The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชางานตัวถังเเละสี เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 25645555

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สิริโชค พาณิชย์, 2022-07-22 12:45:33

วิชางานตัวถังเเละสี เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 25645555

วิชางานตัวถังเเละสี เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 25645555

เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื งานอาชีพ

คำเเนะนำบทเรยี น
ศกึ ษาความรูเ้ กี่ยวกบั การทาสชี นิ้ งานเเละชนิ้ สว่ นตา่ งๆของรถยนต์
จดุ ประสงคร์ ำยวิชำ
1. เขา้ ใจหลกั การใชเ้ ครื่องมือในงานตวั ถงั และพ่นสีรถยนต์
2. ใชเ้ คร่อื งมือทาการปรบั ปรุงสภาพตวั ถงั และสรี ถยนต์
3. มกี ิจนิสยั ท่ีดใี นการทางานรบั ผดิ ชอบประณีตรอบคอบตรงต่อเวลาสะอาด ปลอดภยั และรกั ษา
สภาพแวดลอ้ ม
สมรรถนะรำยวชิ ำ
1.อธิบายความสาคญั ของความปลอดภยั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
2.สามารถจาเเนกประเภทขอความปลอดภยั ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
3.สามารถออกเเบบโครงงานซ่อมตวั ถงั เเละพน่ สไี ด้
4.จาเเนกชนิดของโครงสรา้ งตวั ถงั เเละโครงรถไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

1.เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นงำนตวั ถังเเละพน่ สรี ถยนต์

ชุดอปุ กรณซ์ อ่ มสี ประกอบไปดว้ ย
1.กระดาษทราย เบอร์ 50 220 280 320 360 400
2.กาพ่นสเี เบบหวั 1.3หรอื 1.5
3.สีเคลือบเงา
4.สีโป๊ ว
5.ฟองนา้
6.เทปกาว
7.ครมี ขดั เคลือบสี

2.กำรเคำะขนึ้ รูป

การใชฆ้ อ้ นและเหลก็ รองรบั (using the hammer and Dolly)
เครอ่ื งมือท่ใี ชง้ านบ่อยในการซอ่ มตวั ถงั รถยนต์ ไดแ้ ก่ ฆอ้ นและเหล็กรองรบั ทงั้ นีเ้ พ่อื ช่วยใหใ้ นการเคาะขนึ้ รูป
ตวั ถงั รถยนตไ์ ดด้ ี สง่ิ สาคญั ก็คือ ตอ้ งเลอื กขนาดและรูปรา่ งของเหลก็ รองใหเ้ หมาะสมกบั งานนนั้ ๆ เช่นในการ
เคาะตรงสว่ นโคง้ ของโลหะ ก่อนจะใชฆ้ อ้ นเคาะจะตอ้ งนาเหล็กรองรบั เขา้ รองท่ีโลหะ แลว้ จึงใชฆ้ อ้ นเคาะตาม
สว่ นโคง้ ของตวั ถงั เคาะรอยบบุ ใหค้ ืนสภาพเดมิ เวลาจะใชฆ้ อ้ นเคาะตอ้ งใชเ้ หล็กรองรบั ท่มี สี ว่ นโคง้ สมั พนั ธก์ บั

ผิวงานตวั ถงั ถงึ แมว้ า่ ส่วนโคง้ ของงานตวั ถงั จะโคง้ นอกหรือโคง้ ใน ก็ตอ้ งเลือกเหลก็ รองท่มี ีความสมั พนั ธก์ นั มา
รองรบั

3.กำรประผุตัวถงั

1.อดุ รอยผดุ ว้ ยอีพอกซพี่ ตุ ตี้
2.ปพู นื้ ทบั หนา้ ดว้ ยไฟเบอรก์ ลาส
อปุ กรณท์ ่ีตอ้ งใชส้ าหรบั ทงั้ สองขนั้ ตอน
1*.มงุ้ ลวดมงุ หนา้ ต่างบา้ น
2*.แปรงทองเหลือง
3*.อีพอกซ่ีพตุ ต(ี้ กาวมหาอดุ )
4*.ถงั นา้ ,ขนั นา้
5*.นา้ ยาหยุดสนิม
6*.แปรงทาสี ธรรมดาๆ
7.เรซ่นิ เบอร์ 355E 2kg. พรอ้ ม ตวั ทาแขง็
8.ใยแกว้ เบอร์ 300
10.สดี าผสมเรซ่ิน
11.ทนิ เนอร์

12.ถงุ มอื ยาง 4-5 คู่
13. ถว้ ยผสมเรซ่ิน ไมก้ วน กรวย
1.อดุ รอยผุดว้ ยอีพอกซพ่ี ตุ ตี้ เหมาะสาหรบั ท่านท่จี ะปะทงั ไปกอ่ นแลว้ ค่อยค่อยไปปะผุทหี ลงั ในเวลาอนั ใกล้
1.1. เรม่ิ จากการเอาแปรงทองเหลือง ขดั บรเิ วญรอบๆจดุ ผกุ ่อนเลยครบั จากนนั้ เอาแปรงทาสีจ่มุ นา้ ยาหยดุ สนมิ
มาทาบรเิ วณจุดท่ผี ไุ ดเ้ ลยครบั ตรงสว่ นท่เี ป็นสนิมมนั จะกลายเป็นสีดาครบั แลว้ กร็ อใหแ้ หง้ ครบั (ประมาณ 30
นาท)ี
ขนั้ ตอนนผี้ มทาไปเม่ือหลายวนั ก่อนแลว้ เลยไมม่ รี ูป
1.2. ตดั มงุ้ ลวดเป็นชิน้ สีเหล่ียม ใหข้ นาดใหญ่กวา่ รูผนุ ิดหน่อยครบั (ท่ีตอ้ งใชม้ งุ้ ลวดเพราะ
เวลาเราอดุ ดว้ ยพตุ ตี้ ตวั พตุ ตีจ้ ะไมท่ ะลเุ ขา้ ไปในรูผคุ รบั แถมยงั ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของพตุ ตีด้ ว้ ยครบั )
เสรจ้ แลว้ เราก็เอาไปแป่ะไวบ้ นรูผคุ รบั วางๆ กดๆ ใหเ้ ขา้ รูปครบั
1.3. นาอีพอกซพ่ี ตุ ตมี้ าตดั ในอตั ราสว่ นผสม 1:1 ครบั เสรจ็ แลว้ ป้ันใหเ้ ขา้ กนั ครบั
ถา้ ติดมือใชเ้ อามอื แตะๆนา้ ช่วยปั้นครบั ดวู ่าเขา้ ท่ีหรอื ยงั ใหล้ อง เอามือแยกมนั ออกจากกนั ครบั
ถา้ แยกแลว้ อีกพอกซี่พตุ ตยี้ ืดยาวแบบในรูปถือวา่ ใชไ้ ดแ้ ลว้
1.4. เอามาปะบรเิ วณจดุ ผไุ ดเ้ ลยครบั โดยเรม่ิ จากขอบเพ่อื ยดึ มงุ ลวดใหต้ รงึ ไวก้ บั ผนงั ก่อนครบั
จากนนั้ จงึ ปะเขา้ ไปในรูครบั แลว้ เอามือเกล่ียๆใหเ้ รียบๆไดเ้ ลยครบั ถา้ อพี อกซี่ติดมือใหใ้ ชน้ า้ ช่วยครบั
จบแลว้ ครบั สาหรบั การอดุ ดว้ ยอพี อกซีพ่ ตุ ตี้ อพี อกซี่พตุ ตจี้ ะเซ็ตตวั ใน 1 ชม. และแหง้ ใน 4 ชม. ครบั
ต่อจากนที้ ่านจะพน่ สี ทาสี หรอื ปพู รมทบั เลยก็แลว้ แตท่ ่านครบั
สาหรบั ขนั้ ตอนต่อไป ใหท้ งิ้ ห่างจากขนั้ ตอนแรกประมาณ 1-2 ชม. ครบั ก็ไปทานขา้ วกลางวนั
พกั ผ่อน ทาใจกนั ก่อน แลว้ ค่อยมาตอ่ ในช่วงบ่ายครบั
2.ปพู นื้ ทบั หนา้ ดว้ ยไฟเบอรก์ ลาส เหมาะสาหรบั ผม ซ่งึ คาดว่าจะใชไ้ ปก่อน 4-5 ปี ค่อยไปปะผพุ นื้

2.1.เรม่ิ ตน้ ดว้ ยการนาใยแกว้ มาตดั ใหเ้ ขา้ รูปพนื้ กอ่ นครบั จะวางกี่ชนั้ ก็ทาไปเลยครบั
แนะนาว่าควรตดั ใหเ้ รียบรอ้ ยไปกอ่ นจะลงเรซิ่นครบั เพราะวา่ ถา้ ลงเรซิน่ แลว้ จะย่งุ ยากมาก
สาหรบั คนั นผี้ มลงใยแกว้ เบร์ 300 2 ชนั้ ก็พอครบั เรยี บรอ้ ยแลว้ รอื้ ออกครบั แลว้ จาไวว้ ่า
ตอนเอาใยแกว้ มาวางเราจะวางแบบไหน สาคญั นะครบั เพราะเวลาเราลงเรซนิ ไปแลว้
มนั จะเหนยี วแกไ้ ขอะไรลาบากครบั
2.2.ผสมเรซนิ่ กบั ตวั ทาแขง็ ในอตั ราสว่ น 50:1 โดยนา้ หนกั ครบั เรซ่นิ จะเซ็ตตวั ใน 10 นาทีนะครบั
(สตู รผม เรซ่ิน 1ฝาสกี ระป๋ องสเปรยไ์ พแลค ตอ่ ตวั ทาแข็ง 1ใน10 ของฝาขวดตวั ทาแขง็ ครบั )
จากนนั้ นาไปทา ลงบนพนื้ ท่ีจะลงใยแกว้ ใหท้ ่วั ครบั หาผา้ ปิดจมกู มาดว้ ยกด็ ีครบั ฉนุ มากครบั
ลา้ งแปรงดว้ ยทินเนอรเ์ ช็ดหรือสลดั ใหแ้ หง้ แลว้ กไ็ ปเดินเลน่ ประมาณ 30 นาที รอใหเ้ รซิน่ หมาดๆก่อนครบั
2.3.ลองเอาแปรงแตะๆดคู รบั ถา้ แตะแลว้ หนบึ ๆกเ็ ป็นอนั ใชไ้ ด้ นาใยแกว้ มาวางกดใหท้ ่วั ๆ
ใหใ้ ยแกว้ แนบกบั พนื้ ใหม้ ากท่สี ดุ ครบั ถา้ ไมแ่ นบเวลาลงเรซนิ่ ฟองจะเยอะครบั แลว้ แกไ้ ขยากครบั
จากนนั้ ผสมเรซ่ินตามสว่ นผสมในขอ้ 2.2 แลว้ เอามาทาลงบนใยแกว้ แลว้ กเ็ อาแปรงตบๆเสน้ ใยใหแ้ นบกบั พนื้
โดยพยายามใหม้ ีฟองนอ้ ยท่ีสดุ ครา้ บ เหมือนเดมิ ครบั ลา้ งแปรงแลว้ ไปเดนิ เล่นประมาณ 30 นาที
2.4.ลงเสน้ ใยชนั้ สดุ ทา้ ย กดใหแ้ นบๆ แลว้ ยอ้ ยไปทาขนั้ ตอนท่ี 2.2 ใหมค่ รบั ลมื ถ่ายรูปตอนลงเรซ่ินเสรจ็ คา้ บ -
*-
2.5.ขนั้ ตอนนคี้ ือการลงสีพนื้ พรอ้ มเก็บลายเสน้ ใยครบั ผสมสดี า(สผี สมเรซ่นิ ) กบั นา้ เรซน่ิ โดยอยากใหเ้ ขม้ มาก
ก็ใสม่ ากครบั
ผสมกอ่ นนะครบั อย่าเพงิ่ เติมตวั ทาแข็ง ไม่งนั้ แขง็ ระหว่างกวน ทงิ้ สถานเดยี วครบั พอไดส้ ที ่ถี กู ใจแลว้ ก็ผสมตวั
ทาแขง็

1. ทาความสะอาดพนื้ ผิวบรเิ วณท่เี ป็นแผลดว้ ยนา้ ยาทาความสะอาด เพ่ือเก็บครบไขมนั และส่งิ ตกคา้ ง

2. เปิดปากแผลดว้ ยเครื่องขดั หวั กลม
3. ใชป้ ่ืนเป่ าลมทาความสะอาดชิน้ งานและเช็ดดว้ ยนา้ ยา
4. โปว้ สีลงบนชนิ้ งานตามสภาพความเสยี หาย ประมาณ 3-4 เท่ยี ว เพ่อื สีโปว้ เกาะติดกบั ชนิ้ งาน
5. อบสีโปว้ ดว้ ยเคร่ืองอบอินฟาเรด ระยะห่างจากชนิ้ งาน 60 – 70 cm. ใชเ้ วลา 5 นาที ท่คี วามรอ้ น 70 – 80 C
และปลอ่ ยใหแ้ หง้ ท่ีอณุ หภมู ทิ ่วั ไป รอสโี ปว้ เยน็ ตวั ลง 5 นาที
6. ขดั เปิดหนา้ สโี ป้วและปรบั สผี วิ สโี ปว้ ใหเ้ รยี บเสมอชนิ้ งาน และทาความสะอาดพนื้ ผิวท่ขี ดั
7. พน่ สีรองพนื้ 2-3 เท่ยี ว เพ่ือป้องกนั ไม่ใหส้ ีพนื้ ซมึ โดยแตล่ ะเท่ยี วตอ้ งทิง้ ชว่ ง 2-3 นาที
8. อบสีรองพนื้ ในหอ้ งอบโดยใชเ้ วลา 12 นาที
9. ขดั หนา้ เปิดสีรองพนื้ และตรวจสอบความเรียบ
10. ใชป้ ืนเป่าลมทาความสะอาด และเช็ดทาความสะอาดดว้ ยนา้ ยา
11. ใชแ้ สงไป Day Light ความสว่าง 1500 Lux ตรวจความเรยี บของชนิ้ งานก่อนสง่ พน่ สีจรงิ
12. พ่นสีจรงิ เท่ยี วแรก โดยใหก้ ลบชนิ้ งานก่อน 50 – 70%
13. พน่ สจี รงิ เท่ยี วท่ีสอง โดยใหก้ ลบชนิ้ งาน 100% ทงิ้ ระยะ กอ่ นจะพน่ สจี รงิ ครงั้ สดุ ทา้ ย
14. ตรวจสอบดฉดสที ่ไี ดว้ ่าตรงกบั สที ่ตี อ้ งการ
15. อบแหง้ ท่ีอณุ หภมู ิ 60 C เป็นเวลา 30 นาที หรืออบอินฟาเรด 10 นาที
16. พ่นสีเคลียกลบชิน้ งาน 2 เท่ยี ว
17. รอใหช้ ิน้ งานเย็นตวั กอ่ นนาออกจากหอ้ งพ่น ขัดแต่งดว้ ยนา้ ยาขดั เงา
18. ตรวจสอบงานก่อนสง่ มอบ

4.กำรขดั เตรยี มผวิ งำน

ก่อนการเร่มิ ตน้ การขดั กระดาษทรายและพน่ สีท่ีผิวงาน การตรวจบรเิ วณผวิ งานอยา่ งรอบคอบ เพ่อื ท่จี ะไดเ้ ห็น
ผิวงานท่เี สยี ลกั ษณะสเี ดิม ความสกปรกตา่ งๆ รอยขีดข่วน แผลลกึ การเกิดสนมิ และอ่นื ๆ และพนื้ ผิวงานนนั้
ก่อนท่ชี า่ งจะพน่ สพี นื้ และพ่นสีพ่นรถยนตข์ นั้ สดุ ทา้ ยพนื้ ผิวงานควรจะเรียบ เกลยี้ งเกลา ซ่งึ จะทาใหส้ ที ่ีพ่นไป
เกาะติดกบั ผิวงานแนน่ และทนทาน ถา้ บรเิ วณผิวเกิดขรุขระมรี อยขีดข่วน ก็ควรเตมิ และตบแต่งบรเิ วณนนั้ ให้
เรียบก่อนทกุ ๆ

กำรเตรียมพืน้ มีวิธกี ำรทำดังนี้

1. การตรวจสอบสเี ดิม (Checking the condition of the old paint surface)

การตรวจสอบสภาพของสีเดิม ตอ้ งกระทาใหท้ ่วั ถงึ ซง่ึ บางครงั้ ตอ้ งใชย้ าขดั ทงั้ หยาบและละเอยี ด เป็นบรเิ วณท่ี
สงสยั สภาพของสเี ดมิ และบางครงั้ อาจจะใหแ้ ว่นขยายเป็นการตรวจอย่างละเอยี ด เช่น การขูดเบาๆ ดว้ ยของมี
คม การขดั กระดาษทราย ซ่งึ ทาใหต้ รวจสภาพสไี ดถ้ กู ตอ้ ง ถา้ สเี ดมิ อย่ใู นสภาพเลว การเตรียมพนื้ จะลาบาก
มาก จะตอ้ งเตรียมพนื้ ท่ชี ารุด โดยมีความจาเป็นตอ้ งเอาสีเดิมออกใหห้ มดถงึ โลหะ เป็นตน้ โดยเฉพาะท่ีฝา
กระโปรง ท่บี งั โคลนและท่ฝี าครอบทา้ ยรถยนต์ ซง่ึ ทงั้ 3 มกั ปรากฎรอยขีดข่วน จาเป็นตอ้ งเอารอยขีดข่วนออก
ใหห้ มดเพ่ือท่จี ะใหก้ ารพน่ สีปกคลมุ ท่วั ถึงโดยไมป่ รากฎรอยเด่นชดั ขนึ้ มา

2. การลา้ งทาความสะอาด (Wash Vehicle)

การลา้ งทาความสะอาด เพ่อื ท่จี ะขจดั ความสกปรก ความเปรอะเปื้อนใหส้ ิน้ ไปดว้ ยการลา้ งดว้ ยนา้ หรือนา้ สบู่
หรอื นา้ ผงซกั ฟอก การลา้ งควรใชน้ า้ ลา้ งก่อน ตามดว้ ยการใชฟ้ องนา้ ชบุ นา้ ผงซกั ฟอก และลา้ งนา้ ใหส้ ะอาดอกี
ครง้ั หน่งึ เร่มิ ลา้ งจากหลงั คา ฝากระโปรงหนา้ หลงั และดา้ นขา้ งตามลาดบั

3. ขจดั จารบแี ละขผี้ งึ้ ขดั รถออก (Grease and wax must come off)

ก่อนทาการพน่ สีใหม่ทบั ลงบนสเี ดิม สเี ดมิ ควรทาความสะอาดใหท้ ่วั ถงึ ก่อนทาการขดั กระดาษทราย ซง่ึ เป็นวิธี
ท่จี ะขจดั จารบแี ละขผี้ งึ้ ความสามารถอ่นื ๆ ท่เี ป็นอนั ตรายตอ่ สีใหม่ ก่อใหเ้ กิดการลอก ควรใชน้ า้ ยาทาความ
สะอาดรถยนต์ โดยใชผ้ า้ แหง้ สะอาดชบุ นา้ ยาเช็ดใหท้ ่วั บรเิ วณผวิ สีเดิม และใชผ้ า้ แหง้ เช็ดใหแ้ หง้ อีกครงั้ หนง่ึ
ควรใชบ้ รเิ วณแคบๆ 2-3 ฟตุ เพ่อื ใหล้ า้ งสะอาดจรงิ ๆ ไม่แนะนาใหใ้ ชน้ า้ มนั เบนซนิ , นา้ มนั สน, ทินเน่อร์

4. การขดั สีเดมิ ออก (Removing The old Finish)

การขดั สนมิ แสะสีเดิมออกจากบรเิ วณท่เี สีย เป็นวิธีการท่จี ะเขา้ ถึงแกน่ ของแผ่นวตั ถุ หรือชิน้ งาน (โลหะหรือ
พลาสติก) และช่วยป้องกนั การเกดิ สนมิ ในอนาคต และทาใหก้ ารเกาะตวั ของชนั้ สีดเี ย่ียม การขดั สีเดิมออก โดย
การใชเ้ คร่ืองขดั กระดาษทราย ซง่ึ ใชแ้ ผ่นกระดาษทรายกลม เบอร์ 16 หรือ 24, 36, สาหรบั ขดั งานโลหะครงั้
แรกๆ (เบอร์ 50 สาหรบั พลาสตกิ ) ตามดว้ ยการขดั กระดาษทรายเบอร์ 50 ในการเก็บรอยหยาบ สาหรบั ขอบสี
เดมิ ท่บี างใหข้ ดั ดว้ ย เบอร์ 220 สาหรบั เก็บรอย และเก็บเรยี บดว้ ยเบอร์ 280 320, 360 และเก็บเรียบครงั้
สดุ ทา้ ยดว้ ยกระดาษทรายเปียกเบอร์ 400

5. การขดั กระดาษทรายออกจากสเี ดมิ (Sand old Finish)

ในการขดั กระดาษทรายมสี ง่ิ สาคญั ท่ีควรพิจารณาก่อนทาการขดั ดงั นีค้ ือ

(1) งานท่ีจะทาสีใหมเ่ ป็นสปี ระเภทใด สีแหง้ ชา้ สีแหง้ เรว็ สีอะครลิ ิค เพ่ือเลือกเบอรข์ องกระดาษทรายให้
เหมาะสม เพ่ือผลงานท่ดี ีและสิน้ เปลืองเวลาแรงงานนอ้ ย

(2) กรรมวิธีในการขดั กระดาษทราย จะเลอื กใชแ้ บบใด เช่น แบบเปียก (Wet Sanding) แบบแหง้ (Dry
Sanding) แบบกง่ึ เปียกกึง่ แหง้ (Medium Wet Sanding) เป็นตน้

(3) ในการขดั กระดาษทรายแบบเปียกใหใ้ ชน้ า้ ใหม้ ากและเป็นนา้ ท่สี ะอาด เวลาท่ีขดั แลว้ ลา้ งคราบสอี อกให้
หมดทนั ทีทนั ใด

(4) ระวงั คมของกระดาษทรายทาใหเ้ กิดรอยขีดขว่ นท่ีกระจก ขอบยาง ขอบโครเมยี ม ตอ้ งระวงั เช่นนใี้ หม้ าก
ท่สี ดุ หาทางปอ้ งกนั ใหด้ ี

(5) เวลาขดั ขคั ตามความยาวของรถยนต์ ขดั ในแนวท่ขี นานกนั (Sand with Parallel Stroke)

(6) ชว่ งความยาวของการขดั ประมาณ 2 ฟตุ

(7) ตามสนั และขอบมีคมต่างๆ อย่าขดั หลายครงั้ ใชล้ บู เพยี งเบาๆ กพ็ อแลว้ (ขดั มากจะทาใหฟ้ ิลมส์ ีเดิมทะลถุ งึ
โลหะ)

(8) เวลาเรม่ิ ขดั ควรขดั ตามขอบท่ขี ีดโครเมยี ม ขอบยาง ขอบกระจกกอ่ น

(9) ถา้ ขดั แบบกึ่งเปียกกง่ึ แหง้ อย่าใชน้ า้ มากเกินความจาเป็น คราบสีท่ไี หลออกมา ตอ้ งพยายามเช็ดไปใหห้ มด
อย่าปลอ่ ยใหไ้ หลไปยงั สว่ นอ่ืนท่ไี ม่ไดข้ ดั กระดาษทราย

6. อย่าใชม้ ือเปลา่ จบั ชนิ้ งาน (Watch out for Fingerprint)

อยา่ ใชม้ ือเปลา่ จบั ชนิ้ งาน ถา้ ตอ้ งการตรวจความเรยี บรอ้ ยของพนื้ ผิวงานดว้ ยมือ ควรทากอ่ นทาความสะอาด
ครง้ั สดุ ทา้ ยท่จี ะพ่นสี ซ่งึ ท่ีมือจะมีนา้ มนั และความชนื้ นา้ มนั และความชนื้ จะทาลายความทนทานของสี ดงั นนั้
การตรวจพนื้ ควรใสถ่ งุ มือหรือผา้ รอง

7. การลอกสอี อกทงั้ หมด (Removing Paint and Lettering)

การลอกสเี ป็นวิธีท่มี กั จะใชก้ บั เนอื้ ท่เี ป็นบรเิ วณกวา้ งๆ หรืองานท่ีพน่ สซี อ่ มใหมท่ งั้ คนั เม่ือสเี ดิมของรถแตกหรือ
ดนู ่าเกลียดมีสภาพไม่ดีและในบางครงั้ ถา้ หากมรี อยแตกเลก็ นอ้ ยโดยท่วั ไป ซ่งึ อาจจะง่ายขึน้ ถา้ จะทาการลอก
สีออกทงั้ หมดดว้ ยวิธีใชน้ า้ ยาลอกสี ไมค่ วรใชน้ า้ ยาลอกสี กบั พลาสติก

8. การโป๊ วสีและซ่อมผิวงาน (Body Filling and Metal Repair)

การโป๊ วสพี ลาสติก (Plastic body filler) เราจะใชโ้ ป๊ วกบั การซอ่ มผิวงานของแผน่ โลหะท่ีไมเ่ รยี บครง้ั แรกดงั นี้

ก. สว่ นท่ไี ม่สามารถทาการเคาะได้

ข. สว่ นท่ไี ม่สามารถซ่อมแซมใหก้ ลบั คนื สภาพเดิมได้

ค. สว่ นท่เี ป็นรู, ตามด หรือรอยฉีกขาด ในเนอื้ โลหะ

ง. สว่ นท่เี กิดสนิมไดง้ า่ ย

จ. สว่ นท่ีถกู เช่ือม

ในสมยั กอ่ นการเติมรอยชารุด โดยการบดั กรีตะก่วั เขา้ ไปซง่ึ จะเพ่ิมเนอื้ ท่ใี หเ้ ต็ม จึงเป็นการเสียเวลามาก
ปัจจบุ นั นีก้ ารซอ่ มผิวงานเป็นไปอย่างรวกเรว็ เม่ือใชส้ โี ป๊ วพลาสตกิ เพราะพลาสติกจะแข็งตวั ในเวลา 30 นาที
สามารถซอ่ มผิวบรเิ วณกวา้ งๆ และลกึ ๆ ได้

วธิ ีการโป๊ วสพี ลาสตกิ ซ่อมผิวงาน มดี งั นี้

8.1 ใชเ้ คร่ืองขดั กระดาษทรายแบบจานกลม ขดั บรเิ วณท่ีชารุดจนถงึ เหล็กใชก้ ระดาษ เบอร์ 16 และบรเิ วณท่มี ี
สนิมควรขดั สนมิ ออกใหห้ มด

8.2 ใชไ้ มก้ วนสีกวนพลาสติกในกระป๋ องใหท้ ่วั และเขา้ กนั ดี นาพลาสติกออกจากกระป๋ องโดยมีดโป๊ ว

8.3 ใชม้ อื นวดนา้ ยาฮารคเ์ ดนเนอร์ (Hardener) ท่จี ะผสมกบั พลาสติก แลว้ บีบนา้ ยาฮารคเ์ ดนเนอรล์ งไปผสม
กบั พลาสติกท่มี ีดโป๊ ว เพ่ือใหพ้ ลาสตกิ แข็ง การแข็งตวั ใชเ้ วลาประมาณ 2 นาที

8.4 ถา้ บรเิ วณผิวงานเป็นรู มีเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางไม่เกิน 6 นิว้ ควรใชผ้ า้ ใยแกว้ หรอื ไพเปอรแก๊ส (fiber glass)
หรือมงุ้ ลวดอลมู เิ นยี มวางซอ้ นท่รี ูโลหะ ต่อจากนนั้ จงึ โป๊ วสพี ลาสติก ลงทบั ผิวงานนนั้

8.5 ใชม้ ีดโป๊ วปา้ ยพลาสติกไปยงั ตวั ถงั ผวิ งานท่ชี ารุดพยายามโป๊ วใหเ้ รยี บ หรือเป็นสว่ นโคง้ ตามตอ้ งการ เพ่ือ
ลดการแตง่ รูปรา่ ง จากนนั้ ทงิ้ ไวป้ ระมาณ 30 นาท่ี พลาสติกจะแขง็ จงึ เร่มิ แตง่ ผิวใหเ้ รียบรอ้ ย

8.6 ใชเ้ คร่อื งขดั กระดาษทรายขดั แต่งพลาสตกิ ท่แี ข็งแลว้ หรอื ใชต้ ะไบ (File) แต่งผวิ ใหเ้ รียบ ใชก้ ระดาษทราย
เบอร์ 50 เก็บรอยหยาบ ใชก้ ระดาษทรายเบอร์ 220 สาหรบั เก็บรอย และเก็บเรียบดว้ ยกระดาษทรายเบอร์ 280
หรอื 320 หรอื 360 และเก็บเรยี บครงั้ สดุ ทา้ ยดว้ ย กระดาษทรายเปียกเบอร์ 400

สาหรบั บรเิ วณรอยเช่ือมโลหะ จะใชอ้ ลมู ิเนียม เอลีด (Alum-A-Ieed) ผงอลมู ิเนยี ม อดุ ตามรอย เป็นการใชแ้ ทน
ตะก่วั หรือการบดั กรี ซง่ึ จะประหยดั กกวา่ การบดั กรี และเป็นการปอ้ งกนั ความรอ้ นตรงบรเิ วณซอ่ มแซมใกลถ้ งั
นา้ มนั เชือ้ เพลงิ หรือใกลบ้ รเิ วณกระจกผงอลมู ิเนียม สามารถสคู้ วามชนื้ ต่างๆ และสามารถขดั ดว้ ยตะไบ,
กระดาษทราย เพ่ือใหผ้ ิวหนา้ งานเรียบ สมบรู ณ์ นอกจากนผี้ งอลมู ิเนยี มยงั ใชไ้ ดก้ บั เหลก๊ , อลมู เิ นียม และไฟ
เบอรจ์ ึงเหมาะอยา่ งย่ิง

ขอ้ ควรระวังในกำรปฏิบัติสีโป๊ สพลำสติก

1. ใชไ้ มก้ วนพลาสตกิ ในกระป๋ องก่อนออกใชง้ านทกุ ครง้ั เม่ือเลกิ ใชค้ วรปิดฝาใหแ้ นน่ อยา่ เก็บไวใ้ นอากาศรอ้ น

2. กอ่ นผสมนา้ ยาฮารด์ เดนเนอรก์ บั พลาสติก ควรนวดนา้ ยากอ่ นทกุ ครง้ั
3. ทาการผสมอย่างถกู สว่ นตามคาแนะนาขา้ งกระป๋ อง อยา่ ผสมแขง็ ไปจะไมท่ น
4. อยา่ ผสมนานเกินไปซง่ึ ช่วงผสมประมาณ 1-2 นาที
5. ยา่ ใชม้ ีดโป๊ วท่มี พี ลาสติกแข็งติดอยู่ เขา้ ไปตกั พลาสติกในกระป๋ องออกมา
6. เม่อื ใชพ้ ลาสติกแลว้ ควรปลอ่ ยทงิ้ ไวใ้ หแ้ หง้
9. การรกั ษาผิวโลหะเปลือยและทาการเคลอื บ (Metal Treatment Conversion Coating)
การรกั ษาผวิ โลหะเหลก็ เปล่าเปลือย (Bare Metal) ใหส้ ะอาดนนั้ สามารถเกาะตวั กบั สีพนื้ ไดด้ ีท่สี ดุ โดยวธิ ี
9.1 ลา้ งทาความสะอาดเหล็กเปลา่ เพ่ือขจดั คราบนา้ มนั ความมนั และส่งิ เปรอะเปื้อนอ่นื ๆ ดว้ ยนา้ ยาลา้ ง
9.2 ชาระลา้ งสนมิ และทาความสะอาดเหล็กดว้ ยนา้ ยาลา้ งขจดั สนิม ซ่งึ เป็นวิธีท่ที าใหผ้ ิวเหลก็ สะอาดดว้ ย
นา้ ยาเคมี แลว้ เช็ดใหแ้ หง้
9.3 ใชน้ า้ ยาเคลือบผิวโลหะแต่ละชนิดใหถ้ กู ตอ้ ง เพ่ือท่ผี ิวโลหะจะไดเ้ กาะตวั ไดอ้ ย่างเหนียวแน่นกบั สพี นื้ และ
เป็นการปอ้ งกนั การเกิดสนิมไดอ้ กี ดว้ ย
การใชน้ า้ ยาเคลือบผิวโลหะ
ก. เทนา้ ยาลงในถงั ใชแ้ ผ่นสก๊อตไบรทช์ บุ นา้ ยาท่ไี มผ่ สมกบั อะไร เช็ดตามผวิ โลหะ ปลอ่ ยทงิ้ ไวป้ ระมาณ 2-5
นาที
ข. ใชน้ า้ ยาเคลือบเฉพาะบรเิ วณท่จี าเป็นตอ้ งใชเ้ ท่านนั้ แลว้ เช็ดลา้ งทงิ้ ก่อนนา้ ยาเคลืยบจะแหง้ (ถา้ นา้ ยาแหง้
ก่อนใหช้ ุบเคลือบใหมอ่ ีกครง้ั )
ค. ลา้ งนา้ ยาเคลือบออกจากผวิ โลหะดว้ ยนา้ สะอาด
ง. ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดหรือปลอ่ ยทิง้ ใหแ้ หง้
10. การปิดกระดาษกาว (Masking)

ในการปิดกระดาษกาวในงานสมี คี วามจาเป็นมาก การปิดกระดาษกาวทาใหง้ านท่ีเตรียมดแู ลว้ น่าพน่ สี
นอกจากนกี้ ารปิดกระดาษกาวดว้ ยความระมดั ระวงั จะทาใหข้ อบของสีดคู ม สะอาดหลีกเล่ยี งการเกิดรอยต่อท่ี
ขรุขระ ไม่มกี ารเปื้อนสกปรก ท่กี ระจกและของโครเม่ียม

เลอื กใชก้ ระดาษกาวท่มี ีความกวา้ งขนาดต่างๆ เพ่อื ใหเ้ หมาะกบั งานท่ใี ชจ้ ะทาใหง้ านเรว็ ขนึ้ มาก ขนาดของ
กระดาษท่ใี ชค้ วรเลอื กความกวา้ งใหพ้ อเหมาะซ่งึ เรื่องนีจ้ ะทาใหท้ างานไดเ้ รว็ และลดความยงุ่ ยากในการ
ทางาน

ในการใชก้ ระดาษหนงั สอื พมิ พ์ ใหใ้ ชเ้ ฉพาะสว่ นท่เี ป็นกระจกเทา่ นนั้ ถา้ มีการใชก้ ระดาษหนงั สอื พิมพ์ปิดบงั งาน
ท่พี น่ สแี ลว้ อาจทาใหเ้ กิดปัญหาขนึ้ เพราะหมกึ พิมพจ์ ะซมึ ไปในสี

กระดาษกาวมีความกวา้ ง 1/4 ” เหมาะมากท่จี ะใชก้ บั สว่ นโคง้ ตา่ งๆ เพราะเป็นการง่ายท่จี ะทาบกระดาษกาว
ไปตามโคง้ จากนนั้ จึงค่อยๆ ใชก้ ระดาษกาวท่มี ีความกวา้ ง 1/2 ” หรือ 1″ ต่อออกอีกท่ีหนึ่ง

การท่จี ะปิดกระดาษกาวไดด้ ีตอ้ งอาศยั การปฏิบตั ิมากๆ และใชค้ วามคดิ บา้ งท่ีจะตดั สินวา่ จะดาเนินการปิด
อย่างไร

เพ่ือท่จี ะใหก้ ารปิดกระดาษไดผ้ ลดขี อแนะนาหลกั การท่ีควรปฏบิ ตั ิดงั นีค้ อื

(1) บรเิ วณท่ีจะปิดกระดาษกาวตอ้ งปราศจากฝ่นุ ละออง สีท่ขี ดั ออกมา ซลิ ิคอนจากขีผ้ งึ้ นา้ ขผี้ งึ้ และพวกจารบี
ต่างๆ

(2) เวลาปิดกระดาษอย่ายืดกระดาษกาว ใหท้ าบไปบนงานแลว้ กดใหแ้ น่น

(3) จงม่นั ใจว่าขอบของกระดาษกาวกดแน่นอย่างเพียงพอ

(4) นากระดาษกาวออกทนั ทีหลงั จากสีแหง้ พอจบั ตอ้ งไดแ้ ลว้ อย่าทงิ้ คา้ งวนั คา้ งคนื จะนาออกยากมาก

(5) อยา่ ปิดกระดาษกาวใหเ้ ลอ่ื นไปบนชิน้ งานเป็นอนั ขาด

(6) ถา้ ฟิลมส์ ีเกาะท่ชี ิน้ งานและกระดาษกาวหนา ใหใ้ ชใ้ บมีดโกนกรดี ชิน้ สใี หข้ าดดว้ ยความระมัดระวงั ออก
ก่อนท่จี ะถึงกระดาษกาว

(7) เวลาดงึ กระดาษกาวออกใหด้ งึ เป็นมมุ 90° กบั งานเพ่ือใหข้ อบของกระดาษกาว มีความคมท่ีจะตดั ฟิลม์ สี

(8) อย่ามว้ นกระดาษกาวเก็บไวบ้ นกระป๋ องสหี รีอถูกความรอ้ นนานๆ หรือตากแดด

(9) เกบ็ กระดาษกาวไวใ้ นท่เี ย็น

5.กำรพ่นสี

เป็นสีพ่นรถยนต์ 2K HS (High Solid) เนือ้ มากและละเอยี ด นาเขา้ จากประเทศเยอรมนั ดว้ ยเทคโนโลยีและ
ววิ ฒั นาการของสีพ่นรถยนตท์ ่ไี ด้ พฒั นาการอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา โดยระบบสีท่ี มีคณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน
ซง่ึ เป็นองคป์ ระกอบหลกั ท่ที าใหค้ ณุ ภาพงานดเู งางามและ มปี ระสิทธิภาพคงทนตอ่ สภาวะตา่ ง ๆ นอกจากนสี้ ี
Glasurit ยงั ไดร้ บั การยอมรบั จากโรงงานประกอบรถยนตแ์ ละอซู่ ่อมสีตวั ถงั ท่วั โลก ไดร้ บั การยนื ยนั มาตรฐาน
คณุ ภาพและรบั รองการใชผ้ ลติ ภณั ฑม์ านานกว่า 60 ปี จากคา่ ยรถใหญ่ ๆ ตา่ ง ๆ

เป็นสีท่ีมี คณุ ภาพซง่ึ เทยี บเทา่ กบั สีท่ใี ชผ้ ลิตตรงออกมาจากโรงงานประกอบ รถยนตต์ งั้ แตแ่ รก เน่อื งจากสี
รถยนตท์ ่ถี กู พน่ มาจากโรงงานอปุ กรณช์ ิน้ สว่ นตา่ ง ๆ จะยงั คงไม่ถกู ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั เพราะแผน่ เหลก็ ตา่ ง ๆ
จะถกู นาเอาไปพ่นสีและอบในอณุ หภมู ทิ ่ีสงู 180 - 250 C ก่อนท่จี ะนามาประกอบเป็นคนั รถมฉิ ะนนั้ ชิน้ สว่ นท่ี
เป็นพลาสติก เบาะ สายไฟคอนโซล ฯลฯ ในรถอาจจะหลอมละลายได้ และดว้ ยเหตนุ เี้ องเทคโนโลยขี องสี 2K
จึงทาหนา้ ท่แี ละมคี ณุ ภาพความคงทนเงางามเทยี บเท่ากบั สโี รงงานในการซอ่ มสีท่ี เกิดจากอบุ ตั เิ หตตุ า่ ง ๆ โดย
ไม่จาเป็นตอ้ งถอดชิน้ สว่ นออกจากรถของคณุ สว่ นคาว่า 2K หมายถึง Two Koponente ใน ภาษาเยอรมนั หรือ
ดชั ช์ ซ่งึ ในภาษาองั กฤษเขียนเป็น Two Component ความหมายของคาว่า ระบบสี 2K นนั้ หมายถงึ สที ่ี
จะตอ้ งมีวสั ดุ 2 องคป์ ระกอบมารวมตวั กนั เพ่อื ปฏิกิรยิ าทางเคมที าใหส้ ีแขง็ ตวั (Curing) เป็นการเปลีย่ น
โครงสรา้ งทางเคมีกอ่ ใหเ้ กิดการเกาะตวั ท่แี น่นขนึ้ / จบั ตวั ทางโมเลกลุ เป็นการเปล่ียนแปลงอยา่ งถาวรไม่
สามารถยอ้ นขนั้ ตอนกลบั สู่ สภาพเดมิ ไดจ้ ากปฏกิ ริ ิยาทางเคมีดงั กลา่ วแลว้ นี้ ทาใหร้ ะบบสี 2K มีคณุ ภาพเดน่
ในเรอื่ งความเงางาม ความคงทนในการใชง้ านเพราะทนต่อสภาวะการ ขดั ถู รอยข่วน สารเคมีมลภาวะต่าง ๆ

ขนั้ ตอนการพน่ สีจรงิ ระบบ 2K แบบ 2 ขนั้ ตอน

สจี รงิ ระบบ 2K แบบ 2 ขนั้ ตอนนหี้ มายถึง ระบบสีจรงิ ทบั หนา้ ดว้ ยตวั เคลียร์ 2K

ซ่งึ ตวั สจี รงิ ยงั เป็นสีระบบ 1K แต่จะมีคณู สมบตั ิท่ดี กี วา่ สี 1K โดยท่วั ไปคอื เนอื้ สีเขม้ ขน้ การกลบตวั ของสีดี ใช้
ทนิ เนอรน์ อ้ ย พน่ ง่าย แหง้ เรว็ เม่อื สีแหง้ ตวั ฟิลม์ สจี ะไมเ่ งาตอ้ งใชเ้ คลียรท์ บั หนา้ สีจรงิ ระบบ 2K แบบนี้ สามารถ
ทาไดท้ งั้ สีMetallic,สีPearl,สีSollic ซง่ึ ความเงางามนนั้ จะขึน้ อย่ทู ่ีการเลือกเคลียรท์ ่ใี ชท้ บั หนา้ สี

เคลียร์ 2K ท่ใี ชก้ นั อยจู่ ะมีอตั ราสว่ นผสมตงั้ แต่ 2ต่อ1,3ต่อ1,4ต่อ1,10ต่อ1 ขึน้ อยกู่ บั
ลกั ษณะของงาน ตวั อย่างเช่น 2ตอ่ 1และ3ต่อ1 จะเหมาะสาหรบั งานพ่นทงั้ บานและทงั้ คนั ตอ้ งพน่ ในหอ้ งพน่ สี
เน่ืองจากแหง้ ชา้ ใชเ้ วลาในการแหง้ ผวิ 2-4 ช่วั โมง แตจ่ ะใหค้ วามเงางามท่ีดีมาก ส่วนอตั ราสว่ น ผสม 4 ต่อ 1,
10 ต่อ 1 จะเหมาะสาหรบั งานซ่อมแผล เน่ืองจากแหง้ เรว็ กวา่ แหง้ ผวิ ใชเ้ วลาประมาณ 20-30 นาที เท่านนั้ ซ่งึ
สามารถพน่ โดยไม่ตอ้ งใชห้ อ้ งพ่นสีได้ เคลยี ร์ 2K แบบนปี้ ัจจบุ นั ไดร้ บั ความนยิ มมากและ ไดม้ าแทนท่เี คลยี ร์
ระบบ 1K ไปแลว้
ขนั้ ตอนการเตรียมงาน
1. ใชก้ ระดาษทรายนา้ เบอร์ 1,000 ขดั สรี องพนื้
2. ลา้ งทาความสะอาดใหท้ ่วั ตวั รถ
3. ใชล้ มเปาไลค่ วามชืน้ ออก
4. ติดกระดาษปิดบงั สว่ นท่ไี ม่ตอ้ งการพ่นสี
5. ใชล้ มเป่าไลฝ่ ่นุ ละอองใหท้ ่วั
6. นารถเขา้ หอ้ งพ่นสี
7. ตดิ กระดาษปิดบงั สว่ นท่ไี ม่ตอ้ งการพน่ สี
8. ทาความสะอาดผิวชนิ้ งานดว้ ยนา้ เช็ดคราบ
9. ใชล้ มเป่าไลฝ่ ่นุ ละอองใหท้ ่วั
10. นาผา้ เหนียว (Tack Cloth) มาลบู เบาๆบนผิวชิน้ งาน เพ่อื จบั ฝ่นุ
11. ผสมสีนามาพ่นโดยใหป้ ฎิบตั ติ ามคาแนะนาของบรษิ ัทผผู้ ลิตของสแี ต่ละย่ีหอ้
12. พน่ สจี รงิ จานวน 2 เท่ยี ว ทงิ้ ชว่ งระหว่างเท่ยี ว 10-15 นาที แรงดนั ลมท่ีใช้
40-50 ปอนดต์ ่อตรางนวิ้
13. เม่อื พน่ สีเสรจ็ ใหท้ งิ้ ชว่ งระหวา่ งสีจรงิ กบั เคลยี ร์ 15 นาที

14. ใหน้ าผา้ เหนยี ว (Tack Cloth) มาลบู เบาๆบนผิวสี เพ่ือจบั ละอองสที ่ตี ิดอยู่

15. ผสมเคลยี รม์ าพน่ โดยใหป้ ฎบิ ตั ืตามคาแนะนาของบรษิ ทั ผผู้ ลิตเคลียรแ์ ต่ละย่ีหอ้

16. พ่นเคลียรจ์ านวน 2 เท่ียว ทงิ้ ช่วงระหวา่ งเท่ียว 15 นาที แรงดนั ลมท่ีให้

50-60 ปอนดต์ ่อตรางนวิ้

17. เม่อื พน่ เคลยี รเ์ สรจ็ ทงิ้ ไวใ้ นหอ้ งพ่นสีเพ่อื ใหส้ แี หง้ ผวิ 2-4 ช่วั โมง หรือถา้ ตอ้ งการ

อบกส็ ามารถทาได้ โดยใหศ้ ึกษาจากคาแนะนาของบรษิ ัทผผู้ ลติ แต่ละย่ีหอ้

18. การขดั ยาเงาตกแต่งใหท้ าหลงั เคลยี รแ์ หง้ ตวั 12 ช่วั โมง

ขนั้ ตอนการพน่ สีจรงิ ระบบ 2K แบบ 3 ขนั้ ตอน สจี รงิ 2K แบบ 3 ขนั้ ตอนสว่ นมากจะใชใ้ น

การพ่นแม่สีมกุ ทบั บนสีจรงิ ในเชดต่างๆ ซ่งึ สจี รงิ จะมีเชดสที ่ใี กลเ้ คียงกบั แม่สมี ขุ เพ่ือใหก้ ารแสดงผลของแมส่ ี

มกุ ออกมาในมมุ มองท่ีเด่นชดั ขนึ้

แมส่ ีมกุ สีนยิ มนามาพน่ เช่น มกุ ขาว มกุ นา้ เงนิ มกุ มว่ ง มกุ เขียว มกุ ทอง สว่ นเชดสีจรงิ ท่ใี ช้ ตวั อย่างเชน่ สีขาว
สฟี า้ ออ่ น สีเขียวอ่อน สีเหลืองอ่อน (แนะนาควรเลือกเชดสีอ่อนๆ เพราะคณุ สมบตั ิ ของมกุ จะมคี วามโปรง่ แสง
มาก ถา้ เลือกสจี รงิ เชดสเี ขม้ สีมกุ จะไมส่ ามรถกลบสชี นั้ ลา่ งได)้

ขนั้ ตอนการเตรียมงาน

1. ขดั สีรองพนื้ ดว้ ยกระดาษนา้ เบอร์ 1,000

2. ลา้ งทาความสะอาดชิน้ งาน

3. ใชล้ มเป่าไลค่ วามชืน้ ใหช้ ิน้ งานแหง้

4. ทาความสะอาดชิน้ งานดว้ ยนา้ เชด็ คราบ

5. ใชล้ มเป่าไลฝ่ ่นุ ละอองบนชิน้ งาน

6. นาผา้ เหนียวมาลบู เบาๆบนผิวชนิ้ งาน เพ่อื จบั ฝ่นุ

7. นาสจี รงิ ท่ีเลือกไวผ้ สมกบั ทนิ เนอรต์ ามอตั ราสว่ นผสมมาพ่นลงบนชนิ้ งาน

2 เท่ยี ว ทงิ้ ชว่ งระหว่างเท่ียว 10 นาที
8. นาแมส่ ีมกุ ผสมกบั ทินเนอรต์ ามอตั ราส่วนพน่ บนชิน้ งาน 2-3 เท่ียว ทงิ้ ช่วงระหว่างเท่ียว 10 นาที
9. ทงิ้ ช่วงระหวา่ งสกี บั เคลียร์ 15 นาที
10. นาผา้ เหนยี วมาลบู เบาๆบนผิวชนิ้ งาน เพ่ือจบั ละอองสี
12. นาเคลียร์ 2K มาพ่นจานวน 2 เท่ยี ว ทงิ้ ช่วงระหวา่ งเท่ียว 10-15 นาที

6.กำรขดั สี

1. ลา้ งรถใหส้ ะอาด
2. หลงั จากท่ลี า้ งทาความสะอาดสีรถแลว้ จะตอ้ งทาการกาจดั สิง่ สกปรกฝังแน่นขีไ้ คล ท่ตี ดิ บนหนา้ สีผวิ
(Contamination) สามารถสมั ผสั จากการลบู บนสรี ถจะพบกบั ความขรุขระ ซ่งึ จะถกู กาจดั ดว้ ย OverSpray
Clay (ดินนา้ มนั ขดั ละอองสีรถ) โดยขดั ลบู ใหท้ ่วั บนตวั รถคราบสกปรกบนสีรถออกไป เม่อื สภาพสขี องรถทา่ น
จะสะอาด พรอ้ มท่ีจะขดั หรือเคลือบสีต่อไป
3.ลา้ งลอ้ เพ่ือกาจดั คราบสนิมเบรถบนลอ้
4. ลา้ งนา้ เปลา่ ท่รี ถอกี รอบเพ่อื กาจดั ความสกปรกอีกรอบ
5. ใชผ้ า้ ชามวั รว์ ซบั นา้ ใหแ้ หง้
6.เป่าลมใหท้ ่วั ทงั้ คนั รวมถงึ ซอกต่างๆ

7. ใชผ้ า้ สะอาด เช็ดตามขอบประตตู ่างๆ

8. Protection Rubber ติด กระดาษกาว (Masking Tape) ทางรา้ นใช้ Masking Tape อยา่ งดจี ากญ่ีป่นุ ซ่งึ
เม่อื ลอกแลว้ จะไม่ทิง้ คราบกาวทงิ้ ไวบ้ นสีรถ การติด Masking Tape เพ่อื ปอ้ งกนั ชนิ้ ส่วนต่างๆ ของท่ีเป็น
พลาสติกและขอบยางท่ี อาจเกิดความเสยี หายจากเครื่องขดั ได้






Click to View FlipBook Version