The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารหน่วยงานห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Neonatal intensive care unit1, 2022-06-23 05:35:38

คู่มือบริหารหน่วยงาน

คู่มือบริหารหน่วยงานห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด1

Keywords: ห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด1

คู่มอื บริหารหนว่ ยงาน
หอผ้ปู ว่ ยหนักทารกแรกเกิด 1
โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช พิษณุโลก

ฉบับปรับปรุงครงั้ ที่ 2
10 มกราคม 2565

คานา

คู่มอื บรหิ ารหน่วยงานหอผูป้ ว่ ยหนกั ทารกแรกเกดิ 1 โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช
พษิ ณุโลก (ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ 2) เป็นคมู่ ือการบริหารหอผู้ปว่ ยทส่ี อดคลอ้ งกับกลุ่มการพยาบาล มี
บรบิ ทของหนว่ ยงาน หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบของบคุ ลากรแต่ละระดับ การบรหิ ารอตั รากาลัง การ
ปฐมนเิ ทศบคุ ลากรใหม่ รวมถึงสวัสดิการในหน่วยงาน เพือ่ ให้บุคลากรในหน่วยงานนาไปเปน็ ขอ้ มูลและ
ใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ัติในการทางานให้มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลตอ่ ไป

หอผปู้ ว่ ยหนกั ทารกแรกเกดิ 1
มกราคม 2565

สารบญั หนา้

ประวตั ิหอผ้ปู ว่ ย 1
พันธกจิ หน่วยงาน 1
ค่านยิ ม หน่วยงาน 1
บรบิ ท หนว่ ยงาน 2
โครงสรา้ งสายบงั คบั บัญชา 4
คณะกรรมการต่างๆในหน่วยงาน 6
หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของบุคลากรแตล่ ะตาแหนง่ 8
8
- หนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบ หวั หนา้ หอผู้ป่วย 10
- หนา้ ทค่ี วามรับผดิ ชอบของพยาบาลวชิ าชีพ 13
- หนา้ ทค่ี วามรับผิดชอบของเสมยี น 14
- หน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบของพนกั งานช่วยเหลือคนไข้ 14
- หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบของพนกั งานทาความสะอาด 15
การบริหารจดั การอตั รากาลงั ของหอผู้ป่วย 17
ระเบยี บและวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน 17
- การลาพักผอ่ น 19
- การลาป่วย 20
- การลากิจ 21
- การลาคลอดบุตร 22
- การลาไปตา่ งประเทศ 22
- การแลกเปล่ยี นเวร 23
- ระเบียบการลงเวลาการปฏบิ ัติงาน 24
- ระเบียบการลาศึกษาต่อ/อบรม 25
สวัสดิการของหน่วยงาน 26
การปฐมนเิ ทศบุคลากรใหม่/นักศึกษาพยาบาล

1

หอ้ งผูป้ ่วยหนักทารกแรกเกิด 1

ประวัติ/ ความเปน็ มาของหนว่ ยงาน

ห้องผูป้ ว่ ยหนกั ทารกแรกเกิด เรมิ่ กอ่ ต้ังเมื่อปี พ.ศ. 2528 ที่ตึก พ.5บน ตอ่ มาปี พ.ศ. 2536 ไดเ้ ปิดทา

การทีต่ กึ 50 ปแี ม่และเด็ก หอ้ งผ้ปู ่วยหนกั ทารกแรกเกิดจงึ ได้ย้ายมาอยู่บรเิ วณชัน้ 2 ทางดา้ นขวาของตัวอาคาร

ซ่งึ แบง่ เป็นห้องติดเชื้อจานวน 8 เตยี ง และห้องไมต่ ิดเชื้อจานวน 8 เตียง ตอ่ มาปี พ.ศ. 2547 ได้แบง่ แยกและ

เปลยี่ นช่อื เปน็ ห้องผปู้ ่วยหนักทารกแรกเกิด 1 และ 2 และปี พ.ศ. 2556 ได้ขยายจานวนเตียงการรับผ้ปู ่วยเป็น

20 เตยี ง (หนว่ ยงานละ 10 เตยี ง) โดยมหี วั หน้าหอผปู้ ว่ ย ดงั น้ี

๑. นางสายต่อ ประกอบเขตการ พ.ศ .๒๕๒๘ – ๒๕๔๖

๒. นางสชุ าดา พฒุ ิกานนท์ พ.ศ .๒๕๔๕ – ๒๕๔๗

๓. นางสชุ าดา พุฒกิ านนท์ (หัวหน้าหอ้ งผู้ป่วยหนักทารกแรกเกดิ ๑) พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๕

๔. นางสาวสมุ ิตรา โพธิ์ปาน (หวั หนา้ ห้องผปู้ ว่ ยหนักทารกแรกเกิด ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๖๒

๕. นางเจียมจติ บาระมี (หวั หนา้ หอ้ งผปู้ ว่ ยหนกั ทารกแรกเกิด ๑) พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๓

๖. นางวิธศมน วฒุ ศิ ิรนิ ุกลู (หวั หน้าห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกดิ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒– ปัจจุบนั

๗. นางสาวกมลชนก มากมา (หวั หน้าห้องผปู้ ว่ ยหนักทารกแรกเกิด ๑) พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปจั จบุ นั

พนั ธกิจหนว่ ยงาน
หอ้ งผู้ป่วยหนกั ทารกแรกเกดิ 1 ใหบ้ ริการรักษาพยาบาลผปู้ ่วยทารกแรกเกดิ ภาวะวิกฤตทุกสาขา

ตงั้ แต่แรกเกดิ ถึง 1 เดอื น ตลอด 24 ชั่วโมงครบทุกดา้ น ตง้ั แตแ่ รกรบั จนจาหนา่ ยและกลับสชู่ มุ ชน ดว้ ย
เคร่อื งมือพิเศษและเทคโนโลยีขนั้ สูง โดยยึดหลักมาตรฐานวิชาชีพ จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี การมสี ่วน
ร่วมและส่งเสริมการเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ือง เพ่ือใหผ้ ู้ปว่ ยปลอดภยั ผรู้ บั บรกิ าร และผ้ใู หบ้ ริการพึงพอใจ มี
ความสุข”

ค่านิยมหน่วยงาน
“PRESS”
P-People ใสใ่ จประชาชน
R-Responsibility รับผิดชอบ
E-Empowerment เสริมพลังอานาจบดิ า มารดา
S-Standard มมี าตรฐาน
S-Satisfied พงึ พอใจทง้ั ผู้ให้บรกิ ารและผู้รบั บริการ

2

บริบทหน่วยงาน
1.1 หนา้ ทีแ่ ละเป้าหมาย (Purpose)
หอ้ งผปู้ ่วยหนกั ทารกแรกเกดิ 1 ใหบ้ ริการรักษาพยาบาลผู้ปว่ ยทารกแรกเกิดภาวะวิกฤต

ทุกสาขา ต้ังแต่แรกเกิดถึง 1 เดือน ตลอด 24 ช่ัวโมงครบทุกด้าน ตั้งแต่แรกรับจนจาหน่ายและกลับสู่ชุมชน
ด้วยเคร่ืองมือพิเศษและเทคโนโลยีขั้นสูง โดยยึดหลักมาตรฐานวิชาชีพ จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ การมี
ส่วนร่วมและส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัย ผู้รับบริการ และผู้ให้บริการพึงพอใจ มี
ความสขุ

1.2 ขอบเขตการใหบ้ ริการ
ให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยทารกแรกเกิดภาวะวิกฤตทุกสาขา ต้ังแต่แรกเกิดถึง 1 เดือน

ตลอด 24 ชวั่ โมง ในเขตจงั หวัดพษิ ณโุ ลก เขต 2 และจังหวดั ใกลเ้ คยี ง
1.3 ศกั ยภาพ ข้อจากดั ด้านทรพั ยากร
1.3.1 จานวนเตียงให้บริการทั้งหมด 10 เตียง
1.3.2 ด้านผูใ้ หบ้ รกิ าร มกี มุ ารแพทย์เฉพาะทางสาขาทารกแรกเกดิ จานวน 3 คน กุมาร

แพทย์สาขาต่างๆ จานวน 19 คน พยาบาลวชิ าชพี จานวน 17 คน (เปน็ พยาบาลเฉพาะทาง 9 คน) ผู้ชว่ ยเหลือ
คนไขจ้ านวน 5 คน

ผใู้ ชบ้ ริการและผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ของหนว่ ยงาน
กลุ่มผ้ใู ชบ้ รกิ าร คือ ผู้ปว่ ยทารกแรกเกิดต้ังแต่แรกเกดิ - 1 เดือน ตามเกณฑ์ ดังน้ี

1. Preterm ทีน่ า้ หนักตัว ≤ 1,250 กรมั หรอื ถา้ อายุ > 1 เดอื นนา้ หนกั ตวั < 3,000 กรัม
2. ทารกที่มภี าวะหายใจลาบาก (Respiratory Distress) โดยมี Downes Score ≥ 4

Score 01 2
Cyanosis
Retractions None In room air In 40% FiO2
Grunting
None Mild Severe
Air entry
None Audible with Audible without
Respiratory
rate stethoscope stethoscope

Clear Decreased or Barely audible

delayed

< ๖๐ ๖๐-๘๐ > ๘๐ or apnea

3. มภี าวะ Respiratory failure
4. ทารกทจี่ าเป็นตอ้ งไดร้ ับการรกั ษาด้วย CPAP หรือ HHHFNC

3

5. มีภาวะ Septic shock หรือ cardiogenic shock
6. Subgaleal hemorrhage ทมี่ ีภาวะ Shock
7. Intractable seizure
8. ทารกทม่ี ภี าวะ Persistent hypoglycemia ท่ีตอ้ งการ GIR > 12 mg/kg/min
9. Cyanotic heart disease
10. มีภาวะ Sepsis with DIC
11. Definite NEC
12. Gastroschisis หรอื Omphalocele
13. Gut obstruction with severe complication เช่น Sepsis, Severe Dehydration
14. Neonatal hyperbilirubinemia ทต่ี ้องทา total blood exchange transfusion
15. คนไข้หลงั ผ่าตัดทีย่ งั จาเป็นต้องใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจหรือมอี าการไม่คงที่

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงาน คือ บุคคลหรือกลุ่มท่ีเก่ียวข้องหรือได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและ
ลบจากการบริการหรือกิจกรรมในหนว่ ยงาน เช่น แพทย์สาขาต่างๆที่เก่ียวของ แพทย์ใช้ทุน เภสัชกร นัก
กายภาพบาบัด นกั กิจกรรมบาบัด เจ้าหน้าท่ี X-ray เจา้ หนา้ ที่ lab การเงนิ การบญั ชี เป็นต้น

4

โครงสร้างการบรหิ ารหน่วยงานห้องผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด 1
ผูอ้ านวยการ รพ.

หัวหน้ากลมุ่ การพยาบาล

กรรมการบรหิ ารกล่มุ การพยาบาล

หัวหนา้ กลมุ่ งานการพยาบาลผู้ป่วยหนกั
นางสาวปัญญา เถือ่ นดว้ ง

หัวหนา้ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยหนกั กุมารเวชกรรม
นางสาวสุมิตรา โพธปิ์ าน

หวั หนา้ หอผ้ปู ่วยหนักทารกแรกเกิด 1
นางสาวกมลชนก มากมา

พยาบาลวิชาชพี พนกั งานช่วยเหลือคนไข้ พนักงานประจาตึก
16 คน 5 คน 2 คน

5

พยาบาลวิชาชีพ จานวน 16 คน ไดแ้ ก่

1. นางจฬุ ารัตน์ เวยี งสี ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ
2. นางสาวอรอมุ า คล้ายทับทิม ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
3. นางวภิ าจรี นาคมี ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ
4. นางจริยา จนั ทวงศ์ ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ
5. นางเสน่ห์ จนั ทรอ์ งอาจ ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ
6. นางสาวพรรณนิภา จารูญ ตาแหนง่ พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ
7. นางสาวจาเนยี ร ตนุ่ ปา่ ตาแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัติการ
8. นางสาวนฤมล พลลาภ ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ
9. นางภทั ราภรณ์ แทน่ ทอง ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั กิ าร
10. นางสาวณฐั วดี สิทธ์แิ สง ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
11. นางสาววรรณพร สรุ ิยะวงศ์ ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ
12. นางสาววชิ ญาดา เชือ้ กลุ ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ปฏิบตั กิ าร
13. นางสาวปรดี าพร แท่นทอง ตาแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ปฏิบตั ิการ
14. นางสาวฐิตชิ ญา ขาสุวรรณ ตาแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ปฏิบัติการ
15. นางสาวอรวรรณ วรรณพริ ณุ ตาแหนง่ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัตกิ าร
16. นางสาวสภุ ัสสรา ภู่อ่า ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั กิ าร

พนกั งานช่วยเหลอื คนไข้ จานวน 5 คน ไดแ้ ก่

1. นางสาววรรณวศิ า นันทะสขุ ตาแหน่ง พนักงานชว่ ยเหลอื คนไข้

2 .นางสาวนา้ ผ้งึ เพริศพรงิ้ ตาแหนง่ พนักงานชว่ ยเหลอื คนไข้

3. นางสาวเนาวนิต ชา่ งพนิ จิ ตาแหนง่ พนักงานช่วยเหลอื คนไข้

4. นางสาวพรพรรณ จันทะมุน ตาแหน่ง พนักงานชว่ ยเหลือคนไข้

5. นางสาวปยิ พร พูนลน้ ตาแหนง่ พนักงานชว่ ยเหลือคนไข้

พนกั งานท่ัวไป จานวน 2 คน ได้แก่

1. นางยุพนิ ปานนม่ิ ตาแหนง่ พนักงานประจาตกึ
2. นางสาวกชกร
บุษบาจนั ทร์ ตาแหนง่ พนักงานประจาตึก

6

โครงสร้างการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงาน
หวั หนา้ หอ้ งผปู้ ว่ ยหนักทารกแรกเกิด ๑

คณะกรรมการประกัน คณะกรรมการควบคมุ และ คณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ ง คณะกรรมการนมแม่ (BF )
คุณภาพการพยาบาล (QA) ป้องกันการติดเชอ้ื (IC) (RM) และ palliative care

รายช่อื คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพการพยาบาล (QA) ประกอบดว้ ย

1. นางภัทราภรณ์ ทา่ นทอง

2. นางสาววรรณพร สุริยะวงศ์

3. นางสาวปรีดาพร แทน่ ทอง

4. นางสาวสุภัสสรา ภู่อ่า

5. นางสาววรรณวศิ า นนั ทะสขุ

รายชือ่ คณะกรรมการควบคุมและป้องกนั การตดิ เช้อื (IC) ประกอบด้วย

1. นางวภิ าจรี นาคมี

2. นางจริยา จนั ทวงศ์

3. นางสาววชิ ญาดา เชอ้ื กลุ

4. นางสาวอรวรรณ วรรณพิรุณ

5. นางสาวพรพรรณ จนั ทะมนุ

รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (RM) ประกอบด้วย

1. นางจุฬารัตน์ เวยี งสี

2. นางสาวพรรณนิภา จารูญ

3. นางสาวณัฐวดี สทิ ธแ์ิ สง

4. นางสาวฐิติชญา ขาสุวรรณ

5. นางนา้ ผ้ึง เพริดพร้งิ

รายช่ือคณะกรรมการนมแม่และ Palliative care (BF& Palliative care) ประกอบด้วย

1. นางเสนห่ ์ จันทรอ์ งอาจ

2. นางสาวจาเนียร ต่นุ ป่า

3. นางสาวนฤมล พลลาภ

7

4. นางสาวอรอุมา คลา้ ยทับทมิ
5. นางสาวเนาวนติ ชา่ งพนิ ิจ
6. นางสาวปยิ พร พูนล้น

รายชื่อผรู้ ับผดิ ชอบหลักการพฒั นางานคณุ ภาพการพยาบาล
ตามลกั ษณะงานทสี่ อดคล้องกับกลุ่มการพยาบาลและโรงพยาบาล

งานพัฒนาคณุ ภาพ ผูร้ บั ผิดชอบ

1. คณะกรรมการความเสยี่ ง นางจุฬารัตน์ เวยี งสี
สิทธ์แิ สง
2. คณะกรรมการระบบยา นางสาวณฐั วดี แทน่ ทอง
นาคมี
3. คณะกรรมการพัฒนาการบันทึกทางการพยาบาล นางภัทราภรณ์ จนั ทร์องอาจ
แท่นทอง
4. คณะกรรมการ IC นางวภิ าจรี พลลาภ
จารูญ
5. คณะกรรมการ Palliative care นางเสน่ห์ นาคมี
จนั ทร์องอาจ
6. คณะกรรมการ IT นางสาวปรีดาพร

7. คณะกรรมการนมแม่ นางสาวนฤมล

7. คณะกรรมการสุขศึกษา นางสาวพรรณนภิ า

8. คณะกรรมการพเ่ี ลยี้ งสขุ ภาพ นางวิภาจรี

9.คณะกรรมการรณรงค์งดสูบบหุ รี่ นางเสน่ห์

จานวนบคุ ลากรพยาบาลแยกตามลกั ษณะการจ้าง

ตาแหนง่ จานวน ข้าราชการ พนกั งาน พนกั งาน ลูกจา้ ง ลูกจ้าง ลูกจ้าง รวม
17 17 กระทรวง ราชการ ประจา ชวั่ คราว บริษทั
พยาบาล สาธารณสขุ
วิชาชพี - - - - 17
ผู้ช่วยเหลอื -
คนไข้
คนงาน 5- 3 1 - 1 -5

รวม 2- 2 -- -2

24 17 5 1 - - - 24

8

หนา้ ทีค่ วามรับผิดชอบ
1. หัวหน้าหอผู้ป่วย (ตามคมู่ ือบรหิ ารกลุม่ ภารกิจด้านการพยาบาล หนา้ 18-20)

หนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบหลัก ปฏบิ ตั ิงานในฐานะผู้บรหิ ารทางการพยาบาลระดบั กลางรับผดิ ชอบ
บริหารงานดา้ นการพยาบาลระดบั หนว่ ยงาน/หอผู้ปว่ ยเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามวตั ถปุ ระสงคข์ องกลุม่
ภาระกจิ ดา้ นการพยาบาลและโรงพยาบาล บงั คบั บญั ชา ตรวจสอบ ควบคมุ การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีท่ ุก
ระดับ ให้ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบตามตาแหน่งท่ีได้รบั มอบหมายอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
เปน็ ผเู้ ช่ือมโยงนโยบายจากองค์กรพยาบาลสูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นระดบั หน่วยงาน/หอผู้ปว่ ย จัดระบบ บรกิ ารพยาบาล
และระบบพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงานให้มมี าตรฐาน เกดิ การใหบ้ ริการพยาบาลท่มี ีคุณภาพอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง รวมท้ังเปน็ ผ้นู าในการปฏิบตั ิการพยาบาล ให้คา ปรึกษา แนะนาและวินิจฉัยสง่ั การในกรณผี ูป้ ฏิบัตไิ ม่
สามารถแก้ไขปัญหาได้รวมทงั้ วเิ คราะห์ความต้องการพัฒนาความรูแ้ กบ่ ุคลากร และกาหนดแนวทางการพฒั นา
และฟื้นฟูความรู้บุคลากรทางการพยาบาลทกุ ระดบั
ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิของหวั หนา้ หอผู้ป่วย
1. ด้านการปฏิบัตกิ าร

(1) เปน็ ผูน้ า ในการกาหนด พันธกจิ เป้าหมายการบริการพยาบาล รวมทัง้ แนวทางการพัฒนา บริการ
พยาบาลให้มีคุณภาพในหน่วยงานสอดคล้องกับองคก์ รพยาบาล

(2) กาหนดมาตรฐานการบริการพยาบาลหรอื แนวทางปฏิบัติการพยาบาลที่ตอบสนองต่อเปา้ หมาย
การจัดบรกิ ารพยาบาลและความต้องการของผู้ใช้บริการให้สอดคลอ้ งกับภาพรวม มาตรฐานกลาง มาตรฐาน
วชิ าชพี

(3) สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ผู้ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลทีอ่ ยู่ในความรบั ผดิ ชอบให้การพยาบาลผู้ป่วยหรอื
ผ้ใู ชบ้ รกิ ารโดยใช้มาตรฐานการบริการพยาบาลแนวทางปฏิบัตกิ ารพยาบาลท่ีกาหนด

(4) บริหารจัดการกาลงั คนทางการพยาบาลภายใต้มาตรฐานภาระงานตามขอบเขตอัตรากาลังทม่ี ีและ
จดั สรรบคุ ลากรในหน่วยงานให้เหมาะสมและตรงกบั คณุ สมบตั เิ พือ่ การปฏิบัตงิ านท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ

(5) วเิ คราะหค์ วามต้องการพัฒนาความรู้บุคลากร และกาหนดแนวทางการพัฒนาและฟื้นฟูความรู้
บุคลากรทางการพยาบาลทุกระดับ รวมทั้งปฐมนิเทศเจ้าหน้าท่ีที่เขา้ ปฏบิ ัติงานใหม่ทุกระดบั ในหน่วยงาน

(6) จัดระเบยี บการลาปว่ ย ลากจิ ลาพักผ่อน ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับระเบยี บการลาขององค์กร
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความคล่องตัวในการจัดอัตรากาลงั ในหน่วยงาน

(7) นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรทุกระดับในหนว่ ยงาน
(8) ควบคุมกากับ ดูแล จดั หาเสือ้ ผา้ วสั ดุครภุ ณั ฑ์อปุ กรณ์เครื่องมือทางการแพทยแ์ ละการพยาบาลให้
เหมาะสมกับลกั ษณะงานและเพยี งพอกบั การใช้งานอย่างท่ัวถงึ
โดยมีหลักเกณฑด์ งั น้ี

9

- มีปรมิ าณเพยี งพอและอยูใ่ นสภาพพรอ้ มใช้งานได้ทนั ที
- มรี ะบบการเกบ็ รักษา การทาบญั ชสี ารวจและควบคมุ การใช้จา่ ยอยา่ งประหยัด
- เมื่อมีการชารุด เสยี หายของเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้จัดให้มีการซอ่ มแซมแกไ้ ขใหพ้ ร้อมใช้งานหรอื
จาหน่ายเมื่อไม่สามารถนามาใชไ้ ด้และทาการเบิกทดแทน
(9) ดาเนินการเกยี่ วกบั การบริหารบคุ คล สวสั ดิการ รวมทั้งพจิ ารณาเสนอขอบาเหนจ็ ความดี
ความชอบและการพจิ ารณาโทษทางวนิ ัยในหนว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบเสนอต่อผู้บังคบั บัญชาตามลาดบั
(10) บรหิ ารจดั การส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือให้บุคลากรในหนว่ ยงาน ปฏิบตั ิงานอย่างปลอดภัยและมี
ประสิทธิภาพ
(11) ตดิ ตามประเมินและปรบั ปรงุ คุณภาพการพยาบาลในหนว่ ยงานอยา่ งต่อเนอ่ื ง
- ทบทวนผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในหน่วยงานอย่างสม่าเสมอ และความจาเป็นท่ีจะต้อง
ปรบั ปรงุ การดูแลผู้ป่วยใหด้ ขี ึ้นอย่างต่อเนื่อง
- เฝ้าระวังและทบทวนขอ้ มลู ร่วมกบั ผปู้ ฏิบัตเิ กี่ยวกบั ข้อมูลท่ชี ี้วัดถงึ คุณภาพการบริการในหน่วยงาน
เพ่อื หาแนวทางพฒั นากระบวนการให้บรกิ ารพยาบาล
- สมุ่ ทบทวนหรอื วเิ คราะห์คุณภาพการพยาบาลจากเวชระเบียน หรือเอกสารท่เี กี่ยวกับการให้บริการ
- ตรวจสอบการรักษา การพยาบาลท่ผี ้ปู ่วยพงึ ไดร้ บั พร้อมท้ังวเิ คราะหป์ ระเมินผลความถูกตอ้ ง
เหมาะสมการดาเนินตามแผนการรกั ษา แผนการพยาบาลและสิทธทิ ี่พึงมีพึงได้
(12) ดาเนินการและสง่ เสริมใหม้ ีการจัดทา วจิ ัยทางการพยาบาล ท้ังในด้านการบริหารการบรกิ าร
การนเิ ทศในหนว่ ยงาน ตลอดจนสง่ เสรมิ สนบั สนุนใหม้ กี ารนาผลการวจิ ยั มาใช้ในการพฒั นางาน
2. ดา้ นการวางแผน
(1) วางแผนปฏบิ ตั กิ ารดาเนนิ การพัฒนาคณุ ภาพการพยาบาลในหนว่ ยงานโดยบรู ณาการแผนงาน
โครงการให้สอดรบั กบั เป้าหมายขององคก์ รพยาบาล
(2) วางแผนจัดสรรอตั รากาลังทางการพยาบาลใหเ้ พียงพอ สอดคลอ้ งกบั การจัดบรกิ ารพยาบาลและ
วางแผนการพัฒนาบุคลากรโดยบูรณาการใหส้ อดรบั กับเป้าหมายขององคก์ รพยาบาล
(3) วางแผนการนิเทศการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลตามมาตรฐานหรือแนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลท่กี าหนด
(4) วางแผนสนับสนุนสถาบันการศึกษา ในการจัดการเรยี นการสอนภาคปฏบิ ตั ิของนักศึกษา กรณมี า
ฝึกภาคปฏิบตั ใิ นหน่วยงาน
3. ดา้ นการประสานงาน
(1) ประสานงานหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งเพื่อแกป้ ัญหาและให้เกิดความคล่องตัวในการจัดบริการพยาบาล
ท่มี คี ณุ ภาพ
(2) ประสานงานกบั อาจารยป์ ระจาหอผ้ปู ว่ ย ในการจดั การฝกึ ภาคปฏบิ ัติให้สอดคลอ้ งกับทฤษฎี

10

(3) ประสานการดูแลรกั ษากับทมี สหสาขาเพ่อื ใหเ้ กดิ ความต่อเนือ่ งของการดูแลผู้ปว่ ย
4. ด้านการบริการ

(1) จัดระบบบรกิ ารพยาบาลในหน่วยงาน ใหม้ ีความคล่องตัวตอ่ การให้บริการพยาบาลท่ีมีคุณภาพ
- มอบหมายงานแกบ่ ุคลากร ทีมใหก้ ารพยาบาลในหน่วยงานใหเ้ หมาะสมกับความต้องการการ
พยาบาลของผู้ปว่ ย ตามความสามารถและอัตรากาลงั ท่ีมใี ห้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด
- ตดิ ตาม และดาเนนิ การให้มีการใชก้ ระบวนการพยาบาลในการให้บรกิ ารพยาบาลพรอ้ มกับสง่ เสรมิ
ใหผ้ ู้ป่วยและญาติมีส่วนรว่ มในการวางแผน ประเมนิ ผลและทบทวนแผนการรกั ษา
- ประสานแผนการดแู ลผู้ปว่ ยแกท่ มี สหสาขาวชิ าชพี
(2) ใหค้ าปรึกษาและถา่ ยทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาลและการพฒั นาคุณภาพการพยาบาลแก่
บคุ ลากรในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบเพื่อใหบ้ ุคลากรมีความรู้ความเขา้ ใจสามารถดาเนินได้ตามเป้าหมาย
(3) นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ และประเมินผลการปฏบิ ัติการพยาบาลในหนว่ ยงานเพือ่ ให้บรกิ าร
พยาบาลได้ตามมาตรฐานที่กาหนดและมคี ุณภาพ
(4) จดั ทา คู่มอื แนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลสาหรบั เจา้ หนา้ ท่ใี นหน่วยงาน

2. พยาบาลวิชาชีพ ระดบั ปฏบิ ัติ (ตามคู่มือบรหิ ารกลมุ่ ภารกิจด้านการพยาบาล หนา้ 20-22)
หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบหลัก ปฏิบตั งิ านในฐานะผูป้ ฏบิ ัติงานระดับต้น รบั ผดิ ชอบปฏิบัติการพยาบาล

โดยตรงกบั ผู้ปว่ ยและครอบครัว รวมถึงการปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั ทีมการพยาบาลและทีมสุขภาพท่เี ก่ยี วข้อง โดยใช้
ความรู้ ความสามารถทางศาสตร์และศลิ ปะการพยาบาลหลักวิทยาศาสตร์ ตามมาตรฐานการพยาบาลและแนว
ปฏิบตั ทิ กี่ าหนด ครอบคลุม 4 มติ ิ คอื การรกั ษาพยาบาล ปอ้ งกันการเกดิ ภาวะแทรกซ้อนในผู้ปว่ ย การฟน้ื ฟู
สภาพผู้ปว่ ยใหก้ ลับสู่ภาวะปกติและการสง่ เสริมสุขภาพใหส้ ามารถดแู ลตนเองได้อย่างถูกต้อง โดยใช้ร่วมกับ
กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัตกิ ารพยาบาล ร่วมวางแผนและดาเนินการพัฒนาระบบงาน ประสานงาน 
บริการข้อมลู วิชาการ ภายใต้การกากบั  แนะนา ตรวจสอบ ของพยาบาลผมู้ ีประสบการณม์ ากกว่า พยาบาลพี่
เลีย้ ง หวั หนา้ งาน หัวหน้าหอผู้ป่วยและปฏบิ ตั งิ านอน่ื ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย เพ่ือสุขภาพอนามัยทดี่ ีของ
ประชาชน
ลักษณะงานที่ปฏิบัติของพยาบาลวิชาชพี ระดบั ปฏบิ ตั ิ
1.ดา้ นการปฏบิ ตั ิการ

(1) ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลขั้นพ้ืนฐานตามมาตรฐาน จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพสทิ ธิผปู้ ่วยและ
แนวทางทกี่ าหนด เพื่อให้ผปู้ ่วยได้รับการดูแลท่ถี ูกต้องและปลอดภยั

(2) ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยตรงแกผ่ ูป้ ว่ ยและครอบครัว โดยใช้กระบวนการพยาบาลและการพยาบาล

11

องค์รวม เพือ่ วางแผนและให้การพยาบาลครอบคลมุ ทัง้ รา่ งกายและจติ ใจ ทั้งการป้องกนั การเกดิ
ภาวะแทรกซ้อน การส่งเสริม และฟน้ื ฟูสุขภาพให้สามารถกลับมาดูแลตนเองได้อย่างถกู ต้องโดยเริม่ ตง้ั แต่ การ
คดั กรอง การประเมินภาวะสุขภาพ การวเิ คราะห์ปัญหาและภาวะเส่ียงและให้พยาบาลพรอ้ มติดตาม
ประเมินผลเพ่ือพฒั นาคุณภาพการพยาบาลที่ใหก้ ับผ้ปู ว่ ยตลอดเวลา

(3) เฝ้าระวัง วิเคราะห์อาการเปลี่ยนแปลงของผปู้ ่วย และให้การดแู ลเบอื้ งต้นพร้อมทั้งดาเนนิ การ
ปรึกษาพยาบาลวชิ าชพี ในระดบั สูง พยาบาลที่มีประสบการณ์ หรือทมี สุขภาพที่เกย่ี วข้อง เพอ่ื ให้การช่วยเหลือ
ผูป้ ว่ ยได้ทันทว่ งทีกอ่ นทจ่ี ะเข้าส่ภู าวะวกิ ฤตหรือมปี ัญหาซบั ซอ้ นตามมา

(4) ควบคุมดูแลสิ่งแวดลอ้ มให้เอือ้ ต่อการดูแลผูป้ ว่ ยอย่างเหมาะสม การป้องกันการแพรก่ ระจายของ
เช้ือโรคเป็นแหล่งฝึกปฏบิ ัตขิ องนักศึกษารวมถึงทมี สุขภาพทุกระดบั

(5) เตรยี มและตรวจสอบอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใชท้ จ่ี าเป็นให้พรอ้ มใชต้ ลอดเวลาในการ
รกั ษาพยาบาล

(6) ปฏิบตั ติ ามแผนจาหนา่ ย เพ่ือช่วยใหผ้ ปู้ ว่ ยกลบั ไปใช้ชวี ติ ปกติกับครอบครวั ไดเ้ รว็ ทีส่ ุดหรือปฏบิ ตั ิ
ตามกจิ กรรมที่หัวหนา้ ทมี มอบหมาย

(7) รว่ มประชุมในทีมการพยาบาลหรือทีมสุขภาพ เพ่ือประเมนิ ผลสาเร็จของการดแู ลและการวางแผน
จาหน่าย นาไปสูก่ ารปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการดูแลผูป้ ว่ ย

(8) มีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพของพยาบาลในหนว่ ยงานทปี่ ฏิบตั ิ โดยใชม้ าตรฐานการพยาบาล
และค่มู ือในการปฏิบัติการพยาบาลตา่ งๆ

(9) สร้างการมสี ่วนร่วมของผู้ปว่ ยและญาติ ในการดูแลผปู้ ว่ ยและการบาบัดอาการภายใต้การแนะนา
ของพยาบาลหวั หนา้ ทีม หวั หนา้ หอผู้ปว่ ย

(10) การบันทึกขอ้ มลู ปัญหา และความต้องการของผปู้ ว่ ยตัง้ แต่แรกรบั จนจาหน่าย ครอบคลมุ องค์
รวมและผลการปฏิบัติตามแผนการรักษา แผนการพยาบาล การตอบสนองปญั หาของผู้ปว่ ยอยา่ งตอ่ เน่ืองพร้อม
ทั้งวิเคราะห์ขอ้ มูล เพ่ือการพัฒนาการดแู ลผปู้ ว่ ย ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั สขุ สบายและมปี ระสิทธิภาพ
2. ดา้ นการวางแผน

(1) ร่วมวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล ตามเปา้ หมาย และตัวชว้ี ัดคณุ ภาพของหนว่ ยงานตาม
ขอบเขตงานท่รี ับมอบหมาย

(2) รว่ มวางแผนและดาเนินการบริหารจัดการ วสั ดุ อุปกรณ ์ เครือ่ งมือเวชภณั ฑ์ ตามมาตรฐานและ
แนวทางท่กี าหนดตามขอบเขตงาน ทรี่ ับมอบหมาย

(3) รว่ มวางแผน ดาเนินการประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของแผนงาน โครงการ และงานท่ีได้รับมอบหมายใน
หนว่ ยงาน

12

3. ดา้ นการประสานงาน
(1) ประสานความร่วมมือกบั ทมี สุขภาพทเี่ กีย่ วข้อง เพอื่ ให้กระบวนการดูแลผู้ปว่ ยเปน็ ไปอยา่ งมี

ประสทิ ธภิ าพและไดผ้ ลลัพธต์ ามท่กี าหนด
(2) ประสานการใช้แหล่งประโยชน์ และการทางานรว่ มกันท้ังภายใน นอกทมี งาน หรือหน่วยงาน 

เพื่อใหเ้ กิดความรว่ มมือในการรักษาพยาบาลและการดาเนินงานตามเป้าหมายของหนว่ ยงาน
(3) ชีแ้ จง ใหร้ ายละเอียดขอ้ มูล ขอ้ เทจ็ จริง เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ รว่ มมือในการดาเนินการรกั ษา

พยาบาลหรอื การดาเนนิ งานตามทร่ี บั มอบหมาย
4. ดา้ นการบริการ

(1) สอน สาธติ  และใหค้ าแนะนาด้านสุขภาพแกป่ ระชาชน ผู้ใช้บริการ ชุมชน เครือข่ายบรกิ ารที่
เก่ยี วขอ้ งกบั การส่งเสรมิ สุขภาพ ป้องกนั โรค ดูแลรักษา และฟนื้ ฟูสภาพ เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลตนเองได้

(2) ร่วมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ในทมี การพยาบาล
(3) มีสว่ นร่วมในการจัดทาคู่มือการสอน การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
(4) ให้ความรว่ มมอื หรือมสี ว่ นในการทาวิจยั ทางการพยาบาลและนาผลการวจิ ัยไปใช้ในการปรบั ปรงุ
คุณภาพการพยาบาลในหน่วยงาน

3. Job description ของบคุ ลากรต่างๆทางการพยาบาล (ตามคู่มือบริหารกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล หนา้
22-25)
3.1 พยาบาลวิชาชพี หัวหน้าเวร (Chief nurse)

(1) รับนโยบายจากหัวหนา้ หอผู้ป่วย
(2) เปน็ หวั หน้าทมี การพยาบาล
(3) ทาหนา้ ทน่ี เิ ทศการพยาบาลนอกเวลาราชการ
(4) ขึ้นปฏบิ ัติงานก่อนเวลา (เนื่องจากต้องตรวจเย่ยี มผ้ปู ว่ ยของตนเองทไ่ี ด้รับมอบหมาย)
(5) ตรวจเยีย่ มผ้ปู ว่ ยและสิง่ แวดล้อม เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ ในหนว่ ยงาน
(6) มอบหมายงานแกส่ มาชกิ ทีมให้เหมาะสมกบั ความรู้ ความสามารถและปรมิ าณงาน
(7) เปน็ ผนู้ าในกจิ กรรมการพยาบาลต่างๆ

- การรับ และสง่ เวร
- การประชุมศึกษาก่อนและหลังปฏบิ ัตงิ าน (pre-post conference)
- การเยย่ี มตรวจการทางพยาบาล (nursing rounds)
- การศกึ ษารายบุคคล (case conference)
- การประชุมวิชาการของหนว่ ยงาน (in service education)

13

(8) ควบคุมและตรวจสอบการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการพยาบาลของสมาชิกทมี
(9) นเิ ทศ/กากับดแู ลการปฏิบตั กิ ารพยาบาลตามประเดน็ เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ในแต่ละเดือน
(10) ประสานงาน บรหิ ารจดั การ ทัง้ ด้านการบรกิ าร ดา้ นอัตรากาลงั ดา้ นสง่ิ แวดล้อมและผู้รบั บริการ
(11) เป็นที่ปรกึ ษา แก้ไขจดั การปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นในเวรร่วมกับทมี พยาบาลและทีมสหวิชาชพี
(12) หากเกดิ เหตุการณ์ท่ไี ม่พึงประสงค์ให้รายงานตามลาดับขน้ั ทก่ี าหนด
(13) สรปุ ผลการนเิ ทศในแต่ละเวรในแบบบันทึกการนิเทศประจาหน่วยงาน
3.2 พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ัติงานในหอผ้ปู ว่ ย/หน่วยงาน
(1) ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลโดยใช้ Nursing Process
(2) ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลให้ถกู ตอ้ งตามมาตรฐานการพยาบาล / WP และพิทักษส์ ทิ ธิ
(3) จดั อาคารสถานทีใ่ ห้เปน็ ระบบ ระเบยี บ สะอาด สะดวกและปลอดภัยแกก่ ารปฏบิ ตั ิงาน
(4) จัดเตรียมอุปกรณ์ เคร่ืองมอื เครื่องใช้ ใหม้ ีพอเพียงและพร้อมทีจ่ ะใชไ้ ดใ้ นทนั ที
(5) รบั ผดิ ชอบ จัดเก็บ ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้ใหพ้ ร้อมใช้งาน
(6) ดแู ลผปู้ ่วยใหไ้ ด้รับการรักษาอย่างถกู ต้อง ตามแผนการรกั ษาของแพทย์
(7) ดแู ลให้ไดร้ บั อาหารอยา่ งเพยี งพอ ถูกตอ้ งตามภาวะของโรคและความสุขสบายของผู้ใชบ้ รกิ าร
(8) ให้ข้อมูลและให้สุขศกึ ษาแกผ่ ู้ป่วย
(9) ใหค้ วามร่วมมอื ในการวางแผนจาหน่ายผปู้ ่วยโรคเรอ้ื รัง
(10) เก็บข้อมลู ตัวชวี้ ดั คุณภาพต่างๆ ของหนว่ ยงาน
(11) เปน็ ท่ีปรึกษาแก้ไขปัญหาดา้ นการรกั ษาพยาบาลแกเ่ จ้าหน้าทรี่ ะดับรองลงมา
(12) ให้ความร่วมมือดา้ นการรักษาพยาบาลกับทมี สุขภาพ
(13) ประสานงานระหวา่ งหอผู้ป่วย/หนว่ ยงานต่างๆ
(14) ควบคมุ คุณภาพการพยาบาลในเวรทีร่ ับผดิ ชอบและเป็นผนู้ าในการปอ้ งกันความเสย่ี งตา่ งๆท่ีอาจ
เกดิ ข้นึ ท้ังความเส่ยี งด้านโครงสรา้ ง และคลนิ ิก
(15) ร่วมปรับปรุงระบบงานบริการพยาบาลของหนว่ ยงาน
3.3 พนกั งานช่วยเหลือคนไข้ (เสมียน)
(1) รบั – สง่ หนงั สอื
(2) ตรวจนบั อุปกรณ์เครื่องมอื เคร่อื งใช้ ประจาวันในหนว่ ยงานให้ครบถว้ น และพร้อมใช้เสมอ
(3) เบกิ วสั ดกุ ารแพทย/์ วัสดงุ านบ้าน งานครัว ครุภัณฑ์ทั่วไปและครุภัณฑ์การแพทย์
(4) บนั ทึกการส่งของเครือ่ งใช้ทช่ี ารุด ส่งซ่อม พร้อมท้งั ติดตามการซ่อม
(5) ประสานงานกบั เจ้าหน้าท่ีอน่ื ๆ ในหน่วยงาน
(6) ให้ความรว่ มมอื ในการปฏิบตั ิงานกบั เจ้าหน้าท่อี น่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ ง

14

(7) ดแู ลช่วยเหลอื ผปู้ ่วย เช่น การทาเตียง bed bath แจกนมใหผ้ ปู้ ว่ ย
(8) ใหข้ ้อมูลแก่ผ้ปู ่วยและญาตผิ ู้ป่วย เชน่ ระเบยี บการเยี่ยม
3.4 พนกั งานชว่ ยเหลอื คนไข้
(1) ตรวจนับอุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครอื่ งใช้ ประจาวนั ในหน่วยงานใหค้ รบถ้วนและพร้อมใช้ไดเ้ สมอ
(2) ดูแลความสะอาดเรียบรอ้ ยของโต๊ะข้างเตียงและส่งิ แวดลอ้ มให้สะอาด
(3) จัดเตรียม จัดเกบ็ และดูแลรักษาอุปกรณ์ เครอื่ งมอื เครื่องใช้ ตลอดจนเคร่อื งนอนและเสอื้ ผา้ ของ
หน่วยงานใหม้ เี พยี งพอและพร้อมท่ีจะใช้เสมอ
(4) ปฏิบัติการพยาบาลที่ไม่ยุ่งยาก ซับซอ้ นและอย่ภู ายใตก้ ารควบคุมอย่างใกลช้ ดิ ของพยาบาล เชน่
- การทาความสะอาดร่างกายผู้ป่วย เปลย่ี นเส้อื ผา้ การเช็ดตัว
- การป้อนอาหาร การแจกนม
- ชว่ ยเหลอื การขับถ่าย
- วัดสญั ญาณชพี
- การพลิกตะแคงตวั
- การเคลือ่ นย้ายผปู้ ว่ ย
- การตวงปสั สาวะและนา้ ดื่ม
(5) การลา้ งทาความสะอาดของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น แกว้ ยา ถว้ ยยา Syringe Set ทาแผล
(6) การแลกเปลย่ี นของศูนยจ์ ่ายกลาง รับและสง่ ของท่ศี นู ย์ Bird
(7) การเกบ็ และส่ง Specimens ตา่ งๆ ตาม Lab ตาม Film
3.5 พนักงานประจาตึก
(1) ทาความสะอาดอาคารสถานที่ หอ้ งนา้ ห้องส้วมและบริเวณส่งิ แวดลอ้ มให้สะอาดสวยงามอยู่เสมอ
(2) ทาความสะอาดจดั เกบ็ และดแู ลรักษาเกยี่ วกับกระโถนทกุ ชนิดและอปุ กรณท์ าความสะอาดให้
สะอาดและมเี พยี งพอทีจ่ ะใชไ้ ด้
(3) ดแู ลรักษาความสะอาดของวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ ประจาหนว่ ยงานให้สะอาด และคงทนถาวรอยู่เสมอ
(4) การตักอาหาร แจกอาหารผูป้ ว่ ย ชว่ ยปอ้ นอาหาร ให้แก่ผปู้ ว่ ยท่ไี ม่มีญาติ
(5) อานวยความสะดวกเก่ยี วกบั การบริการรกั ษา เชน่ ส่ง Specimen เบกิ อุปกรณ์เวชภัณฑ์
(6) กาจัดขยะ และสิ่งปฏกิ ลู ภายในหน่วยงาน
(7) ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
(8) การรับ – สง่ ผา้ ซัก จากหนว่ ยซักฟอก
4. Job specific ของพยาบาลวิชาชพี
4.1 มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสรรี วทิ ยา และลกั ษณะของทารกแรกเกิด ทารกเกิดกอ่ นกาหนด และ
โรคตา่ งๆของทารก

15

4.2 มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้อปุ กรณ์ เคร่อื งมือตา่ งๆทยี่ ุ่งยากซบั ซ้อน เช่น Infant ventilator
Incubator, Radiant warmer, Body cooling, EEK, NiO, EKG เปน็ ตน้

4.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการใชย้ าเฉพาะในหน่วยงาน เชน่ PGE1, Iloprost, Surfactant เปน็ ตน้
4.4 สามารถสงั เกตอาการและพฤติกรรมท่เี ปล่ียนแปลงของทารกได้ เชน่ ความเจบ็ ปวด หวิ นม เป็นต้น
4.5 มีทกั ษะในการปฏิบตั ิหัตถการตา่ งๆ เพ่ือช่วยเหลือทารกใหพ้ ้นภาวะวิกฤติ เช่น การช่วยฟ้ืนคนื ชพี
ทารก การช่วยแพทย์ใส่ท่อชว่ ยหายใจ การดดู เสมหะ การเจะเลอื ดและใหน้ ้าเกลือทารกเปน็ ตน้
4.6 มีความรใู้ นการพยาบาลผ้ปู ว่ ยที่ทาหัตถการ invasive เชน่ PICC line เปน็ ต้น
4.7 มีทักษะในการสอ่ื สารกับสหสาขาวิชาชีพสามารถในการตดั สนิ ใจ แก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้
4.8 ให้การปฏิบตั ิการพยาบาลด้วยความนมุ่ นวล ละเอยี ด รอบคอบ ถูกต้องตามหลักการปฏบิ ตั ิ
พยาบาล

การบริหารจัดการอตั รากาลังของหอผู้ป่วย/หน่วยงาน
1. การคิดวเิ คราะหอ์ ัตรากาลัง เพ่ือเปน็ การกาหนดกาลงั คน และการมอบหมายงานการพยาบาล

ให้สอดคล้องกับความต้องการการดูแลของผู้ป่วยในแต่ละประเภทและให้เหมาะสมกบั ช่ัวโมงของการพยาบาล
ตามมาตรฐานของการทางาน โดยใช้ CAP Program (Classify Assignment for 2P Safety) จะมฐี านการ
คานวณจากระยะเวลาที่ผปู้ ว่ ยตอ้ งการการดแู ลจากพยาบาลในแตล่ ะช่วงเวลาในเวรเชา้ เวรบ่าย เวรดึก ซึ่ง
ระยะเวลาต้องการดูแลจะแตกตา่ งกนั ตามการจาแนกประเภทผปู้ ว่ ย หารด้วยชม. การดแู ลผู้ป่วยจรงิ (7 ชม.
= 420 นาท)ี และได้กาหนดตามตาราง

16

2. มอบหมายงานแบบรายผ้ปู ว่ ย CCB (Case classify &amp; Complete care with Buddy)

หมายถงึ การมอบหมายงานพยาบาลท่ีประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพทม่ี ปี ระสบการณ์มาก (Chief Nurse)

คกู่ ับพยาบาลวชิ าชพี ทีม่ ปี ระสบการณน์ ้อยกวา่ ขึน้ ปฏิบัตงิ านร่วมกนั เพื่อเป็นทีป่ รึกษาสอนและชี้แนะเพื่อให้

ผู้ป่วยปลอดภยั และพยาบาลทีม่ ีประสบการณ์น้อยกวา่ มีความรู้และมีความมั่นใจในการปฏบิ ัตงิ าน โดยใช้

กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยแบบเบด็ เสร็จผสมผสานองคร์ วมตง้ั แต่แรกรับเวรจนถงึ บันทกึ ทางการ

พยาบาลตามการมอบหมายงานท่ีไดร้ บั ตามการจาแนกประเภทผู้ปว่ ยผา่ นCAP Program (Classify

Assignment for 2P Safety) ดงั นั้นคณุ สมบตั ิของพยาบาลวชิ าชีพ (Chief Nurse) ต้องมีประสบการณ์การ

ทางานมากกวา่ 5 ปี ข้ึนไป และแบ่งระดับcompetency ของพยาบาลในหน่วยงาน NICU ดงั น้ี

ระดับใหญ่ ปฏบิ ัติงานใน NICU > 5 ปีขน้ึ ไป

ระดับกลาง ปฏิบตั ิงานใน NICU 3-5 ปี

ระดับเล็ก ปฏบิ ัติงานใน NICU 1-3 ปี

ระดับใหม่ ปฏบิ ตั งิ านใน NICU <1 ปี

การจดั เจา้ หนา้ ที่พยาบาลขึ้นปฏิบัติในแต่ละเวร

รปู แบบ ระดับใหญ่ > 5 ปี ระดบั กลาง 3-5 ปี ระดับเลก็ 1-3 ปี จบใหม่ <1 ปี

1 1 คน 3 คน

2 1 คน 2 คน 1 คน

3 1 คน 2 คน 1 คน

17

4 1 คน 1 คน 2 คน

5 2 คน 2 คน

6 2 คน 1 คน 1 คน

7 2 คน 1 คน 1 คน

8 2 คน 2 คน

9 2 คน 1 คน 1 คน

ระเบียบและวธิ ีการปฏบิ ัติงาน
1. การลาพักผ่อน (คู่มอื บรหิ ารกลุ่มภารกจิ ดา้ นการพยาบาล หนา้ 56)

รายละเอยี ด ข้าราชการ - พนกั งาน พนกั งาน ลูกจา้ ง ลูกจ้าง

ลูกจ้างประจา กระทรวง ราชการ ชัว่ คราว ชว่ั คราว

สาธารณสุข รายเดือน รายคาบ

สิทธิการลา 10 วนั ทาการ 10 วนั ทาการ 10 วันทาการ 10 วนั ทาการ ไม่มีสิทธลิ า

สะสมวันลา - ปฏบิ ัติงานไม่ สะสมวนั ลาได้ สะสมวนั ลา ไมม่ ีสทิ ธิสะสม

ครบ 10 ปี สะสม ไมเ่ กิน 5 วนั ไดไ้ ม่เกิน 5 วนั ลาพกั ผ่อน

วันลาได้ รวมวัน ทาการรวมวัน วันทาการ

ลาพกั ผ่อนปี ลาพักผอ่ นปี รวมวันลา

ปัจจุบันตอ้ งไม่ ปจั จุบนั ต้องไม่ พกั ผอ่ นปี

เกนิ 20 วัน เกิน 15 วนั ปจั จุบนั ตอ้ ง

- ปฏบิ ัติงาน 10 ไมเ่ กนิ 15

ปีข้นึ ไปสะสมวัน วนั

ลาได้รวมวันลา

พักผ่อนปีปจั จบุ ัน

ต้องไม่เกิน 30 วัน

18

*หมายเหตุ ข้าราชการ ลกู จา้ งประจา พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ต้องปฏบิ ัติงานครบ 1
ปี ข้นึ ไป(ภายหลงั การได้รับการบรรจ)ุ จึงจะมสี ทิ ธสิ์ ะสมวันลาพักผอ่ นได้
รายละเอียดและเง่ือนไขอื่นๆ
1. ข้าราชการท่ีได้รับบรรจเุ ข้ารบั ราชการยังไม่ถงึ 6 เดือน ไม่มสี ทิ ธลิ าพกั ผ่อนประจาปี ในกรณบี คุ คล
ดงั ตอ่ ไปน้ี
1.1. ผู้ซึ่งไดร้ บั บรรจุเข้ารบั ราชการเป็นขา้ ราชการครัง้ แรก
1.2. ผ้ซู ง่ึ ลาออกจากราชการเพราะเหตุผลสว่ นตวั แล้วต่อมาได้รับบรรจเุ ข้ารบั ราชการอีก
1.3. ผซู้ ่ึงลาออกจากราชการเพ่อื ดารงตาแหนง่ ทางการเมืองหรือเพ่ือสมัครรับเลือกต้งั แล้วต่อมาได้บรรจเุ ขา้
รับราชการอกี หลงั 6 เดือน นับแต่วนั ออกราชการ
1.4. ผู้ซง่ึ ถกู สง่ั ให้ออกจากราชการในกรณีอืน่ นอกจากกรณีไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าดว้ ย
การรับราชการทหารและกรณไี ปปฏบิ ัตงิ านใดๆ ตามความประสงค์ของทางราชการแล้วตอ่ มาได้รับบรรจุเขา้
รบั ราชการอีก
2. ข้าราชการทล่ี าศึกษาต่อภายในประเทศและต่างประเทศ ซึง่ ไม่ได้ลาพักผ่อนประจาปี หรือลาพักผอ่ น
แลว้ แต่ไมค่ รบ 10 วันทาการตามสิทธิ ย่อมมีสิทธิสะสมวนั ทยี่ งั มไิ ด้ลาในปีงบประมาณน้ันรวมเข้ากบั
ปงี บประมาณต่อๆ ไปภายหลัง เมื่อกลบั มาปฏิบตั หิ น้าทรี่ าชการ
3. พนกั งานกระทรวงสาธารณสุขทั่วไป และพนักงานราชการ ในปีแรกทีป่ ฏบิ ตั ิราชการไมค่ รบ 6 เดือนไม่มี
สิทธลิ าพักผอ่ น
4. ลกู จ้างช่ัวคราว ช่วงทท่ี ดลองงาน 15 วนั ไม่มสี ิทธลิ าพักผอ่ นเพราะจะถือวา่ ยังไมผ่ า่ นการประเมนิ และ
ยังไม่ได้รบั การจา้ ง แตเ่ มื่อมีคาสงั่ ให้บรรจเุ ป็นลูกจ้างชวั่ คราวแล้วปฏิบัติงานครบ 6 เดอื นสามารถใชส้ ทิ ธลิ า
พักผอ่ นได้
5. การลาพักผ่อนของบคุ ลากรทกุ ระดบั จะต้องลาลว่ งหนา้ และให้ลงข้อมูลลาพกั ผอ่ นผ่านระบบออนไลน์และ
หวั หน้าหอผู้ป่วยอนมุ ตั กิ ารลาผา่ นระบบออนไลน์การลาต้องได้รบั การอนุมัตจิ ากหวั หนา้ หน่วยงาน /หวั หน้า
กลุ่มงานและหัวหน้ากล่มุ ภารกิจดา้ นการพยาบาลตามลาดับกรณีเปน็ หวั หน้าหอ/หัวหนา้ งานต้องมผี ปู้ ฏิบัติ
ราชการแทน(ระบไุ วใ้ นใบลาชัดเจน)และไดร้ ับการอนมุ ตั จิ ากหัวหนา้ กลุ่มงานและหัวหน้ากลุ่มภารกจิ ด้าน การ
พยาบาลตามลาดับ กรณเี ป็นหวั หนา้ กลมุ่ งาน /รองพยาบาลตอ้ งไดร้ ับการอนมุ ตั จิ ากหัวหนา้ กลุ่มภารกจิ ดา้ น
การพยาบาลและมอบหมายผู้ปฏิบตั ิราชการแทน โดยระบุไว้ในใบลาชดั เจน(การลาพักผ่อนให้ปฏบิ ตั ติ าม
ประกาศโรงพยาบาลพุทธชนิ ราชเร่ืองหลักเกณฑ์และวธิ ีการบันทึกข้อมลู การลาผ่านระบบออนไลน์ ลงวันท่ี 6
ตุลาคม 2563)
6. การลาพกั ผ่อนหลังส่งตารางเวรแลว้ ให้สง่ ใบลาพกั ผ่อนผา่ นระบบลาออนไลน์ ก่อนวนั ลาจรงิ 3 วนั ทาการ
เพ่ือเสนอผ้มู ีอานาจการลาพจิ ารณา และเม่ือไดร้ บั อนุญาตแล้วจึงจะหยุดราชการได้

19

7. ผู้ทม่ี สี ิทธิที่จะสะสมวันลาพักผอ่ นได้ 30 วนั ถ้ามคี วามประสงค์ลาติดต่อกนั 30 วนั ให้แจง้ ลว่ งหน้า 1 เดอื น
และเขยี นบนั ทึกเสนอตอ่ หวั หนา้ หอ ,หัวหน้ากลุม่ งาน และหวั หน้ากลุม่ ภารกิจดา้ นการพยาบาล ตามลาดับ
การอนุมัตขิ ึ้นอย่กู บั หวั หน้าหอผ้ปู ว่ ยโดยต้องไม่สง่ ผลเสยี ต่อการปฏิบตั ิหน้าท่แี ละไมเ่ กิดผลกระทบท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ
ความเสยี หายตอ่ ทางราชการ
8. วนั ลาพกั ผ่อนนับรวมต่อเน่ืองกับวันหยุด ได้ดงั น้ี

8.1 ลาพักผ่อน 1-3 วนั หยดุ ติดตอ่ กนั ไม่เกิน 8 วัน
8.2 ลาพักผอ่ น 4 วนั หยุดติดต่อกนั ไมเ่ กิน 10 วัน
8.3 ลาพักผอ่ น 5-9 วัน หยุดติดต่อกนั ไม่เกิน 12 วัน
8.4 ลาพกั ผอ่ น 10 วนั ขึ้นไป หยดุ ติดต่อกันไมเ่ กนิ 16 วนั (สามารถลาได้ถา้ มบี ุคลากรปฏิบัตงิ าน
เพียงพอ) โดยเขียนบนั ทึกเสนอชีแ้ จงความจาเป็นเสนอต่อหัวหน้าหอ หวั หน้ากลุ่มงานและหวั หน้า
กลุ่มภารกจิ ดา้ นการพยาบาล ตามลาดบั
9. ในชว่ งเทศกาลทีม่ วี นั หยดุ ติดต่อกัน หวั หน้าสามารถพจิ ารณาใหเ้ จ้าหนา้ ท่ลี าพกั ผ่อนได้ โดยสามารถจัด
อตั รากาลังใหเ้ หมาะสมกับภาระงาน ตามมาตรฐานกลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล ยกเวน้ เมอ่ื ต้องเตรยี มรบั
สถานการณ์ฉุกเฉนิ ต่างๆ
10. ในระหวา่ งการลาพกั ผ่อน ถ้าทางราชการมีความจาเป็น ผบู้ ังคับบญั ชาสามารถเรียกให้กลับมาปฏิบัติ
ราชการได้ดังน้นั จึงไม่ควรจัดใหบ้ คุ ลากรลาพักผอ่ นในชว่ งเวลาเดยี วกัน
11. ห้ามแลกเวรข้ึนปฏบิ ตั งิ านหรอื ขน้ึ ปฏบิ ตั ิงานล่วงเวลาในวนั ทล่ี าพกั ผ่อน
12. กรณียงั ไมถ่ ึงวันลาพกั ผ่อน หากต้องการยกเลิกวันลาใหเ้ ขียนใบยกเลิกวนั ลาสง่ หวั หน้าหอผู้ปว่ ย หัวหน้า
กลุ่มงาน และหัวหน้ากลมุ่ ภารกิจดา้ นการพยาบาลตามลาดับ กอ่ นถึงวนั ลา

2. การลาปว่ ย (คู่มือบรหิ ารกลุ่มภารกิจดา้ นการพยาบาล หนา้ 58)
1. กรณีลาเพ่ือรกั ษาตวั ให้บันทกึ ข้อมูลผ่านระบบการลาออนไลน์ พร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณา (ถ้าม)ี
โดยบันทกึ ข้อมูลลว่ งหนา้ ไมน่ ้อยกวา่ 3 วันทาการ เพ่ือเสนอผู้มีอานาจอนุญาตการลาพิจารณาและจะหยดุ
ราชการไดต้ ่อเม่ือได้รบั อนญุ าตแล้วเทา่ น้นั
2. กรณีลาป่วยจาเปน็ ใหส้ อื่ สารดว้ ยวธิ ใี ดๆ เพ่ือรายงานผู้บังคับบญั ชาทราบ และใหบ้ ันทึกผา่ นระบบการลา
ออนไลน์ ภายในวนั แรกทม่ี าปฏบิ ัตริ าชการ เพือ่ เสนอผู้มีอานาจอนุญาตการลาพิจารณาต่อไป ทั้งนี้หาก ลา
ป่วยติดต่อกนั ต้ังแต่ 2 วนั ขึ้นไป ใหแ้ นบใบรบั รองแพทยท์ ุกครั้ง
3. การนบั วันลาป่วย ให้เขียนวันลาต่อเนือ่ งกนั โดยนับวันหยุดราชการทีอ่ ยู่ในระหวา่ งลาน้ันดว้ ย แต่นบั วนั ลา
ปว่ ยเฉพาะวันทาการให้ถอื เป็นวันลา
4. การลาป่วยผิดระเบยี บกลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล ได้แก่

20

4.1 การลาปว่ ยก่อนและ หรือหลังลาพักผอ่ นโดยไมม่ ีใบรบั รองแพทยห์ รอื ไม่ได้ Admit
4.2 การลาป่วยในวนั นักขตั ฤกษ์ วนั เสาร์-อาทติ ย์ และ เวรดกึ เวรบ่าย โดยไม่มใี บรับรองแพทย์หรือไม่ได้
Admit
4.3 ลาปว่ ยในวนั ทีแ่ ลกเวร โดยไม่มใี บรับรองแพทยห์ รอื ไมไ่ ด้ Admit
4.3 ลาปว่ ยติดตอ่ กนั ตั้งแต่ 2 วนั โดยไมม่ ใี บรับรองแพทย์
4.4 ลาป่วยในเวร OT โดยไมม่ ีใบรับรองแพทย์หรือไม่ได้ Admit

หากมีการลาผดิ ระเบียบให้หัวหนา้ หอ พิจารณาดังน้ี
1. เขียนบนั ทกึ ข้อความช้ีแจงเหตผุ ล
2. ชดใชเ้ วรคืนเท่าจานวนวันทีล่ า สามารถทยอยใชเ้ วรไดจ้ นกว่าจะครบตามกาหนด

กาหนดเวลาการแจ้งลาป่วย
เวรเช้า แจ้งการลาไมเ่ กิน 07.00 น. ของวนั ทล่ี า
เวรบา่ ย แจ้งการลาไม่เกนิ 12.00 น. ของวนั ทลี่ า
เวรดกึ แจง้ การลาไม่เกนิ 20.00 น. ก่อนวันทีล่ า

3. การลากจิ (คมู่ ือบริหารกลุม่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล หน้า 59)
1. การลากจิ ต้องลาลว่ งหน้าใหบ้ ันทกึ ข้อมลู ผา่ นระบบการลาออนไลนอ์ ยา่ งน้อย 3 วนั ทาการเพ่ือจัดอตั รากาลัง
ทดแทน โดยต้องได้รบั อนมุ ตั ิจากผู้มอี านาจอนุญาตการลาพิจารณาพรอ้ มทงั้ ต้องตรวจสอบการได้รับอนุมัติก่อน
ลากจิ ทกุ ครัง้ ถ้าหยุดไปโดยไมไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ะผดิ ระเบยี บวินยั ข้าราชการ
2. ในกรณีฉุกเฉินหรือกรณที ี่มีความจาเป็นรบี ด่วนต้องแจ้งทางโทรศพั ท์ ขออนมุ ตั ิจึงจะลาได้ มิฉะนน้ั จะผิด
ระเบียบวินยั ข้าราชการ และใหบ้ นั ทึกข้อมูลผ่านระบบการลาออนไลนภ์ ายในวันแรกที่มาปฏิบตั ิงาน
3. การลากจิ เวรเชา้ วนั นักขตั ฤกษ์ วันเสาร์-อาทติ ย์ และเวรบ่าย เวรดึก ตอ้ งใชเ้ วรคืนหรือตดั OT ยกเว้น
กรณบี ดิ า-มารดา ทั้งสองฝา่ ย สามี ภรรยา(จดทะเบยี นสมรสโดยชอบดว้ ยกฎหมาย) หรือบุตรปว่ ยใหล้ าโดยไม่
ตอ้ งใช้เวรคนื ได้ หากมีความจาเป็นนอกเหนือกรณีดงั กล่าวให้แจง้ หัวหน้าหอเพ่ือพจิ ารณาเปน็ กรณีไป
4. การลากจิ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ งตามระเบียบได้แก่ การลาโดยไมแ่ จ้งหวั หนา้ หน่วยงานล่วงหนา้ ให้ชดใชเ้ วรตามจานวน
เวรท่ลี ากิจน้ัน
5. ผู้ทีไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหล้ ากิจส่วนตัวซ่ึงไดห้ ยุดราชการยังไม่ครบกาหนด ถ้ามรี าชการจาเป็นเกิดขึ้นผบู้ งั คับ
บญั ชาหรอื ผู้มีอานาจอนญุ าตจะเรยี กตวั มาปฏิบัตริ าชการได้ ยกเว้นแต่กรณีการลากิจสว่ นตวั เพอื่ เลีย้ งดูบุตร
6. การลากจิ 1 วนั ทม่ี ี 2 เวร
6.1 กรณลี ากจิ 1 วัน มี 2 เวร จากการแลกเวรมา (วันทาการ 2 วนั ) ให้ลงลากิจ 1 วันและใช้เวร 1 เวร ภายใน
เดอื นนัน้ หากเป็นช่วงปลายเดือนให้ใช้เวรเดอื นถัดไปและหมายเหตใุ นตารางเวรว่าใชเ้ วร

21

6.2 กรณลี ากจิ 1 วนั มี 2 เวร (วันทาการ 1 วัน OT 1 วัน) ใหห้ ัวหน้าพจิ ารณาวนั ทล่ี าวา่ ให้ลาเปน็ วันทาการ
หรือเวรOT ปรับตามความเหมาะสม ถ้าลาวันทาการให้ดาเนินการลาตามระบบ แตห่ ากลาเวรOT ใหต้ ดั OT
ออก และเขยี นใบลาให้หัวหน้าหอ/หนว่ ยเก็บไว้เปน็ หลกั ฐานท่หี นว่ ยงานตนเอง เพอื่ นบั เปน็ สถติ กิ ารลา

4. การลาคลอดบตุ ร (ค่มู ือบริหารกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล หนา้ 61)

รายละเอียด ขา้ ราชการ - พนักงาน พนกั งาน ลกู จา้ งช่ัวคราว ลกู จ้าง
รายเดอื น ชัว่ คราว
ลูกจา้ งประจา กระทรวง ราชการ รายคาบ
90 วนั 90 วนั
สาธารณสขุ 1.ลกู จา้ ง ไมไ่ ดร้ ับ
รายวนั ไม่ไดร้ ับ คา่ จ้างระ
สทิ ธกิ ารลา 90 วนั 90 วนั 90 วนั คา่ จา้ งระหว่าง หว่างลา
ลา
สิทธิระหว่าง ไดร้ ับ ได้รับคา่ จ้าง ได้รับค่าจา้ ง 2.ลูกจ้างราย
เดอื นมสี ทิ ธิ
ลาคลอด เงินเดอื น ระหวา่ งลาได้ ระหว่างลาได้ ได้รบั คา่ จ้าง
ระหว่างลาเมื่อ
ระหว่างลา ไม่เกิน 45 ไมเ่ กนิ 45 ทางานมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 7
วัน วัน เดอื น
3.มสี ทิ ธิได้รับ
และมสี ิทธิ และมีสิทธิ เงนิ จากกองทุน
ประกัน
ได้รบั เงินจาก ได้รบั เงนิ จาก สังคมตาม
เง่ือนไข
กองทุน กองทุน

ประกันสังคม ประกนั สงั คม

ตามเงื่อนไข ตามเงือ่ นไข

ลาตอ่ เนื่องดู 1.ขา้ ราชการ ไมม่ สี ิทธิลา ไมม่ สี ิทธลิ า ไม่มีสิทธิลา 22
แลบุตร มสี ทิ ธิลา
กจิ เล้ยี งดูบตุ ร ไม่มีสทิ ธิลา
ตอ่ เนอื่ งจาก
การลาคลอด
บตุ ร 150 วนั
ทาการโดย
ไมไ่ ดร้ บั
เงินเดือน
2.
ลูกจา้ งประจา
มสี ทิ ธลิ ากิจ
เล้ียงดูบตุ ร
ต่อเนอ่ื งจาก
การลาคลอด
บุตร 30 วนั
และให้นับ
รวมอย่ใู นวัน
ลากิจ 45 วนั

5. การลาไปต่างประเทศ (คู่มือบริหารกลมุ่ ภารกิจด้านการพยาบาล หนา้ 62)
ผู้ประสงคจ์ ะเดนิ ทางไปตา่ งประเทศ ใหเ้ สนอหรือจัดส่งใบลาพกั ผ่อนตอ่ ผ้บู ังคับบญั ชาตามลาดบั โดย

ส่งถึงกลุ่มงานทรัพยากรบคุ คลลว่ งหนา้ กอ่ นวันลาไม่น้อยกว่า 45 วัน เพ่ือเสนอผมู้ ีอานาจอนญุ าตการลา
พจิ ารณาและเม่ือไดร้ ับอนญุ าตแลว้ จึงจะเดนิ ทางไปตา่ งประเทศได้
6. การขาดงาน (คูม่ ือบรหิ ารกล่มุ ภารกจิ ดา้ นการพยาบาล หนา้ 63)

1. เขยี นบันทกึ เสนอชีแ้ จงเหตุผล
2. การไมม่ าปฏิบตั ิงานตามตารางเวรใหด้ าเนนิ การดังต่อไปน้ี
2.1 เขียนรายงานชี้แจงการไม่ข้ึนปฏบิ ัตงิ าน
2.2 เขียนใบลากจิ เท่าจานวนวันท่ีไม่ไดม้ าปฏบิ ัติงาน (ตามระเบียบการลากจิ )
2.3 ในกรณีไมม่ าปฏบิ ัติงาน 1 วนั โดยไม่ทราบสาเหตุ หวั หนา้ หอต้องรายงานทางวาจาใหห้ ัวหน้ากล่มุ
งานรบั ทราบ
2.4 ไม่มาปฏบิ ัติงานติดต่อกัน 3 วัน หัวหน้าหอต้องเขยี นบันทกึ เสนอต่อผ้บู งั คบั บญั ชาเป็นลาดับ

23

2.5 ในกรณลี ูกจา้ งชว่ั คราว ขาดงานเกิน 2 คร้ัง ทางราชการจะงดว่าจา้ ง

การแลกเปล่ยี นเวร (คมู่ ือบริหารกลมุ่ ภารกิจด้านการพยาบาล หนา้ 63)
ระเบยี บการแลกเวร
1. สามารถแลกเวรไม่จากดั สิทธิ์ได้ ภายหลงั การจดั ตารางเวรกอ่ นข้ึนจนถึงส้นิ เดือนนั้นๆ ทงั้ นีใ้ ห้หวั หน้าหอ/
หนว่ ยสามารถพิจารณากาหนดสิทธก์ิ ารแลกได้ตามความเหมาะสม
2. สิทธใิ นการแลกเวรใน 1 เดือน ตั้งแต่วันท่ี 1- 31 ของเดือน ขอเปลี่ยนได้จานวน 3 ครง้ั ทง้ั แลกเวรตนเอง
หรือแลกเวรกบั ผู้อ่ืนในระดบั เดยี วกัน
3. การแลกเวรแตล่ ะครง้ั ตอ้ งข้นึ เวรตดิ ต่อกนั ไม่เกิน 60 ชัว่ โมง/สัปดาห์
4. แลกเวรหยุดโดยไม่ใชส้ ิทธลิ าพักผ่อน สามารถแลกเวรหยดุ ติดต่อกันได้ไม่เกิน 5 วัน
5. ไม่อนญุ าต ให้แลกเวรขึน้ เป็นเวรบ่ายตอ่ ดึก
6. ไม่อนญุ าตให้ขอแลกเวรทางโทรศัพท์ ผูข้ อแลกเวรจะต้องรับผดิ ชอบเขยี นใบแลกเวร และให้ผยู้ ินยอม
เซ็นช่ือให้เรียบร้อย ผ้ขู อแลกเวรจะต้องเปน็ ผู้ทนี่ าใบแลกเวรให้หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ย ท้งั นใ้ี หถ้ ูกต้องตาม
นโยบายของหอผู้ปว่ ยนน้ั และแก้ไขในตารางเวรประจาหอผู้ปว่ ย โดยใชห้ มึกสีเขยี ว
7. ในรายท่ีแลกเวรไม่ถูกระเบียบตอ้ งเขียนรายงานช้แี จง และถกู พิจารณาตัดสิทธ์กิ ารแลกเวร ดังนี้

- ครั้งที่ 1 ผูท้ ี่ขอแลกเวรจะถูกตัดสิทธ์กิ ารแลกเวร 2 เดือน ผยู้ นิ ยอมจะถูกตดั สิทธ์ิการแลกเวร 1
เดอื น

- คร้ังท่ี 2 ตัดสทิ ธิก์ ารแลกเวรเปน็ ทวีคณู ของครง้ั ที่ 1
การตัดสิทธกิ์ ารแลกเวร หมายถงึ ตัดสิทธกิ์ ารแลกเวรหลังส่งตารางเวรไปที่ กลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล และ
ไมม่ สี ิทธิเซน็ ยินยอมให้คนอน่ื ท่ขี อแลกเวรดว้ ย
8. ถา้ มกี ารแลกเวรเกนิ 3 คร้ัง ใน 1 เดือน จะถูกพิจารณาตัดสทิ ธกิ ารแลกเวร 1 เดอื น
และเพิ่ม ดงั น้ี
9. เม่ือแลกเวรแลว้ ในเวรจะต้องมีพยาบาลแตล่ ะระดบั ตามตารางดา้ นบนหวั ข้อการจัดเจ้าหนา้ ทพ่ี ยาบาลขึ้น
ปฏบิ ัติในแต่ละเวร
10. เวร Stan by (บา่ ย/ดึก) จัดไว้กรณีมยี อดผปู้ ว่ ย ≥ 10 คน ทดแทนคนลาป่วยกระทันหัน หรือไป/ทดแทน
ผทู้ ี่ปฏบิ ตั ิงานทหี่ นว่ ยงานอนื่
11. ชว่ั โมงการทางานต้องไมเ่ กนิ 64 ชม. (ยกเว้นหน จาเป็นตอ้ งจดั ให้ขึน้ เวรหอ้ งแยก ขึ้นทดแทนคนลาป่วย
กระทนั หัน หรือไป/ทดแทนผู้ที่ปฏบิ ตั งิ านทห่ี น่วยงานอน่ื ) และถา้ เวร stan by ไม่ขน้ึ ต้องออฟเวรไมใ่ ห้ไป
แลกเวรมาขึน้
หมายเหตุ ไม่อนุญาตใหห้ วั หนา้ หอ/หนว่ ย หัวหน้างาน หัวหนา้ กล่มุ งาน และเสมียน แลกเวรตวั เองแลว้ ใช้เวร

24

ในวันหยุดราชการ

ระเบียบการลงเวลาการปฏบิ ัตงิ าน
ใหเ้ จา้ หนา้ ทที่ ุกระดับลงเวลาการปฏบิ ตั งิ านโดยสแกนลายนว้ิ มือ ฝ่ามอื ใบหน้า ท่เี คร่ืองสแกนตามจุด

ที่โรงพยาบาลพุทธชินราช พษิ ณุโลกจดั ไวใ้ ห้ในแตล่ ะกลมุ่ งาน หรอื ลงช่ือปฏิบัตงิ านผ่านแอพพลเิ คช่ัน BUDHR
เวลาการปฏบิ ตั ิงาน

เวรเชา้ ปฏิบัติงานเวลา 8.30 - 16.30 น.
เวรบ่าย ปฏบิ ัติงานเวลา 16.30 - 00.30 น.
เวรดึก ปฏบิ ตั ิงานเวลา 00.30 - 08.30 น.
หมายเหตุ ควรมาปฏิบัติงานก่อนเวลาอย่างน้อย 15 นาที
การข้นึ ปฏิบัติงานลา่ ชา้
การข้ึนปฏบิ ัติงานล่าชา้ ให้พจิ ารณา ดังน้ี
- มาสาย 30 นาที – 2 ชวั่ โมง เขยี นบนั ทกึ เสนอช้แี จง, เบิกคา่ ยามวกิ าลได้
- มาสาย 2 ชว่ั โมง – 4 ชว่ั โมง เขยี นบนั ทกึ เสนอชแี้ จง, เขียนใบลากจิ ครง่ึ วนั , เบิกค่ายามวกิ าลไดค้ ร่ึง
เวร
 - มาสายมากกวา่ 4 ช่ัวโมง เขยี นบันทึกเสนอชี้แจง เขียนใบลากิจ 1 วนั ข้นึ ไป งดเบิกเงิน ยามวิกาล,
ไมต่ ้องชดใชเ้ วร

ระเบยี บการลาศึกษาต่อ/การอบรม (คมู่ ือบริหารกลุ่มภารกจิ ด้านการพยาบาล หน้า 65-68)

1. การลาศึกษาตอ่ หมายถึง การลาศกึ ษาต่อในหลกั สตู รระยะสนั้ ในระยะ 2 สัปดาห์ - 1 ปี
(การลาศึกษาในหลักสตู รเฉพาะทาง)
การลาศกึ ษาต่อในหลกั สูตรระยะยาวตง้ั แต่ 1 ปีข้ึนไป (หลักสูตร ป.โท/ ป.เอก)
การอบรม หมายถึง การอบรมเสริมความรู้ในงานทเ่ี กย่ี วข้องเพือ่ พัฒนางาน ระยะเวลาไม่เกิน 1 เดือน
พยาบาลผู้สนใจในหลักสตู รการศกึ ษาตอ่ จะตอ้ งวางแผนล่วงหนา้ และเขยี นบันทึกย่นื แสดงความจานง
(แบบฟอร์ม1คอื ใบแสดงความจานงขอลาศึกษาต่อและฝึกอบรมภายในประเทศ,แบบฟอรม์ 2
คือใบแสดงความจานงขออบรมการพยาบาลเฉพาะทาง) ผา่ นหัวหน้าหอผู้ปว่ ย หวั หน้างาน หัวหนา้ กล่มุ งาน
หัวหนา้ พยาบาลภายในเดือนสิงหาคมของทุกปี
กรณไี ม่บนั ทึกยืน่ แสดงความจานงค์ไว้ลว่ งหนา้ ทางกลุ่มภารกจิ ด้านการพยาบาลจะไม่พิจารณาชว่ ยเหลือใหถ้ ือ
เปน็ ความรบั ผดิ ชอบสว่ นบคุ คล เช่น การลาฝึกปฏบิ ตั ิ
2. ระยะเวลาในการยื่นความจานง/พิจารณาโควต้า

25

1) ยื่นความจานง : สงิ หาคมของทุกปี
2) พิจารณาโควตา : กันยายนของทุกปี
3) ส่งพจิ ารณาอนุมัติ : กันยายนของทุกปี

3. ระเบียบ/วิธปี ฏบิ ตั กิ ารลาศึกษาต่อ
1) เขยี นบันทึกเสนอขออบรมการพยาบาลเฉพาะทาง/ปรญิ ญาโท/เอก ตามหลักสตู รที่กาหนดใหใ้ นแตล่ ะปี
(ตามความจาเปน็ ของหน่วยงาน) ภายในเดือนสงิ หาคมของทุกปี และเลือกหลักสูตรทีข่ ออบรม/ศึกษาต่อได้ 2
สถาบนั /คน
2) กรณีสอบได้และสละสทิ ธ์ิเข้ารบั การอบรม/ศึกษาต่อใหเ้ ว้นระยะการขอสมัครศึกษาต่อ/อบรมไวเ้ ปน็ ระยะ
เวลานาน 3 ปีเพอ่ื เปิดโอกาสให้ผอู้ ืน่
3) ในแตล่ ะหลักสตู รจะพิจารณาใหโ้ ควตาตามแผนทก่ี าหนดไวข้ องแต่ละงาน (อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงตามความ
จาเป็น) ของโรงพยาบาล
4) เม่ือสอบไดต้ อ้ งนาหลกั ฐานท่ีสอบได/้ ได้รับการพิจารณาใหอ้ บรม แจ้งกล่มุ ภารกจิ ด้านการพยาบาล เพอื่
ดาเนนิ การตามขั้นตอนตอ่ ไป
5) หลงั จบการศึกษาเฉพาะทาง ตอ้ งปฏิบตั ิงานในหน่วยงานเดมิ อยา่ งน้อย 3 ปี ไม่อนุญาติให้ลาออกและไม่มี
การรบั ชดใช้ดว้ ยเงิน และหลงั จบการศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท/เอก ต้องปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงานเดิมอย่างนอ้ ย 5
ปี จึงสามารถขอยา้ ยหนว่ ยงานหรอื ขอลาศกึ ษาต่อในหลกั สูตรอน่ื ๆ ได้ทั้งนอ้ี ยู่กบั ดลุ ยพนิ ิจของคณะ
กรรมการบริหารกล่มุ ภารกิจด้านการพยาบาล

สวัสดกิ ารในหนว่ ยงาน ดังนี้
1. การเย่ยี มบคุ ลากรทางการพยาบาลทุกระดับ และญาตสิ ายตรง (บิดา มารดา ลกู ) มอบเงินเยี่ยม
300 บาท/คน/ปี (เฉพาะ Admit ทร่ี พ.พุทธชินราช)
2. งานศพ หน่วยงานเป็นเจ้าภาพ เฉพาะบุคลากรทางการพยาบาลทุกระดบั และญาตสิ ายตรง (บดิ า
มารดา ลกู ) โดยร่วมเปน็ เจา้ ภาพ งานละ 500 บาท พวงหรดี 500 บาท และใส่ซอง 500 บาท
3. จดั เลีย้ งงานในเทศกาลต่างๆ เช่าน งานปีใหม่ งานสงกราน งานเกษียณ งานเล้ียงรับ-สง่
เจา้ หน้าทท่ี กุ ระดบั
4. จัด OD ในหนว่ ยงาน 1 ครั้ง/คน/ปี

การปฐมนิเทศบคุ ลากรใหม่/นักศึกษาพยาบาล
1. แผนการนเิ ทศบุคลากรใหม่

26

1. ปฐมนเิ ทศเกย่ี วกบั สถานท่ี ระเบยี บวิธีการปฏิบัตงิ าน การแตง่ กายตามคู่มอื บรหิ ารหน่วยงาน และ
กลุ่มภารกจิ ด้านการพยาบาล

2. แนะนาบุคลกรในหน่วยงาน
3. กาหนดฝกึ ปฏิบัตงิ าน (Training) 3 เดือน โดยจัดให้ขึน้ เวรเชา้ จานวน 2 เดอื น และข้นึ เวรบ่าย/ดกึ
1 เดือน และให้มีพยาบาลพี่เลี้ยงเพื่อเป็นทีป่ รกึ ษา สอน ชี้แนะในการให้การปฏิบตั ิพยาบาลผ้ปู ่วยท้งั เวรเชา้
บ่าย ดึก
คุณสมบัติพยาบาลพี่เล้ยี ง คอื มอี ายงุ านมากกวา่ 5 ปี ผ่านการอบรมเฉพาะทาง และเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการ
ปฏบิ ตั ิงาน
4. กาหนดให้มี requirement เพอ่ื ให้สามารถปฏิบัติตามเกณฑข์ ้ันต่าทส่ี าคัญของหนว่ ยงาน เพ่อื ให้
เกดิ การทางานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

2. แผนการนเิ ทศนักศึกษาพยาบาล
1. ปฐมนิเทศเกี่ยวกบั สถานที่ ระเบยี บวิธกี ารปฏิบตั งิ าน การแตง่ กายตามคู่มือบริหารหน่วยงาน และ

กลมุ่ ภารกจิ ด้านการพยาบาล
2. แนะนาบุคลกรในหนว่ ยงาน
3. มอบหมายให้พยาบาลท่ีมีอายุงาน 5 ปขี ้นึ ไป สอนบนคลีนิคใหแ้ ก่นักศึกษาพยาบาลในเรอื่ ง การ

ช่วยฟื้นคนื ชีพทารก และการพยาบาลผู้ปว่ ยใสเ่ คร่อื งชว่ ยหายใจ

แผนการนิเทศการปฏิบตั งิ านของพยาบาลวชิ าชีพใหม่ห้องผู้ป่ วยหนักทารกแรกเกดิ

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ทีค่ วรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นเิ ทศ การประเมนิ

1 ทราบกฎระเบียบในการ - การปฐมนิเทศหน่วยงาน 1 วนั หวั หนา้ / - การปฏิบตั ิตาม

ปฏิบตั ิงาน บริบทของ - การจดั พิธีตอ้ นรับของ พ่ีเล้ียง กฎระเบียบของ

หน่วยงานและการเขา้ หน่วยงาน หน่วยงานถกู ตอ้ ง

ร่ วมเป็ นสมาชิกของ - มีมนุษยส์ มั พนั ธ์กบั

หน่วยงาน บุคลากรในหน่วยงานดี

2 รู้จกั อาคารสถานท่ีทุกจุด - การปฐมนิเทศเร่ืองอาคาร 1 วนั หวั หนา้ / - การปฏิบตั ิงานทาได้

ของหน่วยงาน สามารถ สถานท่ีของหน่วยงาน พี่เล้ียง ถกู ตอ้ ง

ใหค้ าแนะนาผรู้ ับบริการ - ปฐมนิเทศเร่ืองการให้ - แนะนาผมู้ ารับบริการ

เก่ียวกบั อาคารสถานที่ได้ ขอ้ มูลผปู้ ่ วยขณะอยใู่ น รพ ไดถ้ กู ตอ้ ง

3 มีทศั นคติ มีจริยธรรมใน - การ Feedback การ 1 วนั หวั หนา้ - การนิเทศการ

การปฏิบตั ิการพยาบาล ปฏิบตั ิงาน การสมั ภาษณ์ ปฏิบตั ิงานโดยการ

ผปู้ ่ วยวกิ ฤต พูดคุย สมั ภาษณ์/สงั เกต

- การสร้างเสริมพลงั อานาจ

ในการทางาน

- การไดร้ ับขอ้ มลู ทาง

จริยธรรมในการปฏิบตั ิงาน

4 สามารถเขา้ ร่วมทา -รับทราบขอ้ มลู หน่วยงาน 5 วนั หวั หนา้ / -ทราบขอ้ มลู หน่วยงาน

กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ -รับทราบกิจกรรมพฒั นา พี่เล้ียง/ที่ -ปฏิบตั ิตามกิจกรรม

(CQI) ของหน่วยงานได้ คุณภาพ ปรึกษาและ พฒั นาคุณภาพในเร่ือง

- QA -แนะนาเรื่องการลงขอ้ มูลCQI กรรมการ ต่างๆ ไดแ้ ก่ QA , IC

- IC ต่างๆ หน่วยงาน ,Risk , ระบบยา, นมแม่

- Risk , ระบบยา -ไดร้ ับมอบหมายใหเ้ ขา้ ร่วม แต่ละคณะ ,Palliative care

- นมแม่ , Palliative care เป็นสมาชิกในการทากิจกรรม -สามารถลงขอ้ มลู CQI

พฒั นาคุณภาพ ต่างๆไดถ้ ูกตอ้ ง

-เขา้ ร่วมประชุม

หน่วยงาน

5 สามารถตรวจเยี่ยมผปู้ ่ วย - ใหค้ าแนะนาและสอนใหม้ ี 2 วนั Incharge/ - ตรวจเย่ียมผปู้ ่ วยก่อนพ่ี
พ่ีเล้ียง เล้ียง รอการประเมินซ้า
และลงบนั ทึกก่อนการรับ การปฏิบตั ิในการตรวจเย่ยี ม - ตรวจเยย่ี มผปู้ ่ วยได้
ครบถว้ น
เวรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ผปู้ ่ วยตามมาตรฐาน - ลงบนั ทึกการประเมิน
แรกรับเวรถกู ตอ้ ง
ครบถว้ นตามปัญหาของ

ผปู้ ่ วยและทนั เวลา

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ท่ีควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผ้นู เิ ทศ การประเมนิ
6 สามารถสรุปประเดน็ 5 วนั Incharge/ - เล่าประวตั ิ/ปัญหา
ปัญหาและวางแผนการ - การทา Preconference วาง พี่เล้ียง ผปู้ ่ วยไดถ้ ูกตอ้ ง
พยาบาลผปู้ ่ วยที่ไดร้ ับ แผนการพยาบาลได้ ครบถว้ น
มอบหมายได้ ครบถว้ นถูกตอ้ ง - วางแผนการพยาบาล
ไดค้ รบถว้ นถูกตอ้ ง
- การร่วมตรวจเยยี่ มแพทย์ - มีความรู้ทางวชิ าการ
โดยใหข้ อ้ มูลผปู้ ่ วยได้ เขา้ ใจเหตุผลในการ
พยาบาล

7 รู้และแปรขอ้ มูลจาก - การวดั สญั ญาณชีพ 5 วนั Incharge/ - จากการรายงานปัญหา
สญั ญาณชีพ ประเมิน - ประเมินสภาพผปู้ ่ วยทุก 1 พ่ีเล้ียง ใหพ้ ี่เล้ียงทราบ
สภาพผปู้ ่ วยไดถ้ กู ตอ้ ง -จากการนิเทศงานโดย
ตามแผนการดูแล ชม และตามสภาพผปู้ ่ วย การตรวจสอบสภาพ
เมื่อมีอาการเปล่ียนแปลง ผปู้ ่ วยและการบนั ทึก

8 สามารถเขียนบนั ทึก - ใหค้ าแนะนาเร่ืองการเขียน 5 วนั พี่เล้ียง - การตรวจสอบการ
ทางการพยาบาลได้ บนั ทึกทางการพยาบาล เขียนบนั ทึกทางการ
พยาบาลและบนั ทึก
- เขียนบนั ทึกลงแบบฟอร์ม แบบฟอร์มต่างๆถูกตอ้ ง
ต่างๆไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งภายใต้
การนิเทศ

9 สามารถบริหารยาได้ - ใหค้ าแนะนาเก่ียวกบั เรื่อง 2 วนั พ่ีเล้ียง - การนิเทศการใหย้ า
อยา่ งถกู ตอ้ ง การใหย้ าต่างๆ ต่างๆถกู ตอ้ งตามหลกั
(เนน้ ยาที่ใชบ้ ่อยและ HAD) 6R
- การปฏิบตั ิการใหย้ าต่างๆ
ถูกตอ้ งภายใตก้ ารนิเทศก่อน
ใหย้ าผปู้ ่ วย

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ทค่ี วรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผ้นู ิเทศ การประเมนิ
พี่เล้ียง -การนิเทศการ
10 รู้จกั เคร่ืองมือต่างๆท่ีใช้ - สามารถใชเ้ คร่ืองวดั Sp O2 3 วนั ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การ
พ่ีเล้ียง ใชเ้ ครื่องมือถูกตอ้ ง
กบั ผปู้ ่ วยหนกั และรู้วิธีใช้ BP ,Tidal CO2 แม่นยา

เครื่องมือเบ้ืองตน้ - Infusion Pump, syringe - การนิเทศการ
ปฏิบตั ิงานผปู้ ่ วยในการ
Pump ทาหตั ถการต่างๆถูกตอ้ ง
ตามข้นั ตอน
- เครื่องป่ัน Hct -การสอบความรู้

- เครื่องเจาะ DTXฯลฯ

11 รู้และสามารถปฏิบตั ิตาม - ใหค้ าแนะนา WI/WP ต่างๆ 7 วนั

WI/WP ใหถ้ ูกตอ้ ง - เนน้ การดูดเสมหะ การดูแล

ETT การให้ O2 การเจาะ
เลือด ใหน้ ้าเกลือ

- ช่วยแพทยท์ าหตั ถการต่างๆ

เนน้ ทา LP ,ICD

,UAC,UVC,PICC line

12 สามารถดูแลและปฏิบตั ิ - แนะนาเรื่องการทาความ 1 วนั พ่ีเล้ียง - ความสะอาดเรียบร้อย
3 วนั ของผปู้ ่ วยและ unit
เก่ียวกบั การทาความ สะอาดผปู้ ่ วย
พ่ีเล้ียง - การปฏิบตั ิตาม
สะอาดผปู้ ่ วยไดอ้ ยา่ งมี - แนะนาเรื่องการทาความ นโยบายหน่วยงานใน
เร่ือง Develop mental
ประสิทธิภาพ สะอาดUnit ผปู้ ่ วย care และหลกั การดูแล
7 ประการ
13 สามารถดูแลและปฏิบตั ิ - เรื่องDevelop mental care

เรื่อง Develop mental - หลกั การดูแล 7 ประการ

care และหลกั การดูแล

7 ประการไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

เหมาะสม

14 สามารถรับใหม่ รับยา้ ย - รับคาแนะนาเรื่องการรับ 5 วนั พี่เล้ียง สามารถรับใหม่ รับยา้ ย
จาหน่าย ยา้ ยออกผปู้ ่ วย ใหม่รับยา้ ย ยา้ ยออก ยา้ ยออก จาหน่ายผปู้ ่ วย
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ไดเ้ อง อยา่ งรวดเร็ว
เหมาะสมและไมเ่ กิด
ภาวะแทรกซอ้ น

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ท่ีควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นิเทศ การประเมนิ
เล้ียง
15 สามารถใหก้ ารพยาบาล - ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล 5 วนั -ประเมินสภาพผปู้ ่ วย
ระบบหายใจถูกตอ้ ง
ผปู้ ่ วยท่ีใสท่อและ ผปู้ ่ วยท่ีใส่เครื่องช่วยหายใจ - Suction และ IPPB ได้
ถกู ตอ้ งและถูกเทคนิค
เคร่ืองช่วยหายใจชนิด - ประเมินผปู้ ่ วยที่ใส่ท่อและ -ประเมินขนาดและ
ตาแหน่งของท่อช่วย
ต่างๆ(invasive และ Non เคร่ืองช่วยหายใจชนิดต่างๆ หายใจที่เหมาะสมกบั
ผปู้ ่ วยได้ อยา่ งนอ้ ยจาก
invasive)ไดอ้ ยา่ งมี - ประเมินผปู้ ่ วยท่ีใส่ท่อและ การฟังเสียงลมเขา้ ปอด
และผลCXR
ประสิทธิภาพและรวดเร็ว เคร่ืองช่วยหายใจชนิดต่างๆ -ลงบนั ทึก Respiratory
ถกู ตอ้ ง
และสามารถลงบนั ทึก เป็นระยะ -ต่อSetเครื่องช่วยหายใจ
ชนิดต่างๆไดเ้ องอยา่ ง
ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง - ประเมินขนาดและตาแหน่ง ถกู ตอ้ ง
-เขา้ ใจระบบ Mode
ของท่อช่วยหายใจท่ี ต่างๆของเครื่องและ
เหตุผลที่ใช้ Modeน้นั ๆ
เหมาะสมกบั ผปู้ ่ วย กบั ผปู้ ่ วย
-สามารถใชร้ ะบบ
- ลงบนั ทึก Respiratory ความช้ืนและเติมน้าได้
ถกู ตอ้ ง
- การต่อSet เครื่องช่วยหายใจ -ทราบจานวนวนั ที่ตอ้ ง
เปล่ียน Setเครื่องช่วย
ชนิดต่างๆ หายใจและช่วยเหลือ
-เขา้ ใจแนวทางการดูแล
- ต้งั ระบบ Mode ตาม และป้องกนั
ภาวะแทรกซอ้ นชนิด
แผนการรักษา Non invasive ได้

- ปรับSet เคร่ืองใหมเ่ มื่อมี

ปัญหาเกิดข้ึน

- รับคาแนะนาการแกไ้ ข

ปัญหาเก่ียวกบั เครื่องช่วย

หายใจ Alarm

- ดูแลผปู้ ่ วยไดร้ ับเคร่ืองช่วย

หายใจชนิด Non invasive

และป้องกนั

ภาวะแทรกซอ้ น

-

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ที่ควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นเิ ทศ การประเมนิ
16 สามารถใหก้ ารพยาบาล 2 วนั พี่เล้ียง
- ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล -ผปู้ ่ วยไดร้ ับการดูแล
ผปู้ ่ วยที่หยา่ เคร่ืองช่วย ผปู้ ่ วยท่ีหยา่ ใหเ้ คร่ืองช่วย 7 วนั พ่ีเล้ียง หลงั หยา่ เครื่องช่วย
หายใจไดถ้ กู ตอ้ ง หายใจและปฏิบตั ิตามแนว หายใจอยา่ งเหมาะสม
ทางการหยา่ เครื่องช่วย -บนั ทึกปัญหาและการ
17 สามารถใหก้ ารพยาบาล หายใจอยา่ ถูกตอ้ ง ดูแลผปู้ ่ วยถูกตอ้ ง
ผปู้ ่ วยที่มีภาวะบกพร่อง เหมาะสม
ออกซิเจนจากโรค - ไดร้ ับคาแนะนาเรื่องการ - ผปู้ ่ วยหลงั หยา่
ต่อไปน้ี Monitor และบนั ทึกปัญหา เคร่ืองช่วยหายใจ
-Birth asphyxia การดูแลผปู้ ่ วย ปลอดภยั และไม่กลบั ไป
-RDS,TINB MAS - ประเมินภาวะพร่อง ใส่เคร่ืองช่วยหายใจจาก
-Pneumonia PPHN ออกซิเจนและความตอ้ งการ การดูแลที่ไมเ่ หมาะสม
-Lung Atelectasis เครื่องช่วยหายใจ -ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาพร่อง
ไดต้ ามมาตรฐาน -ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล ออกซิเจนจากโรค
ผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะพร่อง ดงั กล่าวไดร้ ับการ
ออกซิเจนดงั กล่าวขา้ งตน้ พยาบาลท่ีปลอดภยั และ
-ช่วยเจาะCBG/ ABGและการ รวดเร็ว
แปรผล -Pre-conference
-การประเมินภาวะพร่อง ถา้ สาเหตุของภาวะ
ออกซิเจนของผปู้ ่ วย พร่องออกซิเจน
-ทราบพยาธิสภาพของโรค -ประเมินภาวะพร่อง
ดงั กล่าวที่ทาใหเ้ กิดภาวะ ออกซิเจนของผปู้ ่ วยได้
พร่องออกซิเจนจากโรค รวมท้งั การรายงาน การ
ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ช่วยเหลือ และการ
- หลกั เกณฑใ์ นการปรับ บนั ทึกถกู ตอ้ ง
เปอร์เซ็นตอ์ อกซิเจนตาม -ปรับเปอร์เซ็นต์
ความตอ้ งการของผปู้ ่ วยเพ่ือ ออกซิเจนตาม
ป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ นเช่น หลกั เกณฑแ์ ละความ
ROP-BPD ตอ้ งการของผปู้ ่ วยได้
-แปลผล CBG,ABG ได้

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ท่ีควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผ้นู ิเทศ การประเมนิ
18 สามารถใหก้ ารพยาบาล 2วนั พ้ีเล้ียง
- ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล -ผปู้ ่ วยที่มีภาวะตวั
ผปู้ ่ วยที่มีภาวะตวั เหลือง ผปู้ ่ วยที่มีภาวะตวั เหลือง เหลืองไดร้ ับการ
ตามมาตรฐาน พยาบาลท่ีปลอดภยั
- ประเมินภาวะตวั เหลืองได้ -Pre-conference ถา้
จากอาการเหลืองและผล สาเหตุของตวั เหลือง
Lab - ประเมินภาวะตวั
เหลืองรวมท้งั การ
- ทราบพยาธิสภาพของโรค รายงาน การช่วยเหลือ
ตวั เหลือง และการบนั ทึกท่ีถูกตอ้ ง
-.ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยหลงั
- ทราบการดูแลโดย On ทาหตั ถาการเช่น On
Photo และ Blood Photo-Bleed exchange
Exchange ได้

19 สามารถประเมินและให้ - ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล 1 วนั พ่ีเล้ียง -ประเมินสภาพและ
การพยาบาลผปู้ ่ วยระบบ ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาระบบ รายงานความผิดปกติท่ี
กระดูกไดต้ ามมาตรฐาน กระดูก พบไดถ้ ูกตอ้ งและทนั
ในโรคต่อไปน้ี ต่อเหตุการณ์
-Fracture ต่างๆเช่น -แปลผลการประเมิน
Clavicle Skull สภาพที่พบไดเ้ ช่นผล
เป็ นตน้ การตรวจร่างกาย ผล
Film ฯลฯ
-ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยก่อน
และหลงั ที่ทาหตั ถการ
และ /หรือการผา่ ตดั
Finger of eight , การ
เขา้ เฝื อก

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ทค่ี วรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นเิ ทศ การประเมนิ
3วนั พี่เล้ียง
20 สามารถประเมินและให้ -ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล -ประเมินสภาพและ
พ่ีเล้ียง รายงานความผิดปรกติ
การพยาบาลผปู้ ่ วยระบบ ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาวกิ ฤต ทางระบบประสาทให้
ถูกตอ้ ง
ประสาทไดต้ ามมาตรฐาน -ประเมินสภาพผปู้ ่ วยระบบ -แปลผลการประเมิน
สภาพที่พบได้ เช่น ผล
ในโรคต่อไปน้ี ประสาท การตรวจร่างกาย,ผล
การตรวจทาง
-Meningitis -ดูแลและตอบสนองปัญหา หอ้ งปฏิบตั ิการ,ผล
Filmฯลฯ
-Encephalitis ผปู้ ่ วยระบบประสาท -ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยก่อน
ทาและหลงั ทาหตั ถาการ
-Meningocele -เขียนบนั ทึกทางการพยาบาล และ/หรือการผา่ ตดั ทาง
ระบบประสาทไดเ้ ช่น
-ICH , IVH LP,VP,shunt
-ผปู้ ่ วยระบบประสาท
เป็ นตน้ ไดร้ ับความปลอดภยั
จากอาการเปลี่ยนแปลง
21 สามารถประเมินผลและ -ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล 5วนั และภาวะแทรกซอ้ น
-ประเมินสภาพและ
ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ่ วยที่มี ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาความพิการ รายงานความผิดปกติที่
พบไดถ้ ูกตอ้ งและทนั
ความพิการไดต้ าม -ประเมินสภาพผปู้ ่ วยท่ีมี ต่อเหตุการณ์
-ใหก้ ารช่วยเหลือ
มาตรฐาน ความพิการ ความพิการ เบ้ืองตน้ และปลอดภยั
-แปลผลการประเมิน
ต่อไปน้ี -การดูแลและตอบสนอง สภาพท่ีพบไดเ้ ช่นผล
การตรวจร่างกาย ,
- Omphalocele ปัญหาความพิการผปู้ ่ วย ผล Film ,ฯลฯ
-ใหก้ ารดูแลผปู้ ่ วยก่อน
-Gastroschisis -เขียนบนั ทึกทางการพยาบาล และหลงั ทาหตั ถาการ
และ/ หรือหลงั ทาผา่ ตดั
-TEF

-Diaphragmatic hernia

-Imperforate anus

เป็ นตน้

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ท่คี วรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นเิ ทศ การประเมนิ
พี่เล้ียง
22 สามารถใหก้ ารพยาบาล - ไดร้ ับการมอบหมายใหด้ ูแล 4 วนั -ประเมินสภาพและ
ผปู้ ่ วยที่มีภาวะหวั ใจเตน้ ผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะหวั ใจเตน้ รายงานความผิดปกติท่ี
ผิดปกติ โรคหลอดเลือด ผิดปกติ/ โรคหลอดเลือด พบไดถ้ ูกตอ้ งและทนั
หวั ใจไดต้ ามมาตรฐาน หวั ใจ เหตุการณ์
โรคต่อไปน้ี -อา่ นผลEKG และ
Acyanotic Heart disease - การประเมินสภาพผปู้ ่ วยที่มี สามารถอา่ นรายงานผล
- PDA ภาวะหวั ใจเตา้ ผดิ ปกติ/โรค ที่ผิดปกติไดถ้ ูกตอ้ ง
- VSD หลอดเลือดหวั ใจจากการ -Run EKG 12 lead ได้
- ASD ตรวจร่างกาย การคานวณ -ใหย้ าแกไ้ ขปัญหา
- AVSD ผล EKG เร่งด่วนและภาวะ
Cyanotic Heart disease ผดิ ปกติ เช่นIbuprofen,
- TOF Lasix ,PGE1 เป็นตน้
- TGA
- PA
- CoA
- TAPVR
- DORV
- HLHS
- Complex heart disease

23 สามารถใหก้ ารพยาบาล -ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล 3วนั พ่ีเล้ียง รายงานและแปรผลค่า
ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาระบบ ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาระบบโลหิต ผดิ ปกติภาวะ Anemia
โลหิตวิทยาตามมาตรฐาน วทิ ยา ,Polycythemia,DICและ
เช่น Anemia ใหก้ ารพยาบาลป้อกนั
,Polycythemia,DIC ภาวะแทรกซอ้ นได้
เป็ นตน้

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ทค่ี วรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผ้นู ิเทศ การประเมนิ
24 สามารถใหก้ ารพยาบาล 1 วนั พี่เล้ียง - ประเมินสภาพและ
-ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล รายงานความผดิ ปกติ
ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาระบบไต ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาระบบไต 3วนั พี่เล้ียง ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาระบบ
เช่น หายใจหอบจาก ไตและการป้องกนั
25 สามารถใหก้ ารพยาบาล Acidosis, ภาวะแทรกซอ้ น
ผปู้ ่ วยที่มีความผดิ ปกติ Pulmonary edema,
ทาง Electrolyte Electrolyte imbalance -ประเมินสภาพและ
- การทา PD รายงานความผดิ ปกติ
- ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล ผปู้ ่ วยจากการขาดสมดุล
Electrolyte
ผปู้ ่ วยท่ีมีความผดิ ปกติทาง -แปลผล Lab elcetreyte
Electrolyte ผิดปกติไดถ้ ูกตอ้ งและ
-การอ่านและแปลผลความ รายงานแพทยไ์ ดอ้ ยา่ ง
ผิดปกติทางเกลือแร่และการ เหมาะสม
รายงานแพทย์ -อ่าน EKG ที่ผดิ ปกติ
-ใหย้ า /สารน้าแกไ้ ขความ จากความผิดปกติทาง
ผดิ ปกติ
Electrolyte ได้
-.ใหย้ า/ สารน้าแกไ้ ข
การขาดความสมดุล
Electrolyte ได้

26 สามารถใหก้ ารพยาบาล -ไดร้ ับมอบหมายใหด้ ูแล 3วนั พี่เล้ียง -ประเมินสภาพและ
ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาจากการ ผปู้ ่ วยที่มีปัญหาจากการ รายงานความผิดปกติ
ทางานของตบั ผดิ ปกติ ทางานของตบั ผดิ ปกติ ผปู้ ่ วยท่ีมีปัญหาการ
-การอา่ นและแปลผลความ ทางานของตบั ผิดปกติ
ผดิ ปกติการทางานของตบั เช่น -แปลผล Lab LFT ,BS
LFT,BS,DTX เป็นตน้ DTX เป็นตน้ ได้
-ใหย้ า/ สารน้าแกไ้ ขความ
ผดิ ปกติ

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ที่ควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผ้นู เิ ทศ การประเมนิ
27 สามารถใหก้ ารพยาบาล 3 วนั พี่เล้ียง
- ประเมินภาวะพร่อง O2 ได้ - ประเมินสภาพผปู้ ่ วยที่
ผปู้ ่ วยที่ตอ้ งการใส่ ETT - ดูแลบริหารทีม จดั เตรียม 3 วนั พี่เล้ียง มีระบบทางเดินหายใจ
ไดถ้ กู ตอ้ ง ผปู้ ่ วยและอุปกรณ์สาหรับ ลม้ เหลวไดถ้ ูกตอ้ งและ
แพทยใ์ ส่ ETTได้ รวดเร็ว
- เตรียมรถฉุกเฉินในการ - สามารถแปลผล Lab
ช่วยชีวิต Blood gas ผปู้ ่ วยท่ีมี
ระบบหายใจลม้ เหลวได้
28 สามารถทาการช่วย CPR - ไดช้ ่วยทา CPR - เพื่อรายงานแพทยใ์ ห้
ผปู้ ่ วยไดร้ ับการ
ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม - การรายงาน ช่วยเหลือทนั ที
- เตรียมผปู้ ่ วยและ
รวมถึงการใชย้ า - จดั เตรียมรถ อปุ กรณ์ในการช่วย
แพทยใ์ ส่ ETT ได้
Emergency ดว้ ย - ลงบนั ทึก ถูกตอ้ ง
- สามารถตรวจเชค็ และ
เตรียมรถฉุกเฉินให้
พร้อมใชไ้ ด้
- สามารถเป็นหวั หนา้
ทีม CPR และสง่ั การได้
- สามารถช่วยทา CPR
ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การ
ช่วยฟ้ื นคืนชีวิตของ
ทารกแรกเกิด
- สามารถเตรียมอุปกรณ์
CPR ไดเ้ หมาะสมกบั
ผปู้ ่ วย
- สามารถเตรียมยาที่ใช้
ในการ CPR ไดถ้ ูกตอ้ ง
- ลงบนั ทึกการCPR ได้
อยา่ งถูกตอ้ ง

ลาดบั ความสามารถ ประสบการณ์ท่ีควรได้รับ ระยะเวลา ว.ด.ป ผู้นเิ ทศ การประเมนิ

29 สามารถปฏิบตั ิการ - เตรียมยาไดถ้ กู ตอ้ งท้งั ขนาด 3 วนั พี่เล้ียง - สามารถเตรียมยาและ

บริหารเรื่องยาไดถ้ กู ตอ้ ง และบริหารยาโดยใชห้ ลกั 6R บริหารยาไดถ้ กู ตอ้ ง ท้งั

ยาฉีด, ยารับประทาน, ยา ได้ ท้งั ยาฉีด, ยารับประทาน, ยาฉีด ยารับประทาน, ยา

ทา, ยาพน่ ยาทา, ยาพน่ ฯลฯ ทา, ยาพ่น ฯลฯ

- เบิกยาตามข้นั ตอนจากหอ้ ง - ตรวจเชค็ ยาตาม

ยาได้ มาตรฐาน

- ตรวจเชค็ ใบ MAR กบั - รับ order และบนั ทึก

Order แพทย์ เชค็ ยาใน การใชย้ าไดถ้ ูกตอ้ ง

คอมพิวเตอร์ เช็ค Sticker ยา - - เบิกยาและตรวจเชค็ ได้

- ลงบนั ทึกการใชย้ าไดถ้ กู ตอ้ ง - ลงบนั ทึกการ OK ยา

- OK. Stock ยาฉีดได้ Stock

30 เรียนรู้บทบาทของ - ผา่ นการฝึ กงานใน NICU 1 วนั หวั หนา้ - ปฏิบตั ิการพยาบาล

พยาบาลผปู้ ่ วยวกิ ฤตได้ ครบ 3 เดือน ผปู้ ่ วยทารกแรกเกิด

อยา่ งเขา้ ใจ - คะแนนผา่ นเกณฑ์ >60% ถูกตอ้ งไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

และนุ่มนวลตาม

มาตรฐานวชิ าชีพและ

การพทิ กั ษส์ ิทธิผปู้ ่ วย


Click to View FlipBook Version