The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Neonatal intensive care unit1, 2022-07-06 23:33:59

15 UVC UAC

15 UVC UAC

โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช พษิ ณุโลก

ระเบยี บปฏิบัติงาน
เร่อื ง : แนวทางการดูแลผู้ปว่ ยทารกแรกเกิดทไ่ี ด้รับการใส่สาย UVC, UAC

ระเบยี บปฏิบัตเิ ลขท่ี : จานวนหนา้ ท้งั หมด : 8 หนา้
ปรบั ปรงุ คร้งั ที่ : ทุก 1 ปี
WI - NICU – 15

เร่ือง : การใสส่ าย UVC, UAC วนั บังคับใช้ : 1 มนี าคม 2565

วนั ทีป่ รบั ปรุง : 21 กมุ ภาพันธ์ 2565

สถานะของเอกสาร : ควบคมุ

ผ้จู ดั ทา : นางสาวกมลชนก มากมา หัวหนา้ หอหนกั ทารกแรกเกิด 1

นางวธิ ศมน วฒุ ศิ ิรนิ กุ ูล หวั หน้าหอหนกั ทารกแรกเกิด 2

และคณะอนุกรรมการพฒั นาคุณภาพบริการพยาบาลกลุ่มงานการพยาบาลผปู้ ว่ ยหนัก

ผ้รู ับผดิ ชอบ ผ้อู นมุ ัติ
(นางสาวปญั ญา เถื่อนด้วง) (นางสาวปญั ญา เถือ่ นดว้ ง)

หัวหนา้ กลุ่มงานการพยาบาลผูป้ ว่ ยหนกั รกั ษาการในตาแหน่งหัวหนา้ พยาบาล

1

1. วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ เปน็ แนวทางปฏิบัติสาหรับพยาบาลในการดแู ลผู้ปว่ ยทารกแรกเกิดตง้ั แต่ก่อน ขณะ หลังใส่

สายสวน จนกระท่ังถอดสายสวน UVC, UAC
2. ผปู้ ว่ ยปลอดภัยและไมเ่ กิดภาวะแทรกซ้อนจากการใสส่ ายสวน UVC, UAC

2. นโยบาย
มุ่งมัน่ ที่จะปฏบิ ตั ิการให้การพยาบาลในการช่วยแพทย์ใสส่ าย UVC, UAC ให้เป็นไปในแนวทาง

เดียวกันอยา่ งถกู ต้องและผปู้ ว่ ยปลอดภยั จากภาวะแทรกซ้อน
3. ขอบเขต

- ใชก้ บั ผ้ปู ่วยทตี่ อ้ งไดร้ ับการใส่สาย UVC, UAC ทกุ ราย
- เร่ิมต้ังแตร่ บั คาสั่งการรักษาจนถงึ ลงบันทกึ ในเอกสารทางการพยาบาลรวมถงึ การตรวจคุณภาพตาม
เคร่อื งชวี้ ดั และจนกระทั่งถอดสายสวนหลอดเลอื ด
4. ผรู้ บั ผดิ ชอบ
- แพทย์ มหี น้าที่ ประเมินสภาพผู้ป่วย วนิ ิจฉยั และสง่ั การรักษาเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ควบคุมและ

ปฏบิ ตั กิ ารใส่สาย UVC, UAC ใหข้ ้อมลู แก่ญาตผิ ปู้ ว่ ย
- พยาบาลวิชาชีพ มีหนา้ ที่ประเมินสภาพผู้ป่วย เตรยี มอปุ กรณ์ เตรยี มผปู้ ่วย ปฏบิ ตั กิ ารช่วยแพทย์ขณะ

ใสส่ าย UVC, UAC รายงานให้แพทยท์ ราบถึงอาการผดิ ปกติ
- ผชู้ ่วยเหลอื คนไข้ มีหน้าท่ีช่วยจดั ท่าผู้ป่วย ปฏิบตั ิหนา้ ทต่ี ามที่ได้รับมอบหมายและเก็บอุปกรณ์
5. คานิยามศัพท์
- UVC คือ การใสอ่ ุปกรณก์ ารแพทย์ท่ีมีลกั ษณะเปน็ สายสวนขนาดเล็กผ่านทางสายสะดือเพื่อเข้าสู่

หลอดเลอื ดดาใหญ่ (Umbilical Vein Catheterization) โดยมีจดุ ประสงค/์ ประโยชนข์ องการทา
หตั ถการ เพื่อใหส้ ารน้า อาหาร รวมทัง้ ยาทีม่ คี วามเข้มข้นสูง และเป็นชอ่ งทางสาหรบั การดูดเลอื ดสง่
ตรวจโดยทารกไมต่ ้องเจบ็ ตวั บ่อยครง้ั
- UAC คือ การใสอ่ ุปกรณ์การแพทยท์ ่ีมีลักษณะเป็นสายสวนขนาดเลก็ ผา่ นทางสายสะดือเพอื่ เขา้ สู่
หลอดเลอื ดแดงใหญ่ (Umbilical Artery Catheterization) โดยมีจดุ ประสงค/์ ประโยชน์ของการทา
หตั ถการ เพ่ือเป็นช่องทางสาหรับการดดู เลอื ดสง่ ตรวจโดยทารกไมต่ ้องเจ็บตัวบ่อยคร้งั

2

6. วิธีปฏบิ ัติ Flow Chart เอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง
การช่วยแพทยใ์ สส่ าย UVC, UAC และการดแู ล
ผู้รบั ผิดชอบ ใบคาสง่ั การรกั ษา
1. รบั คาสั่งการรกั ษาจากแพทย์
พยาบาลวิชาชีพ
แพทย/์ พยาบาลวิชาชีพ 2. อธบิ ายเหตุผลและขนั้ ตอน (กรณีมีญาติอยู่
พยาบาลวิชาชพี ด้วย)
พยาบาลวิชาชีพ
แพทย์ 3. เตรยี มอุปกรณ์

4. เตรยี มผปู้ ่วย

5. ปฏบิ ัติการใสส่ าย UVC, UAC

UAC

พยาบาลวชิ าชพี 6. ประเมนิ ภาวะแทรกซอ้ น
หลงั ใส่สายสวนหลอดเลือด

No Yes

พยาบาลวชิ าชพี / 6.1 รวบรวมขอ้ มลู
ผู้ช่วยเหลอื คนไข้
7. เก็บอปุ กรณ์

6.2 รายงานแพทย์

พยาบาลวิชาชพี 8. ลงบันทกึ ในเอกสารทางการพยาบาล บนั ทกึ ทางการพยาบาล

พยาบาลวชิ าชพี 9. การดูแลหลังไดร้ บั การใส่ UVC, UAC
- การปอ้ งกันและเฝา้ ระวงั ภาวะแทรกซอ้ นหลังใสส่ ายสวน
- การให้สารน้า
- การดูดเลอื ดสง่ ตรวจ
- การทาความสะอาดสะดอื
- การถอดสายสวน

3

รายละเอยี ดการปฏิบัติการช่วยแพทย์ใส่สาย UVC, UAC
1. รับคาส่ังการรักษาของแพทย์
- พยาบาลวิชาชพี รับคาส่งั การรักษาจากแพทย์เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร
2. อธบิ ายเหตุผลและข้นั ตอน (กรณมี ีญาติอย่)ู
- แพทยแ์ ละพยาบาลวิชาชีพ อธบิ ายใหญ้ าติของผูป้ ว่ ยทราบถงึ สาเหตุความจาเปน็ และผลดี ผลเสยี ของ
การ ใส่สายสวนหลอดเลือดทางสะดอื ให้แกผ่ ูป้ ่วย
3. พยาบาลวชิ าชพี เตรยี มอุปกรณ์ ประกอบดว้ ย
- สาย umbilical catheter ขนาด 5F (สาหรบั ใส่ UVC) หรือขนาด 3.5F (สาหรบั ใส่ UAC)
- Set Umbilical catheter
- 3-way stopcock 2 อัน
- syringe ขนาด 10 ml 2 อนั
- ชุดเสอ้ื คลุมแพทย์
- ถุงมอื sterile 2 คู่
- ใบมีด
- เขม็ disposable No.18
- 0.9% NSS
4. เตรียมผู้ปว่ ย
- พยาบาลวิชาชีพ วางทารกใต้ radiant warmer จดั ทารกใหอ้ ยูใ่ นทา่ นอนหงาย ตรึงทารกและขาท้ัง

สองข้างให้อยู่คงท่ี
- แพทย์ ทาความสะอาดบริเวณสะดือและผวิ หนงั รอบๆดว้ ย 10% providine iodine ผสมกับ 0.9%

NSSอัตราสว่ น 1:1 (Preterm BW<1,000 gm) หรอื ใช้ 2% chlohexidine in 70% Alcohol (Preterm,
Term BW>1,000 gm)

5. ปฏิบตั กิ ารใสส่ าย UVC, UAC
- แพทย์ คานวณความลึกของการใสส่ ายสวนหลอดเลอื ดสะดอื โดย
สตู รคานวณความลึกของ UAC(cm) =3BW+9
สตู รคานวณความลกึ ของ UVC(cm) ={(3BW+9)/2}+1
- แพทย์ ล้างมือตามข้นั ตอน ใสห่ มวกคลุม ปดิ ปากและจมูกด้วย mask หลงั จากน้นั ล้างมอื ตาม

ขน้ั ตอนอกี ครงั้ สวมเสอ้ื คลุมและถุงมือปราศจากเชอ้ื

4

- ทาความสะอาดผวิ หนังบรเิ วณรอบสะดือและสายสะดอื ด้วยนา้ ยาฆ่าเชื้อ 2% chlohexidine in
70% Alcohol และคลมุ ผา้ sterile บนตัวทารกทงั้ 4 ด้าน

- ตดั สายสะดอื ใหผ้ วิ หนา้ ตัดเรยี บและเหลอื ความยาวประมาณ 1 ซม. จากฐานของสายสะดอื ด้วย
ใบมีด

- เตรียมสาย umbilical catheter ขนาดเหมาะกบั ทารกโดยตอ่ ดา้ นปลายเปิดเข้ากบั 3-way
stopcock และหล่อสาย catheter ให้เต็มดว้ ย 0.9% NSS

- ใช้ micro forceps จับปลายสายสะดอื ให้อยูใ่ นลักษณะตั้งฉากกับผนงั หน้าท้องและตรวจหา
umbilical vein ซง่ึ จะมี 1 เส้น มกั อยู่ทางขอบนอกของสายสะดอื ลกั ษณะผนังบางกวา่ และขนาด
เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางใหญ่กวา่ umbilical artery ที่มี 2 เส้น

- ทาการ remove เศษก้อนเลอื ดทแี่ ข็งตัวและอดุ ปากรูของเสน้ เลอื ดออกสอดใส่ ถา่ งขยายรูของ
umbilical vein ด้วย micro forceps และสอดใส่สาย umbilical catheter อยา่ งนมุ่ นวลใหป้ ลายสาย
catheter พุ่งไปทางศีรษะของทารก

- ตอ่ ปลายสายอีกด้านหน่งึ ของ umbilical catheter ทม่ี ี 3- way stopcock เขา้ กับสาย และขวดน้า
สารละลายทเี่ ตรียมไว้ ทาการไล่ฟองอากาศท่ีคา้ งอย่ใู นสายให้หมดก่อนเริ่มใหส้ ารนา้ เขา้ สู่รา่ งกาย

- ผูกรูดไหมที่เย็บคลอ้ งสายสะดือไว้ให้แนน่ เพ่ือป้องกนั เลอื ดไหลซมึ จากสายสะดือและป้องกนั การ
เลือ่ นหลุดของสาย umbilical catheter

- พยาบาลวิชาชีพ ทาการยึดสาย umbilical catheter ใหอ้ ยู่คงที่โดยใช้เทปกาวยดึ ระหว่างสาย
catheter และผนังหนา้ ท้อง ดังภาพ

6. ประเมนิ อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยท่ีมีภาวะแทรกซ้อนหลังการใสส่ ายสวนหลอดเลือดสะดือ
- พยาบาลวชิ าชีพ ดแู ลป้องกันภาวะ Thrombosis or embolic phenomenon โดยดูแลไม่ให้มี air
ในสายสวนหลอดเลือดพร้อมทง้ั สงั เกตอาการผิดปกติ ไดแ้ ก่ ขาท้ังสองขา้ งคล้า ชีพจรเบา เปน็ ต้น
- ประเมนิ อาการแสดงถึงภาวการณต์ ดิ เช้ือ ได้แก่ ซมึ มีไข้ ตัวเย็น ท้องอืด สญั ญาณชีพเปล่ียนแปลง
อาเจียน รวบรวมขอ้ มูลและรายงานใหแ้ พทยท์ ราบ

5

7. เก็บอปุ กรณ์ ผ้ชู ่วยเหลือคนไข้ เก็บอุปกรณ์เข้าท่ีใหเ้ รียบรอ้ ย พยาบาลวชิ าชพี ลงบันทึกอาการและ
อาการแสดงของผ้ปู ่วยขณะและหลังใสส่ ายสวนหลอดเลือดสะดอื ในบนั ทกึ ทางการพยาบาล

8. ติดตาม Film เพอื่ ดูตาแหนง่ สายสวนหลอดเลือด โดย ตาแหน่งท่ีเหมาะสมของ UVC คือ Just
above diaphragm และ UAC คือ T6 - T9

การดูแลและปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนหลังการใสส่ ายสวนหลอดเลือด โดยประเมินดังน้ี
1. อาการแสดงถึงภาวการณต์ ดิ เชอื้ ได้แก่ ซึม มีไข้ ตวั เยน็ ทอ้ งอดื สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง อาเจยี น
เปน็ ตน้
2. ปอ้ งกันภาวะ Thrombolic or embolic phenomenon โดยดูแลไม่ให้มี air ในสายสวนหลอดเลอื ด
พร้อมทั้งสงั เกตอาการผิดปกติ ไดแ้ ก่ ขาทง้ั สองขา้ งคล้า ชพี จรเบา เป็นต้น
3. ดแู ลใหส้ ายสวนหลอดเลือดอยู่ในตาแหนง่ ท่ีเหมาะสมเพ่ือป้องกันภาวะ Hepatic necrosis เน่ืองจาก
ใส่สาย umbilical catheter เข้าไปใน portal vein และ อาจทาใหเ้ กิด portal hypertension ใน
ภายหลังได้ โดยการตดิ ตามผล X-ray
4. สังเกตอาการหวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ เน่อื งจากใสส่ าย umbilical catheter ลึกเกินไปถงึ หัวใจ
5. ดแู ลและป้องกันภาวะ necrotizing enterocolitis โดยสังเกตอาการผดิ ปกติ เช่น ท้องอืด อาเจียน
ซมึ มไี ข้ ตวั เย็น จากการคาสาย umbilical venous catheter ไวน้ านเกิน 24 ชม.

แนวทางการให้สารนา้ ในทารกท่ใี สส่ ายสวนทางหลอดเลือด
1. รบั คาสั่งแพทย์โดยพยาบาลวชิ าชพี
2. สารนา้ ที่จะใหโ้ ดยเชค็ กับคาสัง่ แพทย์
3. เตรยี มอุปกรณ์ ไดแ้ ก่

3.1 ปถู าดดว้ ยผา้ สเ่ี หลย่ี ม sterile โดยยึดหลักเทคนิคปลอดเชือ้
3.2 ภายในถาดประกอบด้วย

- Set IV ( micro drip )
- ผ้าสีเ่ หลีย่ ม sterile 1 ผืน

- ก๊อส สาหรบั พันรอบข้อต่อ
3.3 ถุงมอื sterile
3.4 Transpore/micropore
3.5 สารน้าท่ีจะให้

6

4. วิธปี ฏบิ ัติ
4.1 ตรวจสอบชือ่ -สกุลผู้ปว่ ย กับสารน้าที่จะให้ทางหลอดเลอื ด
4.2 อธิบายเหตุผลการใหน้ ้าทางหลอดเลือดและข้นั ตอนการให้กรณมี ีญาติ
4.3 ลา้ งมือก่อนให้สารน้าอยา่ งถูกต้องตามหลัก
4.4 เปิด set ทเี่ ตรยี มไว้สาหรบั ใหส้ ารนา้
4.4.1 พยาบาลคนที่ 1 สวมถงุ มือ sterile
4.4.2 พยาบาลคนที่ 2 เช็ดทาความสะอาดปากขวดสารน้าท่จี ะให้ และสง่ ให้พยาบาลคนที่ 1

ใช้ Set IV (microdrip) ต่อลงขวดสารนา้ ท่ีจะให้ และไลส่ าย ให้พยาบาลคนที่ 2 นาขวดสารนา้ ทจ่ี ะให้
แขวนท่ีเสานา้ เกลือ โดย Set IV สว่ นทีจ่ ะตอ่ กบั ผู้ป่วย อยู่ในถาดท่ปี ผู ้า Sterile อยู่

4.4.3 พยาบาลคนท่ี 1 นาผา้ สีเ่ หลย่ี ม sterile ทอ่ี ยใู่ น Set มาปูวางบรเิ วณที่จะตอ่ สารนา้ ทจ่ี ะ
ให้กบั สายสวนหลอดเลอื ด เข้ากบั ผู้ปว่ ย และพยาบาลคนที่ 2 เปน็ ผู้ถอื สายสารน้าเกา่ เพ่อื ให้พยาบาลคน
ที่ 1 เช็ดทาความสะอาด ปลดขอ้ ต่อ และนาชดุ ข้อต่อสารน้าใหม่มาต่อให้กับผปู้ ว่ ยและปรับอัตราการไหล
ตามแผนการรักษา และนาก๊อสมาปดิ รอบบริเวณขอ้ ต่อ ปิดด้วย Transpore

4.4.4 พยาบาลคนที่ 1 ถอดถงุ มือ และเก็บอุปกรณ์
4.5 ลา้ งมือหลงั ใหส้ ารอาหารทางหลอดเลอื ดดาอย่างถกู ต้องตามหลกั
4.6 สงั เกตอาการหลงั ใหส้ ารนา้
4.7 ลงบนั ทึกในแบบบันทกึ ทางการพยาบาล หรอื ในใบบนั ทึกการให้สารนา้

แนวทางในการดูดเลือดจากสาย umbilical catheter เพอื่ ส่งตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร
1. รบั คาส่งั แพทย์โดยพยาบาลวิชาชีพ
2 พยาบาลวิชาชีพตรวจเชค็ ชอ่ื ผูป้ ว่ ย
3. เตรยี มอปุ กรณ์ ได้แก่

3.1 ถงุ มอื sterile
3.2 ผ้าสเ่ี หล่ียม sterile 1 ผืน
3.3 Syringe plastic ขนาด 3 ml ดูด 0.9%NSS ไว้
3.4 Syringe plastic ขนาด 1 ml หรอื 3 ml เพื่อใช้สาหรับดดู เลือด
3.5 สาลีชบุ 70% alcohol จานวน 1-2 กอ้ น
4. วธิ ปี ฏิบตั ิ
4.1 ตรวจสอบชอื่ -สกลุ ที่ได้รับการดดู เลือดจากสาย umbilical catheter

7

4.2 อธบิ ายเหตผุ ลการดูดเลือดจากสาย umbilical catheter ให้กรณีมีญาติ
4.3 ลา้ งมือกอ่ นดูดเลือดจากสาย umbilical catheter อย่างถูกตอ้ งตามหลกั
4.4 ปูผ้าสเี่ หลี่ยม sterile
4.5 สวมถงุ มอื sterile
4.6 เชด็ บรเิ วณข้อต่อสาย umbilical catheter ดว้ ยสาลีชุบ 70% alcohol โดยใชเ้ ทคนคิ Scrub
the hub (เปน็ เวลาอย่างน้อย 15 วนิ าที ท้ิงไว้ให้แหง้ อย่างน้อย 30 วินาที)
4.7 ใช้ syringe พลาสตกิ ขนาด 3 ml ดดู สารนา้ /เลือดออกจากสาย umbilical catheter จานวน
0.5-1 ml (ตามจานวนสารนา้ ทอ่ี ย่ใู นสาย) ปลดออกและใช้เขม็ disposable ปดิ ปลาย syringe ไว้
4.8 ใช้ syringe ขนาด 1 ml หรือ 3 ml ดดู เลือดท่จี ะใชส่ ่งตรวจออกตามจานวนที่ต้องการ
4.9 นา syringe ทีด่ ดู สารน้า/เลือดออก (ตามข้อ 4.7) push คืนไป และใช้ syringe ขนาด 3 ml ที่
ดดู 0.9% NSS เตรยี มไว้ push สารละลายเข้าไปในสาย umbilical catheter เพือ่ เปน็ การไลเ่ ลือดหรือ
สารน้าในสาย (push-pause technique) umbilical catheter ระวังไมใ่ ห้มี air หรือ clot blood เขา้
ไปในผ้ปู ่วย
4.10 เชด็ บริเวณขอ้ ตอ่ สาย umbilical catheter ดว้ ยสาลชี บุ 70% alcohol อีกคร้งั และต่อกับสายท่ี
ใหส้ ารนา้
4.11 ถอดถงุ มือ และเกบ็ อปุ กรณ์
4.12 ล้างมอื
4.13 ลงบนั ทึกในแบบบันทกึ ทางการพยาบาล

แนวทางในการดแู ลความสะอาดสะดือในทารกทีร่ บั การใส่สายสวนทางหลอดเลือด
1. เตรยี มอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่
1.ไมพ้ นั สาลี 6 อัน
2. 70% alcohol
2. วธิ ีปฏิบตั ิ
1. ลา้ งมืออยา่ งถูกขัน้ ตอนก่อนเช็ดสะดือ
2. นาไมพ้ นั สาลี 6 อันชบุ ดว้ ย 70% alcohol เช็ดสะดือโดย
2.1 ไม้พนั สาลีอนั ท่ี 1 เชด็ บริเวณโคนสะดอื และวนออกเปน็ วงกว้างขา้ งละ3นว้ิ
2.2 ไมพ้ นั สาลีอันท่ี 2 ,3 ,4 ,5 เช็ดบริเวณด้านข้างสะดือทั้ง 4 ด้าน ในแนวตรงจากโคน

สะดอื ไปปลายสะดือ

8

2.3 ไมพ้ นั สาลีอนั ท่ี 6 เชด็ บริเวณปลายตัดสะดือวนรอบและไลไ่ ปตามสายสวนหลอดเลอื ด
3. ล้างมืออย่างถูกข้ันตอนหลงั เชด็ สะดือ
4. ดูแลความสะอาดสะดือในทารกทร่ี ับการใส่สายสวนทางหลอดเลอื ดทุกเวรเวรละคร้ังและ
สังเกตอาการ
หมายเหตุ : กรณีแพทย์ตัดสายสะดอื สั้นมากจนถึงโคนสะดือใหเ้ ชด็ บรเิ วณโคนสะดือและวนออกเปน็ วง
กว้างขา้ งละ 3นวิ้ เชด็ จนสะอาด และเช็ดบริเวณสายสวนหลอดเลอื ดจากสะดือไปตามสาย

แนวทางในการถอดสายสวนหลอดเลือด
1. สาย UVC ถอดสายสวนเมื่อครบ 7 วนั
2. สาย UAC ถอดสายสวนเม่ือครบ 5 วัน
3. ถอดทนั ทีเมื่อพบมกี ารติดเชื้อ CABSI
4. แพทยเ์ ปน็ ผู้ถอดสายสวน

7. เครอื่ งช้ีวดั คุณภาพ
7.1 ผู้ปว่ ยไดร้ บั การใส่สายสวนหลอดเลือดสะดืออย่างถูกต้อง
7.2 ผ้ปู ่วยได้รับความปลอดภัยและไม่มภี าวะแทรกซอ้ นจากการใส่สายสวนหลอดเลือดสะดือทั้งในระยะ

ใส่และหลงั ใส่

8. เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง
8.1 ใบคาส่งั การรักษา
8.2 บันทกึ ทางการพยาบาล
8.3 แผ่นภาพแสดงวธิ ีการใหส้ าร Surfactant

9. เอกสารอ้างอิง
Johann DA, De Lazzari LSM, Pedrolo E, Mingorance P, De Almeida TQR, & Danski MTR. (2012).

Peripherally inserted central catheter care in neonates: an integrative literature
review. Rev Esc Enferm USP; 46, 1502-10.


Click to View FlipBook Version