น กำรจัดกล่มุ นักเรียนตำมเพศ กำรจดั กลุ่มขอ้ มลู ภำพตำมวนั ทีถ่ ่ำยภำพ ซึง่ กำรจดั กลุ่มขอ้ มลู จะทำให้กำรคน้ หำขอ้ มูลไดง้ ่ำยข้ึน

4. การสบื ค้นขอ้ มลู (Retrieving) เปน็ กำรค้นหำและนำข้อมูลที่ต้องกำรจำกแหลง่ เก็บข้อมลู เพื่อนำไปใชป้ ระโยชน์
เช่น กำรสืบค้นข้อมูลนกั เรยี นจำกรหัสประจำตัวนักเรยี น กำรค้นหำหนงั สอื ในห้องสมุดจำกชอื่ ผ้แู ต่ง

5. การรวมข้อมูล (Merging) เปน็ กำรนำขอ้ มลู ต้ังแต่ 2 ชุดขึ้นไป มำรวมกนั ให้เป็นชุดเดียว เชน่ กำรนำขอ้ มลู ประวัติ
สว่ นตวั ของนักเรียน มำรวมกับประวัติกำรศึกษำเปน็ ข้อมูลของนักเรยี น 1 คน

6. การสรุปผล (Summarizing) เปน็ กำรสรปุ ส่วนต่ำง ๆ ของขอ้ มลู เพ่อื แสดงเฉพำะส่วนทีเ่ ป็นสำระสำคญั เช่น กำร
สรุปผลกำรเรียนของนักเรยี น กำรสรปุ ยอดรำยรบั -จ่ำยของครวั เรอื นในแต่ละเดือน

7. การทารายงาน (Reporting) เปน็ กำรนำข้อมลู ทีผ่ ่ำนกำรประมวลผลมำจดั พมิ พ์ในรูปแบบรำยงำนต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะ
เป็นในรปู แบบกระดำษ เวบ็ ไซต์ หรือสอื่ ตำ่ ง ๆ เชน่ รำยงำนกำรตรวจสุขภำพ สมดุ รำยงำนผลกำรเรยี นของนักเรยี น หรอื
รำยงำนผลกำรเรยี นของนักเรียนผำ่ นเวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน

8. การบนั ทึก (Recording) เปน็ กำรจดั เก็บข้อมลู จำกแหล่งตำ่ ง ๆ ลงสื่อหรอื อุปกรณ์สำหรบั จดั เก็บข้อมลู เชน่ กำร
บนั ทึกประวตั ิสว่ นตัวของนักเรยี นแต่ละคนจำกกำรป้อนข้อมลู ผ่ำนทำงแปน้ พมิ พ์ เพ่ือบนั ทกึ ลงฐำนข้อมูล

9. การปรับปรุงขอ้ มลู (Update) เปน็ กระบวนกำรทท่ี ำให้ขอ้ มูลมีควำมถูกต้องและมีควำมทนั สมยั อย่เู สมอ โดย
สำมำรถทำกำรเพ่ิม ลบ และแก้ไข เพ่ือใหข้ ้อมูลถูกต้องมำกที่สดุ ซึ่งควำมถกู ต้องและทนั สมัยน้ันจะขน้ึ อยูก่ ับควำมถี่ในกำร
ปรับปรงุ เชน่ กำรปรบั ปรุงยอดขำยของรำ้ นคำ้ ออนไลนท์ ุกส้นิ เดือน เพ่ือทำใหย้ อดขำยมีควำมถกู ตอ้ ง หรือกำรปรับปรุง
ยอดเงนิ ฝำกทนั ทีหลังจำกทำธรุ กรรมทำงกำรเงิน

10. การสาเนาข้อมูล (Duplication) เปน็ กำรคดั ลอกขอ้ มูลจำกขอ้ มลู ตน้ ฉบบั เพือ่ ไปบันทกึ เป็นข้อมูลอกี ชุดหน่งึ ท่ี
เหมอื นกนั โดยกำรสำนำขอ้ มูลนั้น ตอ้ งคำนึงถึงควำมถกู ต้องดำ้ นกำรละเมดิ ลิขสิทธ์ิ และต้องไดร้ ับอนญุ ำตจำกผ้เู ป็นเจำ้ ของขอ้ มูล
ต้นฉบับด้วย เชน่ กำรสำเนำขอ้ มูลประวตั ิกำรศกึ ษำของนกั เรียน เพ่ือให้นักเรียนใช้เปน็ หลกั ฐำนในกำรศึกษำต่อ

11. การสารองขอ้ มูล (Backup) เปน็ กำรทำสำเนำข้อมูลทงั้ หมดหรือบำงส่วนลงในสื่อหรอื อปุ กรณ์จัดเกบ็ ขอ้ มูล เช่น เทป
แม่เหล็ก จำกแม่เหล็ก ตำมช่วงเวลำทก่ี ำหนด แล้วนำไปเกบ็ แยกไว้ เพอ่ื ใหส้ ำมำรถนำข้อมูลเหล่ำนน้ั กลบั มำใชไ้ ด้ ในกรณีขอ้ มลู ตน้ ฉบบั
เกิดปัญหำ สญู หำย หรือถกู ทำลำย เช่น กำรสำรองขอ้ มูลประวตั นิ กั เรยี นทกุ สนิ้ เดอื น

12. การกู้ข้อมูล (Data Recovery) เป็นกระบวนกำรในกำรนำข้อมลู ทเี่ สียหำย สูญหำย หรอื ถกู ทำลำยจำกสำเหตุต่ำง ๆ
ให้กลับคนื มำอยใู่ นรูปสภำพทส่ี ำมำรถนำมำใชป้ ระโยชนไ์ ด้ดังเดิม ซง่ึ เปน็ กระบวนกำรทีม่ คี วำมละเอยี ดซับซ้อน จะตอ้ งกระทำด้วย
ควำมระมดั ระวงั โดยบคุ คลท่มี ีควำมชำนำญ เชน่ กำรกขู้ ้อมลู ทะเบยี นประวตั ิของนกั เรียนจำกปญั หำไฟฟำ้ ลดั วงจร ทำให้จำนแมเ่ หลก็
สำหรบั เก็บข้อมลู เกดิ ควำมเสยี หำย

13. การสอื่ สารข้อมูล (Data Communication) เปน็ กระบวนกำรท่เี กี่ยวขอ้ งกับกำรรับ-สง่ ข้อมลู จำกจุดหนง่ึ ไปยงั อกี
จดุ หนึ่ง โดยผ่ำนตวั กลำงสือ่ สำร เพอ่ื ให้ข้อมูลนัน้ สำมำรถไปยังจดุ หมำยปลำยทำงได้ เช่น กำรสนทนำผำ่ นเครอื ขำ่ ยอนิ เทอร์เน็ต (Chat)

14. การบบี อัดข้อมูล (Data Compression) เป็นกระบวนกำรในกำรลดขนำดขอ้ มลู เพอื่ ให้ประหยัดเนื้อที่ในกำรจดั เก็บ
หรือเพื่อให้สำมำรถส่งขอ้ มลู ตอ่ ไปยงั ปลำยทำงได้รวดเรว็ ข้นึ ทำให้ประหยัดเวลำในกำรส่งขอ้ มูลหำกัน ตัวอยำ่ งกำรบบี อดั ข้อมลู เชน่
กำรส่งภำพผ่ำนระบบสนทนำบนอินเทอรเ์ นต็ ระบบจะทำกำรบีบอดั ภำพก่อนสง่ ไปยังผรู้ บั เพื่อให้ผู้รับไดร้ บั ข้อมลู ภำพได้เรว็ ขนึ้

9

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ

3 การใชซ้ อฟแวร์ในการจดั การข้อมูลและสารสนเทศเอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
การทาข้อมูลใหเ้ ป็นสารสนเทศท่จี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การใช้งาน จาเปน็ ต้องอาศยั
เทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการดาเนินการ เรม่ิ ตงั้ แตก่ ารรวบรวมและตรวจสอบข้อมลู
การดาเนินการประมวลผลข้อมลู ให้กลายเปน็ สารสนเทศ และการดแู ลรกั ษาสารสนเทศ
เพือ่ การใช้งาน

3.1 ซอฟตแ์ วร์ทีใ่ ช้ในการรวบรวมขอ้ มูล

กำรรวบรวมขอ้ มูลถือเป็นต้นทำงและเป็นสว่ นสำคัญของกำรได้มำซึ่งผลลพั ธท์ ี่ถูกตอ้ งตำมวัตถปุ ระสงค์ ซง่ึ
ซอฟต์แวร์เหลำ่ นจ้ี ะถูกสร้ำงเป็นแบบฟอร์มตำ่ ง ๆ เพ่อื ใชใ้ นกำรจัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตำมที่ตอ้ งกำร ซอฟต์แวรท์ ่ี
ใชใ้ นกำรรวบรวมขอ้ มลู ตำมทต่ี อ้ งกำร ซอฟต์แวร์ที่ใชใ้ นกำรรวบรวมขอ้ มลู มีดังน้ี

1. ซอฟตแ์ วร์ที่ตดิ ต้งั อยูบ่ นเครอื่ งคอมพิวเตอร์ เชน่ Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft Access
2. ซอฟต์แวร์ท่ีใช้งำนผ่ำนอินเตอร์เน็ต เชน่ Google Docs, Google Sheets, Google Forms, Microsoft Forms.

3.2 ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ชส้ าหรบั ประมวลผลขอ้ มูล

กำรประมวลผลขอ้ มูลเปน็ อกี ขั้นตอนหนง่ึ ทตี่ อ้ งเลือกใชซ้ อฟตแ์ วร์ทเี่ หมำะสมกบั ประเภทข้อมลู หรอื วตั ถุประสงค์
ของกำรประมวลผลขอ้ มูลนน้ั โดยใช้ซอฟต์แวร์ท่ใี ช้สำหรับกำรประมวลผลขอ้ มูลนนั้ มี 2 ประเภท ดังนี้

1. ซอฟตแ์ วรส์ ำเรจ็ รปู เช่น Microsoft Excel, Google Sheets, SPSS, Power BI
2. ซอฟตแ์ วร์ท่ีถูกพัฒนำขึ้นมำเพอื่ ประมวลผลขอ้ มูลโดยเฉพำะ เช่น ซอฟต์แวรเ์ พื่อประมวลผลข้อมูลทำง
กำรแพทย์ ซอฟต์แวร์เพอ่ื ประมวลผลข้อมลู ทำงดำ้ นวิศวกรรม ซอฟตแ์ วรเ์ พื่อประมวลผลข้อมูลสภำพอำกำศ

3.3 ซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ชส้ าหรบั สรา้ งและนาเสนอข้อมลู

เป็นโปรแกรมท่ใี ช้นำเสนอข้อมลู ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ และเป็นซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ทส่ี ำมำรถนำเสนอข้อมลู ในรปู แบบ
ตวั อักษร ตำรำง กรำฟ ภำพนง่ิ ภำพเคล่ือนไหว และเสียง ทำให้งำนนำเสนอมรี ูปแบบทห่ี ลำกหลำย สง่ ผลใหผ้ ้รู บั สำรสนใจ
และเขำ้ ใจเนอ้ื หำไดม้ ำกยิง่ ข้ึน โดยซอฟตแ์ วร์นำเสนอในปัจจุบันมเี ครอื่ งมือท่ีสร้ำงเทคนิคและลกู เล่นต่ำงๆ ทผ่ี ้ใู ชส้ ำมำรถสร้ำง
ได้อย่ำงงำ่ ยดำยในเวลำท่รี วดเรว็ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟตแ์ วรห์ รือโปรแกรมซง่ึ เขียนขึน้ เพื่อกำรทำงำนเฉพำะอย่ำง
ที่ต้องกำร กำรทำงำนรว่ มกับเคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ นงำนเฉพำะด้ำน ซึ่งไมเ่ กย่ี วข้องกับกำรควบคุมระบบผู้ใช้จำเปน็ ต้องเลือกหำ
ซอฟตแ์ วร์ใหต้ รงตำมควำมต้องกำรนน้ั ๆ โดยเฉพำะ เชน่ กำรจดั พมิ พ์ รำยงำน นำเสนองำน จดั ทำบัญชี ตกแตง่ ภำพ ออกแบบ
เว็บไซต์ ซอฟแวร์นำเสนอทน่ี ิยมใช้ในปัจจบุ นั มี 2 ประเภท คอื ซอฟแวร์กรรมสทิ ธิ์ (proprietary software) ที่ผู้ใชต้ ้องซื้อจำก
บรษิ ัทผเู้ ปน็ เจ้ำของ ได้แก่ ไมโครซอฟตเ์ พำเวอร์พอยต์ โลตัสฟรแี ลนซ์กรำฟิก โครเรล พรีเซน็ เทชัน กรำฟิก และซอฟตแ์ วร์
เปิดเผยรหสั (open source) ไดแ้ ก่ โอเพน ออฟฟิศ ปลำดำวออฟฟิศ อมิ เพรส ท่ผี ู้ใชส้ ำมำรถดำวน์โหลดไดฟ้ รีซอฟตแ์ วร์
นำเสนองำน สว่ นใหญน่ ิยมใชซ้ อฟตแ์ วร์ไมโครซอฟต์พำวเวอรพ์ อยต์ (Microsoft PowerPoint) ซ่งึ ไดร้ บั ควำมนยิ มอยำ่ ง
แพร่หลำย เพรำะกำรแสดงผลสำมำรถดงึ ดดู ควำมสนใจ สำมำรถแสดงข้อควำมในลักษณะท่จี ะสอื่ ควำมหมำยไดง้ ่ำย

10

แยกประเภทข้อมูล

คาชแ้ี จง
ใหน้ กั เรียนจัดประเภทของขอ้ มูลทก่ี าหนดใหว้ า่ เปน็ ข้อมูลปฐมภูมหิ รอื ข้อมลู ทตุ ิยภูมิ

........................................1. การทดลองการอมุ้ น้าของดิน
........................................2. สถติ กิ ารแจ้งเกิดของอาเภอเมอื ง จังหวดั ปทมุ ธานี
........................................3. การเช็คชอ่ื นักเรยี นช้ัน ม.1 ทีเ่ ขา้ เรียนวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
........................................4. การสมั ภาษณป์ ราชญ์ท้องถ่นิ ในอาเภอสามชกุ จังหวดั สพุ รรณบุรี
........................................5. การสืบคน้ ขอ้ มูลการทอ่ งเทีย่ วจากนิตยสารทอ่ งเที่ยว
........................................6. การสังเกตวงจรชวี ิตของหนอนผีเสอื้
........................................7. การอ้างองิ สารานกุ รมในการทารายงาน
........................................8. การทดสอบสมรรถภาพยานยนตโ์ ดยการขับขี่
........................................9. การสงั เกตการเกิดปรากฏการณ์ร้งุ กนิ น้า
........................................10. รายงานความเสียหายของบา้ นเรือนจากการเกดิ อทุ กภยั ของหนว่ ยงานราชการ
........................................11. รายงานการประชมุ การเข้ารว่ มกจิ กรรมของนกั เรยี นในภาคฤดูรอ้ น
........................................12. การสงั เกตวิธีการปลกู และดแู ลกลว้ ยไมท้ ส่ี วนกลว้ ยไม้
........................................13. การดรู ายการสารคดีเก่ยี วกบั สงครามโลกครั้งท่ี 2
........................................14. ข้อมูลการวิจัยเกยี่ วกบั เชอ้ื ไวรัสสายพันธใุ์ หม่
........................................15. การสมั ภาษณว์ ิทยากรเก่ียวกับวิธกี ารใชภ้ าษาในวงการธุรกจิ

11

วิธกี ารเกบ็ ข้อมูล

คาชแี้ จง ให้นักเรยี นตอบคาถามทก่ี าหนดต่อไปน้ี

1. วิธเี กบ็ รวบรวมขอ้ มูลปฐมภมู ิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฐมภมู ซิ ง่ึ อาจทาได้โดยการสามะโนหรือสารวจ
สามารถทาได้หลายวธิ ี แตว่ ธิ ีท่ีนยิ มใชก้ นั ทัว่ ๆ ไปมี 5 วธิ คี อื (ตอบพอสงั เขป) (5 คะแนน)

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ขนั้ เตรียมขอ้ มลู (Input) เป็นการจดั เตรียมขอ้ มลู ที่รวบรวมมาแล้วให้อยู่ในลักษณะที่สะดวกตอ่ การ
ประมวลผลแบ่งเปน็ ขัน้ ตอนย่อย ๆ ดงั นี้ (4 คะแนน)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

12

ลักษณะของการประมวลผลข้อมูล

คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามทีก่ าหนดต่อไปนี้

1. วธิ กี ำรประมวลผลขอ้ มูล อำจจำแนกได้ 3 วธิ ี โดยจำแนกตำมอปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นกำรประมวลผล
ไดแ้ ก่ ......................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

2. ระบบออฟไลน์ (Off-Line System) คือ .....................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

3. ระบบออนไลน์ (On-Line System) คอื .....................................................................................................

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

13

การประมวลผลขอ้ มูล

คาชแี้ จง ให้นักเรียนตอบคาถามท่กี าหนด

1. วิธีการประมวลผลดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ การใชเ้ คร่อื งคอมพวิ เตอร์ในการประมวลผล แบ่งออกเป็น 2
วิธี คอื
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
..............................................................................................................................................................................…

2. การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-Line Processing System) มขี อ้ ดี ข้อเสยี คอื
ขอ้ ดี ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอ้ เสยี .....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1

คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องท่ีสดุ เพยี งข้อเดียว

1. ขอ้ ใดคือลกั ษณะของข้อมลู ทตุ ิยภมู ิ ข. ข้อมูลที่มกี ำรรวบรวมไว้แล้วโดยผอู้ ื่น
ก. ขอ้ มูลทเ่ี ก็บรวบรวมดว้ ยตนเอง ง. ขอ้ มูลทีเ่ ผยแพรจ่ ำกกระทรวงสำธำรณสุข
ค. ข้อมูลทีน่ ำมำใชจ้ ำกงำนวิจัยของรัฐบำล

2. ข้อใดคือลักษณะของข้อมูลปฐมภมู ิ ข. ขอ้ มลู พนักงำนภำยในบริษัท
ก. ขอ้ มูลทำงด้ำนสถติ ติ ่ำง ๆ ง. ขอ้ มลู จำกกำรสังเกตข้อมูลภำยในชมุ ชน
ค. ขอ้ มลู ทำงกำรเงนิ เฉพำะบุคคล

3. ข้อมลู ในข้อมลู จดั เปน็ ข้อมูลทุตยิ ภูมิ
ก. บอลนำข้อมลู กำรเปรียบเทียบสเปคมอื ถือสองเครื่องจำกเว็บไซต์มำศกึ ษำ
ข. เจตไปขอข้อมูลสขุ ภำพของประชำกรในอำเภอที่ตนเองอำศัยอยมู่ ำทำรำยงำน
ค. เบลล์ดวู ีดโี อคลปิ เปรียบเทียบสลี ปิ คอลเลคชนั่ ใหมท่ ั้ง 5 สี
ง. ต้ัมเดินทำงไปสอบถำมรำคำคอนโดพร้อมส่วนลดและโปรโมชน่ั ตำมโครงกำรทีต่ นเองชื่นชอบและนำข้อมลู กลับมำ
เปรียบเทียบเพ่อื ตดั สนิ ใจ

4. กำรประมวลผลในข้อใดได้รบั ควำมนิยมมำกในปจั จบุ ัน ข. กำรประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยคอมพิวเตอร์
ก. กำรประมวลผลข้อมูลดว้ ยมือ ค. กำรประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเคร่ืองจักรกล
ง. กำรประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเคร่ืองคดิ เลข

5. ขน้ั ตอนสุดทำ้ ยของลำดับกำรประมวลผลข้อมลู คอื ข้อใด

ก. กำรแสดงผล ข. กำรนำเข้ำขอ้ มูล

ค. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล ง. กำรประมวลผลข้อมูล

6. ขอ้ ใดเป็นกำรประมวลผลแบบทันที ข. ระบบคำนวณผลประกอบกำรรำยปี
ก. ธรุ กรรมกำรเงินของเอทเี อ็ม ง. ระบบตรวจจบั ควันไฟและแจ้งเตอื นไฟไหม้
ค. ระบบแสดงควำมคดิ เห็นของเฟสบคุ

7. กำรบวก ลบ คณู หำร หำคำ่ เฉลย่ี ถือว่ำเปน็ ลักษณะกำรประมวลผลขอ้ มูลแบบใด

ก. กำรคำนวณ ข. กำรรวมขอ้ มลู

ค. กำรจดั กล่มุ ข้อมูล ง. กำรจัดเรียงขอ้ มลู

8. สถำนกำรณ์ต่อไปน้ีเปน็ กรรมวธิ กี ำรประมวลผลข้อมลู ด้วยคอมพวิ เตอร์แบบใด

“กำรนำประวตั ิสว่ นตัวของนกั เรยี นแต่คนละคน มำจดั ทำประวัติทำงกำรศึกษำของ โรงเรยี น”

ก. กำรจดั กลุ่ม ข. กำรคำนวณ

ค. กำรรวมข้อมลู ง. กำรจดั เรียงขอ้ มลู

9. เบนต้องกำรใช้งำนซอฟตแ์ วร์ในกำรรวบรวมขอ้ มูลผำ่ นอินเทอร์เนต็ เบนควรเลือกใช้ซอฟต์แวร์ในข้อใด

ก. Keynote ข. SlideDog

ค. Microsoft Form ง. OpenOffice Impress

10. ขอ้ ใดคือตวั อยำ่ งกำรใชง้ ำนโปรแกรม Microsoft Excel ไดอ้ ย่ำงเหมำะสม

ก. ใช้ทำรำยงำนสรปุ ผลโครงกำร ข. ใชค้ ำนวณและหำค่ำเฉลีย่ งำนวจิ ยั

ค. ใชส้ ร้ำงงำน และนำเสนองำนต่อที่ประชุม ง. ใชจ้ ดั ทำตำรำงคำนวณ จดั เรยี งข้อมลู และสรุปผล

15

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่

ความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมูล

ตัวชวี้ ัด ว 4.2 ม.3/3 ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของขอ้ มูล วเิ คราะห์ส่อื และผลกระทบจากการใหข้ ่าวสารทผ่ี ิด
เพื่อการใชง้ านอย่างรู้เท่าทัน

การสบื คน้ เพอ่ื หาแหล่งขอ้ มลู

เน้ือหานีจ้ ะเปน็ ในส่วนของการค้นหาข้อมูลด้วยการการสบื คน้ ด้วยมือและการใช้คอมพิวเตอร์
ในการคน้ หาข้อมลู จากอินเทอร์เนต็

การสบื คน้ แหลง่ ข้อมลู คือ กระบวนการคน้ หาขอ้ มูลทต่ี อ้ งการ โดยใช้โปรแกรมในคอมพิวเตอร์
เพื่อการสืบคน้ หาและอาจจะคน้ หาจากแหลง่ อน่ื ๆ ท่ีไม่ใชอ้ นิ เทอร์เน็ต การสบื คน้ หาแหลง่ ขอ้ มลู
สามารถทาได้ ดังนี้

1. การสืบค้นข้อมลู ดว้ ยมอื เป็นการสืบค้นจากเอกสาร เช่น จากหนงั สอื ตารา ตามสถานทีต่ ่าง ๆ
หรือห้องสมุด

2. การสบื ค้นข้อมลู ดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ เช่น การสืบคน้ ข้อมูลจากระบบออนไลนจ์ ากโปรแกรม
ค้นหา (Search Engine)

16

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

1.1 ตวั อยา่ งการสบื คน้ เพอื่ หาแหล่งข้อมลู บน อนิ เตอร์เนต็

อินเทอรเ์ นต็ เปน็ แหล่งรวบรวมข้อมลู ขนาดใหญซ่ งึ่ มีขอ้ มูลหลากหลายประเภทและมแี นวโน้มจะเพิ่มขึ้นอยา่ งรวดเรว็
ดงั นน้ั การคน้ หาขอ้ มูลท่ีต้องการได้อย่างรวดเรว็ นน้ั ไม่ใชเ่ รื่องงา่ ย ๆ สาหรับผูท้ ไ่ี มค่ ุน้ เคยกบั แหล่งข้อมลู นี้ นั่นมักประสบ
ปัญหาไม่ทราบว่าข้อมูลทีต่ ้องการน้นั อยใู่ นเว็บไซตใ์ ด ดงั นั้นจงึ ไดม้ ีเว็บไซต์ท่ีให้บริการคน้ หาขอ้ มูลตา่ ง ๆ บนอนิ เทอรเ์ นต็
ทเี่ รยี กว่า เครือ่ งมือชว่ ยค้น หรือ เซริ ช์ เอ็นจนิ (Search Engine)
Search Engine คอื เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการคน้ หาขอ้ มูลในอินเตอร์เน็ต การสบื ค้นข้อมลู คอื การนาความรเู้ กี่ยวกบั อนิ เทอรเ์ นต็
มาประยุกตใ์ ชใ้ นการศกึ ษาหาความรไู้ ด้แก่ การสืบคน้ ข้อมลู ทางอินเทอร์เน็ตในการสบื ค้นขอ้ มูลนนั้ ถา้ หากเราทราบ
แหล่งขอ้ มูลหรือเวบ็ ไซต์ เรากส็ ามารถพมิ พ์หรือระบุ URL ในช่อง Address ไดเ้ ลย แตถ่ ้าหากเราไมท่ ราบว่าแหลง่ ข้อมลู น้ัน
อยูท่ ี่ใด เราสามารถใชเ้ วบ็ ไซต์ท่ีเปน็ Search Engine ชว่ ยในการค้นหาได้อย่างรวดเรว็

ขัน้ ตอนการสบื คนข้อมลู
ข้นั ตอนการสืบคน้ ข้อมูลด้วยโปรแกรม Search Engine โดยใชง้ านผา่ นเวบ็ ไซต์ Google.com สามารถใช้งานไดด้ ังนี้
1. เปดิ โปรแกรม Web Browser ตัวอย่างเช่น Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox
2. ป้อนคาหรือวลที ่ีต้องการค้นข้อมูลลงในช่องสาหรับกรอกคาคน้ ขอ้ มูลหลังจากน้ันกดปุ่ม Enter จะได้ข้อมูลท่ีต้องการ
ค้นหาดังภาพดา้ นล่าง
3. เมื่อต้องการคน้ ข้อมูลทเ่ี ปน็ รปู ภาพสามารถกดลิงค์ “ค้นรูป” จะไดร้ ูปภาพดังภาพดา้ นล่าง
4. การคน้ หาข้อมลู ระดับสูงหรือการคน้ หาแบบพิเศษสามารถกดเลอื กทีล่ ิงค์ด้านล่างของหน้าจอดงั ภาพด้านลา่ ง
5. การค้นหาข้นั สงู ของ Google search engine สามารถกาหนดขอบเขตของการสบื คน้ ขอ้ มลู ได้ดังภาพดา้ นล่าง
6. ตัวอยา่ งการป้อนคาเพ่ือสืบคน้ ข้อมลู ซง่ึ มีการกาหนดเงื่อนไขในการสืบค้น เชน่ “ทุกคาเหลา่ น้ี” “คาหรือวลที ่ีตรงตามน้ี”
“และไม่มีคาเหล่าน้ี” จากตัวอยา่ งสามารถอธบิ ายเงื่อนไขในการสบื คน้ ไดด้ งั น้ี ใหค้ น้ ขอ้ มูลท้ังหมดทม่ี ีอยใู่ นระบบโดยมีคา
ว่า “เทคโนโลยี” และมีคาหรือวลที ่ีตรงกับคาว่า “คอมพิวเตอร์” และไม่ขอ้ มูลทมี่ ีคาว่า “สารสนเทศ” มาแสดงท่ีหน้าจอ

17

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

ประโยชน์และโทษของอนิ เตอร์เน็ต

อนิ เทอรเ์ น็ตเปน็ เคร่ืองเทคโนโลยสี ่อื สารท่ีเอ้ืออานวยความสะดวกให้แกผูใ้ ชบ้ ริการ ในลักษณะของการสอ่ื สาร
ทผ่ี า่ นทางคอมพวิ เตอร์ และช่องทางการสือ่ สารชนิดตา่ งๆ ไม่ไดเ้ ปน็ การส่ือสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งโดยตรง
จงึ ทาใหเ้ กิดท้ังประโยชน์และโทษในการส่อื สารบนอินเทอร์เน็ต

ประโยชน์ของอนิ เทอร์เน็ต

1. สามารถตดิ ต่อสื่อสารกบั บุคคลอน่ื ท่ัวโลก

2. สามารถค้นหาข้อมูลต่างๆได้เสมอื นกบั เราไปน่งั อย่ทู ี่ห้องสมดุ ขนาดใหญ่ได้ข้อมูลมากมายจากท่ัวทุกมุมโลก

3. เปรียบเสมือนเวทใี ห้เขา้ ไปแสดงความคดิ เหน็ ได้ภายในห้องสนทนา (chat room) และกระดานข่าว(Web room)
เป็นการเปดิ โลกกว้างและวสิ ัยทศั น์ในเรื่องทน่ี ่าสนใจ

4. สามารถติดตามเคล่ือนไหวจากขา่ วสารทั่วโลกอยา่ งรวดเร็ว

5. สามารถเปิดการค้าได้ด้วยตวั เอง โดยไมต่ อ้ งหาที่จัดต้ังร้านหรือพนกั งานบริการ แตส่ ามารถทาการค้าได้
ด้วยตัวเองคนเดยี ว

6. สามารถซือ้ สินค้า โดยไมต่ อ้ งเดินทางไปยงั รา้ นค้า ซ้อื ผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการ การชาระเงินกส็ ะดวก เชน่
ชาระผ่านบัตรเครดิต การหักเงินผา่ นบัญชีธนาคาร

7. สามารถรับส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์(E-mail) เปน็ การส่งจดหมายท่ีไมต่ ้องเสียค่าบรกิ ารและรับส่งจดหมายได้
ภายในและภายนอกประเทศ นอกจากจดหมายท่เี ปน็ ข้อความแล้ว ยงั สง่ บตั รอวยพรในเทศการตา่ งๆได้อีก

8. สามารถอา่ นนิตยสาร หนงั สือพมิ พ์ บทความ และเร่อื งราวต่างๆได้ฟรเี หมือนกบั เราซ้ือหนงั สือฉบบั น้ันมาอา่ นเอง

9. สามารถตดิ ประกาศข้อความตา่ งๆท่ีต้องการประกาศให้ผู้อ่ืนทราบได้ เช่น ประกาศขายบา้ น ประกาศสมัครงาน
ประกาศขอความช่วยเหลอื

10. มขี องฟรีอกี มากมายทส่ี ามารถใช้บริการได้จากอนิ เทอร์เนต็ เชน่ ภาพ เพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ดูหนงั เกม

18

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

โทษของอินเทอร์เน็ต

1.อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ที่มีผคู้ นมากมายเขา้ มาใชบ้ รกิ าร เป็นเวทีเปดิ กว้างและให้อิสระกับทุกคนท่ี
เข้ามาเขียนข้อมูล หรอื ติดประกาศต่างๆโดยปราศจากการกลนั่ กรองที่ดี ทาให้ข้อมลู ทีไ่ ดร้ ับไม่สามารถตรวจสอบไดว้ ่าเปน็
จริงหรือไม่

2.เกิดปญั ญาหาของการละเมิดลขิ สิทธ์ิ เชน่ การดาวน์โหลดเพลง หรือรปู ภาพมารวบรวมขาย หรือเป็นปัญหาอย่างย่ิง
คือ การตดั ต่อภาพบุคคลท่มี ีช่ือเสียงใหก้ ลายเปน็ ภาพแบบอนาจารหรอื เสียหายได้

3.ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาดา้ นอาชญากรรม เพราะการเลน่ อนิ เทอร์เนต็ เชน่ การลอ่ ลว่ งหญงิ ไปในทางที่ไม่ดี การก่อคดี
ข่มขืน เน่ืองจากเวบ็ ไซต์โป๊

4.ก่อให้เกิดปัญหาการหมกมุ่นของเยาวชนท่ีเขา้ ไปในเว็บไซต์ จนทาใหเ้ กิดโรคติดตอ่ ทางอินเทอร์เน็ต ทาใหเ้ กิด
อนั ตรายต่อตนเองและสงั คมได้

คณุ ธรรมและจริยธรรมในการใช้อนิ เตอรเ์ น็ต

เน่อื งจากอินเทอรเ์ นต็ คอื ระบบเครือขา่ ยขนาดใหญ่ทเ่ี กิดจากการเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยขนาดเลก็ จานวนมากเข้าด้วยกนั
เม่อื มีระบบเครอื ข่ายเกดิ ข้นึ มันทาใหเ้ ราสามารถส่อื สารกับผอู้ น่ื ผา่ นทางระบบเครือขา่ ยได้ ท้ังกบั คนสนทิ และบคุ คลทว่ั ไป
ซ่งึ การที่เราตดิ ต่อส่ือสารกนั ได้เชน่ น้ี ก็เปรยี บเสมือนเรากาลงั อย่ใู นสงั คมแห่งใหมท่ ี่เรยี กว่า สงั คมในโลกอินเทอร์เน็ตนั่นเอง
สิง่ ทข่ี าดไปไม่ได้เลยในการทเ่ี ราจะอยู่รว่ มกนั ในสงั คมได้อย่างสงบสขุ นนั่ กค็ ือ มารยาทและกฎกติกาของสังคม นกึ ง่ายๆ
ว่า ถ้าเกิดประเทศเราไม่มกี ฎหมายในการจดั การบา้ นเมือง เชน่ กฎจราจร ผู้คนคงขับรถกนั ตามใจชอบ และต่อให้ขบั รถชนคน
อน่ื กจ็ ะไมม่ กี ารถูกลงโทษใดๆ ซึ่งคงไม่ใชเ่ ร่อื งท่ีดแี นน่ อน ดังน้นั ในยุคปัจจบุ นั ทเ่ี ราแทบทุกคนต่างมสี ังคมอีกแหง่ หนึง่ อย่าง
สังคมในโลกอินเทอร์เนต็ เราจึงจาเป็นจะต้องร้จู ักกฎ กติกา และมารยาทในการใช้อินเทอร์เนต็ หรือเราควรจะมคี ุณธรรมและ
จริยธรรมในการใช้อินเทอรเ์ น็ต เพื่อเป็นการใหเ้ กยี รติและไม่ละเมิดสทิ ธขิ องผู้อ่ืน

19

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

สาหรับคุณธรรมและจริยธรรมการใชอ้ ินเทอร์เน็ตทคี่ วรมี มที ้งั หมด 6 อยา่ ง ดังน้ี

1. ใช้ถอ้ ยคาสภุ าพ การท่ีเราจะสื่อสารกับใครสักคนบนโลกอินเทอร์เนต็ เราตอ้ งคานงึ เสมอว่า คนที่เราจะสอ่ื สาร
ด้วยเปน็ ใครถึงแมว้ า่ เราจะไมเ่ หน็ หนา้ ของค่สู อ่ื สาร แตเ่ ราต้องคานึงไวก้ ่อนวา่ เขามตี วั ตน มีความรูส้ กึ

2. ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า และมารยาททแ่ี ตล่ ะเวบ็ ไซต์กาหนด แตล่ ะเวบ็ ไซต์จะมีการกาหนดกฎ กตกิ า และ
มารยาทในการใชเ้ วบ็ ไซต์ เพ่ือใหก้ ลุม่ ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถอยรู่ ่วมกันได้อยา่ งสงบสขุ เชน่ เวบ็ ไซต์ YouTube มีการกาหนดวา่
หากผูใ้ ดต้องการอปั โหลดวดิ ีโอ เนอื้ หาในวดิ ีโอนน้ั จะต้องไม่มเี นอ้ื หาที่ส่ือถงึ ความลามกหรืออนาจาร เป็นตน้

3. ใหเ้ ครดติ แหล่งที่มาขอ้ มลู เสมอ เมือ่ มกี ารนาข้อมูลผู้อื่นมาใช้ เม่ือเรามีการนาขอ้ มูลของคนอ่ืนมาใช้ ไม่วา่ จะ
เปน็ ข้อความ ภาพ เสยี ง หรือวดิ โี อตา่ งๆ เราตอ้ งใหแ้ หลง่ ที่มาของข้อมูลนัน้ เพื่อเป็นการให้เกยี รติและไม่ละเมิดสทิ ธขิ อง
เจ้าของขอ้ มลู หากเรานาข้อมูลของผ้อู ืน่ มาใช้โดยไม่ใหแ้ หล่งท่มี า เราอาจจะถกู ฟ้องร้องเพราะไปขโมยข้อมูลของผอู้ น่ื มาใช้
โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าตได้

4. ไม่แชร์ขอ้ มูลผิดๆ หรือภาพทไ่ี ม่เหมาะสม การแชรข์ อ้ มูลผิดๆ หรือภาพทไ่ี มเ่ หมาะสมต่างๆ เช่น ภาพศพท่ไี มม่ ี
การเซ็นเซอร์ ภาพอนาจาร หรือการแชรข์ ้อมลู การรักษาโรคแบบผดิ ๆ การทเ่ี ราแชรส์ ิง่ เหล่านี้ออกไป ไมว่ า่ จะด้วยความสนกุ
หรืออะไรกต็ าม หากเราแชร์ไปโดยทีไ่ ม่คิดไตรต่ รองใหด้ ี กจ็ ะทาให้คนอืน่ ๆ ที่มาเห็นข้อมูลเหล่าน้ีเขา้ ใจผิดหรอื รู้สึกไม่ดีได้
รวมถึงอาจเป็นการละเมิดสิทธิของคนอ่นื อกี ดว้ ย

5. ไม่สร้างความราคาญแก่ผู้อ่ืน เวลาทเี่ รามาเจอเพื่อนๆ ทโ่ี รงเรยี น เราคงเคยบอกวา่ เพื่อนคนไหนน่าราคาญจาก
พฤติกรรมบางอย่าง เชน่ เพ่ือนพูดมาก เพื่อนขี้บน่ หรือเพื่อนชอบเซา้ ซข้ี อให้เราทาอะไรสกั อยา่ งให้ไม่ยอมหยุด

6. ไมล่ ะเมดิ สิทธิและไมก่ ลัน่ แกลง้ ผอู้ น่ื ปจั จุบนั การละเมิดสิทธแิ ละกล่นั แกล้งผู้อนื่ บนโลกอินเทอร์เน็ตมีเยอะมาก
เชน่ การแอบถ่ายรูปคนอ่นื โดยที่เจา้ ตวั ไม่ได้อนญุ าต แลว้ นารูปแอบถ่ายไปอัปข้นึ Facebook พรอ้ มวจิ ารณเ์ ขาเสยี ๆ หายๆ
หรอื การไปโพสต์แสดงความคิดเหน็ ดว้ ยคาหยาบคาย ด่าทอผอู้ น่ื แบบไม่มเี หตุผล (ภาษาง่ายๆ ทเ่ี ราเรียกกนั คอื “พวกนกั เลง
คยี บ์ อร์ด”)เป็นตน้ สว่ นในโลกอนิ เทอรเ์ น็ต การสร้างความราคาญแกผ่ ู้อ่ืนก็ไม่ไดแ้ ตกต่างไปมากนกั ยกตัวอย่างเชน่ การสแปม
ข้อความซ้าๆ การส่งจดหมายลูกโซ่ หรอื การส่งคาเชญิ เล่นเกมไปให้คนอื่นบอ่ ยจนเกนิ ไป

20

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

เคร่อื งมือสาหรบั สืบคน้ ข้อมลู ผ่านอนิ เตอร์เน็ต

เคร่อื งมอื การคน้ หาข้อมูลผา่ นอินเตอรเ์ น็ต ทีท่ ุกคนสามารถหาขอ้ มลู ผา่ นอินเตอรเ์ น็ตก็ได้ โดยกรอกข้อมูลท่ีตอ้ งการ
ค้นหา หรอื Keyword (คยี ์เวิร์ด) เขา้ ไปท่ชี ่อง Search Box แลว้ กด Enter ข้อมูลท่ีเราค้นหาก็จะถูกแสดงออกมาอย่าง
มากมาย เพ่ือให้เราเลือกข้อมูลตรงกบั ความต้องการของเรามากที่สุด โดยลักษณะการแสดงผลของ Search Engine น้ันจะ
ทาการแสดงผลแบบ เรียงอนั ดบั Search Results ผา่ นหนา้ จอคอมพิวเตอร์

Search Engine มี 3 ประเภท (ในวนั ท่ที าการศึกษาข้อมูลน้ีและได้ทาการรวบรวมข้อมลู สรปุ ได้ 3 ประเภท

หลัก) โดยมีหลักการทางานท่ีตา่ งกนั และการจดั อันดับการค้นหาข้อมลู กต็ ่างกนั ด้วย เพราะมลี ักษณะการทางานท่ตี ่างกัน
น่เี องทาให้ โดยทัว่ ๆ ไปแล้วจะมีการแบง่ ออกเป็นหลาย ๆ ประเภทดว้ ยกัน แต่ทีพ่ อสรุปได้ก็มเี พียง 3 ประเภทหลกั ๆ ดังท่ี
จะนาเสนอต่อไปน้ี

ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines Crawler Based Search Engines

คือ เคร่ืองมือการคน้ หาบนอินเตอรเ์ น็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และ จัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซ่งึ จะเป็นจาพวก
Search Engine ทไี่ ด้รบั ความนยิ มสูงสุด เนื่องจากใหผ้ ลการคน้ หาแมน่ ยาที่สดุ และการประมวลผลการคน้ หาสามารถทาได้
อยา่ งรวดเรว็ จึงทาให้มบี ทบาทในการคน้ หาข้อมลู มากทสี่ ดุ ในปจั จบุ นั

โดยมีองประกอบหลกั เพียง 2 ส่วนดว้ ยกนั คอื
1. ฐานข้อมลู โดยสว่ นใหญ่แล้ว Crawler Based Search Engine เหลา่ น้จี ะมฐี านข้อมูลเป็นของตวั เอง ที่มีระบบ
การประมวลผล และ การจดั อนั ดับทีเ่ ฉพาะ เปน็ เอกลักษณ์ของตนเองอยา่ งมาก
2. ซอฟแวร์ คอื เคร่ืองมือหลักสาคัญทสี่ ดุ อกี สว่ นหน่งึ สาหรับ Serch Engine ประเภทนี้ เนื่องจากต้องอาศยั
โปรแกรมเลก็ ๆ (ชนิดที่เรยี กวา่ จว๋ิ แตแ่ จ๋ว) ทาหนา้ ทใี่ นการตรวจหา และ ทาการจัดเก็บข้อมลู หนา้ เพจ หรือ เวบ็ ไซต์ต่าง ๆ
ในรปู แบบของการทาสาเนาข้อมลู เหมือนกับตน้ ฉบับทุกอย่าง ซึ่งเราจะรูจ้ ักกันในนาม Spider หรือ Web Crawler หรอื
Search Engine Robots ตัวอยา่ งหน่ึงของ Crawler Based Search Engine ชอื่ ดงั http://www.google.com

ประเภทที่ 2 Web Directory หรือ Blog Directory

คอื สารบญั เว็บไซตท์ ่ใี ห้คณุ สามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวดหมู่ข่าวสารขอ้ มลู ที่เกีย่ วขอ้ งกันในปริมาณมาก ๆ
คล้ายๆ กับสมุดหนา้ เหลืองครับ ซ่งึ จะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่ อย่างชดั เจนซ่งึ จะช่วยใหก้ ารค้นหาขอ้ มูลตา่ ง ๆ
ตามหมวดหมูน่ น้ั ๆ ไดร้ ับการเปรยี บเทยี บอ้างอิง เพ่ือหาข้อเทจ็ จริงได้ ในขณะทเ่ี ราคน้ หาขอ้ มลู เพราะว่าจะมเี วบ็ ไซต์
มากมาย หรือ Blog มากมายท่ีมเี น้อื หาคลา้ ย ๆ กนั ในหมวดหมู่เดยี วกัน ใหเ้ ราเลอื กทจ่ี ะหาขอ้ มลู ได้ อยา่ งตรงประเดน็ ที่สดุ
(ลดระยะเวลาไดม้ ากในการค้นหา) ซ่ึงจะขอยกตัวอยา่ งดังนี้ ODP Web Directory ชื่อดงั ของโลก ทม่ี ี Search Engine
มากมายใช้เปน็ ฐานขอ้ มลู Directory

21

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

Search Engine

1. ODP หรือ Dmoz
ท่หี ลาย ๆ คนรจู้ ัก ซึ่งเปน็ Web Directory ท่ีใหญท่ ี่สุดในโลก Search Engine หลาย ๆ แห่งกใ็ ช้ข้อมลู จากทแี่ ห่งน้ี
เกอื บทัง้ ส้นิ เช่น Google, AOL, Yahoo, Netscape และอนื่ ๆ อีกมากมาย ODP มีการบนั ทึกข้อมลู ประมาณ 80 ภาษาทัว่
โลก รวมถึงภาษาไทย (URL : http://www.dmoz.org )

2. สารบัญเว็บไทย SANOOK
เปน็ Web Directory ทม่ี ีชื่อเสียงอกี เช่นกัน และเป็นทร่ี จู้ ักมากท่ีสุดในเมืองไทย (URL : http://webindex.sanook.com )

3. Blog Directory
อยา่ ง BlogFlux Directory ที่มีการเก็บข้อมลู เกี่ยวกับบล็อกมากมายตามหมวดหมู่ตา่ งๆ หรือ Blog Directory อ่นื ๆ ท่ี
สามารถหาไดจ้ าก Make Many แหง่ นี้

ประเภทที่ 3 Meta Search Engine

คอื Search Engine ท่ีใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษา HTML ซ่งึ มีการประกาศชดุ คาสงั่
ตา่ ง ๆ เปน็ รปู แบบของ Tex Editor ดว้ ยภาษา HTML น่ันเองเชน่ ช่ือผพู้ ฒั นา คาค้นหา เจ้าของเวบ็ หรือ บลอ็ ก คาอธิบาย
เวบ็ หรือบลอ็ กอยา่ งย่อ

ผลการค้นหาของ Meta Search Engine นม้ี ักไม่แมน่ ยาอยา่ งท่ีคิด เน่ืองจากบางคร้ังผใู้ ห้บริการหรือ ผูอ้ อกแบบ
เวบ็ สามารถใส่อะไรเข้าไปก็ได้มากมายเพื่อให้เกิดการคน้ หาและพบเวบ็ หรอื บลอ็ กของตนเอง และ อีกประการหนงึ่ ก็คือ มี
การอาศัย Search Engine Index Server หลาย?ๆ แห่งมาประมวลผลรวมกัน จึงทาให้ผลการคน้ หาข้อมูลต่าง ๆ ไม่
เท่ยี งตรงเท่าท่คี วร

22

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

1.2 ขนั้ ตอนการสบื ค้นเพือ่ หาแหล่งขอ้ มลู ดว้ ยอินเทอร์เน็ต

ขัน้ ตอนการสืบคนข้อมูล
ขน้ั ตอนการสืบคน้ ข้อมลู ดว้ ยโปรแกรม Search Engine โดยใชง้ านผา่ นเว็บไซต์ Google.com สามารถใช้งานไดด้ งั น้ี
1. เปิดโปรแกรม Web Browser ตวั อยา่ งเชน่ Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox
2. ป้อนคาหรอื วลีท่ีต้องการค้นขอ้ มูลลงในช่องสาหรับกรอกคาค้นขอ้ มลู หลงั จากน้ันกดปุ่ม Enter จะไดข้ ้อมูลท่ีต้องการ
ค้นหาดังภาพด้านล่าง
3. เม่ือตอ้ งการค้นข้อมลู ที่เปน็ รูปภาพสามารถกดลงิ ค์ “ค้นรูป” จะได้รูปภาพดงั ภาพด้านล่าง
4. การค้นหาข้อมูลระดับสูงหรือการคน้ หาแบบพเิ ศษสามารถกดเลือกทลี่ งิ ค์ด้านลา่ งของหน้าจอดงั ภาพด้านล่าง
5. การค้นหาขั้นสูงของ Google search engine สามารถกาหนดขอบเขตของการสืบค้น ขอ้ มลู ไดด้ ังภาพดา้ นล่าง
6. ตวั อยา่ งการป้อนคาเพ่ือสืบคน้ ขอ้ มูลซ่ึงมีการกาหนดเงอ่ื นไขในการสบื ค้น เชน่ “ทุกคาเหล่าน้ี” “คาหรือวลที ี่ตรงตามน้ี”
“และไมม่ ีคาเหล่าน้ี” จากตวั อย่างสามารถอธบิ ายเง่ือนไขในการสืบคน้ ไดด้ ังนี้ ให้ค้นขอ้ มูลทั้งหมดทีม่ ีอยูใ่ นระบบโดยมีคา
ว่า “เทคโนโลยี” และมีคาหรือวลีท่ตี รงกับคาว่า “คอมพวิ เตอร์” และไม่ขอ้ มลู ทมี่ ีคาว่า “สารสนเทศ” มาแสดงท่หี นา้ จอ

23

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

การประเมินความน่าเชอื่ ถอื ของขอ้ มลู

ขอ้ มลู ขา่ วสารทไี่ ด้รับจากสอื่ ตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจาวนั เชน่ อีเมล์ บลอ็ ก และโปรแกรม
สนทนามีท้ังขอ้ มลู ท่เี ชอ่ื ถือได้และขอ้ มลู ท่หี ลอกลวงผ้รู ับขอ้ มูลต้องรูจ้ ักใชข้ ้อมูลอย่างมวี จิ ารณญาณ
ตรวจสอบประเมินความถูกต้องของขอ้ มลู โดยพิจารณาไดจ้ ากผูเ้ ผยแพร่วนั ทเี่ ผยแพร่และการ
อ้างอิงแหล่งข้อมลู การเลอื กใชแ้ หล่งขอ้ มูลท่ีไมเ่ หมาะสมหรอื มีการบดิ เบอื น อาจทาใหข้ ้อสรปุ ที่ได้
ผิดพลาดหรือชี้นาผิดทาง นอกจากนีอ้ าจทาใหเ้ กิดอนั ตรายและสร้างความเสียหายในรูปแบบต่าง ๆ
ไดโ้ ดยหลกั ในการประเมินความนา่ เช่อื ถอื ของข้อมลู ควรพจิ ารณา ดังนี้ ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื
และความทันสมัยของสารสนเทศ

1. ประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของแหล่งสารสนเทศ โดยพจิ ารณาว่าสารสนเทศนน้ั ได้ มาจากแหล่งสารสนเทศใด
โดยสว่ นใหญ่ แหล่งสารสนเทศทีน่ ่าเช่อื ถอื นน้ั จะเป็นแหลง่ สารสนเทศสถาบนั เช่น ห้องสมดุ เนื่องจากสารสนเทศท่ีอย่ใู น
หอ้ งสมุดไดผ้ า่ นกระบวนการกลัน่ กรองเนื้อหาจาก บรรณารกั ษ์และผู้ที่เกีย่ วข้อง ส่วนแหลง่ สารสนเทศอนิ เทอร์เนต็ จะมีความ
นา่ เช่อื ถือน้อยกว่าหรือไมม่ ีความนา่ เช่ือเลย คือ การรับรู้สารสนเทศจากอินเทอร์เนต็ น้นั เราตอ้ งใชว้ จิ ารณญาณในการ
กลนั่ กรอง เนอ้ื หาเองว่าเนอื้ หาจากเว็บไซต์ใดท่นี า่ เช่ือถือ

2. ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของ ทรัพยากรสารสนเทศ โดย พิจารณาวา่ ทรัพยากรสารสนเทศหรือสารสนเทศนั้น
ๆ เปน็ รปู แบบใด ส่ือส่งิ พิมพ์ ส่อื ไมต่ ีพิมพ์ หรอื ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ หากเป็นสื่อสิง่ พิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ประเภทใด หนงั สอื ท่ัวไป
หนังสืออ้างองิ วารสาร นติ ยสาร เป็นตน้

3. ประเมินความน่าเชอ่ื ถือของ ผู้เขียน ผ้จู ดั ทา สานกั พิมพ์ โดยพจิ ารณาวา่ ผเู้ ขียนมีคุณวุฒิ ความรู้
ความสามารถและประสบการณ์ ตรงหรอื สอดคล้องกบั เร่ืองทเี่ ขียนหรือไม่ รวม ท้งั ความน่าเช่ือถือผู้จดั ทา สานักพมิ พ์ท่ีมี
ประสบการณ์ในเน้อื หาเฉพาะดา้ น มกั จะมคี วามน่าเชื่อถือในแวดวงวิชาการนัน้ ๆ หนว่ ยงานผู้รบั ผิดชอบเป็นภาครฐั บาล
องค์กร สมาคม มักจะมีความน่าเช่อื ถือมากกวา่ หน่วยงานภาคเอกชนหรือบคุ คล ตัวอย่าง เช่น กรณีที่เป็นบท ความวิชาการ
ให้พจิ ารณาวา่ ตีพิมพ์ในวารสารทม่ี ชี ือ่ วารสารท่ีเกย่ี วข้องกับเนือ้ หาวชิ าน้ัน ๆ มชี ่อื เสียงในทางวิชาการ เปน็ ที่รู้จักอยา่ ง
แพรห่ ลายหรือไม่ ผูเ้ ขียน/ผจู้ ัดทา/สานักพิมพม์ คี วามนา่ เช่ือถือหรือไม่ และต้องมคี วามต่อเนื่องในการเผยแพร่

4. ประเมินความทันสมยั ของสารสนเทศ โดยหากเปน็ สื่อสิ่งพิมพ์พจิ ารณาความทนั สมัย จาก วัน เดอื น ปี ท่ี
พิมพ์ หากเปน็ สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ พิจารณาจาก วัน เดือน ปีที่เผยแพร่ เปน็ ตน้

24

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

2.1 หลกั การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมลู

ประเด็นการพิจารณาของ PROMPT หลักการ PROMPT

การนาข้อมลู มาใช้ในการเรยี น การทางาน และการตัดสินใจตา่ ง ๆ จะต้องพิจารณาความ ถกู ต้องของข้อมลู ท่ี นามา
จากหลายแหล่งข้อมลู โดยตอ้ งเปน็ แหลง่ ข้อมูลท่มี ีความน่าเช่ือถอื มีความ ถูกตอ้ งสมบรู ณ์ สอดคล้องตรงตามความ ต้องการ
และมีความทนั สมยั เพ่ือให้ได้ขอ้ มลู ที่มีคุณภาพ นกั เรียนอาจใช้ การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มลู โดยใช้ ประเด็นการ
พิจารณาของ “พรอมท์” ได้แก่ การนาเสนอ ความสมั พันธ์ วัตถุประสงค์ วธิ ีการ แหลง่ ท่ีมา และเวลา (Presentation, Rele-
vance, Objectivity, Method, Provenance, Timeliness: PROMPT) ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

1. การนาเสนอ (P : Presentation)

การนาเสนอข้อมูลทด่ี จี ะต้องมีการวางเค้าโครงทีเ่ หมาะสมมีรายละเอียดชดั เจนไม่คลมุ เครอื ใชภ้ าษาและสานวนถตู ้อง
มีขอ้ มูลตรงตามท่ีต้องการเนื้อหามีความกระชบั สามารถจบั ใจความหรอื ประเดน็ สาคัญได้

2. ความสัมพันธ์ (R : Relevance)

การพจิ ารณาประเดน็ เกย่ี วกับความสัมพันธ์จะตอ้ งคานงึ ถึงความสอดคล้องของข้อมูลกับส่งิ ที่ ต้องการ ถึงแมว้ ่าข้อมูล
นั้นอาจมีคุณภาพมาก แต่ถ้าไมส่ ัมพนั ธ์หรอื สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์กไ็ มส่ ามารถนาไปใชไ้ ด้เช่น นกั เรยี นจะไปเท่ยี วเกาะภเู ก็ต
ซ่งึ อยูท่ ะเลฝ่ังอนั ดามนั แต่คน้ หาขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วกับ ทะเลฝง่ั อ่าวไทย

3. วัตถปุ ระสงค์ (O : Objectivity)

ขอ้ มลู ทจ่ี ะนามาใชต้ อ้ งมีวตั ถุประสงคท์ ช่ี ัดเจน ไม่ใชข่ ้อมูลทเี่ ป็นการแสดงความคิดเหน็ หรอื มเี จตนาแอบแฝง
ตัวอยา่ งข้อมลู ท่ีมีเจตนาแอบแฝง เช่น
- ส่อื สารด้วยการให้ข้อมูลดา้ นเดียว โดยมี วตั ถปุ ระสงคอ์ ่นื พยายามปดิ บังข้อมลู ท่ีอาจสง่ ผลกระทบต่อตนเอง
- ส่อื สารดว้ ยอารมณเ์ ชิงบวกหรือลบ
- มกี ารโฆษณาแอบแฝง เช่น นายแบบชอื่ ดงั เผยแพร่ตารางการออกกาลงั กายแต่แฝงโฆษณาอาหารเสริมลดความอว้ น
- มีสว่ นไดส้ ่วนเสียในเร่ืองใดเรอื่ งหนึง่ เชน่ นกั วจิ ยั เผยแพร่ผลงานวิจยั ท่เี ออ้ื กบั บริษัทที่สนับสนุนทุนวจิ ัย

25

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

4. วิธกี าร (M : Method)

ขอ้ มูลทน่ี ามาใช้ เปน็ ข้อมูลที่มีการวางแผน การเก็บรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ เชน่ หากนักเรียนต้องการใช้แอป
พลิเคชันตรวจสอบลาดบั คะแนนสอบวิชาวทิ ยาการคานวณของตนวา่ อยใู่ นระดบั ใดของโรงเรยี นแอปพลเิ คชันนั้นควรมีการ
เตรยี มข้อมลู ดังน้ี

- เก็บข้อมลู คะแนนสอบวิชาวทิ ยาการคานวณของนกั เรียนทงั้ หมด
- นาขอ้ มลู มาจดั เรียงลาดับจากมากไปน้อย
- ใชค้ ่าทางสถติ ิเปอรเ์ ซ็นไทล์

5. แหลง่ ทมี่ า (P : Provenance)

ข้อมูลท่นี ่าเชอ่ื ถือต้องมีการระบุแหลง่ ทีม่ าอยา่ งชัดเจนและเปน็ แหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ช่อื ถือได้

6. เวลา (T : Timeliness)

ข้อมลู ท่ีมคี ุณภาพจะต้องมีความเป็นปจั จบุ นั หรือมีความทันสมัย และมีการระบชุ ว่ งเวลาในการ สร้างข้อมลู ท่ีตรงกับ
ความเป็นจรงิ

26

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

การตรวจสอบความน่าเชื่อถอื ของแหล่งทม่ี าของข้อมูล

ในการค้นหาขอ้ มลู จากเว็บไซต์ หรอื แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู เพ่ือนาขอ้ มลู ไปใชง้ านและอ้างอิง จาเปน็ ต้องมี
การตรวจสอบความน่าเช่อื ของแหล่งทมี่ าของข้อมลู ก่อนไม่เช่นนน้ั อาจจะสร้างความเสียหายได้
วิธกี ารตรวจสอบ ความนา่ เช่ือถือของแหลง่ ขอ้ มูลสามารถทาได้ดงั นี้

- เว็บไซต์หรือแหลง่ ที่มาของข้อมลู ต้องบอกวตั ถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ งหรอื เผยแพร่ข้อมลู ไวใ้ นเว็บไซด์อยา่ งชัดเจน
- การนาเสนอเนอ้ื หาต้องตรงตาม วัตถุประสงคใ์ นการสร้างหรอื เผยแพร่ข้อมูลของเวบ็ ไซต์
- เน้อื หาเวบ็ ไซต์ไมข่ ัดตอ่ กฎหมายศีลธรรม และจรยิ ธรรม
- มกี ารระบชุ ่อื ผูเ้ ขียนบทความหรอื ผใู้ หข้ ้อมูลบนเวบ็ ไซต์
- มกี ารอา้ งอิงแหลง่ ทมี่ าหรือแหล่ง ตน้ ตอของข้อมลู ที่มีเน้ือหาปรากฏบนเวบ็ ไซต์
- สามารถเชือ่ มโยง (link) ไปเวบ็ ไซตอ์ ่ืนทอ่ี า้ งถงึ เพ่ือตรวจสอบแหล่งตน้ ตอของข้อมูลได้
- มีการระบวุ นั เวลาในการเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซด์
- มกี ารให้ท่ีอยู่หรอื อีเมล์ ท่ผี ู้อ่าน สามารถตดิ ต่อผูด้ ูแลเว็บไซต์ได้
- มชี อ่ งทางใหผ้ ู้อ่านแสดงความคดิ เห็น
- มีขอ้ ความเตอื นผู้อ่านใหใ้ ชว้ ิจารณญาณในการตดั สินใจใช้ข้อมูลที่ปรากฏบนเวบ็ ไซต์ บางเวบ็ ไซต์อาจใชช้ อื่ ท่ีคล้าย
กบั หน่วยงานราชการที่เป็นแหล่งขอ้ มูลท่ีเช่ือถือได้หรือมสี ่วนทแี่ ตกตา่ งกนั เล็กน้อยซ่งึ เว็บไซต์เหลา่ น้ีอาจให้ข้อมูลที่
คลาดเคลอ่ื นจากความเป็นจริง หากผใู้ ชง้ านไม่ได้สังเกตให้รอบคอบ อาจทาใหเ้ ข้าใจผิดวา่ เวบ็ ไซตเ์ หลา่ นเี้ ป็นแหล่งต้นตอของ
ขอ้ มูลผใู้ ชส้ ามารถตรวจสอบเบื้องตน้ ได้ โดยดูขอ้ มลู จากการจดทะเบียนช่อื โดเมนวา่ เปน็ หมายเลขไอพเี ดียวกับหนว่ ยงานท่ี
ร้จู กั และมีความน่าเชื่อถอื หรือไม่ ซ่ึงมเี วบ็ ไซตท์ ี่ให้บริการตรวจสอบชอื่ โดเมนและขอ้ มูลอ่ืน ๆ ของเวบ็ ไซต์ เชน่
whois.domaintools.com

27

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

2.2 การตรวจสอบความน่าเช่อื ถอื ของแหล่งขอ้ มลู

1. เวบ็ ไซต์หรอื แหล่งที่มาของขอ้ มูลต้องบอกวตั ถปุ ระสงค์ในการสรา้ งหรือเผยแพร่ข้อมลู ในเวบ็ ไซต์อย่างชัดเจน
2. การนาเสนอเน้ือหาตอ้ งตรงตามวัตถปุ ระสงค์ในการสรา้ งหรือเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์
3. เนอื้ หาของเวบ็ ไซตต์ ้องไม่ขัดต่อกฎหมายศลี ธรรมและจริยธรรม
4. มกี ารระบุช่ือผเู้ ขียนบทความหรือผู้ให้ข้อมูลบนเว็บไซต์
5. มกี ารอ้างองิ แหลง่ ทมี่ าหรือแหล่งตน้ ตอของขอ้ มลู ที่มเี น้ือหาปรากฏบนเว็บไซต์
6. สามารถเช่อื มโยง (Link) ไปเว็บไซต์ท่ีอา้ งอิงเพอ่ื ตรวจสอบแหล่งต้นตอของข้อมูลได้
7. มีการระบุวนั เวลาในการเผยแพรข่ ้อมูลบนเว็บไซต์
8. มีการให้ท่ีอย่หู รอื อเี มลท์ ี่ผู้อ่านสามารถตดิ ต่อผดู้ ูแลเว็บไซตไ์ ด้
9. มชี ่องทางให้ผู้อา่ นแสดงความคดิ เหน็
10. มขี อ้ ความเตือนผอู้ ่านให้ใช้วิจารณญาณในการตัดสนิ ใจใชข้ ้อมลู ที่ปรากฏบนเวบ็ ไซต์

28

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

2.3 เหตผุ ลวบิ ัติ

เหตุผลวบิ ตั ิ (fallacy) หมายถึง การพสิ จู น์โดยการอา้ งเหตุผลท่ีมนี า้ หนักอ่อนเพือ่ สนับสนุนในข้อสรปุ การให้
เหตุผลวบิ ตั มิ ีความแตกตา่ งจากการใหเ้ หตุผลแบบอ่นื ๆ เน่ืองจากหลายคนมักจะพบว่าการให้เหตุผลนั้นมีความน่าเชอื่ ถือ
ในทางจิตวทิ ยา ซ่งึ จะส่งผลให้คนจานวนมากเกดิ ความเข้าใจผดิ และยกเหตผุ ลอย่างผดิ ๆ โดยใช้เป็นเหตุผลทจ่ี ะเช่อื ใน
ข้อสรปุ นน้ั การให้เหตผุ ลอาจจะกลายเปน็ "เหตผุ ลวบิ ัต"ิ ได้ แม้ว่าข้อสรุปน้ันจะเป็นจรงิ หรือไม่กต็ าม เหตุผลวิบตั สิ ามารถ
จาแนกออกได้ 2 รูปแบบ ดังน้ี

1.เหตผุ ลวิบัติอยา่ งเปน็ ทางการ เกิดจากหลักตรรกะทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง แต่เขยี นให้อยใู่ นรูปท่ีเปน็ ทางการ
ทาให้ดสู มเหตุสมผลเชน่ “คนไทยทีเ่ ก่งภาษาอังกฤษ อยใู่ นกรงุ เทพฯ ผมเป็นคนกรงุ เทพฯ ดงั นนั้ ผมเกง่ ภาษาองั กฤษ” ซ่งึ
เมื่อนักเรียนฟังแล้วอาจคล้อยตาม แต่ ในความเป็นจรงิ คนกรงุ เทพทุกคนอาจไม่ไดเ้ ก่งภาษาอังกฤษ

2.เหตผุ ลวิบตั อิ ย่างไม่เป็นทางการ เกดิ จากการให้เหตผุ ลท่ไี มเ่ กย่ี วขอ้ งกับการใชต้ รรกะในการพจิ ารณาแตเ่ ปน็
การสันนิษฐาน หรือเล่นสานวนซ่ึงเกดิ จากการใชภ้ าษาชกั นาให้เกดิ ความเขา้ ใจผดิ เช่น การพดู กากวม หรือการพดู มากเกิน
ความจาเปน็

เหตผุ ลวิบตั ิสามารถจาแนกออกได้ในหลายรูปแบบ ยกตัวอยา่ งเช่น เหตผุ ลวิบตั อิ ย่างเป็นทางการ เกดิ จากหลัก
ตรรกะท่ีไม่ถกู ต้อง เหตุผลวบิ ัติอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ ไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับการพิจารณาว่าผิดตามหลักตรรกะ และเหตุผลวิบตั ิ
เกีย่ วกับถ้อยคา ซึ่งเกิดจากการใช้ภาษาชกั นาให้เกดิ ความเข้าใจผิด เช่น การพูดกากวม หรือการพดู มากโดยไมจ่ าเป็น

เหตุผลวบิ ตั มิ กั จะมีความเก่ียวขอ้ งกบั ผลกระทบทจ่ี ะเกิดข้นึ ตามมา อนั เนื่องมาจากเหตุผลทีไ่ มเ่ ป็นไปตามหลัก
ตรรกะอย่างถูกต้อง และเหตุผลวบิ ตั ยิ งั เก่ยี วขอ้ งกับการสันนษิ ฐานด้วย

เหตุผลวบิ ตั ิมกั จะดเู หมือนกบั ว่าเป็นสิ่งทีเ่ ลวร้ายอยา่ งเห็นไดช้ ัด อย่างไรกต็ าม การยกเหตผุ ลมกั จะมีลักษณะ
รูปแบบการเล่นสานวนเพื่อให้เกดิ ความเคลือบแคลงในการยกเหตุผลในทางตรรกะ ซึ่งไม่วา่ จะเปน็ ดว้ ยเจตนาหรอื ไมก่ ็ตาม
จะทาให้เหตผุ ลวิบตั ยิ ากที่จะสามารถตรวจจับได้ และส่วนประกอบของเหตผุ ลวิบัตนิ ัน้ ก็อาจแพรข่ ยายได้อีกเปน็ เวลานาน

29

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

การรู้เทา่ ทนั ส่อื

จากบริบทการเปลี่ยนแปลงสังคมโลกภายใตก้ ระแสศตวรรษท่ี 21 เป็นโลกของเทคโนโลยี
และนวัตกรรมใหมๆ่ ทีเ่ กดิ ข้ึนตลอดเวลา ย่อมมผี ลต่อสงั คมไทยอยา่ งมิอาจหลกี เลี่ยงไดน้ ั่นคือ
แม้วา่ สังคมไทยสามารถเข้าถึงขอ้ มูลข่าวสารและความรอู้ ย่างกวา้ งขวางผา่ นสื่อและเทคโนโลยี
แต่สงั คมไทยขาดภูมิคมุ้ กนั จากการบริโภคผ่านส่อื ในทุกเพศทุกวัย

3.1 องคป์ ระกอบของการร้เู ท่าทันสือ่

ทกั ษะการรู้เทา่ ทันสอ่ื เทคนิคขนั้ ตอนในการรู้เท่าทนั สอ่ื และการวเิ คราะห์สอ่ื การพฒั นาทักษะการ
เรียนรู้เพ่ือท่ีจะเท่าทนั ส่อื ไดน้ น้ั มอี งค์ประกอบทส่ี าคัญเรยี งลาดับ ไดด้ งั นี้

1. การเขา้ ถึง (Access) การเขา้ ถึงสื่อ คือ การไดร้ ับส่ือประเภทตา่ งๆ ได้อย่างเตม็ ที่และรวดเรว็ สามารถรบั รู้และ
เข้าใจเนื้อหาของสื่อประเภทต่างๆได้อยา่ งเต็มความสามารถ พรอ้ มทงั้ ทาความเข้าใจความหมายอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดย

- อ่านเนือ้ หาจากส่ือนนั้ ๆและทาความเข้าใจอยา่ งถ่องแท้
- จดจาและเขา้ ใจความหมายของคาศัพท์ สญั ลักษณ์ และเทคนิคที่ใชใ้ นการส่ือสาร
- พฒั นากลยทุ ธ์ เพ่ือหาท่ีมาของข้อมูลจากแหล่งตา่ งๆท่ีหลากหลาย
- เลือกคดั กรองข้อมูล ประเภทต่างๆ ทเ่ี กยี่ วข้องใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงคท์ ี่ต้องการ

2. การวเิ คราะห์ (Analyze) การวเิ คราะห์ คือ การตีความเนื้อหาสอ่ื ตามองค์ประกอบและแบบฟอร์มของสื่อ แต่ละ
ประเภทวา่ สิ่งทสี่ ื่อนาเสนอน้ันส่งผลกระทบอะไรบ้างต่อสังคม การเมืองหรือเศรษฐกจิ โดยใช้พ้นื ความรเู้ ดิมและประสบการณ์
ในการคาดการณ์ถึงผลทจี่ ะเกิดขน้ึ โดยอาจใชว้ ิธกี ารวิเคราะห์เปรียบเทียบ การแยกองค์ประกอบย่อยตา่ งๆ หรอื การวิเคราะห์
ข้อมลู เชงิ เหตุและผลการทาความเขา้ ใจเนื้อหาบรบิ ทท่ีต้องการสือ่ เชน่

- ใชค้ วามรู้และประสบการณเ์ ดมิ เพ่ือทานายผลทจ่ี ะเกิด
- ตคี วามเนอื้ หา โดยใชห้ ลกั การวิเคราะหพ์ นื้ ฐาน
- ใช้กลวิธตี า่ งๆ ได้แก่การเปรียบเทยี บ/หาความแตกตา่ ง/ข้อเท็จจรงิ /ความคดิ เห็น เหตแุ ละผลการลาดบั ความสาคญั
- ใชค้ วามรู้เกีย่ วกับบรบิ ททางประวัตศิ าสตร์ การเมอื ง เศรษฐกจิ เป็นพ้ืนฐานของการสรา้ งสรรค์และตคี วามหมาย

3. การประเมินค่าสอ่ื (Evaluate) การประเมนิ ค่าของส่ือ เป็นผลจากการวเิ คราะห์สื่อที่ผา่ นมาทาใหส้ ามารถที่จะ
ประเมินคุณภาพ ของเนื้อหาทีม่ ี คณุ ค่าต่อผ้รู ับสารมากน้อยเพียงใด สามารถนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผรู้ บั สารในด้านใดได้
บ้าง คณุ ค่าทเี่ กิดข้ึนเปน็ คุณค่าท่ีเกดิ ข้ึนทางใจ อารมณ์ ความรู้สึก หรือมคี ุณคา่ ทางศีลธรรม จรรยาบรรณ สังคม วฒั นธรรม
หรอื ประเพณี ความสามารถในการประเมินเน้ือหา โดยสร้างความเกี่ยวข้องของเนื้อหากับประสบการณ์ พรอ้ มเสนอความเหน็
ในแงม่ มุ ท่ีหลากหลาย

30

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

4. การสร้างสรรค์ (Create) การเรยี นรสู้ ื่อ รวมถึงการพัฒนาทกั ษะ การสรา้ งสื่อในแบบฉบบั ของตนเองขนึ้ มา เมอ่ื
ผูเ้ รียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจสามารถวิเคราะห์วจิ ารณ์ ประเมินคา่ สื่อไดอ้ ยา่ งถ่องแท้แลว้ ทุกคนจะตอ้ งวางแผน เขียนบท
ค้นคว้าข้อมูลเนื้อหามาประกอบ

ความสามารถในการสร้างสรรค์ (หรือสื่อสาร) เนื้อหาโดยการเขยี นบรรยายความคิด ใชค้ าศพั ท์ เสียง หรอื การ
สรา้ งภาพให้มปี ระสิทธภิ าพตามวัตถุประสงค์ท่ีหลากหลาย ซงึ่ มวี ิธีการสรา้ งส่ือแบบสร้างสรรค์ ดังนี้

- ใช้ประโยชนจ์ ากข้ันตอนการระดมสมอง วางแผน เรยี บเรียง และแก้ไข
- ใช้ภาษาเขยี นและภาษาพดู อยา่ งมปี ระสิทธิภาพท่สี ุดตามหลักของภาษาศาสตร์
- สร้างสรรค์และเลือกภาพอย่างมีประสทิ ธภิ าพเพ่ือบรรลุเป้าหมายต่างๆ ท่ีกาหนดไว้
- ใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สารในการวางโครงสรา้ งของเน้ือหา

3.2 การรู้เท่าทนั ส่ือดจิ ิทัลและการรเู้ ท่าทันส่อื

แนวโน้มเยาวชนสามารถเลือกเรยี นรูท้ ักษะเหลา่ น้ดี ้วยตนเอง หรอื เรียนรู้ร่วมกับครอบครัว แต่เม่อื
พจิ ารณาถึงชอ่ งว่างระหว่างวยั จะพบวา่ เดก็ เยาวชนในปจั จบุ ันท่ีเรียกว่า "ยคุ แซด" นัน้ เปน็ รุ่นแรกที่
เติบโตขึ้นทา่ มกลางยุคของมือถอื และโซเชียล มีเดยี อย่างแทจ้ รงิ แล้วจะคาดหวังใหผ้ ู้ปกครอง หรอื กระทงั่
ครผู สู้ อนเรยี นร้วู ิธีการที่จะสอนใหเ้ ด็กเยาวชนในยคุ ปจั จบุ นั มที ักษะและเทา่ ทนั การใช้ส่ือในยคุ ดิจิทลั เหล่านี้
ได้อยา่ งไร โดยทั้งน้ี ทกั ษะทเ่ี ด็กเยาวชนยคุ ใหม่ควรเรยี นรู้ 8 ทักษะ ดังน้ี

1. การรู้เท่าทันส่ือดิจทิ ัล
ความฉลาดทางดจิ ิทัล เปน็ ผลจากศึกษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานทเ่ี กดิ จากความรว่ มมือกนั ของภาครฐั

และเอกชนทวั่ โลกประสานงานรว่ มกบั เวลิ ด์อโี คโนมกิ ฟอรั่ม (World Economic Forum) ที่มุ่งมั่นให้เด็ก ๆ ทกุ ประเทศ
ได้รับการศึกษาด้านทักษะพลเมืองดจิ ิทัลท่มี ีคณุ ภาพและใช้ชีวติ บนโลกออนไลน์อย่างปลอดภยั ด้วยความก้าวหนา้ ของ
เทคโนโลยสี มัยใหม่ ความฉลาดทางดิจิทัล เป็นกรอบแนวคิดทคี่ รอบคลุมของความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเข้าใจและ
ความคิดทางสงั คมทม่ี ีพ้ืนฐานอยใู่ นค่านิยมทางศลี ธรรมทชี่ ่วยใหบ้ คุ คลทจ่ี ะเผชิญกบั ความทา้ ทายทางดิจทิ ลั ความฉลาดทาง
ดจิ ทิ ลั มีสามระดับ 8 ด้าน และ 24 สมรรถนะท่ีประกอบดว้ ย ความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติและคา่ นิยม โดยบทความนี้จะกลา่ วถงึ
ทักษะ 8 ด้านของความฉลาดดจิ ทิ ัลในระดบั พลเมืองดิจทิ ลั ซง่ึ เปน็ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลและสอื่ ในรปู แบบท่ี
ปลอดภยั รบั ผิดชอบ และมจี ริยธรรม ดังน้ี

31

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3

ทักษะด้านท่ี 1 เอกลกั ษณพ์ ลเมอื งดิจิทลั (Digital Citizen Identity)

เอกลักษณ์พลเมืองดจิ ิทัล เปน็ ความสามารถสรา้ งและบริหารจดั การอัตลักษณ์ทด่ี ขี องตนเองไว้ได้อย่างดที ัง้ ในโลก
ออนไลนแ์ ละโลกความจริงอัตลกั ษณท์ ี่ดคี ือ การท่ีผู้ใช้ส่อื ดจิ ิทัลสรา้ งภาพลกั ษณ์ในโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่บวก ทัง้
ความคิดความรสู้ กึ และการกระทา โดยมีวิจารณญาณในการรบั ส่งข่าวสารและแสดงความคิดเห็น มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผู้
ร่วมใช้งานในสงั คมออนไลน์ และรจู้ กั รับผิดชอบต่อการกระทา ไม่กระทาการทผ่ี ดิ กฎหมายและจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่
การละเมดิ ลิขสิทธ์ิ การกลั่นแกลง้ หรือการใชว้ าจาทส่ี รา้ งความเกลียดชงั ผู้อ่นื ทางส่ือออนไลน์

ทักษะดา้ นท่ี 2 การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั (Screen Time Management)

การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ลั เปน็ ความสามารถควบคมุ ตนเอง ความสามารถในการจัดสรรเวลาในการ ใชง้ าน
อุปกรณ์ดิจทิ ลั และอปุ กรณ์เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รวมถึงการใชง้ านสอื่ สังคม (Social Media) และเกม ออนไลน์
(Online Games) ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สามารถบริหารเวลาท่ใี ช้อปุ กรณ์ยุคดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือให้เกิด
สมดลุ ระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกความเป็นจรงิ อีกทัง้ ตระหนกั ถึงอนั ตราย และสขุ ภาพจากการใช้เวลาหน้าจอนานเกินไป
และผลเสียของการเสพติดสอ่ื ดิจิทลั

ทักษะดา้ นที่ 3 การจัดการการกลนั่ แกลง้ บนไซเบอร์ (Cyberbullying Management)

การจัดการการกลน่ั แกล้งบนไซเบอร์ เปน็ ความสามารถในการปอ้ งกนั ตนเอง การมีภูมิคมุ้ กันในการรับมือและจัดการ
กบั สถานการณก์ ารกล่ันแกล้งบนอนิ เทอรเ์ นต็ ได้อย่างชาญฉลาด การใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตเปน็ เครอ่ื งมอื หรือชอ่ งทางเพ่ือก่อให้เกดิ
การคกุ คามล่อลวงและการกลั่นแกลง้ บนโลกอนิ เทอร์เน็ตและสือ่ สงั คมออนไลน์ โดยกลมุ่ เปา้ หมายมักจะเปน็ กลุ่มเด็กจนถงึ
เดก็ วยั รนุ่ การกล่นั แกล้งบนโลกไซเบอร์คล้ายกันกับการกลั่นแกล้งในรปู แบบอื่น หากแต่การกลัน่ แกล้งประเภทน้ีจะกระทา
ผา่ นสื่อออนไลนห์ รือส่ือดิจทิ ัล เชน่ การสง่ ขอ้ ความทางโทรศัพท์ ผกู้ ลนั่ แกล้งอาจจะเปน็ เพอื่ นร่วมชัน้ คนร้จู ักในสือ่ สงั คม
ออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคนแปลกหนา้ ก็ได้ แตส่ ว่ นใหญ่ผทู้ ่ีกระทาจะรู้จักผู้ท่ีถูกกล่ันแกล้งรปู แบบของการกลนั่ แกล้งมักจะ
เปน็ การวา่ ร้าย ใสค่ วาม ขู่ทาร้าย หรือใช้ถ้อยคาหยาบคาย การคกุ คามทางเพศผา่ นสอื่ ออนไลน์ การแอบอ้างตวั ตนของผูอ้ นื่
การแบลก็ เมล์ การหลอกลวง การสร้างกล่มุ ในโซลเชียลเพ่ือโจมตีโดยเฉพาะ

ทักษะดา้ นที่ 4 การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครอื ข่าย (Cyber security Management)

การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย เป็นความสามารถในการสารวจ ตรวจสอบ การป้องกัน และ การรักษา
ความปลอดภัยของข้อมลู ในระบบเครือขา่ ย ป้องกนั ข้อมูลด้วยการสร้างระบบความปลอดภยั ที่เขม้ แข็ง และป้องกนั การ
โจรกรรมขอ้ มลู หรือการถกู โจมตอี อนไลน์ได้ มีทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์การรักษาความ
ปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกปอ้ งอปุ กรณด์ ิจิทลั ขอ้ มูลที่จัดเก็บและข้อมลู ส่วนตวั ไม่ให้เสียหาย สญู หาย หรือ
ถกู โจรกรรมจากผู้ไม่หวังดีในโลกไซเบอร์

32

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 | การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

ทักษะด้านที่ 5 การจดั การความเปน็ ส่วนตวั (Privacy Management)
การจัดการความเป็นส่วนตัว เป็นความสามารถในการจดั การกับความเปน็ สว่ นตัวของตนเองและของผู้อน่ื การใช้

ขอ้ มลู ออนไลน์ร่วมกนั การแบ่งปันผา่ นสอื่ ดจิ ิทลั ซ่งึ รวมถงึ การบรหิ ารจัดการ ร้จู กั ปอ้ งกันขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของตนเอง
เชน่ การแชรข์ อ้ มูลตา่ ง ๆ ดว้ ยเคร่อื งมอื ดิจทิ ลั การขโมยขอ้ มลู อัตลักษณ์ เปน็ ต้น โดยตอ้ งมีความสามารถในการฝกึ ฝนใช้
เคร่ืองมือ หรอื วิธีการในการป้องกนั ข้อมลู ตนเองไดเ้ ป็นอย่างดี รวมไปถงึ ปกปดิ การสบื ค้นขอ้ มลู ตา่ งๆ ในเว็บไซต์ เพือ่
รกั ษาความเป็นสว่ นตวั ความเปน็ สว่ นตัวในโลกออนไลน์ คอื สทิ ธิการปกปอ้ งข้อมลู ความสว่ นตัวในโลกออนไลนข์ อง
ผู้ใชง้ านท่บี ุคคลหรอื การบริหารจัดการข้อมลู สว่ นตัว รวมถึงการใช้ดุลยพนิ จิ ปกปอ้ ง ขอ้ มูลส่วนบคุ คลและข้อมลู ท่ีเป็น
ความลบั ของผอู้ ืน่

ทกั ษะด้านท่ี 6 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking)
การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ หมายถงึ ความสามารถในการตัดสนิ ของบคุ คลวา่ ควรเชือ่ ไม่ควรเชอื่ ควรทา หรอื ไม่

ควรทาบนความคดิ เชิงเหตแุ ละผล มคี วามสามารถในการวเิ คราะห์แยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ท่ีถูกต้องและข้อมูลทผ่ี ิด ขอ้ มูล
ที่มีเน้อื หาเป็นประโยชน์และขอ้ มูลท่ีเข้าขา่ ยอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลนท์ ่ีนา่ ตงั้ ข้อสงสยั และนา่ เชอื่ ถอื ได้ เมอ่ื ใช้
อนิ เทอรเ์ นต็ ทราบว่าเนอ้ื หาใดมปี ระโยชน์ ร้เู ท่าทนั ส่ือและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์และประเมนิ ขอ้ มลู จาก
แหลง่ ขอ้ มลู ทีห่ ลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในสอื่ ดจิ ทิ ลั เชน่ ขา่ วปลอม เวบ็ ไซตป์ ลอม ภาพตดั ต่อ
ข้อมูลอนั ท่เี ท็จ เป็นตน้

ทกั ษะดา้ นท่ี 7 ร่องรอยทางดิจิทลั (Digital Footprints)
รอ่ งรอยทางดจิ ทิ ลั เปน็ ความสามารในการเขา้ ใจธรรมชาตขิ องการใช้ชีวติ ในโลกดจิ ทิ ัลวา่ จะหลงเหลือร่องรอย

ขอ้ มลู ทิง้ ไว้เสมอ รอ่ งรอยทางดิจทิ ลั อาจจะสง่ ผลกระทบในชีวติ จริง ท่เี กดิ จากรอ่ งรอยทางดจิ ิทลั เขา้ ใจผลลพั ธท์ อี่ าจ
เกิดขน้ึ เพ่อื นามาใชใ้ นการจดั การกบั ชวี ิตบทโลกดจิ ทิ ลั ดว้ ยความรับผดิ ชอบ ข้อมูลร่องรอยทางดิจิทลั เช่น การ
ลงทะเบยี น อเี มล การโพสตข์ อ้ ความหรือรปู ภาพ ไฟล์งานตา่ ง ๆ เมอื่ ถกู สง่ เขา้ โลกอินเทอรเ์ นต็ แล้ว จะทิง้ รอ่ งรอยขอ้ มูล
ส่วนตัวของผใู้ ช้งานไว้ ให้ผู้อน่ื สามารถติดตามได้ และจะเป็นข้อมูลทีร่ ะบุตวั บุคคลได้อยา่ งงา่ ยดาย

ทักษะดา้ นท่ี 8 ความเหน็ อกเหน็ ใจและสร้างสมั พันธภาพที่ดกี บั ผู้อ่ืนทางดจิ ทิ ัล (Digital Empathy)
ความเหน็ อกเหน็ ใจและสร้างสมั พันธภาพทด่ี กี ับผู้อ่นื ทางดจิ ิทัล เป็นความสามารถในการเข้าใจผอู้ ืน่ การ

ตอบสนองความตอ้ งการของผ้อู นื่ การแสดง ความเห็นใจและการแสดงน้าใจตอ่ ผูอ้ ื่นบนโลกดจิ ิทัลได้อยา่ งเหมาะสม มี
ปฏสิ ัมพันธอ์ นั ดตี ่อคนรอบข้าง ไมว่ า่ พ่อแม่ ครู เพอ่ื นทง้ั ในโลกออนไลนแ์ ละในชวี ิตจรงิ ไมด่ ่วนตัดสนิ ผอู้ ืน่ จากข้อมลู
ออนไลน์แตเ่ พยี งอยา่ งเดียว และจะเปน็ กระบอกเสียงใหผ้ ้ทู ่ีตอ้ งการความช่วยเหลอื ในโลกออนไลน์

จะเห็นวา่ ความฉลาดดจิ ทิ ลั ในระดบั พลเมอื งดจิ ทิ ัลเป็นทกั ษะทีส่ าคัญสาหรับนกั เรียน และบคุ คลทว่ั ไปในการ
สื่อสารในโลกออนไลนเ์ ปน็ อยา่ งยง่ิ ท้งั เอกลกั ษณพ์ ลเมอื งดจิ ทิ ลั การบริหารจดั การเวลาบนโลกดจิ ทิ ัล การจัดการการ
กลัน่ แกลง้ บนไซเบอร์ การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครอื ข่าย การจัดการความเปน็ ส่วนตวั การคดิ อยา่ งมี
วิจารณญาณ รอ่ งรอยทางดจิ ทิ ัล ความเห็นอกเหน็ ใจและสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี ีกบั ผอู้ ่นื ทางดจิ ิทลั หากบคุ คลมที กั ษะและ
ความสามารถทัง้ 8 ประการจะทาใหบ้ ุคคลนนั้ มีความสามารถในการใช้อนิ เทอร์เน็ตในการบรหิ ารจดั การ ควบคมุ กากับ
ตน รู้ผิดรถู้ ูก และรูเ้ ท่าทนั เปน็ บรรทัดฐานในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั อยา่ งเหมาะสม เรยี นรทู้ ีจ่ ะใช้เทคโนโลยอี ยา่ ง
ชาญฉลาด และปลอดภัย

33

2. การรู้เทา่ ทันสอื่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 | การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

การรู้เท่าทนั สื่อ คือ การทเ่ี ราไมห่ ลงเช่ือเน้อื หาทไี่ ด้อา่ น ได้ยิน ได้ฟัง แตส่ ามารถคดิ วเิ คราะห์ สงสยั และรจู้ กั ตง้ั
คาถามวา่ ส่งิ น้ันจรงิ หรือไมจ่ ริง ใครเปน็ คนให้ขอ้ มลู เขาต้องการสอ่ื อะไร หรอื มีจดุ มุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่เด็กและเยาวชน
ของเราอยู่ทา่ มกลางกระแสโลกาภิวตั นท์ ่ีเต็มไปด้วยข่าวสารท่เี สรี โดยปราศจากการขวางก้ันกจ็ รงิ แตป่ ระเดน็ ท่นี ่าคิดคือ
“เสรภี าพของสอื่ และข้อมลู ข่าวสาร” ชนิดไรพ้ รมแดนนี้ เอื้อประโยชน์ต่อใครกันแน่เพราะในกระแสโลกาภวิ ัตนท์ ่เี ชยี่ วกรากนี้
ปลาใหญ่ย่อมกนิ ปลาเลก็ ผูร้ ับสารทีไ่ มร่ ู้เทา่ ทนั สือ่ ไมร่ ู้จกั พิจารณาแยกแยะเลอื กรบั ขา่ วสารดว้ ยสติปญั ญา ยอ่ มตกเปน็ ทาส
ของความคิด ความร้ทู ่พี รั่งพรูมาจากผผู้ ลิตส่ือและเป็นผพู้ ร้อมรับวฒั นธรรมการใชช้ ีวติ ที่จมอย่ใู นกระแสทุนนยิ ม เชน่ การ
นยิ มบริโภคอาหารจานด่วน (Fast Food)การนิยมแฟชน่ั โปเปลือย การนยิ มความหรหู ราฟุ้งเฟอ้ การใช้สนิ คา้ และบริการ
ต่างๆอย่างฟุ่มเฟอยการนยิ มเสพสง่ิ เสพติดให้โทษ การนยิ มเลียนแบบดาราหรือบุคคลทม่ี ีชื่อเสียงในทางเส่ือมเสียและเสรภี าพ
ไร้พรมแดนของสื่อกาลังจะกลืนกินความดีงามของเราและบ่อนทาลายปัญญาของเยาวชนโดยอ้างเหตุแห่งความถูกตอ้ งตาม
สมัยนิยมสถานการณ์เหล่านเ้ี กิดขึ้นอย่างรวดเรว็ และรนุ แรงด้วยเหตนุ เ้ี ราจึงต้องสรา้ งให้เด็กและเยาวชนรูเ้ ทา่ ทันสอื่
เกดิ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการใช้ชีวิตอยา่ งรเู้ ท่าทันส่ิงตา่ งๆในโลกท่ซี บั ซอ้ นและไร้ระเบียบมากขนึ้ ทกุ วนั การร้เู ท่าทนั สื่อ
(Media Literacy) จงึ เป็นการพัฒนาความคดิ อา่ นและปัญญาท่ีมีเปา้ หมายสูงสดุ คือ การสรา้ งการรบั รู้สอ่ื อย่างมวี ิจารณญาณ
สามารถแยกแยะ

3.3 การใชส้ อื่ และปัญหาท่ีพบในส่อื ปจั จบุ นั

สอื่ สังคมออนไลน์ อาจไม่เป็นกลาง สามารถทีจ่ ะกอ่ ให้เกิดผลกระทบในวงกวา้ งทั้งดา้ นความคดิ อารมณ์
ความรู้สึกของสมาชกิ หรือผู้รับสอื่ สังคมออนไลน์ ผลกระทบที่เกิดข้นึ อาจมที ั้งข้อดแี ละข้อเสียและไมส่ ามารถควบคุม
ได้ กรณที เี่ ผยแพร่ข้อมูลผ่านเวบ็ ไซต์ ผสู้ รา้ งข้อมูลสามารถเปล่ียนแปลง แกไ้ ขและสามารถกาหนดเงอ่ื นไข ความ
รบั ผิดชอบ การควบคมุ เนือ้ หาสาระได้ ขณะทก่ี ารเผยแพร่ข้อมูลผา่ นสอ่ื สังคมออนไลน์ ผู้เผยแพรไ่ ม่สามารถเป็นผู้
กาหนดขอบเขตความรับผดิ ชอบไดเ้ อง แตผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารสื่อสงั คมออนไลนจ์ ะเป็นผ้กู าหนดขอบเขตความรับผิดชอบ
ผู้ใช้ไม่สามารถเปล่ียนแปลงข้อมูลได้ ซึ่งมที ้ังทเ่ี ป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ ในขณะที่เทคโนโลยีการส่ือสารได้รบั
การพัฒนาอยา่ งก้าวลา้ ส่ือสังคมออนไลนก์ ลับส่งอทิ ธิพลลบต่อชีวติ ประจาวันและความสมั พนั ธ์ของคนในสังคม
อยา่ งชดั เจนมากย่งิ ข้ึนจนกลายเปน็ ประเด็นทางสังคม ท่ีท้ังส่ือ บทกฎหมาย และประชาชนเองจะต้องใหค้ วามสาคัญ
ในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาเหลา่ นี้

1. การคกุ คามผ่านสือ่ ออนไลน์ (Cyber Bullying) คือการคุกคามหรือรังแกกันผา่ นเทคโนโลยี
สารสนเทศทงั้ อีเมลข่มข่หู รอื แบล็คเมล การส่งข้อความทางโทรศัพท์ การข่มข่ทู างโทรศัพท์ โปรแกรมออนไลน์ และ
ชัดเจนท่สี ดุ คือการคุกคามผ่านสอื่ สังคมออนไลน์

2. การโจรกรรมเอกลักษณ์บุคคล (Identity Theft) ได้กลายเป็นปัญหาใหญท่ งั้ ในสงั คมไทยและประเทศ
อ่นื ๆทว่ั โลก และยงั เปน็ อีกสาเหตขุ องการเติบโตอันรวดเรว็ ของจานวนสมาชิกทีเ่ พ่ิมข้นึ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์

3. เครือขา่ ยสังคมออนไลนส์ ร้างปัญหาทางความสัมพันธ์ของคนในสังคม ทาใหค้ นห่างไกลกันมากข้นึ
เพราะวิธกี ารสื่อสารกับคนรูจ้ ักและคนแปลกหน้าบนอนิ เทอรเ์ น็ตทาให้ความรู้สกึ ของคนเปล่ียนไป

4. ส่อื สังคมออนไลนม์ ีผลกระทบทางลบต่อการทางานท้ังของนายจ้าง ลูกจา้ ง และแม้กระทั่งวา่ ท่ี
พนักงานในอนาคต เพราะสอ่ื ที่เป็นเครือขา่ ยสังคมออนไลน์จะคอยรบกวนการทางาน สมาธิของพนักงาน ทาให้
ประสทิ ธภิ าพในการทางานลดลง

34

ประโยชนแ์ ละโทษของอินเตอร์เน็ต

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามที่กาหนด

1. ประโยชน์ในการสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต ………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. โทษในการสอื่ สารบนอนิ เทอรเ์ น็ต ..................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

35

เหตผุ ลวบิ ตั ิ (fallacy)

คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามท่กี าหนด

เหตผุ ลวบิ ตั ิ (fallacy) คอื …………………………………………………………………............................……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

องค์ประกอบการร้เู ท่าทันสื่อ

คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามทกี่ าหนด

องคป์ ระกอบของการรู้เท่าทนั สอ่ื มีอะไรบา้ ง .......................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

36

ทกั ษะและเท่าทันการใชส้ ื่อในยุคดิจิทลั

คาช้ีแจง ให้นักเรยี นตอบคาถามทก่ี าหนด

เด็กเยาวชนในยุคปัจจุบนั มีทกั ษะและเท่าทนั การใช้สื่อในยคุ ดิจทิ ัลยคุ ใหมค่ วรเรียนรู้ 8 ทกั ษะ มีดงั นี้

1. ………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
2.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
3.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
4.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
5. ………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
6.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
7.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..
8.………………………...................………………………………………………………………………………………………………………..

37

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2

คาชี้แจง : ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบทีถ่ ูกต้องทส่ี ดุ เพียงข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใดจดั ลาดับการสบื คน้ ข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ตได้ถกู ต้อง
ก. กาหนดวตั ถุประสงค์ > กาหนดประเภทของข้อมูล > กาหนดคาสาคัญ > ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือข้อมูล
ข. กาหนดวตั ถุประสงค์ > กาหนดคาสาคญั > กาหนดประเภทของขอ้ มลู > ประเมินความนา่ เชื่อถือข้อมลู
ค. กาหนดคาสาคัญ > กาหนดวัตถปุ ระสงค์ > กาหนดประเภทของข้อมูล > ประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือข้อมูล
ง. กาหนดประเภทของขอ้ มูล > กาหนดคาสาคญั > กาหนดวตั ถุประสงค์ > ประเมินความนา่ เช่ือถือข้อมูล

2. คุณพ่อของเอมอายมุ ากแล้วเอมต้องการหาเครอื่ งดมื่ ท่ีเหมาะให้คณุ พ่อด่ืม เอมจึงค้นหาข้อมูลบนอินเทอรเ์ นต็ ด้วยคาว่า
เครือ่ งด่ืมสุขภาพผูส้ ูงอายุ พฤติกรรมของเอมตรงกับขัน้ ตอนใด
ก. กาหนดคาสาคัญสาหรบั สบื คน้ ข้อมูล
ข. กาหนดประเภทของข้อมูลท่ีจะสบื คน้
ค. กาหนดวัตถปุ ระสงค์และหัวข้อการสบื ค้นใหช้ ดั เจน
ง. ประเมินความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการสบื ค้น

3. หากตอ้ งการคน้ หารปู ภาพรถยนต์ Hybridข้อใดใชเ้ ทคนิคการคน้ หาข้อมลู ดว้ ย Google.com ได้อยา่ งเหมาะสม

ก. รถยนต์ – Hybrid ข. รถยนต์ + Hybrid

ค. รถยนต์ “ Hybrid ” ง. รถยนต์ or Hybrid

4. ขอ้ ใดไม่ใชห่ ลกั การในการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมลู
ก. ประเมินระดบั เนื้อหาของข้อมลู
ข. ประเมนิ ความตรงตามความตอ้ งการของข้อมูล
ค. ประเมินความน่าเชื่อถือและความทนั สมยั ของข้อมูล
ง. ประเมินความความน่าเชอ่ื ถอื ของเคร่ืองมือในการสืบคน้

5. ซันต้องการซ้ือรถยนต์คนั ใหม่จึงหาข้อมูลการเปดิ ตัวรถยนตร์ ่นุ ใหม่จากเว็บไซตข์ องคา่ ยรถยนต์โดยตรง
ซันประเมินความน่าเช่ือของข้อมูลตามข้อใด
ก. ประเมินระดบั เน้ือหาของข้อมูล
ข. ประเมนิ ความตรงตามความตอ้ งการของข้อมูล
ค. ประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือและความทันสมัยของข้อมูล
ง. ประเมนิ ความความนา่ เชื่อถอื ของเครือ่ งมอื ในการสืบค้น

6.ขอ้ ใดไม่ใช่วธิ กี ารประเมนิ ความนา่ เช่ือถือโดยใช้ PROMPT
ก. กระบวนการ (Process)
ข. วัตถปุ ระสงค์ (Objectivity)
ค. พสิ จู นห์ รือยนื ยัน (Provenance)
ง. ทันเหตุการณแ์ ละเป็นปจั จุบัน (Timeliness)

38

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2

คาช้แี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว

7. ขอ้ ใดไมใ่ ชก่ ารใช้เหตุผลแบบวบิ ตั ิ
ก. การเจตนาฆา่ คืออาชญากรรม ปอ๊ ปถูกคนรา้ ยขฆู่ า่ เพ่อื กรรโชกทรัพยแ์ ต่ป๊อปต่อสแู้ ละใชป้ นื ของคนรา้ ย
ยิงเขา้ ทีข่ าป๊อปจึงเปน็ อาชญากรวบิ ัติ
ข. นกั เรยี นท่เี ขา้ เรียนในความรูพ้ ้นื ฐานในปที ผ่ี า่ นมาจะสอบผ่าน ดงั นน้ั เด็กนกั เรียนทุกคนทเ่ี ข้าเรยี นคาบ
ความรพู้ ้นื ฐานในปีน้จี ะสอบผ่าน วิบตั ิ
ค. มิวมฐี านะทางบ้านปานกลาง จงึ ขอให้ศิลปินทา่ นอื่นไมค่ ิดค่าลขิ สทิ ธเิ์ วลานาเพลงศิลปินทา่ นอืน่ ไปทา
การแสดงเพื่อใหม้ ิวมีรายได้เลีย้ งครอบครัว วิบตั ิ
ง. ว่านได้ผลการเรียนที่ดีและได้รางวัลจากพ่อ เนอ่ื งจากพ่อสัญญาว่าจะให้รางวลั ถา้ ว่านไม่ตดิ ศนู ย์วชิ าใดเลย

8. การพิจารณาการกระทาของตนเองว่ามผี ลกระทบหรือผลลพั ธ์ตอ่ ผู้อื่นอย่างไร เปน็ ลกั ษณะของการรู้เท่าทนั สือ่ ในข้อใด
ก. การสะท้อนคิด
ข. ความสามารถในการเข้าถึงสอ่ื
ค. ความเข้าใจการประเมนิ คา่ สารสนเทศและเน้ือหาในส่ือ
ง. การสร้าง การใชป้ ระโยชน์ และการเฝ้าระวงั สารสนเทศและเนอื้ หาในส่ือ

9. ปอยต้องการโพสตใ์ บแจ้งคะแนนผลการเรยี นของตนเองลงเฟซบุก๊ ปอยจงึ นาปากสีเข้มมาเขยี นปกปิดข้อมลู ท่ีไมเ่ หมาะสม
ต่อการเปดิ เผยต่อผู้อ่นื ท้ังแลว้ จงึ ถ่ายรูปโพสตล์ งเฟซบุ๊ก การกระทาของปอยเปน็ การรู้เท่าทันส่ือตามข้อใด
ก. ความร้เู ทา่ ทนั ข้อมลู ดจิ ทิ ัล
ข. การปกป้องความเป็นส่วนตัวและขอ้ มูล
ค. การสรา้ งอัตลกั ษณ์สว่ นตัวในโลกออนไลน์
ง. การใช้ข้อมูลดจิ ิทลั อย่างสร้างสรรค์และไม่ละเมิดสทิ ธิ์

10. ข้อใดเปน็ ผลกระทบของข้อมลู ท่ีผดิ พลาด
ก. ฟา้ ใชแ้ ผน่ พบั เรื่องโรคมะเร็งจากโรงพยาบาลศริ ริ าชมาเขียนบล็อกและเผยแพร่
ข. ก้อยนารูปภาพโปสเตอรเ์ ชิญชวนเข้าสมัครเข้ารว่ มโครงการอาสาปลูกปะการังจาก UNESCO
มาแชรห์ นา้ เฟสบกุ๊ ของตนเอง
ค. หญงิ อา่ นข้อมลู ปริมาณของจานวนรถยนต์ส่วนบคุ คลทเี่ พิ่มขน้ึ อยา่ งต่อเนื่องจากเว็บไซต์กรมการขนสง่
แลว้ มาเขยี นบทความตามมุมมองของตนเองและแชรบ์ นเฟซบุ๊ก
ง. ออยเห็นประกาศเตอื นทหี่ นา้ โรงพกั เรื่องให้ระวังขโมยในช่วงปีใหมเ่ นือ่ งจากพ้ืนท่ีท่ีตารวจต้องดูแลมบี ริเวณกวา้ ง
อาจทาให้ดแู ลไมท่ วั่ ถงึ ออยจงึ ถ่ายรูปลงไลน์กลุ่มของหมู่บา้ นตนเอง

39

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ตัวช้ีวัด ว 4.2 ม.3/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัยและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ปฏิบตั ติ ามกฎหมายเกยี่ วกบั
คอมพิวเตอร์ ใช้ลิขสทิ ธิ์ของผอู้ ่นื โดยชอบธรรม

การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศ

การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ หมายถงึ กระบวนการตา่ งๆ และระบบงานที่ช่วยใหไ้ ด้
สารสนเทศหรือข่าวสารท่ีตอ้ งการ โดยจะรวมถงึ

1. เครื่องมือและอปุ กรณ์ตา่ งๆ หมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครือ่ งใช้สานักงาน อุปกรณ์คมนาคม ตา่ งๆ
รวมทัง้ ซอฟตแ์ วรท์ ง้ั ระบบสาเร็จรปู และพัฒนาขน้ึ โดยเฉพาะด้าน

2. กระบวนการในการนาอุปกรณ์เคร่ืองมอื ตา่ งๆ ขา้ งตน้ มาใช้งาน รวบรวมขอ้ มูล จัดเก็บประมวลผลและ
แสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบตา่ งๆ ทสี่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดต้ ่อไปในปจั จบุ ัน

เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology IT)

หมายถงึ การนาความรูท้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์มาประยุกตใ์ ช้เพอ่ื สร้างหรือจัดการสารสนเทศอย่างเปน็
ระบบและรวดเรว็ โดยอาศัยเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพวิ เตอร์สารสนเทศรอบตัวเราทมี่ อี ยมู่ ากมาย อาจไมไ่ ด้
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการนาไปใชก้ บั ทุกคนในทุกสถานการณ์ ในทีน่ ้ีจะกลา่ วถึงการแบง่ ระดบั ของสารสนเทศ
ตามลักษณะของ การนาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ ซ่ึงสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ได้แก่ ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร ซ่ึงมีรายละเอียดดังน้ี

1. สารสนเทศระดบั บุคคล
คอื ระบบทช่ี ่วยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพและเพ่ิมผลผลติ จากการปฏิบตั ิงาน
ให้กับแตล่ ะบคุ คลในองค์กร มีการประยุกตท์ ี่ชว่ ยทาให้การทางานใน
หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ สว่ นตัวของบคุ คลนนั้ มีคุณภาพและประสิทธิภาพ

40

เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology IT) หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 | เทคโนโลยสี ารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอน | เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3
2. สารสนเทศระดับกลุ่ม

ในการทางานทีต่ ้องมีการทางานรว่ มกนั ของ
กลุ่มบุคคล เพ่ือใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในเปา้ หมายท่ี
ต้องการ เปน็ จดุ กาเนิดของสารสนเทศระดบั กลุ่ม ซง่ึ
จะช่วยเสรมิ การทางานของกล่มุ คนใหม้ ีประสทิ ธิภาพ
มากข้นึ เพอื่ เป็นการเตรียมสภาวะแวดล้อมในการ
ทางานท่จี ะเอ้ือประโยชน์ร่วมกนั สามารถให้ความ
ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน

3. สารสนเทศระดับองคก์ ร คอื สารสนเทศทส่ี นับสนนุ งานขององค์กรในภาพรวม ระบบในลกั ษณะนจ้ี ะ
เกย่ี วขอ้ งกับการปฏิบัตงิ านร่วมกนั ของหลายกลุ่มงาน มีการส่งผ่านขอ้ มูลทเี่ กี่ยวข้องกันระหวา่ งกล่มุ งาน สารสนเทศระดับ
องค์กรใช้สาหรับสนับสนุนการบริหารและจดั การในระดบั ที่สูงขึน้ กว่ากลมุ่ งาน เน่อื งจากสามารถนาข้อมูลจากกลุ่มงานต่างๆ
ท่เี ก่ยี วข้องมาใช้ประกอบการตดั สินใจ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มงานมาแสดงในรปู แบบสรุป

41


Click to View FlipBook Version