จุลสารอัน-นัศร ฉ ับบที่ 7 ป ่ที 3
ปรัชญา : รูแจง ศรัทธามั่น คุณธรรม บูรณาการ สรางสรรคสังคมดุลยภาพ
ขอแสดงความยนิ ดกี ับบณั ฑิต
สถาบันอิสลามและอาหรบั ศกึ ษา ในโอกาสเขา รับพระราชทานปริญญาบตั ร
ประจำป 2555
page 02
@-2:+59!ų!90+č "9" L= g #ā L= c
#+9 : Ģ +AĊE Ċ 0+9 :)9L! @ ++) "A+ : :+ 2+Ċ: 2++ č29 ) @-*(:&
บิสมิลลาฮิรเราะหมานิรรอฮีม อัสลามมูอาลัยกุม
5E2 /:)*!< = 9""9 <
2 :"!9 52< -:)E-85:3+9"0 > 1: G!F5 :2D
:Ċ +9"&+8+: :!#+ < :" 9 +
สลามแดผ ูอ านทุกทานครับ หากจุลสาร อัน – นศั ร เปรยี บไดด ่ังคนทที่ าน
ผูอานรอคอยทจี่ ะพบเจอ คงจะมผี ูอานหลายทาน ผิดหวังกับการรอคอย หรอื อาจเลิก #+8 ;# ā beee
สนใจทจี่ ะรอไปเลยกไ็ ด เนือ่ งจากเปนการรอคอยทีต่ องใชเ วลานาน อาจทำใหค นท่ีรอ
เริม่ ทอแทท่จี ะรอ จรงิ หรอื เปลา ครบั ทา นพี่นองผอู า น จากปก
แต หากจะมองโลกในแงดี การรอคอยทใ่ี ชเวลานาน ย่ิงใชเวลานานเทาไหร พิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแกบณั ฑติ
ยิ่งทำใหสิ่งนั้นมีคามากขึ้น พี่นองคิดเหมือนผมหรือเปลาครับ (เขาขางตัวเองนิดนึง ที่จบการศึกษาในปการศึกษา 2554 ระหวาง
นะครับ) อัน-นัศร ฉบับนี้ เปนฉบับแหงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหมครับ ทั้งรูปแบบ วันท่ี 22–24 กันยายน 2555 ณ หอประชุม
เนื้อหาที่หลากหลายมาก พรอมกับเรื่องราวตาง ๆ ที่ชวนใหนาสนใจมากกวาเดิม คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั นราธวิ าส-
โดยทางสถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร ราชนครนิ ทร โดยในปน ี้ มีบัณฑิตจากสถาบัน
ไดจัดการประชุมบรรดาคณาจารยตาง ๆ เพื่อระดมความคิดเห็น ในการปรับปรุง อสิ ลามและอาหรบั ศกึ ษา เขา รว มรบั พระราชทาน
ใหจุลสาร “อนั -นศั ร” มคี วามคุมคามากที่สุดที่ผอู านทกุ คนจะได และในขณะเดียวกนั เปนปแ รกรวมทง้ั สน้ิ 43 คน
จลุ สาร “อัน-นัศร” ในปน้ี ใหคำม่ันสญั ญาวา จะผลิตบทความดี ๆ ใหออกตรงตาม
กำหนดเวลา ( 3 เดือน / ฉบับ) อนิ ชาอลั ลอฮ ท่ีปรึกษา
จากท่กี ลา วมาท้งั หมด จงึ เปนทมี่ าของ “อัน-นศั ร” ฉบับนค้ี รบั สวนเนอื้ หา อาจารยเจะเหลา ะ แขกพงศ
ที่บอกวานาสนใจ หลากหลายมากขึ้น อยากใหผูอาน ไดลองอานดูกันเองนะครับ อาจารยร อฮีม นยิ มเดชา
บอกกอ น อาจจะไมต นื่ เตน ดร.อับดุลรอเซะ หะมแี ย
อาจารยอ ะลี เจะ แล
สุดทายครับ ทางคณะผูจัดทำ ยังคงตองการขอเสนอแนะจากพี่นองผูอาน ผชู วยศาสตราจารยนิตยร ดี บอื ราเฮง
ทกุ ทานอยนู ะครับ ทานใดทีม่ ขี อเสนอแนะ มีขอคิดเห็นอยากใหเ พิ่มเติม หรือปรบั ปรงุ
จุลสาร ก็สามารถติดตอไดที่ สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัย บรรณาธิการ
นราธิวาสราชนครนิ ทร โทรศพั ท 073-532687 หรอื สงความคิดเหน็ ไดท่ี อีเมลล
[email protected] / เฟสบุค www.facebook.com/Dolraman ดลรามาน พันหวัง
และทา นสามารถ ตดิ ตามจุลสาร อนั -นัศร ในรูปแบบของ E-book ไดท่ี www.aias-
pnu.in.th ทกุ คำแนะนำ หรอื คำติชม จะเปน ประโยชนใ นการจัดทำ จลุ สารในครั้ง กองบรรณาธิการ
ตอ ๆ ไป ครบั อินชาอลั ลอฮ
ดร.มูฮำมดั วาเลง็
ดวยสลามและดูอาอฺ ดร.มะนะพยี ะ มาตี
ดลรามาน พันหวัง อาจารยอ บิ รอเฮง ดอเลาะ
อาจารยอ บั ดลุ รอยะ บินเซง็
บรรณาธิการ อาจารยอ าอชี ะห แวมามะ
อาจารยม ะตอเฮ มะลี
อาจารยแวอมั แร แวปา
อาจารยมะตอเยะ ฮามะ
อาจารยตัรมซี ี สาและ
แวลียะห รอนิง
นิมูฮำหมดั ฟต รี อาแว
อารีดีน อแี ตตีแม
นรู อาซีกนี มะแร
ซตี ีมาเรยี กาเดร
อาวานีส กือมอ
ลุกมานอัลหะกมี บินนหุ
อัฟนาน หะมะ
อับดุลรอฮิม มามะ
03 page
ผ.อ.
อีกหนึง่ กิจกรรมท่สี ะทอน “พหุลักษณ” และ อุดมการณอันสวยหรูของลัทธิมารกซิสตเริ่มตนขึ้น
ดว ยแนวคดิ การใหความสำคญั กบั มนษุ ยสูงสดุ มนุษยท ุกคน
“พหุวัฒนธรรม” ของสงั คมมหาวทิ ยาลัยนราธิวาสราชนครนิ ทร ยอมมีความเทาเทียมกันอยางสิ้นเชิง พวกเขากลาววา
ภายใตการนำของอธิการบดีคนทองถิ่นที่มีความเขาใจและ “เปาหมายสูงสุดของชาวมารกซิสตก็คือ มนุษยแตละคน
ยอมรับความแตกตาง มุงมั่นที่จะธำรงไวซึ่งอัตลักษณทาง จะมีโอกาสไดพัฒนาความคิดและการกระทำของตนเอง
วัฒนธรรมและศาสนา ยินยอมใหนักศึกษามุสลิมะฮฺของ ไดอ ยางไมม ขี ดี จำกัด แตละคนจะพฒั นาไปตามความสามารถ
สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษาเขารับพระราชทานปริญญา ของตนเองซง่ึ จะแตกตางกันไปตามความสนใจ” แตในทาง
บัตรดวยชุดแตงกายที่ถูกตองตามหลักศาสนาแมไมถูกตาม ปฏิบัติกลับมุงการใชอำนาจรัฐควบคุม ปดกั้นเสรีภาพ
ระเบียบของมหาวิทยาลัย ตอกย้ำอัตลักษณวัฒนธรรมและ มงุ หวงั ใหทุกคนเหมอื นกันในรปู แบบเดียว (uniformity) ทั้งที่
ความเชื่อทางศาสนาตองมากอ น มนุษยแตละคนตางก็มีอัตลักษณเฉพาะตัวที่ไมเหมือนใคร
และไมมีใครเหมือน ลายนิ้วมือของแตละคนก็ไมเหมือนกัน
มีผกู ลา ววา “ความหลากหลายแตกตา งทางวัฒนธรรม ทุกคนตองการความมีเสรีภาพที่จะกระทำในสิ่งที่ตนเองปรารถนา
เหมือนดอกไมหลายสีในกระถางเดียวกันที่มีความสวยงาม ผลที่เกิดขึ้นก็คืออุดมการณดังกลาวลมสลายไมสามารถปฏิบัติ
เปนคำกลาวเชิงอุดมคติที่งายตอการยอมรับในดานมโนทัศน ไดจรงิ แมเพยี งสักประเทศเดียวในโลกสงั คมนิยมคอมมวิ นสิ ต
แตยากนักตอการนำออกสูวิถีแหงการปฏิบัติ” ดูเหมือน
คำกลาวนย้ี งั คงเปน ความจริง เพราะประวัตศิ าสตรสงั คมโลก การยอมรับในคุณคาของความแตกตาง ณ วันนี้
ยังคงเดินซ้ำรอยเดิมอยูซ้ำแลวซ้ำเลาในการปฏิเสธความ ยอมมีความหมายอยางยิ่งตอการวางรากฐานแนวคิดที่ดีให
เทาเทียมกันของมนุษย คนกลุมนอยหรือกลุมที่ไมมีอำนาจ กบั บณั ฑิตและทกุ คนในสงั คมมหาวิทยาลยั ไดเ ห็นคุณคา ของ
คนดอยโอกาสยังคงไมสามารถใชชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีเทาเทียม ตวั เองและผูอื่น เห็นคุณคาของความเสมอภาคเทาเทียมกนั
กับคนกลมุ ใหญหรือคนกลุมที่มีอำนาจในหลาย ๆ พืน้ ทที่ ัว่ โลก อันจะเปนพลังขับเคลื่อนใหแตละคนไดแลกเปลี่ยนสิ่งที่ดี ๆ
อดีตเคยปรากฏอยางไรปจจุบันก็ยังคงปรากฏใหเห็นอยูเชนนั้น ใหแ กก นั และกนั จนเกิดการผสมเกสรทางความรูและตอยอด
ดอกไมหลากสมี ีความงดงามจึงเปน แคเ พยี งลมปากทีไ่ รว ิญญาณ ทางปญญาสูการพัฒนาสังคมภายใตความแตกตางไดอยาง
และยงั คงยากที่จะสมั ผสั ไดใ นชีวิตจริง สรา งสรรค
มหาวิทยาลัยที่มีรากฐานแนวคิดและบริบทแวดลอม
เชนนี้ที่จะสามารถหลอหลอมบัณฑิตใหเปนผูตั้งมั่นอยูใน
อัตลักษณ มจี ิตใจทเี่ ปด กวา ง เคารพและใหเ กยี รตติ อ เพ่ือนมนุษย
มีจิตสำนึกสูงสงไมวัดคุณคาของคนที่รูปรางหนาตา หนาที่
การงาน หรอื ทรพั ยส นิ เงนิ ทอง แตวัดทคี่ วามดีงามที่แตละคน
สามารถสรา งและครอบครองไดเทาเทยี มกัน
ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จงรกั พลาศัย
อธิการบดมี หาวิทยาลยั นราธิวาสราชนครนิ ทร
page 04
The Story
ofAcademy
โดย อ.มะตอเฮ มะลี
สลาม แดท า นผอู า นทเ่ี คารพ 2. ดานกระบวนการดำเนนิ โครงการ
เปน เวลาสามปแลว ทีท่ างมหาวทิ ยาลัยนราธิวาสราชนครินทร ในดา นนี้ ผูท ำวจิ ัยไดต ั้งประเดน็ การประเมนิ ไว 3
ไดมอบหมายให สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา จัดโครงการ ประเด็น ดวยกันคือ ประเด็นการประชาสมั พนั ธขั้นตอนปฏบิ ตั ติ า ง
“บัณฑิตอาสา ตาดีกากาวไกล” ขึ้น ซึ่งเปนโครงการที่มุงบริการ ๆ อยางทั่วถงึ และดำเนินการไปตามข้ันตอนทีก่ ำหนด
วิชาการแก ศูนยการศึกษาอิสลามประจำมัสยิด หรือที่เรียกกันวา ประเด็นการประชาสมั พันธ โครงการฯ ตอชุมชนุ
ตาดีกา มาตง้ั แต พ.ศ 2553 - 2555 เปนระยะเวลาสามปตดิ ตอ กนั และประเด็นมกี ารติดตามผล และประเมนิ อยา งสมำ่ เสมอ
โดยสถาบนั อสิ ลามและอาหรบั ศึกษาสงบณั ฑิตอาสา ของสถาบันอสิ ลามฯ โดยคะแนนเฉลี่ยของทง้ั 3 ประเด็น อยทู ี่ 3.7 จากคะแนนเต็ม 5
จำนวน 80 คน ลงปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเรียนการสอนในศนู ยต าดีกาตา งๆ ไดรับความพงึ พอใจอยูในระดบั มาก
จำนวน 36 ศนู ย ระหวาง 2 ปแรก และในป 2555 ไดเ พมิ่ จำนวน
อีก 6 ศนู ยต าดกี า รวมทัง้ ส้นิ 42 ศูนย แบง เปน ในจังหวัดนราธิวาส 3. ดา นการมีสวนรว มของชุมชน
จำนวน 40 ศนู ย และในจงั หวัดปต ตานี จำนวน 2 ศนู ย มจี ำนวน
นักเรยี นทเี่ รยี นอยูตามศนู ยฯ รวมท้ังสนิ้ 3,085 คน โดยในป 2555 นี้ ในดา นการมสี ว นรวมของชมุ ชน ผูว จิ ยั ไดต งั้ ประเด็น
สถาบันอิสลามละอาหรับศึกษาไดจัดใหมีการทำวิจัยเรื่อง การประเมินไว 3 ประเดน็ ประกอบดว ยประเด็นทา นมสี วนรวม
“ความพงึ พอใจของชมุ ชนตอ โครงการบัณฑิตอาสา ตาดกื า กาวไกล ” ในการใหความคดิ เห็นและการจัดโครงการบณั ฑติ อาสาตาดกี า
ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค เพื่อทราบถึงความพึงพอใจของ ชุมชนตอ กาวไกลฯ ประเด็นความเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการ
การจัดโครงการบณั ฑติ อาสา ตาดีกา กา วไกล ทราบปญ หา และ ของศนู ยต าดีกา/ชุมชนุ และประเด็นการสรางเครือขา ยระหวาง
อปุ สรรค ในการดำเนนิ โครงการอาสาฯ เพอ่ื นำผลการวจิ ยั ไปปรบั ปรงุ ศนู ยตาดีกากบั มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราชนครินทร ไดร บั คะแนน
พัฒนาการโครงการใหสอดคลองกับความตองการของชุมชนมากขึ้น เฉลยี่ อยทู ่ี 3.9 มีความพึงพอใจในระดบั มาก จากคะแนนดังกลา ว
รวมถึงเพื่อนำผลการศึกษามาประเมินดานงานบริการทางวิชาการ ทำใหสามารถสรปุ ไดวา การจดั โครงการนั้น ไดรับการตอบรบั
และการเรียนการสอน/ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามในการจดโครงการ จากชุมชน โดยชมุ ชนเขามามีสว นรวมและใหก ารสนบั สนุนโครงการ
ในคร้ังตอๆไป
4. ดา นคณุ ภาพของการดำเนินโครงการ
สำหรับผลสรุปการวิจัย เรื่อง “ความพึงพอใจของ
ชุมชนตอโครงการบัณฑิตอาสา ตาดืกา กาวไกล” ทางผูวิจัย ดานคณุ ภาพของโครงการ ไดรับคะแนนความพึงพอใจ
ไดตั้งประเด็นการสอบถามไวในเครื่องมือวิจัยโดยเนนใหครอบคลุม เฉลี่ยอยูที่ 3.8 ซึ่งอยูในระดับมาก โดยประเด็นที่ไดรับคะแนน
ถงึ วตั ถุประสงคข องโครงการในทุกดาน สามารถสรุปเปน ประเดน็ ตา ง ๆ ความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดคือ ความพึงพอใจตอโครงการโดยรวม
ไดดังตอไปนี้ ไดรับคะแนนเฉล่ยี อยูที่ 4.0 รองลงมาคือ ประเดน็ ท่ีโครงการบณั ฑติ
อาสาตาดีกากาวไกลสงผลใหศูนยตาดีกาสามารถดำเนินการจัด
ผลสัมฤทธ์ิบัณฑิตอาสา สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา การเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ไดรับคะแนน
ในการบรกิ ารวิชาการแกศ นู ยตาดีกามดี ัง้ นี้ ความพงึ พอใจเฉลี่ยอยทู ่ี 3.9
1. ดานความพรอมของโครงการ/ความพรอมของ สำหรับคาความพึงพอใจโดยเฉลี่ยรวมทุกดาน ไดรับ
บัณฑติ ผใู หบ รกิ าร คะแนนเฉลยี่ อยทู ี่ 3.9 จากคะแนนเต็ม 5 ไดรับความพึงพอใจใน
ระดบั ดีมาก
ผูตอบแบบสอบถาม ใหคะแนนความพึงพอใจ เฉลี่ยอยูที่
3.9 จากคะแนนเต็ม 5 อยูในระดับพอใจมาก โดยประเด็นที่ไดรับ จากผลการทำวิจัยดังกลาว นาจะเปนผลดีตอการจัด
คะแนนเฉลย่ี ความพึงพอใจสูงสุดคอื “บุคลิกภาพของบณั ฑติ อาสาฯ โครงการบัณฑิตอาสา ตาดีกากาวไกล ในครั้งตอไป เนื่องดวย
มคี วามเหมาะสม” ซ่ึงไดร ับคะแนนเฉล่ียอยูท่ี 4.0 ผลการวจิ ยั ชใ้ี หเ หน็ วา ชุมชนไดป ระโยชนจ ากโครงการ
05 page
คุยภาษาอาหรบั กับ ดร.เซะ
สลามทา นผูอา นท่รี กั ทุกทา น หายหนา หายตาไปหลายเดือนนะครับ สำหรับการพดู คุยภาษาอาหรบั กับ
ดร.เซะ อัลฮัมดลู ลิ ลาฮ ฉบบั น้ี กถ็ อื เปน โอกาสดที ไี่ ดก ลับมาพดู คุยกับพีน่ อ งผูอานอกี ครงั้ หนึ่ง สำหรับในฉบับน้ี
จะพดู ถงึ เกีย่ วกบั ภาษาอาหรบั ใน สนามฟุตบอล ซง่ึ อาจจะเหมาะกับ ผอู า นทเี่ ปน ผูชายนะครบั
โอ เพอ่ื น.. คุณจะไปไหน ยาซามลี ี .. อีลาอัยนา ตัซฮบั
ผม จะไปท่ีสนาม อานา อัซอบั อีลาลมลั อบั
คณุ จะไปทำอะไรทส่ี นาม ลีมาซา ตซั ฮาบู อีลาลมัลอบั
ออ ผมจะไปเลนฟุตบอล ลีอันนี อรู ีด อนั อัลอาลอับ กูรอตลั กอดดมั
ไปคนเดยี วหรือ ? อาตัซฮาบู วะหดัก
ใช ผมไปคนเดียว นาอมั อาซฮาบู วะหดี
ใหฉนั ไปกบั คุณดวยไดไหม ? ฮัล ยุมกีนูนี อนั อาซฮาบา มาอัก
ไดสิ เชิญเลย นาอัม.. ตาพดั ฏอล
คุณจะไปสนามไหนครบั ? อีลา อยั ยี มลั อบั ตาซฮับ
ไปสนามกีฬามหาวทิ ยาลัยนราธิวาส อลี า มลั อบั ญามอี าตลี อามีเราะห นราดวี าส
สนามนี้อยแู ถวไหนครับ ? อยั นา ยากออุ ฮาซาลมัลอบั
สนามนอ้ี ยทู ่ีโคกเขือ ฮาซาลมัลอบั ยากออุ ฟ มันตเี กาะห โคกเขือ
คณุ มลี กู ฟตุ บอลหรือเปลา ? ฮลั มาอากา กรู อตลู กอดมั
ครบั ผมมีลูกฟุตบอล นาอมั มาอี กูรอตูลกอดมั
คณุ เปนนักฟุตบอลอาชพี หรอื ? ฮัล อนั ตา ลาอบี มหุ ต ารฝิ
ไมใ ช ผมแคเปน นักบอลสมคั รเลน ลา.. อานา ลาอีบ อาดี
คุณเลนตะกรอ ดวยหรอื เปลาครับ ? ฮลั ตาอรฺ ผี อนั ตัลอบั กรู อฮฺ ตกั เราว
ใช จะเลนเปนบางครงั้ บางคราว นาอมั .. อัลอาบฮู า อหั ยานนั
แลว คณุ มีลกู ตะกรอ มาดว ยหรือเปลา หละ ? ฮัล มาอากา กรู อฮฺ ตกั เราว
ไมมี ผมไมไดเ อามา มนั อยทู บ่ี าน ลาอฺ .. ลัยสัต มาอลี อาน ฮยี า ฟลบยั ต
ครับ ยงั ย้ำอยูเสมอวา การเรียนรูภาษานน้ั จะตองมคี วามกลา กลาท่ีจะพดู ถึงแมผ ิดถกู กไ็ มเ ปน ไร เพื่อเปนการเพิ่ม
ความกลา และเพมิ่ ประสบการณการเรยี นรู. .... แลว พบกนั ใหมใ นฉบับหนา นะครบั สลาม
page 06
ชะรีอะฮฺนารูกฎหมายอิสลามวา ดวยครอบครวั และมรดกในจงั หวดั ชายแดนภาคใต
“จุดเดนของมุสลิมไทยในประชาคมอาเซียน”
Islamic law in regard to family and Inheritance in the Southern Provinces: Highlights of Thai Muslims in the ASEAN Community.
โดย อ.เจะเหลา ะ แขกพงศ
ใกลเขามาทุกขณะสำหรับการเริ่มตนเขาสูประชาคม
อาเซยี น (คือ ป 2558) ทกุ ประเทศและทุกภาคสวนตางกุลีกุจอเพ่อื
ชวงชิงและตื่นเตน ราวกับนักวิ่งรอยเมตรที่กำลังรอเสียงสัญญาณ
นกหวีดจากกรรมการในสนาม นักวิชาการหลายทานชี้วาการเขาสู
ประชาคมอาเซียนทุกภาคสวนตองคนหาจุดแข็งของตัวเองและพัฒนา
ไปบนพื้นฐานของจุดแข็งนั้นใหมีความโดดเดนเปนที่ยอมรับของปวงชน
แหงประชาคมอาเซียน มิใชมุงแตจะพัฒนาสิ่งใหม บนพื้นฐานที่
ตัวเองขาดความพรอม เพราะมิฉะนั้นจะทำใหสูญเสียอัตลักษณ
พลาดโอกาส และยากที่จะประสบความสำเร็จได สำหรับจังหวัด
ชายแดนภาคใต นอกจากภาษาและวัฒนธรรมมลายซู ึ่งคลา ยคลึงกับ
หลายประเทศในอาเซียนแลว ผูเขียนมีความเห็นวา การปรับใช
กฎหมายอสิ ลามวา ดว ยครอบครัวและมรดกในพน้ื ท่ีแหงนกี้ เ็ ปน จุดแขง็
อีกจุดหนึ่งของสังคมมุสลิมที่ควรไดรับการพัฒนาเพื่อสรางความ
โดดเดนใหกับจังหวัดชายแดนภาคใตและประเทศไทยในประชาคม
อาเซยี น
ดวยเหตทุ ป่ี ระชาคมอาเซยี นประกอบดวย 3 เสาหลัก เปน
รากฐาน ไดแ ก เสาประชาคมความมน่ั คง อาเซยี น (ASEAN Security
Community-APSC) เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community-AEC) และเสาประชาสงั คม และวฒั นธรรม
(ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ดังนั้น
การปรับใชกฎหมายอิสลามวาดวยครอบครัวและมรดก
อยา งเปนระบบและเหมาะสมจึงนาจะมีสว นสำคญั ในการเสริมสราง
ความเขมแข็งดานประชาสังคมและวัฒนธรรมซึ่งเปนเสาที่ 3 ของ
ประชาคมอาเซียน สงเสริมการพัฒนาความเปนอยูที่ดีและมีความ
มั่นคงทางสังคมและครอบครัว เนื่องจากพลเมืองสวนใหญของ
ประชาคมอาเซียนเปนมุสลิมยอมมีความปรารถนาที่จะสรางครอบครัว
และสืบทอดมรดกใหถูกตองตามหลักศาสนาที่ตนเชื่อมั่นศรัทธา
จึงเปนหนาที่ของมุสลิมไทยและรัฐบาลไทยที่จะตองเรงรัดพัฒนา
กระบวนการบังคับใชกฎหมายอิสลามวาดวยครอบครัวและมรดก
ที่ใชอยูทุกวันนี้ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับความตองการและ
ทันตอ ความเปลย่ี นแปลงของประชาคมอาเซยี นโดยเรว็
07 page
ผเู ขยี นไดม ีโอกาสรว มทำวจิ ยั เรื่อง การปรบั ใช (3) คูมือหลักกฎหมายอิสลามที่ใชประกอบ
กฎหมายอสิ ลามในประเทศไทย โดยมีผชู วยศาสตราจารย พระราชบัญญัติวาดวยการใชกฎหมายอิสลามในเขต
ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ อาจารยประจำคณะนิติศาสตร จังหวัดปตตานี ยะลา นราธวิ าส และสตูล พ.ศ. 2489
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเปนหัวหนาโครงการรวมกับ จัดทำขึ้นโดยยึดหลักมัซฮับซาฟอีซึ่งเปนมัซฮับที่แพร
ดร.มะรอนิง สาแลมิง และผูชวยศาสตราจารย ดร. หลายในประชาคมอาเซยี น
นเิ ลาะ แวอเุ ซง็ จากวิทยาลยั อสิ ลามศกึ ษา ม.อ.ปต ตานี
ผูชวยศาสตราจารย ดร.มุฮำหมัดซากี เจะหะ และ (4) มุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใตยังคง
อาจารยฆ อซาลี เบญ็ หมดั จากมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มีความเครงครัดในหลักการทางศาสนา ตอบรับ และ
พบวา การใชก ฎหมายอสิ ลาม ในเขตจงั หวดั ปต ตานี ยะลา ยินยอมพรอมใจที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและพัฒนา
นราธิวาส และสตูล มีปญหาอุปสรรคหลายประการ กฎหมายใหส อดคลอ งกับบทบัญญตั อิ สิ ลามโดยแทจ รงิ
ทีต่ องปรับปรุงแกไ ข และมขี อคดิ เห็นจากเวทีการสัมมนา
ประการหนึ่งซึ่งจะขอกลาวในที่นี้ คือ ขอเสนอใหมี (5) มีการจัดการเรียนการสอนดานกฎหมาย
การพัฒนากฎหมายอิสลามวาดวยครอบครัวและมรดก อิสลามในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในจังหวัด
ใหสามารถครอบคลุมการบังคับใชกับกรณีที่ชายชาว ชายแดนภาคใต ทั้งในจังหวัดปตตานี ยะลา และ
มาเลเซยี มาสมรสกบั หญิงมุสลิมไทยหรือในทางกลบั กนั นราธวิ าส
คือชายไทยสมรสกบั หญิงมุสลมิ มาเลเซีย และเสนอให
มีการศึกษาถึงความเปนไดในการพัฒนากฎหมายของ สังคมมุสลิมเองและรัฐบาลไทยพึงตอง
ทั้งสองประเทศใหสามารถยอมรับซึ่งกันและกันได ตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาจุดแข็งนี้ใหเกิด
เพื่ออำนวยความสะดวกแกประชาชนในเรื่องครอบครัว ความโดดเดนเปนที่ยอมรับของพลเมืองมุสลิมใน
และมรดกตามหลักศาสนาอิสลาม ซึ่งโดยสวนตัวแลว ประชาคมอาเซียน โดยการปรับปรุงแกไขทั้งในสวน
ผูเขียนเห็นดวยเปนอยางยิ่ง และเห็นวาคงไมเฉพาะ สารบัญญตั แิ ละวิธสี บญั ญตั ิ กลาวคอื ในสว นสารบญั ญตั ิ
แตระหวางสองประเทศ (คอื ไทยกบั มาเลเซีย) เทา น้ัน ตองปรับปรุงให มีเนื้อหาครอบคลุมทุกรายละเอียดที่
แตตองครอบคลุมถึงทุกประเทศในประชาคมอาเซียน เกี่ยวกับครอบครัว และมรดก ใหมีความยืดหยุน
ดว ย และ ณ จุดนเ้ี อง ท่ถี ือไดวา เปนการเร่ิมตนพฒั นา เหมาะสมกบั มสุ ลิมทว่ั ไป ทั้งในจังหวัดชายแดนภาคใต
จากจุดแขง็ ของมุสลมิ ในพืน้ ทจ่ี ังหวัดชายแดนภาคใต และจังหวัดอื่น ๆ ของประเทศไทยรวมไปถึงมุสลิมใน
ประเทศอาเซียน สำหรับวิธีสบัญญัติก็เชนเดียวกัน
ท่กี ลาววา เปนจุดแข็ง เพราะ ตองปรับปรุงพัฒนาใหสามารถนำหลักสารบัญญัติ
(1) กฎหมายอิสลามวาดวยครอบครัวและ อิสลามไปบังคับใชไดอยางสมบูรณ ทั้งในกรณีของ
มรดกในจังหวัดชายแดนภาคใตมีการประกาศใชอยาง มุสลิมไทยและมุสลิมอาเซียน โดยมีองคกรศาลและ
เปนทางการมานานกวา 100 ป และบัญญัติขึ้นตาม หนว ยงานสนบั สนุนท่เี หมาะสมและสอดคลอ งกบั บริบท
การเรียกรองของมุสลิมดวยความเห็นชอบของรัฐบาล อิสลามและอัตลักษณของมุสลมิ ไทย หาไมแ ลว อาจทำให
ไทย ประเทศไทยตองพลาดโอกาสและสังคมมุสลิมในจังหวัด
(2) เปนกฎหมายที่เกี่ยวของเชื่อมโยงกับ ชายแดนภาคใตก็ไมสามารถแสดงอัตลักษณที่แทจริง
หลักศรัทธาและมีรายละเอียดที่บัญญัติไวในคัมภีร ของตัวเองได เพราะมัวแตคิดจะพัฒนาสิ่งใหมตาม
อัลกุรอานซ่งึ มุสลิมทุกคนพงึ ตอ งปฏบิ ตั ิเปนแนวเดียวกนั กระแสนยิ มรายวันท่มี ิใชจ ดุ แข็งของตัวเอง
page 08
ขอความสันติสุขจงประสบแดทานผูอานทุกคน ผมรูสึกดีใจอยา งยิ่งท่ีไดม ีโอกาสพดู คุยในจุลสารฉบบั น้ี ถือวา เปนครั้งแรก
สำหรับผม ขอขอบคุณบรรณาธกิ ารและคณะ ทไี่ หโอกาสผมไดมาแลกเปลย่ี นความรูกบั นักศกึ ษาสถาบันฯ และทา นผอู า นทกุ คน
คำศพั ทท างดานฟก ฮ
(ศาสนบญั ญตั อิ สิ ลาม)
ตามมัซฮับ ชาฟอยี
ความเขาใจดานการศึกษาแนวคิด (มัซฮับ) อิหมา มนาวาวยี กลาววา ทา นอิหมา มชาฟอ ยี
ตางๆ นั้น จำเปนอยางยิ่งที่จะตองเรียนรูรากฐาน ไดเ ขียนหนังสือเลมหนึ่งมชี อ่ื วา อลั หจุ ญะฮฺ
และทีม่ าของคำศัพทบางคำของสำนกั คิด (มัซฮบั ) นนั้ ๆ กอนทท่ี า นจะอพยพไปยังประเทศอยี ิปต
เปนอันดับแรก ในเลมนี้ ผมจึงมีความตั้งใจที่จะ ลูกศษิ ยของทา นที่เปนทร่ี จู กั ไดรายงาน
นำเสนอคำศัพทที่เกี่ยวของในสำนักคิด (มัซฮับ) มีดังน้ี
ชาฟอ ียใ นเบื้องตน 3 คำศพั ทดวยกัน
- อะหะมัด บนิ หัมบลั
คำศัพทฟ ก ฮฺตามสำนกั คดิ (มัซฮบั ) ชาฟอีย - อบิ รอฮมิ บิน กาลิด หรืออาบซุ รุ
1. คำวา ( หรอื ) หมายถึง - อาบุ อาลี ฮาสัน บิน มหุ มั มดั
คำกลาวของทา นอิหมามชาฟอ ียเ อง ลูกศษิ ยของทา นที่เปน ทีร่ จู ักไดรายงาน
2. คำวา หมายถงึ คำกลาว มีดังน้ี
หรอื คำฟตวาของทานอหิ มา มชาฟอ ยี สมัยที่ทานอยูท่ี - อิสมาแอล บิน ยะยา หรอื อลั มุซนี
ประเทศอิรกั - ยซู ุฟ บนิ ยะยา หรืออัลบุวยั ตี
3. คำวา หมายถงึ คำกลาว - อาบุ มหุ ัมมดั อลั รอบิ บิน สไุ ลมาน
หรอื คำฟตวาของทานอหิ มา มชาฟอ ยี หลงั ทจ่ี ากทา น
ไดยายไปอยทู ่ีประเทศอยี ปิ ต
บรรดานักปราชญหรือผูรใู นอิสลาม ไดม ีแนวคดิ สดุ ทา ยนี้ ผมขอลาเพยี งแคน ้ีกอ น
แตกตางกันเกี่ยวกับคำกลาวหรือคำฟตวาของทาน แลวพบกนั ใหมในฉบบั หนา อีกนะครับ...
อีหมามชาฟอียระหวางที่ทานเดินทางออกจากประเทศ
อริ กั เพือ่ ไปยงั ประเทศอยี ิปต
อบิ นุ ฮายัร อัลหยั ซามี และอลั รอมลี มที ัศนะ โดย อ.อบิ รอเฮง ดอเลาะ
วา ความเห็นหรือคำฟตวาของอีหมามชาฟอีในชวง
ดงั กลา ววา ถอื วายงั คงอยูใน
09 page
Surat Akuan Nikah Masalah Mesti Diselesaikan Oleh: Dr.Hana
ada peringkat permulaan pengamalan
undang-undang kekeluargaan Islam di
kawasan tiga wilayah Selatan Thailand,
surat akuan nikah cerai belum lagi diguna pakai.
Surat akuan nikah cerai lahir setelah pembatalan
undang-undang Islam pada tahun 1943 di
bawah Majlis Agama Islam yang dikawal oleh
(Lembaga Pelaksanaan Undang
-undang Islam). Maka bermula dari sinilah timbul
sistem pendaftaran nikah atau dengan kata lain
surat akuan nikah yang berbentuk syar‘i. Perkara
ini merupakan sebagai suatu langkah bagi refor-
masi undang-undang Islam di kawasan tiga
wilayah Selatan Thailand.
Surat akuan nikah cerai yang dikeluarkan
oleh
tidak ada mana-mana perundan-
gan yang pengiktirafannya. Ia hanya dilak-
sanakan atas kesepakatan ulama dan masyara-
kat Islam di kawasan wilayah Pattani, Narathiwat
dan Yala sahaja. Sehingga pada tahun 1997,
kerajaan memperakukan surat akuan nikah cerai
Majlis Agama Islam di bawah Akta Pentadbiran
Institusi Agama Tahun 1997, fasal 26(10). Justeru,
sebelum kerajaan Thailand menggubal akta ini,
masyarakat Islam terpaksa mendaftarkan
perkahwinan mereka di pejabat pendaftaran
daerah mengikut prosedur undang-undang sivil,
jika hendak berurusan dengan pihak kerajaan.
Akta tahun 1997 telah memberi kuasa
kepada Majlis Agama Islam mengeluarkan surat
akuan nikah cerai mengikut ketentuan syarak. Namun,
undang-undang ini hanya memberi kuasa mengeluarkan surat
akuan, namun tidak menggubal undang-undang dari sudut
prosedur pengurusan dan pentadbiran. Contohnya, akta ini
tidak memberi kuasa kepada Majlis Agama Islam membentuk
pejabat pendaftaran perkahwinan dan perceraian Islam
sebagaimana pejabat pendaftaran perkahwinan sivil yang
sedia ada. Demikian juga, akta ini tidak memberi kuasa
page 10
ÃÙé¨¡Ñ ¹Ñ¡ÇªÔ Ò¡ÒÃÍÔÊÅÒÁ กับ อ.ตริ อลั -ฮซั นาวีย
กตฎอหนมายนอักิสวลิชาากมา(รมอาิสกลอาศมิดในอศัชาส-ชตารรเีอจตะฮนฺ)ารมณ โดย อ.ตัรมีซี สาและ
ในมัซฮับชาฟอีย และเปนหนึ่งนักบรรยายในมัซฮับนี้ มีผลงานดานการ
ขอความสันติสุขจงประสบแดทานผูอานที่นารักทุกทาน เดิมที ประพันธหนังสือที่สรางชื่อ “อุศูลูลฟกฮฺ” และ “มาฮาซินุลชารีอะห”
มีความตั้งใจที่จะขีดเขียนบทความแตทวาไมมีเวทีที่จะนำเสนอ พอไดรับ อีกทานหนึ่งที่ตองเอยนาม อัล-บากิลลานีย (เสียชีวิตฮิจเราะห 403)
โอกาสดๆี จึงอยากนำเสนอและทำความรจู กั กบั นกั วิชาการอิสลาม ดวยท่ีวา ผูที่ไดรับการขนานนามวา “เช็คซุนนะหและนักพูดแหงยุคศตวรรษที่ 4”
ปจจุบันนี้ไมคอยมีใครสนใจหรือศึกษาถึงชีวประวัติของพวกเขาเหลานั้น ถือเปนบุคคลสำคัญแหงยุคนี้ ผลงานดานการประพันธหนังสือที่สรางชื่อ
เปนการศึกษาถึงแนวทางการศึกษาและการใชชีวิตในอดีตแลวนำมา “อตั -ตักรบี วลั อิรชาต ฟ ตัรตบี ตูรกุ อัล-อิจตฮี าต” และยงั ไดสรุปเปน
ประยุกตใ ชใ หสอดคลองกบั บรบิ ทชีวิตของเราในปจจุบัน สองเลม “อัล-อริ ชาต อลั -มูตาวซั ซิต” และ “อัล-อริ ชาต อัศ-ศอฆีร”
ดวยอิสลามในยุคแรกๆ นั้นมีความสมบูรณทางหลักบทบัญญัติ
การยดึ ถอื ปฏิบัตใิ นหลักเกณฑตา งๆ ทถ่ี ูกตอ ง ต้งั แตย คุ สมยั ของทานศาสดา สำหรับชวงที่สองคือชวงหลังศตวรรษที่ 5 ถือเปนชวงที่มีความ
มฮู ัมหมดั บรรดาคูลาฟาอฺ อรั -รอชดี นี ศอฮาบะห ตาบอี ีน และ เจริญทางวชิ าการและจุดประกายในความรขู องรายวชิ านี้ และขอนำเสนอ
ยุคหลังศตวรรษที่ 2 เรามักจะไดยินจากบรรดาโตะครู อาซาตีซะห หรือ นกั วชิ าการที่มบี ทบาทเร่มิ ตน ท่ีสำคัญในศาสตรท ีว่ าดวยเจตนารมณกฎหมาย
คณาจารยบอกเลาขานบอยครั้งเกี่ยวกับชีวประวัติของบรรดานักวิชาการ อิสลาม กลาวคือ อิหมามอัล-ฮารอมัยนฺ
เหลานัน้
เพื่อเปนอีกแนวทางการศึกษาถึงชีวประวัติของนักวิชาการอิสลาม อิหมามอัล-ฮารอมัยนฺ (เสียชีวิตฮิจเราะห 478) หรือ อาบู
เหลานั้น และสอดคลองกับการศึกษาของนักศึกษาประจำรายวิชา อลั -มาอาลีย อบั ดลุ มาลคิ บิน อับดุลเลาะห อัล-จวู ยั นีย เปน บุคคลสำคัญ
เจตนารมณกฎหมายอิสลาม จึงอยากนำเสนอนักวิชาการอิสลามที่สำคัญ ที่จุดประกายในศาสตรนี้ที่เปนที่รูจักอยางกวางขวางในเสนทางความรู
ทเี่ ก่ียวของกบั รายวชิ าน้ี และยังสง เสริมใหร ูจ กั นกั วิชาการอสิ ลามเหลา นั้น อุศูลลู ฟก ฮฺ จนเปนที่ประจักษแ ละยอมรับโดยบคุ คลท่วั ไป
ทน่ี ับวันย่งิ ศนู ยห ายไป
เจตนารมณกฎหมายอิสลามนั้นเปนรายวิชาหนึ่งที่แตกแขนง “บรุ ฮาน” นบั เปน ผลงานดา นการประพนั ธห นงั สอื ทส่ี รา งชอ่ื ทส่ี ดุ
ออกมาจากรายวิชาอุศูลูลฟกฮฺ จนกลายเปนศาสตรหนึ่งที่มีความสำคัญ และมีความสำคัญมากที่สุดดานหลักวิชาการอุศูลของทาน อีกทั้ง
อยางมากตอการใชชีวิต โดยเฉพาะอยางยิ่งเจตนารมณกฏหมายอิสลาม ยังเปนหนังสือตนแบบที่มีความสำคัญตอชนรุนหลัง รองจากหนังสือที่เปน
ตอการปฏิบัตขิ องมกู ลั ลัฟ ซ่งึ บคุ คลสำคัญท่ีกอ ต้งั ศาสตรน้ีคือ อิหมา มอาบู แมพิมพดานอุศูลอยาง “อัร-รีซาละห” ประพันธโดยอิหมามชาฟอีย ที่ถูก
อิสฮาก อชั -ชาตีบยี แตในความเปนจรงิ จดุ เริ่มตนของรายวชิ านมี้ ีมากอน ตอ ยอดอยา งกวา งขวางในศตวรรษท่ี 3 และ 4 แมก ระทง้ั ในยคุ สมยั ของ อาบู
หนาน้นั หลายตอหลายศตวรรษ มาอาลียที่วาคุณพอของเขา (เสียชีวิตฮิจเราะห 438) ซึ่งเปนหนึ่งใน
เราอาจแบงนักวิชาการอิสลามในสาขาวิชานี้ออกเปน 2 ชวง บรรดานกั บรรยาย “อรั -รซี าละห”
ชวงแรกคือชวงกอนศตวรรษที่ 5 กลาวคือ บุคคลแรกที่นำรากศัพทของ
คำวา “มากอศิด” อิหมา มอัต-ติรมซี ีย อัล-ฮากมี นกั ปราชญแหง ยุคสมัย อิหมามอัล-ฮารอมัยนฺถือเปนผูเชียวชาญในศาสตรอุศูลูลฟกฮฺ
ศตวรรษที่ 2 หรอื 3 กำหนดใชค ำนีใ้ นหนังสือของทา นท่มี ีชื่อวา “การละหมาด ที่สามารถถายทอดความรูอยางลึกซึ่งใหแกลูกศิษยคนโปรดของเขาอยาง
และเจตนารมณ (มากอศดิ )” อหิ มา มอาบู ฮามดิ อลั -ฆอซาลีย ท่ีสรา งช่อื หลงั จากเขา
อาบู มันศูร อัล-มาตูรีดีย (เสียชีวิตฮิจเราะห 333) ถือเปน
บุคคลสำคัญแหง ยุคของมซั ฮับฮานาฟย มหี นังสอื ทสี่ รางชอ่ื ทท่ี านประพันธ มีขอสังเกตตอนหนึ่งที่สำคัญจากอิหมามอัล-ฮารอมัยนฺตอหลัก
คือ “มะอคฺ อซ อัช-ชารอเอยี ะอ”ฺ อาบู บกั ร อลั -กอฟฺฟาล อชั -ชาชีย หรอื วชิ ามากอศิด คร้งั ทที่ านไดตอ ตา นผทู ไ่ี มเ ขาใจถึงหลักมากอศดิ วา “และสำหรบั
อัล-กาบีร (เสียชีวิตฮิจเราะห 365) นักอุศูลูลฟกฮฺรุนใหญในยุคแรกๆ ผูใดทไ่ี มเขาใจอยางถองแท (ไมม ไี หวพริบ) ตอหลักเจตนารมณ (มากอศิด)
วาดวยการบัญชาสั่งใชและบัญชาสั่งหาม ดังนั้นแลวเขาคนนั้นไมจัดอยูใน
จำพวกที่เขาใจหลักชารีอะฮฺได” (บุรฮาน: 1/ 295) ดวยเหตุนี้บงบอกถึง
การใหความสำคัญของอิหมามอัล-ฮารอมัยนฺตอการปกปองและการใชคำพูด
ในเจตนารมณกฏหมายอิสลามอยางระมดั ระวัง
11 page
มีขอคิดเห็นจากบรรดานักวิชาการอิสลามทั่วไปตอหลักเหตุผล แตหากวาเราสังเกตประเภททั้งหาขางตนพบวา เราอาจรวม
(อีลัล) จากบทบัญญัติของชารีอะฮฺที่อิหมามอัล-ฮารอมัยนฺไดนำเสนอ ประเภทท่ีสามและสเ่ี ขา ดวยกัน และดว ยประเภททห่ี า ก็ครอบคลุมอยูแลว
ดังที่ทานไดบอกวา “นี่คือสิ่งที่บรรดานักวิชาการอุศูลชารีอะฮฺไดบอกไว ในสามประเภทแรก จงึ อาจกลาวสรปุ ไดว า อหิ มา มอลั -ฮารอมัยนฺ ถือเปน
และพวกเราไดแบง หลักอุศลู นน้ั ออกเปน 5 ประเภท...” (บุรฮาน: 2/ 923..). บุคคลแรกๆ ที่แบงประเภทของเจตนารมณกฎหมายอิสลามออกเปน 3
ประกอบดว ยดงั น้ี ประเภท กลาวคือ
ประเภทแรก คือ สง่ิ ที่เกี่ยวขอ งกบั หลกั ความจำเปน (ฎอรเู ราะห) หลกั ความจำเปน (ฎอรรู ยี าต) ท่ีครอบคลุมถึงหลักความจำเปน
เชน บทลงโทษ (กีศอศฺ) กลาวคือ เหตุผลที่วาดวยการรักษาซึ่งเลือดของ 5 ประการ ทป่ี ระกอบดว ย การรกั ษาซง่ึ ศาสนา ชวี ติ สตปิ ญ ญา วงศต ระกลู
ผูบรสิ ทุ ธ์ิ การปองกันการโจมตีตอผูบ ริสุทธ์ิ และทรพั ทสิน
ประเภทที่สอง คือ สิ่งที่เกี่ยวของกับหลักความตองการทั่วไป หลักความตองการ (ฮาญยี าต) และ หลักการตกแตง ปรบั ปรงุ
แตไมถงึ เกณฑในประเภทแรก เชน การเชาระหวา งกัน ใหสมบูรณ (ตะฮฺซีนียาต) เปนปจจัยหลักการทางเจตนารมณ (มากอศิด)
ท่ีสำคัญยง่ิ
ประเภทที่สาม คือ สิ่งที่ไมใชหลักความจำเปนและไมใชหลัก
ความตองการทว่ั ไป แตทวาคอื ความเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และขาดมัน ในหลักความสำคัญและความเขาใจนี้เราอาจสรุปดวยคำพูด
ไมไดเ ชน กัน เชน ความสะอาดหรอื ความบริสทุ ธ์ิ ตอนหนงึ่ ของอหิ มามอัล-ฮารอมัยนฺวา “ดงั นนั้ แลว หลักชารีอะฮไฺ ดค รอบคลมุ
ในทุกสว น ทงั้ บทบญั ญัตวิ าดวยหลักอิบาดะฮ ท่คี รอบคลมุ บทบัญญัติส่ังใช
ประเภทที่สี่ คือ เชนเดียวกันที่วาไมใชหลักความจำเปนและ บทบัญญัตสิ ง่ั หา ม และสิ่งที่อนุญาต ตลอดจนบทบัญญัตวิ า ดวยการลงโทษ
ไมใชหลักความตองการทั่วไป แตไมใชประเภทที่สาม ที่วาขอจำกัดในการ ที่ชัดเจน เปนการปกปองรักษาผูบริสุทธิ์ใหไดรับความยุติธรรมอีกดวย”
อนุญาตเพอ่ื ยกเลกิ ชอ งวางของหลักปฏบิ ตั นิ ้ัน (บรุ ฮาน: 2/ 1151..)
และประเภททห่ี า คอื สิง่ ทไ่ี มป รากฏเหตุผลอยางชดั เจน และไมมี ฉบบั หนาเราจะมาทำความรูจ ักกับนกั วชิ าการอสิ ลามทม่ี ชี ่อื เสียง
วัตถุประสงคอยางมีขอบเขต ไมใชทั้งหลักของความจำเปน ความตองการ เปน ทร่ี จู ักอยางกวางขวาง น้ันคือลกู ศิษยค นโปรดของอหิ มา มอลั -ฮารอมัยนฺ
และความเอื้ออาทร เชน บทบัญญัติการละหมาด ดังโองการในซูเราะห อยา งอหิ มามอาบู ฮามิด อัล-ฆอซาลยี (เสียชีวิตฮจิ เราะห 505) อนิ ซาอลั ลอฮ
อลั -องั กะบตู / 45 ความวา
// อ.ติร อัล-ฮัซนาวีย
“แทจริงการละหมาดนนั้ จะยบั ยั้งการทำลามกและความช่วั ”
อายะหนี้บงชี้ถึงบทบัญญัติวาดวยการละหมาดและไมไดอธิบาย
ถึงขั้นตอนการละหมาดและจำนวนรอกะอัติ จนจำเปนตองยอนกลับไป
ศกึ ษาในวจั นะของทานศาสดามฮู มั หมดั ตอ ไป
page 12 โดย อ.แวอัมแร แวปา
ประชาธิปไตย
มมุ มองของอิสลาม
ไทย...เปนประเทศหนึ่งปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมยั ทานนบมี ฮู ัมหมัด (ซ.ล.) มีการปกครองแบบใด
คำวา ประชาธปิ ไตย หมายถึงระบบการปกครอง ซ่งึ เปนการปกครอง ในสมัยของของทานนบมี ูฮัมหมัด (ซ.ล.) มรี ะบบการปกครอง
ของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน คำวาประชาชน ทเี่ รยี กกนั วา “มูซาวาเราะห” ซ่งึ หมายถงึ การปกครองในลกั ษณะของ
ในทนี่ ี้มิไดหมายความแตเ ฉพาะบคุ คลกลมุ ใดกลุมหนึง่ เชน คนร่ำรวย การปรกึ ษาหารอื ในกลมุ พวก ทา นนบใี ชหลักการน้ีปกครองมาโดยตลอด
คนยากจน เจา ของทดี่ นิ คนงาน หรอื ชาวนา เทาน้นั แตหมายถงึ ปวงชน ในมติ ิของอำนาจจากพระผเู ปนเจา ตวั ทานเองนัน้ จะเปน ผูที่มอี ำนาจเด็ดขาด
ทง้ั ชาติ ไมว าจะเปน คนยากดีมีจนอยา งไร หรือประกอบอาชพี ใดกต็ าม ในการตัดสินใจแตเพียงผูเดียว แตหากเปนมิติของการบริหารงาน
ปวงชนเหลานัน้ ยอมมสี ทิ ธิ หนาทแี่ ละรับผดิ ชอบ ในการปกครองประเทศ ทานนบีไมไดใชอำนาจเด็ดขาดเสมอ แตทานจะใชการปรึกษาหารือ
รวมกนั และอยา งเสมอภาคกนั แตตอ งมีขอบเขตตามท่ีกฎหมายกำหนด กบั บรรดาศอหาบะห (เพือ่ นรวมงาน) อยูเสมอ ซงึ่ ศอหาบะหท ุกทาน
สามารถแสดงความคิดเหน็ ทแี่ ตกตางได ก็รูแลว วา สุดทา ยผเู ปน คนตดั สินใจคอื ทา นนบี เพราะวา อลั ลอฮ (ซ.บ.)
ใหทานนบีเปนผูแทนพระองคบนโลกดุนยานี้ คำพูดการกระทำของนบี
บนพื้นฐานของประชาธิปไตย ซึ่งมองในฐานะที่เปนระบบ เปนการอิดายะหจากพระองคอัลลอฮ (ซ.บ.) ดังคำกลาวในอายะห
การปกครอง ตามคติพจนข องอดตี ประธานาธบิ ดี อับราฮมั ลนิ คอลน อลั กรุ อา น ความวา
แหงสหรฐั อเมรกิ า(Abraham Lincoln ค.ศ. 1809-1865) ทก่ี ลาวไววา
“ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชนโดยประชาชน เพื่อ ความวา “และเขา (มูฮำมัด) มิไดพูดดวยอารมณ,
ประชาชน” จึงมีนัยสำคัญที่มีตนรากทางความคิดในการยอมรับถึง สิ่ง (ทเ่ี ขาพดู ) นนั้ มใิ ชอ่นื ใด นอกจากเปนวะฮีย ที่ถูกประธานลงมา”
ความแตกตางและความหลากหลายของกลุมผลประโยชนในสังคม
ทั้งหมดคำวากลุมผลประโยชนในที่นี้จึงหมายถึงตัวแทนของประชาชน (ซูเราะห อนั -นัจญมฺ : อายะหท่ี 3-4)
ในระดับตางๆ ไลระดบั ขน้ึ ไปจากหนว ยยอ ยๆ ไปจนถึงหนว ยใหญร ะดบั การปรึกษาหารอื ทเ่ี ราเรียกกันวา มูซาวาเราะห ซ่ึงปจ จุบัน
ประเทศ ทั้งนี้แลวหากกลุมผลประโยชน ซึ่งเปนกลุมของผูที่มีอาชีพ หลายประเทศเรียกกันวา ซรู อ (ซูรอบัยนะฮ) หมายถงึ ปรึกหารือในหมู
เดียวกัน มีอุดมการณอันเดียวกันมีจุดมุงหมายเพี่อรักษาผลประโยชน พวกใหดีเสียกอน กอนที่จะตัดสินใจใดๆ ในยุคของทานนบีทานก็จะ
ของกลุมนั้นๆ มีขนาดความสัมพันธและมีบทบาทเกี่ยวของกับ ปรกึ ษาหารอื และรวมกนั ตัดสนิ ส่ิงท่ดี ที สี่ ดุ ซง่ึ แนน อนไมม ีความผดิ ผลาด
การเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะ (Public Policy) ของรัฐบาล ใดๆ เพราะทา นตามวะฮยี ทอี่ ลั ลอฮ (ซ.บ.) ไดบ นั ดาลใหแ ลวทงั้ สิ้น
กลุมนั้นๆ จะเริ่มมีลักษณะของการมีอิทธิผล ซึ่งมักจะถูกเรียกใหมวา
เปน กลุมอทิ ธิผล หรือกลุมผลักดัน (Pressure Group) น่นั เอง ปรกึ ษาหารือเพอ่ื ส่ิงทดี่ ที สี ุด
ศาสตราจารย ดร.อิมรอน มะลลุ ีม กลา ววา “เอาเขาจริงแลว การปรึกษาหารือนัน้ เปน เรื่องที่จำเปนอยา งยงิ่ ตอการทำงาน
ผมคิดวาในปจจุบันนั้น ใครที่มีอำนาจ เวลารางกฎหมายพวกเขาก็ ในองคกร ยกตัวอยางเชน การทำงานของคณะกรรมการมัสยิด หรือ
สนองตอบตอกลุมชน พรรคพวกแตตามหลักการอิสลามการปกครอง คณะกรรมการใดๆ ก็ตาม เวลาประชมุ ก็มีการปรกึ ษาหารือกัน โตเถียง
ไมใชเพื่อประชาชน แตเพื่ออัลลอฮฺ (ซ.บ.) อัลลอฮฺ (ซ.บ.) ทรงเปน กันดวยความสุขภาพ เพอื่ จะหาสิง่ ท่ดี ท่ี ีส่ ดุ ไมใ ชเ ยยหยันวา คนนี้ฉลาด
ผวู างกำหนดกฎเกณฑ และทา นศาสดามฮู ัมหมดั (ซ.ล.) เปนผปู ฏิบตั ิ กวาคนนั้น หรือการกระแนะกระแหนเสียดสีผูอื่น เพราะการกระทำ
ไมม ีเรื่องพรรคพวก ไมม เี รือ่ งผวิ สี เปน อำนาจที่บรสิ ุทธ์ิและตอ งเปนไป เหลานนั้ คอื นัฟซู หรอื อารมณของมนษุ ยท ่เี อาแตใจตนเอง ขาดความจรงิ ใจ
ตามครรลองในลกั ษณะอยางนนั้ โอกาสของความผดิ พลาดกค็ งจะมีนอย แตถาผพูดเปนผูที่เกรงกลัวตออัลลอฮฺ เวลาจะพูดจาโตเถียงเขาจะไม
เพราะไมมีไครกลาโตแยงวาโองการของพระเจาเปนสิ่งที่ผิดหรือเปน หยาบคาย ไมด ูหม่นิ จะไมเสียดสี และจะไมกา วราว
สิง่ ทป่ี ฏบิ ัติไมได”
ระบบประชาธิปไตยแบบอิสลาม 13 page
ผูเขียน อยากจะใหทุกคนเขาใจวา ถึงแมการปกครองใน ผูเขียนมองวา ปญหาของระบอบการปกครองที่ใชอยูใน
ระบอบประชาธิปไตย จะไมเหมือนกับระบอบการปกครองของอิสลาม ปจ จบุ ัน เปนเพราะการใชน ัฟซูเปน ใหญ ทำใหเ กิดการแกงแยง ชิงดชี งิ เดนกนั
ซะทีเดยี ว แตม ุสลิมกส็ ามารถท่ีจะนำระบอบดังกลา ว มาบรู ณาการกบั ซึ่งจะทำใหออกนอกลูนอกทางของอิสลาม และเปนเหตุทำใหการ
ระบอบอิสลามไดโดยไมลำบาก แตตองเปนไปในรูปแบบ “อิสลาม ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มนุษยทั่วไปเห็นดีที่สุด กลับกลาย
คลมุ ประชาธปิ ไตย” โดยใชร ะบอบอิสลาม ตามแบบของทานนบี (ซ.ล.) เปน ระบอบทกี่ อใหเกิดความวนุ วายในสงั คมมากทสี่ ดุ ในเวลานี้
เปนแนวปฏิบัติ ใชกุรอาน และหะดีษ เปนธรรมนูญ ซึ่งผูเขียนคิดวา
จะชวยลดการใชนัฟซูไปในทางที่ผิด ที่จะกอใหเกิดการแกงแยงชิงดี “.....อยางไรก็ตามความเปนประชาธิปไตยจะเกิดขึ้นได
ชิงเดน ในองคกรได ขน้ึ อยกู ับจิตใตส ำนึกของแตล ะคน ความเปนประชาธปิ ไตย เมอื่ ถึงเวลา
ทุกเสียงก็มีสิทธิคนละเสียงเทาเทียมกันเหมือนเดิม และเหนือสิ่งอื่นใด
ประชาธิไตยทแ่ี ทจ ริงตอ งไมแ ตกแยก ....” (อิมรอม มะลุลีม)
วสั ลาม
การทำงานในมุมมองของอสิ ลาม
โดย อ.รอฮีม นยิ มเดชา
page 14
¡ÒÃá¾·Âá ¼¹¹ºÕ คอสตสั ในหะดีษนห้ี มายถงึ ไมหอมของ
โดย อบูนาดีม อนิ เดียหรือตนกฤษณานัน่ เอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง
อันที่เปนสีขาว มันมีรสหวานและมีประโยชน
หลายอยา ง ในสมยั กอนผูค นทวั่ ไปนยิ มท่ีจะรกั ษา
โรคคออักเสบในลูกหลานของเขาดวยการกด
ลิ้นไก บางครั้งก็ใชวัสดุบางอยางไปติดที่ลิ้นไก
ทานนบี (ซ.ล.) หามทำวิธีการอยางนี้ และได
การรกั ษาโรคคออักเสบ แนะนำในสิ่งที่ดีกวาไดผลกวาและงายดายกวา
ดวยการใหยาทางจมูก จะรวมถงึ ยางา ยๆ และ
และการใหยาทางจมูก ยาที่ผสมหลายๆ อยางเขาดวยกัน นำมาบด
และทำใหแหงหลังจากนั้นจึงนำมาหยอดทาง
จมูกโดยใหผูปวยนอนหงาย หนุนไหลเพื่อหนา
จะไดหงายขึ้น ยาก็จะไปถึงศีรษะและดูดโรค
จากหนังสือซอฮีเฮนทานนบี (ซ.ล.) ไดกลาววา “การรักษาทีด่ ีทส่ี ดุ ออกโดยการจาม
อยา งหนึ่งของพวกทา นคอื การกรอกเลอื ดและคอสตัสทะเล และอยาทำให
เด็กๆ ของพวกทานไดรับอันตรายดวยการกดลิ้นไกเพื่อรักษาทอนซิล ทานนบี (ซ.ล.) ไดใ ชใ หเราใชว ิธนี ี้เม่อื มี
อักเสบ” (ซอเฮียะหบุคอร,ี 5696) ความจำเปน ตองใช ย่งิ กวา นัน้ อบดู าวูดไดร ายงาน
ในหนังสือ “สุนัน” ของเขาวา ทานนบี (ซ.ล.)
ในหนังสือ “สุนัน” และ “มุสนัด” จากหะดีษของทานญาบิร ไดใชว ธิ นี ก้ี ับตวั ทา นเองดวย (ระดับดี อบูดาวูด
บินอับดุลลอฮ ไดก ลา ววา “ทานนบี (ซ.ล.) ไดไ ปหาพระนางอาอชิ ะหขณะที่ 3867)
พระนางนั้นกำลังอยูกับเด็กและเด็กนั้นกำลังมีเลือดกำเดาไหลอยู ทานนบี
(ซ.ล.) จงึ กลา ววา “มีอะไรหรอื ” พวกเขากก็ ลา ววา “เขาเปนคออักเสบและ
ปวดศีรษะ” ทานนบี (ซ.ล.) จงึ กลา ววา “อยา ฆาลกู ของพวกทา น(ดว ยการ
ทำอยางน้ี) หญงิ ใดทล่ี กู ของเขาปว ยดวยคออักเสบหรอื ปวดศรี ษะ กใ็ หไ ป
เอาคอสตัสอินเดียมาฝนรวมกับน้ำ และหยอดเขาในจมูกเด็กคนนั้น”
เมื่อพระนางอาอิชะหไดสั่งใหแมของเด็กทำตามนั้น เด็กนั้นก็หายดี
(ซอเฮยี ะหอ ะหห มดั , 315/3)
ทานอบูอุบัยดะหไดกลาววา “โรคคออักเสบ
คือความรูสึกปนปวนในคอที่เกิดจากเลือด” และมี
บางทานบอกวาคออักเสบคือแผลที่เกิดขึ้นระหวางหู
และลำคอซึง่ มกั เกิดข้ึนกับเด็ก
ประโยชนของคอสตัสที่นำมาฝนและหยอด
จมูกนั้น เนื่องจากคออักเสบ เกิดจากกอนเมือกเสลด
ที่เกิดจากเลือดรวมตัวกันอยูในเด็ก แตจะอยูในทอง
ของเด็กมากกวา คอสตัสจะชวยใหลิ้นไกไดผอนคลาย
และกลับไปอยูในที่เดิมของมัน คุณสมบัติในการรักษา
โรคน้ีถือเปนพเิ ศษ คอสตัสยังชว ยรักษาโรคอนื่ ๆ ท่เี กิด
จากความรอนไดด ว ย
ผูเขียนหนังสือ “อัลกอนูน” ไดกลาววา
คอสตสั ชวยรกั ษาทอนซลิ อกั เสบได
ท่ีมา : เอกสารวิชาการหายเลข 3 “ การแพทยตามแนวทางทานศาสดามฮุ มั มดั ซล.”
โดย แผนงานสรา งเสรมิ สขุ ภาวะมุสลมิ ไทย
15 page
เลาดวยภาพ
อบรมการบรหิ ารเวลาและการสอนภาษาอาหรบั
มูลนธิ ิ ชัยคอฺ ีด บนิ มฮู ำหมัด อาล ษานี จากประเทศกาตารร ว มกับ มลู นิธเิ พื่อความดี และสถาบนั อิสลามและอาหรบั ศึกษา
มหาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร จดั โครงการอบรมการบริหารเวลาและการสอนภาษาอาหรับ ขึ้นระหวางวันที่ 15 – 19
ตลุ าคม 2555 ณ สถาบนั อิสลามและอาหรับศกึ ษา มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร โดยมคี รผู ูส อนวชิ าภาอาหรับจากโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
เขา รวมอบรมจำนวนทัง้ สน้ิ 100 คน
ศึกษาดงู าน กิจกรรม 5ส.
จดั ขนึ้ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2555 ณ คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตหาดใหญ โดยมคี ณาจารย เจา หนา ท่ี และตวั แทนนักศกึ ษา
สถาบันอิสลามและอาหรับศกึ ษา เขารว มศึกษาดงู านจำนวน 28 คน
จดั ขน้ึ ระหวา งวนั ท่ี 6 – 8 พฤษภาคม 2555 โดยมี ณ มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาระดับอุดมศกึ ษาตาง ๆ ในประเทศมาเลเซยี จำนวน 6 สถาบัน
page 16
ตวั แทน นศ. มอบเงินรับบรจิ าคชวยเหลือมุสลมิ ชาวโรฮงิ ยา
ตัวแทนนักศึกษา สถาบันอิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลัย
นราธิวาสราชนครินทร เดินทางเพื่อมอบเงินที่รับบริจาคจากพี่นอง
ชาวนราธิวาสรวมกันบริจาคเพื่อชวยเหลือพี่นองมุสลิมชาวโรฮิงยา
ที่ไดรับความเดือดรอนในประเทศพมา โดยมอบเงินผานทางมูลนิธิ
อัสสลาม มหาวทิ ยาลัยอิสลามยะลา เปน จำนวนเงินท้งั สิ้น 15,256.50 บาท
เครือขายประกันคุณภาพการศึกษา 3 สถาบัน ประกอบดวย วิทยาลัย
อสิ ลามศึกษา มอ.ปต ตานี สถาบนั อิสลามและอาหรับศึกษา มหาวิทยาลยั
นราธิวาสราชนครินทร และมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา จัดโครงการ
“เวทีคณุ ภาพ การบรู ณาการกจิ กรรมนกั ศกึ ษาตามวงจร PDCA” ขนึ้
เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 ณ อาคารวิทยอิสลามนานาชาติ
วทิ ยาลยั อิสลามศกึ ษา มอ.ปตตานี โดยมตี ัวแทนนักศึกษาจากทง้ั 3 สถาบนั
เขารวมโครงการทัง้ สิ้น 60 คน
คายภาษาอาหรับสำหรับนกั ศึกษา
จัดขึน้ ระหวางวนั ที่ 24 มนี าคม – 25 เมษายน 2555 ณ
สถาบันอสิ ลามและอาหรับศึกษา กิจกรรมมกี ารอบรมติวเขม
ความรูดา นภาษาอาหรบั ใหก บั นกั ศกึ ษาชน้ั ปท ี่ 1 เพ่อื พฒั นา
ทกั ษะทางภาษาอาหรบั
มหกรรมกีฬาตาดกี าสัมพันธ ครงั้ ท่ี 3
จดั ขน้ึ ระหวา งวนั ท่ี 31 มนี าคม – 1 เมษายน 2555 ณ สนามกีฬามหาวทิ ยาลัย
นราธวิ าสราชนครนิ ทร ศนู ยราชกรใหม มีกจิ กรรมการแขงขันกฬี า และการแขง ขัน
กิจกรรรมทางวัฒนธรรมของนกั เรยี นโรงเรยี นตาดีกาเครือขา กวา 40 โรง