ใบความรูท้ ่ี ๒
เรอื่ ง คาทยี่ มื มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยูโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษาวิภัตติปัจจัย
ภาษาบาลีและสันสกฤตแพร่หลายเข้ามาในไทยเน่ืองจากการรับพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย
เพราะคาสอนทางพระพุทธศาสนาบันทึกด้วยภาษาบาลีและสันสกฤต นอกจากการรับ นับถือ
พระพุทธศาสนาแล้ว ไทยยังได้รับความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรมต่าง ๆ เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้
ภาษาบาลแี ละสนั สกฤตเขา้ มาปะปนในภาษาไทยมาจนปัจจุบนั
ลกั ษณะของคาทย่ี มื มาจากภาษาบาลี
๑. สระบาลีมี ๘ ตวั อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ แต่สระในภาษาสันสกฤตจะมี ๑๔ ตัว อะ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤา
ภ ภา เอ ไอ โอ เอา
๒. คาที่มีพยัญชนะตัวสะกดและตัวตาม
คาภาษาบาลีจะต้องมตี วั สะกด ตัวตามอยูใ่ นวรรคเดียวกนั
พยัญชนะบาลี มี ๓๓ ตวั แบง่ เป็นวรรคตา่ ง ๆ ดังน้ี
แถวที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
วรรค ก ก ขคฆง
วรรค จ จ ฉ ชฌญ
วรรค ฎ ฏ ฐ ฑฒณ
วรรค ต ต ถทธน
วรรค ป ป ผพภม
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ ° (องั )
มีหลกั สงั เกต ดงั นี้
๒.๑ พยญั ชนะตวั ท่ี ๑ ๓ ๕ เป็นตวั สะกดไดเ้ ทา่ นนั้
๒.๒ ถา้ พยัญชนะตัวที่ ๑ สะกด พยญั ชนะตวั ท่ี ๑ หรอื ๒ เป็นตัวตามได้ในวรรคเดยี วกัน เชน่ สักกะ
ทกุ ข สจั จะ ปัจฉิม สัตตะ หัตถ์ บุปผา
๒.๓ ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๓ เป็นตัวสะกด พยัญชนะตัวท่ี ๓ หรือ ๔ เป็นตัวตามได้ ในวรรคเดียวกัน
เช่น อัคคี พยัคฆ วชิ ชา อชั ฌา พุทธ คพภ (ครรภ)
๒.๔ ถ้าพยัญชนะตัวท่ี ๕ เป็นตัวสะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ รวมท้ังพยัญชนะตัว
ท่ี ๕ ดว้ ย เชน่ องก สังข องค สงฆ สัญญา สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ สมภาร
๒.๕ เศษวรรค ตวั “ย ล ส” ตามหลงั ตัวเองได้ เช่น สัมผัสส อยั ยิกา เวย̣ย ว̣ลลี
๒.๖ พยญั ชนะบาลี ตัวสะกด ตัวตามจะอย่ใู นวรรคเดยี วกันเท่านัน้ จะขา้ มไปวรรคอื่นไม่ได้
๓. คาทีม่ พี ยญั ชนะ “ฬ” มักเป็นคายืมภาษาบาลี เชน่ จุฬา กฬี า วิฬาร วิรุฬหก กกั ขฬะ กาฬ
๔. คาท่ีมีตัวสะกดตัวตามในภาษาบาลีบางคา เมื่อนามาใช้ในไทยจะตัดตัวสะกดออกเหลือแต่ตัวตาม
เช่น ไทย
บาลี ไทย บาลี ไทย
รฏั ฐ รัฐ อัฏฐิ อฐั ิ
วฑั ฒน วฒั น เขตต เขต
ทิฏฐิ ทิฐิ ปญุ ญ บุญ
กจิ จ กจิ นิสสิต นสิ ิต
วิชชา วชิ า นิสสัย นิสยั
ยกเว้นคาโบราณท่ีนามาใช้แล้วจะไม่เปล่ียนแปลงหรือตัดรูปคาออก เช่น ศัพททางศาสนา ได้แก่
วปิ สั สนา จิตตวิสุทธิ์
๕. อักษรบางตัวไม่นิยมใช้ในภาษาไทย แต่พบมากในคาบาลีในไทย เช่น ฆ ณ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
เชน่ พยัคฆ ฆราวาส ฌาน อชั ฌาสยั ปรากฎ รฐั อฐั ิ วุฒิ ญาณ วญิ ญาณ
๖. คาที่มี “ปฏิ" อยู่ข้างหน้ามักจะเป็นภาษาบาลี เช่น ปฏิบัติ ปฏิวัติ ปฏิรูป ปฏิสนธิ ปฏิภาณ ปฏิมา
ยกเวน้ บางคาที่ไม่ใชภ่ าษาบาลแี ตเ่ ปน็ การบัญญัติศัพทของผรู้ ู้ เชน่ ปฎิคม ปฏิชีวนะ ปฏญิ าณ
ตวั อยา่ งคาภาษาบาลีท่ีนามาใช้ในภาษาไทย
กีฬา กัญญา กิจ ขัตติยะ ขันธ บุคคล อวิชชา เมตตา บัลลังก กาฬ นิพพาน อักขระ ญาณ
วิญญาณ บุญ ดุริยางค ดิรัจฉาน ตัณหา ปัจฉิม มนต เวช สัจจะ สิกขา อัคคี ทิฐ มัชฌิม บุปผา
อัพภาส มัจฉา อปุ ัฏฐาก วัตถุ วิตถาร กัณหา พิมพ
ลกั ษณะของคาทยี่ ืมมาจากภาษาสันสกฤต
๑. พยัญชนะสันสกฤตมี ๓๕ ตัว เหมือนกับพยัญชนะบาลี แต่เพิ่ม “ศ ษ” อีก ๒ ตัว
ฉะน้ันคาทม่ี ี “ศ ษ” สว่ นใหญ่ท่ีนามาใชใ้ นไทยจึงเปน็ คายมื ภาษาสันสกฤต
ยกเว้นคาไทยบางคา เช่น ศอก ศกึ เศิก เศร้า
คาภาษาสันสกฤตในไทย เชน่ ศาลา ศีรษะ ศาสตร ศูนย ศิลา บุษบา บริษัท พษิ พรรษา
๒. สระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา มีในภาษาสันสกฤต ไม่มีในภาษาบาลี เช่น พฤกษ ฤกษ ฤทธิ์ ทฤษฎี ฤาษี
ไอศวรรย เสาร
๓. ภาษาสนั สกฤตไมม่ หี ลกั การสะกดที่แน่นอนอย่างภาษาบาลี พยัญชนะใดสะกดพยญั ชนะใดจะเป็นตัว
ตามกไ็ ด้ หรือไม่มีตวั ตามกไ็ ด้ หรอื ตวั สะกดตัวตามจะข้ามวรรคกนั กไ็ ด้ เช่น อักษร ปรัชญา อัปสร เกษตร
๔. คาที่มี “รร” อยู่ จะเปน็ คามาจากภาษาสันสกฤต เช่น สวรรค ธรรม กรรม บรรพต ภรรยา ทรรศนะ
สรรพ บรรณารักษ ยกเว้นคาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร เช่น บรรทัด บรรทุก กรรไกร กรรแสง สรรเสริญ
หรือคาไทย กรรเชียง (กระเชียง) กรรโชก (กระโชก) บรรดา (ประดา)
๕. คาที่มีตัว ร ควบกับพยัญชนะอ่ืน และใช้เป็นตัวสะกด เป็น คาท่ีมาจากภาษาสันสกฤต
เชน่ จักร มารค อคั ร บุตร ศาสตร จันทร
๖. คาท่ีมีพยัญชนะ “ฑ” มักเป็นคาภาษาสันสกฤต เช่น ครุฑ กรีฑา จุฑา จุฑามณี จุฑามาศ จุฑารัตน
ยกเวน้ คาวา่ บัณฑิต มณฑล มณฑป จณั ฑาล เปน็ ไดท้ ั้งภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
ข้อแตกตา่ งระหวา่ งคาภาษาบาลแี ละสนั สกฤตกบั ภาษาไทย
ภาษาบาลแี ละสันสกฤต ภาษาไทย
๑. คาส่วนใหญ่มีหลายพยางคเม่ือนามาใช้ในไทย ๑. ภาษาไทยเป็นคาโดด คาส่วนใหญ่มี ๑-๓ พยางค
ต้องแปลอีกครั้งหนึ่งจึงจะเข้าใจ เช่น บิดา (พ่อ) ไม่ตอ้ งแปลก็สามารถเข้าใจได้ทนั ที เช่น พอ่ แม่ ช้าง
มารดา (แม่) ไอยรา (ช้าง) อัคคี (ไฟ) ไฟ
๒. มโี ครงสร้างประโยคเรยี งกัน คือ ๒. มโี ครงสรา้ งประโยค คอื
ประธาน + กรรม + กริยา เชน่ ฉันขา้ วกิน ประธาน + กรยิ า + กรรม เช่น ฉันกนิ ข้าว
๓. ไม่มีหน่วยเสียงวรรณยุกต เช่น กรุณา เมตตา ๓. มหี นว่ ยเสยี งวรรณยกุ ต เช่น ปา ปา่ ปา้ ป๊า ป๋า
กรีฑา จุฬา
๔. มีตัวการันตเม่ือไทยนาคาสันสกฤตมาใช้มักจะ ๔. ไมม่ ตี ัวการนั ต เชน่ พิม สนั ลกั
ปรับให้เข้ากับระบบเสียงภาษาไทย โดยลดจานวน
พยางคลงเพื่อให้ออกเสียงสะดวก เช่น พิมพ สรรค
ลักษมณ
๕. มีตัว สะกดตัว ตามในว รรคเดียว กันห รื อ ๕. มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เช่น กัน ขัน วัน จัน
ต่างวรรคกนั เชน่ อจั ฉรา อปั สร วรรณ กรรณ จันทร อัด อับ
๖. ไม่ใช้ไม้ไต่คู่แม้ว่าคาน้ันจะมีเสียงสั้น เช่น เบญจ ๖. ใช้ไม้ไต่คู่กับคาที่ประสมสระเสียงส้ัน เมื่อมี
เพชร อเนจอนาถ ตวั สะกด เช่น เหน็ แข็ง เกร็ด
แบบฝกึ หัดท่ี ๒.๑
เรื่อง คาที่ยมื มาจากภาษาบาลี-สนั สกฤต
คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามเกี่ยวกบั คาทย่ี ืมมาจากภาษาบาลี-สนั สกฤตต่อไปนี้ให้ถูกตอ้ ง
๑. ใหน้ กั เรียนเขียนพยญั ชนะวรรคบาลใี นตารางใหถ้ ูกต้อง
แถวที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
วรรค ก
วรรค จ
วรรค ฎ
วรรค ต
วรรค ป
เศษวรรค
๒. จงอธบิ ายลักษณะของภาษาบาลีมาพอสังเขป พรอ้ มยกตัวอยา่ งคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
๓. จงอธบิ ายลกั ษณะของภาษาบาลมี าพอสงั เขป พร้อมยกตัวอยา่ งคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….....
แบบฝึกหดั ที่ ๒.๒
เรอื่ ง คาท่ียมื มาจากภาษาบาลี-สนั สกฤต
คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นจาแนกคาทยี่ ืมมาจากภาษาบาลี-สนั สกฤตที่กาหนดใหต้ ่อไปนี้ใหถ้ ูกตอ้ ง
กฬี า ศีรษะ กญั ญา บริษัท ขัตติยะ
บุคคล อวชิ ชา เมตตา บัลลงั ก นพิ พาน
บปุ ผา วญิ ญาณ ศนู ย ศลิ า ตัณหา
สจั จะ ธรรม สกิ ขา ภรรยา ทรรศนะ
บรรพต มจั ฉา กัณหา ศาสตร บุษบา
คาภาษาบาลี คาภาษาสนั สกฤต
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
………………………………………………………...………… ………………………………………………………...…………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………. …………………………………………………………………….
แบบทดสอบ
เร่ือง คาทีย่ มื มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องแลว้ ทาวงกลมลอ้ มรอบข้อทีถ่ ูกต้องทีส่ ุดเพียงขอ้ เดยี ว
๑. ภาษาบาลีและสันสกฤตแพร่หลายเข้ามาในไทย ๒. พยัญชนะบาลมี ีทง้ั หมดกีต่ ัว
เน่ืองจากสาเหตใุ ด ก. ๓๑ ตวั
ก. การทตู ข. ๓๒ ตวั
ข. ศาสนา ค. ๓๓ ตวั
ค. ค้าขาย ง. ๓๔ ตวั
ง. วรรณคดแี ละวรรณกรรม
๓. พยัญชนะสนั สกฤตที่เพมิ่ จากบาลคี ือข้อใด ๔. ข้อใดต่อไปน้ีเป็นคาภาษาบาลี
ก. ศ ส ก. พษิ
ข. ศ ษ ข. ศนู ย
ค. ส ษ ค. ศาลา
ง. ไมม่ ีข้อใดถูก ง. นิพพาน
๕. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีเปน็ คาภาษาสนั สกฤต
ก. บปุ ผา
ข. เมตตา
ค. อักษร
ง. ปัญญา
ตัง้ ใจทากันนะคะเด็ก ๆ
ขอให้โชคดคี ะ่