The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหลักพื้นฐานภาค1.62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasana, 2019-10-24 03:54:45

แผนหลักพื้นฐานม.5เทอม1

แผนหลักพื้นฐานภาค1.62

0

แผนหลักเพื่อการจดั การเรียนรู้
รายวิชา คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวชิ า ค 32101

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5

จดั ทาโดย
นางวาสนา จันเสรมิ

ตาแหนง่ ครู

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

โรงเรยี นพุทไธสง
อาเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บุรรี ัมย์
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

1

บันทกึ ข้อความ

ส่วนราชการ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นพุทไธสง สพม. 32
ที่ วันท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
เรือ่ ง ส่งแผนหลกั เพื่อการจัดการเรียนรู้

เรียน ผ้อู านวยการโรงเรียนพทุ ไธสง

ตามท่ีโรงเรียนพุทไธสง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ได้มีนโยบายให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาจัดทาแผนหลักเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกาหนดทิศ
ทางการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ ดังนั้น เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายข้างต้น ข้าพเจ้าได้จัดทาแผนหลักเพ่ือการจัดการเรียนร้ใู นรายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ค32101
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 เรียบร้อยแลว้ จงึ ขอสง่ แผนหลักเพื่อการจัดการเรยี นรู้เสนอต่อฝา่ ยบรหิ ารรายละเอียดตามเอกสารน้ี

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

ลงช่ือ................................................
(นางวาสนา จนั เสริม)
ตาแหน่ง ครู

2

ความเหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
.......................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................

ลงช่ือ................................................
(นางสาวคาพนั ธ์ ดาพัวพนั ธ์ุ)

หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ความเหน็ ของรองผ้อู านวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ
........................................................................................................................................................................ ..............................................................................................................................

ลงชอื่ ................................................
(นายชาญ สวิ่ ไธสง)

รองผอู้ านวยการฝ่ายบริหารงานวชิ าการ
ความเหน็ ของผู้อานวยการ
...................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ................................................
(นายประชยั พรสง่ากลุ )

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นพุทไธสง

3

จุดหมายหลกั สตู ร (Goals)

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ ป็นคนดี มปี ญั ญา มีความสุข มศี กั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจดุ หมายเพื่อให้เกิดกบั
ผ้เู รียน เมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั นี้

1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มวี ินยั และปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ยึดหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ขุ นิสัย รกั การออกกาลังกาย
4. มคี วามรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวถิ ชี ีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
5. มีจติ สานึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย และการอนุรกั ษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม มจี ติ สาธารณะทมี่ ุ่งทาประโยชน์และสรา้ งส่ิงที่ดีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั
ในสงั คมอยา่ งมีความสขุ

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Desired Characteristics)
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอื่ ให้สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะ
เปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ (Love of nation, religion and the King)
2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ (Honesty and integrity)
3. มวี นิ ยั (Self-discipline)
4. ใฝเ่ รียนรู้ (Avidity for learning)
5. อยู่อยา่ งพอเพียง (Observance principles of Sufficiency Economy Philosophy in one’s of life)
6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน (Dedication and commitment to work)
7. รักความเปน็ ไทย (Cherishing Thai nationalism)
8. มจี ติ สาธารณะ (Public - mindedness)

4

คุณภาพผเู้ รยี น (Learners Quality) เม่ือเรียนจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ (Learning Areas Of Mathematics)
1. เข้าใจและใชค้ วามร้เู กย่ี วกับเซตและตรรกศาสตรเ์ บ้ืองต้น ในการสื่อสาร และสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์
2. เข้าใจและใช้หลกั การนับเบ้ืองตน้ การเรยี งสบั เปล่ยี น และการจดั หมู่ ในการแก้ปัญหาและนาความรูเ้ กี่ยวกับความน่าจะเปน็ ไปใช้
3. นาความรูเ้ ก่ียวกับเลขยกกาลัง ฟงั ก์ชัน ลาดับและอนุกรม ไปใช้ในการแก้ปัญหา รวมทง้ั ปัญหาเก่ียวกับดอกเบี้ยและมูลคา่ ของเงนิ
4. เขา้ ใจและใช้ความรู้ทางสถิตใิ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู นาเสนอข้อมูล และแปลความหมายข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ

5

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน (Learners’ key Competencies)

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซง่ึ การพัฒนาผ้เู รียนให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นร้ทู ่ีกาหนดนั้น จะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกดิ
สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร (Communication Capacity) เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ
ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ
ขัดแยง้ ต่างๆ การเลอื กรับหรือไม่รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารน้นั ดว้ ยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี ารส่ือสารทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มีตอ่ ตนและสังคม

2. ความสามารถในการคิด (Thinking Capacity) เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการคิดเปน็ ระบบ เพ่ือนาไปสู่การ
สรา้ งองค์ความร้หู รือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา (Problem – solving capacity) เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ท่เี ผชิญได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลัก
เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา และมี
การตัดสนิ ใจ ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่เี กิดข้นึ ตอ่ ตนเอง สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ (Capacity for Applying Life skills) เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆไปใชใ้ นการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง
การเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง การทางานและการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสรา้ งเสริมความสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งบคุ คล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ตา่ งๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว
ใหท้ นั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี (Capacity for Technological Application) เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีด้านต่างๆและมที ักษะกระบวนการเทคโนโลยี
เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สาร การทางาน การแกป้ ัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 6 สาระการเรียนรพู้ ืน้ ฐาน
รายวิชา คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน จานวน 1.0 หน่วยกิต
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 คาอธิบายรายวิชา เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง

รหัสวชิ า ค32101
ภาคเรียนท่ี 1

ศึกษา จานวนและพีชคณิต เกย่ี วกับ เลขยกกาลังจานวนจริงในรูปกรณฑจ์ านวนจริงในรูปเลขยกกาลังทีม่ เี ลขช้ีกาลังเปน็ จานวนตรรกยะฟงั ก์ชันและกราฟของฟังกช์ ันไดแ้ ก่ฟังก์ชัน
เชิงเสน้ ฟังก์ชนั กาลังสอง ฟงั ก์ชนั ขั้นบนั ได ฟังกช์ ันเอกซ์โพเนนเชยี ล และใชน้ ิพจน์ สมการและอสมการ อธบิ ายความสมั พันธ์

โดยใชก้ ระบวนการ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพื่อฝึกทักษะ เกี่ยวกับการใช้สมบัติการบวก การคูณ การเท่ากนั และการไม่เทา่ กันของจานวนจรงิ การนาไปใช้
แก้ปัญหา การวเิ คราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั กช์ นั ใชฟ้ ังก์ชนั และกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณท์ ี่กาหนดให้

เพื่อใหเ้ กิด ความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เกดิ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการ
แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ม.5/1
ค 1.2 ม.5/1

จานวน 2 ตัวชวี้ ดั

7

ตารางที่ 1 ตารางวเิ คราะห์มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั หรือผลการเรยี นรู้กบั พทุ ธพิ สิ ัย ทกั ษะพสิ ัยและจติ พิสัย
รายวชิ าคณิตศาสตร์พื้นฐาน3 รหสั วิชา ค 32101 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจาานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการ และ

นาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ฟงั ก์ชัน ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช้

มาตรฐาน (Standard) และตัวชว้ี ัด(Indicator) คาสาคัญ พุทธพิ สิ ยั Cognitive Domain)/ ทกั ษะพิสัย จติ พิสัย
(Key ความร้/ู มติ ิของกระบวนการทางสติปัญญา(Cognitive Processes Dimensions) (Psychomotor (Effective
Word) ตามแนวคิดของบลูมฉบับปรับปรุงใหม่(Revised Bloom’s Taxonomy) Domain) Domain)

การจา การเข้าใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การสร้างสรรค์ ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นคุณลกั ษณะ
(Remembering) (Understanding) (Applying) (Analyzing) (Evaluating ) (Creating) (Process skill)/ (Attribute)

 สมรรถนะ
(Competencies)

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจความหมายและใชส้ มบตั ิ - เขา้ ใจ

เกี่ยวกบั การบวก การคูณการเท่ากนั และการไม่ - ใช้ 

เทา่ กันของจานวนจริงในรูปกรณฑ์ และจานวนจรงิ

ในรปู เลขยกกาลงั ทม่ี ีเลขชี้กาลังเป็นจานวน

ตรรกยะ

ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟังกช์ นั และกราฟของฟังกช์ นั อธิบาย - ใช้ 

สถานการณ์ท่ีกาหนด - อธิบาย

8

ตารางท่ี 2 ตารางวิเคราะหค์ วามเช่ือมโยงของมาตรฐานและตัวชี้วดั หรือผลการเรียนรู้กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้
รายวชิ า (Course )คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวชิ า(Courses Code) ค 32101

คาสาคญั พฤติกรรมการการเรยี นรู้ (ข้อความใน Colum K /P/C/A ใหค้ ัดลอกไปใส่ตารางท่ี 4)
(Key
ตัวชว้ี ดั (Indicator) Word) สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ด้านความรู้ ดา้ นทกั ษะ ดา้ นสมรรถนะ ดา้ นคุณลกั ษณะฯ
(Core Content)
(Knowledge) (K) กระบวนการ (Competencies) (Attribute) ( A)

(Process) (P) (C)

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ - เข้าใจ เลขยกกาลงั 1. หารากที่ n ของจานวนจรงิ 1. หารากท่ี n ของ 1.ความสามารถใน 1.ซ่ือสัตย์สจุ รติ

ความหมายและใชส้ มบัติ - ใช้ 1.รากที่ n ของจานวนจรงิ เมอ่ื n เปน็ จานวนนับท่ี จานวนจรงิ เมือ่ n การสอ่ื สาร 2. มีวินยั

เกี่ยวกบั การบวก การคูณ เมือ่ n เป็นจานวนนับท่ี มากกว่า 1 ได้ เป็นจานวนนบั ท่ี 2.ความสามารถใน 3. ใฝ่เรียนรู้
มากกว่า 1
การเทา่ กัน และการไม่ 2. เลขยกกาลังที่มเี ลขชกี้ าลัง 2. ใช้ความร้เู กย่ี วกับจานวนจริง มากกวา่ 1 ได้ การคิด 4. ม่งุ มน่ั ในการ
เป็นจานวนตรรกยะ
เทา่ กันของจานวนจรงิ ในรปู ทอ่ี ยู่ในรปู กรณฑ์ในการ 2. ใช้ความรู้เก่ยี วกับ 3. ความสามารถใน ทางาน
แก้ปัญหา
กรณฑ์ และจานวนจรงิ ในรูป จานวนจริงที่อยู่ในรปู การแกป้ ัญหา 5. มีจติ สาธารณะ

เลขยกกาลงั ที่มเี ลขชีก้ าลัง 3. ใช้ความรู้เกย่ี วกบั เลขยกกาลงั กรณฑ์ในการ

เป็นจานวน ทมี่ ีเลขช้กี าลงั เปน็ จานวนตรรก แก้ปญั หา

ตรรกยะ ยะในการแกป้ ัญหา 3. ใช้ความรู้เก่ยี วกับ

เลขยกกาลงั ทม่ี ีเลขชี้

กาลังเป็นจานวน

ตรรกยะในการ

แกป้ ัญหา

9

ตารางที่ 2 ตารางวเิ คราะห์ความเช่ือมโยงของมาตรฐานและตวั ชี้วดั หรือผลการเรยี นรู้กบั พฤตกิ รรมการเรยี นรู้
รายวิชา (Course )คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน รหสั วชิ า(Courses Code) ค 32101

พฤติกรรมการการเรียนรู้ (ข้อความใน Colum K /P/C/A ใหค้ ดั ลอกไปใสต่ ารางท่ี 4)

ตัวชวี้ ัด(Indicator) คาสาคัญ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ ด้านสมรรถนะ ดา้ นคณุ ลกั ษณะฯ
(Key Word) (Core Content)
(Knowledge) ( K) กระบวนการ (Competencies) (Attribute) ( A)
ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟังกช์ ัน - ใช้ ฟงั ก์ชนั
และกราฟของฟังกช์ นั - อธิบาย ฟังกช์ นั และกราฟของฟังกช์ ัน (Process) (P) (C)
อธบิ าย สถานการณ์ที่ (ฟงั กช์ ันเชงิ เสน้ ฟังกช์ ันกาาลัง
กาหนด สอง ฟงั ก์ชันข้นั บนั ได ฟงั ก์ชัน 1. หาโดเมนและเรนจ์ 1. หาโดเมน 1. ความสามารถ 1.ซ่ือสัตย์สุจรติ
เอกซ์โพเนนเชียล)
และเขยี นกราฟของฟงั กช์ นั ได้ และเรนจ์ และ ในการคิด 2. มวี นิ ยั

2. ใชค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั เขยี นกราฟของ 2. ความสามารถ 3. ใฝ่เรียนรู้

ฟังก์ชนั ในการแก้ปญั หาได้ ฟงั ก์ชันได้ ในการแกป้ ญั หา 4. มุง่ มัน่ ในการ

2. ใช้ความรู้ ทางาน

เกย่ี วกบั ฟังก์ชนั 5. มีจติ สาธารณะ

ในการแกป้ ัญหาได้

10

ตารางท่ี 3 กาหนดหนว่ ยการเรียนรู้ (Unit)
รายวชิ า (Course )คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหสั วชิ า(Courses Code)ค 32101

ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ ตัวชีว้ ดั (Indicator) สาระการเรียนรู้ (Content) จานวน
(Unit ) ชัว่ โมง
เลขยกกาลัง
เลขยกกาลัง ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจความหมายและใช้ 20
1.รากท่ี n ของจานวนจริง เมื่อ n เปน็ จานวนนบั ท่ีมากกวา่ 1
สมบตั ิเกี่ยวกับ การบวก การคูณการ 20
2. เลขยกกาลงั ท่ีมีเลขชก้ี าลังเป็นจานวนตรรกยะ
เท่ากัน และการไม่เท่ากนั ของจานวนจรงิ
ฟงั ก์ชัน
ในรปู กรณฑ์ และจานวนจรงิ ในรปู เลขยก ฟังก์ชนั และกราฟของฟงั กช์ นั (ฟงั กช์ ันเชงิ เส้น ฟังกช์ ันกาาลังสอง ฟงั ก์ชนั ข้ันบันได
ฟงั กช์ นั เอกซโ์ พเนนเชยี ล)
กาลัง ทม่ี ีเลขช้ีกาลงั เป็นจานวน

ตรรกยะ

ฟงั ก์ชนั ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั กช์ ันและกราฟของ

ฟังก์ชนั อธบิ าย สถานการณ์ท่ีกาหนด

11

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร(ู้ LearningAssessment Plan)

รายวชิ าคณติ ศาสตร์พื้นฐาน3รหสั วิชา ค32101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

หลกั ฐานการเรียนร(ู้ Evidence of learning)และวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้(LearningAssessment

หน่วย ตัวชีว้ ดั (Indicator) คาสาคญั พฤตกิ รรมการเรียนรู้ แนวทางการวัด ประเมนิ ผลและ เครือ่ งมือการวดั และ
ท่ี (Key (คัดลอกมาจากตาราง 2) หลักฐานการเรียนร(ู้ ขอ้ ความใน Colum ประเมนิ ผล
Word)
น้ใี ห้คัดลอกไปใสต่ ารางท่ี9)
- เขา้ ใจ
1. เ ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ - ใช้ ด้านความรู้( K) 1. ใหผ้ ้เู รยี น ปฏิบัติดงั นี้ 1. แบบฝกึ ทักษะ
ลความหมายและใช้สมบัติ 1.1 หารากท่ี n ของจานวนจริง เม่อื n 2. แบบทดสอบ
ขเก่ยี วกบั การบวก การคณู 1. หารากท่ี n ของจานวนจรงิ เมือ่ n เป็น เปน็ จานวนนับท่มี ากกว่า 1 ได้ 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
ยการเท่ากัน และการไม่เท่ากนั จานวนนับที่มากกว่า 1 ได้ 1.2. ใช้ความรูเ้ กี่ยวกับจานวนจรงิ ทอ่ี ยูใ่ นรปู
กของจานวนจรงิ ในรปู กรณฑ์ 2. ใชค้ วามร้เู ก่ียวกบั จานวนจรงิ ที่อยูใ่ นรปู กรณฑ์ กรณฑ์ในการแกป้ ัญหา
กาและจานวนจริงในรปู เลขยก ในการแก้ปัญหา 1.3. ใชค้ วามรเู้ ก่ียวกับเลขยกกาลงั ท่มี เี ลขชี้
ลักาลงั ทีม่ ีเลขช้ีกาลังเป็น 3. ใช้ความรู้เกี่ยวกบั เลขยกกาลงั ทมี่ เี ลขชกี้ าลัง กาลงั เป็นจานวนตรรกยะในการแกป้ ัญหา
ง จานวน เปน็ จานวนตรรกยะในการแก้ปัญหา
ตรรกยะ 2. สอบ
ด้านทกั ษะกระบวนการ(P) 3. สงั เกตพฤติกรรม

1. หารากท่ี n ของจานวนจรงิ เมอ่ื n เป็น
จานวนนับทม่ี ากกวา่ 1 ได้
2. ใชค้ วามรูเ้ กย่ี วกบั จานวนจริงทอี่ ยใู่ นรูปกรณฑ์
ในการแกป้ ญั หา
3. ใชค้ วามรเู้ กีย่ วกบั เลขยกกาลงั ทม่ี ีเลขช้ีกาลงั
เปน็ จานวนตรรกยะในการแก้ปัญหา

ดา้ นสมรรถนะ (C)

1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

12

ตารางท่ี 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนร(ู้ LearningAssessment Plan)

รายวชิ าคณิตศาสตร์พื้นฐาน3 รหสั วิชา ค32101 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5

หลักฐานการเรียนร้(ู Evidence of learning)และวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้(LearningAssessment

หน่วย ตวั ชว้ี ัด(Indicator) คาสาคญั พฤติกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวดั ประเมินผลและ เครื่องมือการวัดและ
ที่ (Key (คัดลอกมาจากตาราง 2) หลกั ฐานการเรียนร(ู้ ขอ้ ความใน Colum ประเมินผล
Word)
นีใ้ ห้คดั ลอกไปใส่ตารางท่ี9)
- ใช้
- อธิบาย ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค(์ A)

1.ซื่อสตั ยส์ จุ ริต

2. มวี นิ ัย

3. ใฝเ่ รยี นรู้

4. มงุ่ ม่ันในการทางาน

2 ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั ก์ชันและ 5. มีจิตสาธารณะ 1. ให้ผเู้ รียน ปฏบิ ัติดงั น้ี 1. แบบฝึกทักษะ

กราฟของฟังก์ชนั อธิบาย ดา้ นความร(ู้ K)

สถานการณท์ ่ีกาหนด 1. หาโดเมนและเรนจแ์ ละเขียนกราฟของ 1.1 หาโดเมนและเรนจ์และเขียนกราฟของ 2. แบบทดสอบ
ฟังกช์ นั ได้ ฟงั กช์ ันได้ 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
1.2 ใช้ความร้เู กยี่ วกับฟงั ก์ชันในการ
2. ใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั ฟังกช์ ันในการ แกป้ ญั หาได้

แกป้ ัญหาได้ 2. สอบ
3. สงั เกตพฤตกิ รรม
ดา้ นทักษะกระบวนการ(P)

1. หาโดเมนและเรนจแ์ ละเขียนกราฟของ

ฟงั ก์ชันได้

2. ใชค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั ฟังก์ชันในการ

แก้ปัญหาได้

13

ตารางที่ 4 การออกแบบ/การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรยี นร(ู้ LearningAssessment Plan)

รายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน3 รหัสวิชา ค32101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

หลักฐานการเรียนรู้(Evidence of learning)และวธิ ีการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้(LearningAssessment

หนว่ ย ตัวช้วี ดั (Indicator) คาสาคัญ พฤติกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวดั ประเมนิ ผลและ เครื่องมือการวดั และ
ที่ (Key (คดั ลอกมาจากตาราง 2) หลกั ฐานการเรียนร(ู้ ขอ้ ความใน Colum ประเมินผล
Word)
นใี้ ห้คดั ลอกไปใส่ตารางท่ี9)

ดา้ นสมรรถนะ (C)

1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา

ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค(์ A)

1.ซื่อสตั ย์สจุ รติ

2. มีวินัย

3. ใฝเ่ รียนรู้

4. มุ่งมน่ั ในการทางาน

5. มจี ติ สาธารณะ

14

ตารางท่ี 5 ตารางกาหนดนา้ หนกั คะแนนการวดั และประเมนิ ผลรวมแยกตามแบ่งคะแนนตามพิสยั และช่วงเวลาการประเมนิ

รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน3 รหสั วชิ า ค32101 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5

คะแนนตามช่วงเวลาการวดั และประเมินผล

หน่วยที่ รหัสตวั ชว้ี ัด/ตวั ชีว้ ัด นา้ หนกั คะแนน ระหวา่ งเรยี น กลางภาค รวม
คะแนน ตามพสิ ัย ปลายภาค

KPAcKPAcKK

1 ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจความหมายและใชส้ มบตั เิ กีย่ วกับ การบวก การ

คูณการเท่ากัน และการไม่เท่ากนั ของจานวนจรงิ ในรูปกรณฑ์ และ 55 40 5 5 5 10 5 5 5 20 10 55
จานวนจริงในรปู เลขยกกาลัง ทมี่ ีเลขช้ีกาลงั เปน็ จานวน

ตรรกยะ

2 ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั ก์ชนั และกราฟของฟังก์ชันอธิบาย สถานการณ์ที่ 45 30 5 5 5 10 5 5 5 - 20 45

กาหนด

คะแนนรวม 100 70 10 10 10 20 10 10 10 20 30 100
50

หมายเหตุ การวัดและประเมินผลแบ่งออกเป็น 2 สว่ นคอื วัดและประเมินผลเพือ่ พฒั นาผเู้ รียนเปน็ การประเมนิ ผลย่อย((Formative Assessment)(F)และวดั
และประเมนิ ผลเพ่ือสรปุ ผลการเรียนรู้(Summative Assessment)(S) โรงเรียนเราแบง่ เป็น 2 คร้งั คือกลางภาค(S1)และปลายภาค(S2)

15

ตารางท่ี 6 โครงสรา้ งข้อสอบระหว่างเรียน (Evaluation and study)(S1)
รายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน3 รหสั วิชา ค32101 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5

จานวนขอ้ สอบจาแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา จานวนขอ้ สอบ

หนว่ ย รหัสตัวชว้ี ัด/ คาสาคัญ คะแนน ด้านความรแู้ ละดา้ นทักษะกระบวนการคิด(K) รวม จาแนกตามรูปแบบข้อสอบ
ที่ ผลการเรียนรู้ (Key Word) ระหวา่ ง รวม
เรยี น จานวน

จา เขา้ ใจ ประยุกต์ใช้ วิเคราะห์ ประเมินค่า สรา้ งสรรค์ ขอ้ สอบ MC
MS
CM
Rr
rr
er

1 ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ - เข้าใจ

ความหมายและใช้สมบัติ - ใช้

เก่ยี วกับ การบวก การคณู

การเทา่ กนั และการไม่

เท่ากันของจานวนจรงิ ในรปู 25 10 14 1 -- - 25 13 - - - 10 2 25

กรณฑ์ และจานวนจริงใน 25 10 14 1 -- - 25 13 - - - 10 2 25
50 20 20 10 -- - 50 26 - - - 20 4 50
รูปเลขยกกาลัง ท่ีมีเลขช้ี

กาลังเป็นจานวน

ตรรกยะ

2 ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั กช์ นั และ - ใช้

กราฟของฟังกช์ ันอธิบาย - อธบิ าย

สถานการณท์ ี่กาหนด

รวม

หมายเหตุตัวชี้วดั ใดจะออกข้อสอบ วดั จา /ใจ/ใช/้ วิ/ประ/สรา้ ง ให้ดู ผลการวิเคราะหเ์ ช่ือมโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดดว้ ยขอ้ สอบแบบใด
(MC=แบบคาตอบเดียว/MS=แบบหลายคาตอบ/ CM=แบบเชิงซ้อน/Rr=แบบกลุ่มคาสัมพันธ/์ rr=แบบจากัดคาตอบ/er=แบบขยายคาตอบหรือไม่จากัดคาตอบ)
แบบละกข่ี ้อในแตล่ ะตัวชวี้ ัดหรอื ผลการเรียนรู้

16

ตารางที่ 7 โครงสร้างข้อสอบกลางภาค(Mid-term evaluation)(S2)
รายวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน3รหสั วิชา ค32101 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5

จานวนข้อสอบจาแนกตามกระบวนการทางสติปญั ญา จานวนขอ้ สอบ

หน่วย รหสั ตวั ชี้วัด/ คาสาคญั คะแนน ดา้ นความรู้และด้านทักษะกระบวนการคิด(K) รวม จาแนกตามรูปแบบข้อสอบ
ที่ ผลการเรยี นรู้ (Key Word) กลาง จานวน รวม
ภาค
จา เขา้ ใจ ประยกุ ตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินคา่ สรา้ งสรรค์ ข้อสอบ MC
MS
CM
Rr
rr
er

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ - เขา้ ใจ

ความหมายและใช้สมบตั ิ - ใช้

เกยี่ วกบั การบวก การคูณ

การเท่ากัน และการไม่ 20 10 28 2 -- - - 40 28 - - - 12 - 40
1 เทา่ กันของจานวนจรงิ ในรูป
-- - - ----- - -
กรณฑ์ และจานวนจริงใน -- - 40 28 - - - 12 - 40

รปู เลขยกกาลัง ท่ีมีเลขชี้

กาลงั เป็นจานวน

ตรรกยะ

ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟังก์ชนั และ - ใช้

2 กราฟของฟังก์ชนั อธิบาย - อธิบาย - -- -
20 10 28 2
สถานการณ์ท่ีกาหนด

รวมคะแนนและจานวนขอ้ สอบ

หมายเหตุตัวช้ีวัดใดจะออกข้อสอบ วดั จา /ใจ/ใช/้ ว/ิ ประ/สรา้ ง ให้ดู ผลการวเิ คราะห์เชื่อมโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดด้วยข้อสอบแบบใด
(MC=แบบคาตอบเดยี ว/MS=แบบหลายคาตอบ/ CM=แบบเชงิ ซอ้ น/Rr=แบบกลุ่มคาสัมพันธ/์ rr=แบบจากัดคาตอบ/er=แบบขยายคาตอบหรือไม่จากัดคาตอบ)แบบละกีข่ ้อใน
แตล่ ะตวั ช้ีวดั หรอื ผลการเรียนรู้

17

ตารางท่ี 8 โครงสร้างข้อสอบปลายภาค(Summative Assessment)(S3)
รายวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน3 รหสั วิชา ค32101 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5

จานวนขอ้ สอบจาแนกตามกระบวนการทางสติปัญญา จานวนข้อสอบ

หน่วย รหัสตัวชว้ี ดั / คาสาคัญ คะแนน ดา้ นความร้แู ละด้านทักษะกระบวนการคิด(K) รวม จาแนกตามรปู แบบข้อสอบ
ท่ี ผลการเรียนรู้ (Key Word) ปลาย จานวน รวม
ภาค
จา เข้าใจ ประยุกตใ์ ช้ วิเคราะห์ ประเมินคา่ สร้างสรรค์ ข้อสอบ MC
MS
CM
Rr
rr
er

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ - เขา้ ใจ

ความหมายและใช้สมบัติ - ใช้

เกีย่ วกับ การบวก การคณู

การเทา่ กัน และการไม่

1 เท่ากันของจานวนจริงในรปู 10 5 13 1 -- - 19 10 - - - 8 1 19

กรณฑ์ และจานวนจริงใน -- - 33 30 - - - 2 1 33
-- - 52 40 - - - 10 2 52
รปู เลขยกกาลงั ท่ีมีเลขช้ี

กาลังเปน็ จานวน

ตรรกยะ

ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั ก์ชนั และ - ใช้

2 กราฟของฟังกช์ นั อธิบาย - อธบิ าย 20 10 22 1
30 15 35 2
สถานการณ์ท่ีกาหนด

รวมคะแนนและจานวนข้อสอบ

หมายเหตุตัวช้วี ัดใดจะออกขอ้ สอบ วัด จา /ใจ/ใช้/ว/ิ ประ/สรา้ ง ให้ดู ผลการวเิ คราะห์เชอ่ื มโยงของตาราง 1 ตาราง 4 และตาราง 5 และจะวัดด้วยข้อสอบแบบใด
(MC=แบบคาตอบเดยี ว/MS=แบบหลายคาตอบ/ CM=แบบเชงิ ซ้อน/Rr=แบบกลมุ่ คาสัมพนั ธ/์ rr=แบบจากัดคาตอบ/er=แบบขยายคาตอบหรือไมจ่ ากัดคาตอบ)แบบละกีข่ ้อในแต่ละ
ตวั ชี้วดั หรือผลการเรยี นรู้

18

ตารางท่ี 9 การออกแบบ/การวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (Learning Management Plan)

รายวิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน รหสั วิชา ค32101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5

แผนท่ี ชื่อหนว่ ย ตวั ชี้วดั (Indicator) แนวทางการประเมนิ ผล คาสาคญั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื /นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ และ (Key และ แนวทางการกิจกรรม ทรพั ยากร ช่วั โมง
เลขยกกาลัง Word)
หลกั ฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ 4
(คดั ลอกมาจากตาราง 4)

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ 1. ใหผ้ เู้ รยี น ปฏบิ ัติ - เขา้ ใจ 1.1 เลขยกกาลังทีม่ ีเลขช้ีกาลงั 1. แบบฝึกทักษะ เกณฑ์

ความหมายและใชส้ มบตั ิ ดังน้ี - ใช้ เปน็ จานวนเต็ม การใหค้ ะแนน(Rubric)

เก่ยี วกับ การบวก การคณู 1.1 หารากท่ี n ของจานวน - จัดการเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ทคนคิ 2. คาถามในเกม

การเทา่ กนั และการไม่ จริง เมอื่ n เปน็ จานวนนับ TGT แบ่งกลมุ่ กนั แขง่ ขันโดย 3. หนงั สือแบบเรยี น
เทา่ กนั ของจานวนจรงิ ในรูป ท่ีมากกว่า 1 ได้
1. ครูเตรียมเนือ้ หา เกม คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชัน้

1 กรณฑ์ และจานวนจริงใน 2. สอบ 2. จดั ทีมคละความสามารถ ม. 4 – 6 เลม่ 2
1-2

รูปเลขยกกาลงั ท่ีมเี ลขช้ี 3. สงั เกตพฤตกิ รรม 3.วางแผนทาแบบฝกึ ทักษะ 4. หนงั สือแบบเรยี น

กาลงั เป็นจานวน 4. ส่งตัวแทนลงแขง่ ขนั ทีละคู่ คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน ช้ัน

ตรรกยะ 5. ประกาศผลคะแนน ม. 5

4. แบบทดสอบ

5.แบบสงั เกตพฤติกรรม

19

แผนท่ี ชอ่ื หนว่ ย ตวั ช้วี ดั (Indicator) แนวทางการประเมนิ ผล คาสาคญั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ สอื่ /นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ และ (Key และ แนวทางการกจิ กรรม ทรัพยากร ช่ัวโมง
เลขยกกาลัง Word)
หลักฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ 6
(คัดลอกมาจากตาราง 4)

ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ 1. ใหผ้ ู้เรียน ปฏบิ ัติ - เข้าใจ 1.2 รากท่ี n ของจานวนจริง 1. แบบฝกึ ทักษะ เกณฑ์

ความหมายและใชส้ มบตั ิ ดังนี้ - ใช้ - การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้ การให้คะแนน(Rubric)

เก่ียวกบั การบวก การคูณ 1.2. ใช้ความรเู้ กย่ี วกบั คาถาม 2. คาถาม

การเท่ากัน และการไม่ จานวนจริงที่อยูใ่ นรูปกรณฑ์ 1. ขัน้ วางแผนการใชค้ าถาม 3. หนังสอื แบบเรยี น

เท่ากนั ของจานวนจรงิ ในรูป ในการแกป้ ัญหา ผู้สอนควรจะมีการวางแผนไว้ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ชั้น

2 กรณฑ์ และจานวนจริงใน 2. สอบ ลว่ งหนา้ วา่ จะใช้คาถามเพ่ือ ม. 4 – 6 เลม่ 2
3-5

รูปเลขยกกาลัง ที่มีเลขช้ี 3. สังเกตพฤตกิ รรม วัตถุประสงคใ์ ด รปู แบบหรอื 4. หนังสือแบบเรยี น

กาลงั เป็นจานวน ประการใดท่จี ะสอดคล้องกับ คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ชน้ั

ตรรกยะ เนือ้ หาสาระและวัตถุประสงค์ ม. 5

ของบทเรียน 4. แบบทดสอบ

5.แบบสังเกตพฤติกรรม

20

ตารางท่ี 9 การออกแบบ/การวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (Learning Management Plan)

รายวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน รหสั วิชา ค32101 ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5

แผนท่ี ชือ่ หนว่ ย ตัวชีว้ ัด(Indicator) แนวทางการประเมนิ ผล คาสาคญั กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สื่อ/นวตั กรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ และ (Key และ แนวทางการกจิ กรรม ทรัพยากร ชั่วโมง
Word)
หลักฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้
(คัดลอกมาจากตาราง 4)
2. ขนั้ เตรียมคาถาม ผสู้ อนควรจะ
เตรยี มคาถามที่จะใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ โดยการสร้าง
คาถามอยา่ งมหี ลกั เกณฑ์
3. ขัน้ การใชค้ าถาม ผู้สอนสามารถ
จะใชค้ าถามในทกุ ขั้นตอนของการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละอาจจะ
สร้างคาถามใหม่ทีน่ อกเหนือจาก
คาถามทเ่ี ตรียมไว้กไ็ ด้ ท้งั น้ีตอ้ ง
เหมาะสมกับเนอ้ื หาสาระและ
สถานการณน์ ้ัน ๆ
4. ข้นั สรปุ และประเมนิ ผล

4.1 การสรปุ บทเรยี น
ผสู้ อนอาจจะใช้คาถามเพ่ือการสรปุ
บทเรยี นก็ได้

4.2 การประเมินผล
ผ้สู อนและผเู้ รยี นร่วมกันประเมินผล
การเรยี นรู้ โดยใช้วิธีการประเมนิ ผล
ตามสภาพจริง

21

ตารางที่ 9 การออกแบบ/การวางแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (Learning Management Plan)

รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค32101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5

แผนท่ี ชอ่ื หน่วย ตัวช้ีวดั (Indicator) แนวทางการประเมินผล คาสาคญั กระบวนการจัดการเรียนรู้ สอ่ื /นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ และ (Key และ แนวทางการกิจกรรม ทรัพยากร ช่ัวโมง
เลขยกกาลงั Word)
หลกั ฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ 8
(คัดลอกมาจากตาราง 4)
2
ค 1.1 ม. 5/1 เข้าใจ 1. ใหผ้ เู้ รียน ปฏบิ ตั ิ - เขา้ ใจ 1.3 เลขยกกาลังที่มเี ลขชกี้ าลงั 1. แบบฝึกทกั ษะ เกณฑ์
- ใช้
ความหมายและใช้สมบตั ิ ดงั น้ี เป็นจานวนตรรกยะ การให้คะแนน(Rubric)

เกยี่ วกบั การบวก การคูณ 1.3. ใช้ความรเู้ กี่ยวกับเลข - จัดการเรยี นร้โู ดยวธิ ีสอนแบบ 2. คาถาม
โมเดลซิปปา
การเท่ากนั และการไม่ ยกกาลงั ท่ีมีเลขชีก้ าลงั เปน็ 1. การทบทวนความรูเ้ ดมิ 3. หนงั สอื แบบเรยี น
2. การแสวงหาความรู้ใหม่ คณิตศาสตร์พื้นฐาน ช้นั
เทา่ กนั ของจานวนจริงในรูป จานวนตรรกยะในการ

กรณฑ์ และจานวนจรงิ ใน แก้ปัญหา 3. การศึกษาทาความเข้าใจขอ้ มลู / ม. 4 – 6 เล่ม 2

43 รปู เลขยกกาลงั ที่มีเลขชี้ 2. สอบ ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรใู้ หม่ 4. หนงั สอื แบบเรียน
10 6-9
กาลังเปน็ จานวน 3. สังเกตพฤติกรรม กับความรูเ้ ดิม คณติ ศาสตร์พื้นฐาน ช้นั

ตรรกยะ 4. การแลกเปลย่ี นความรคู้ วาม ม. 5
เขา้ ใจกับกลุ่ม 4. แบบทดสอบ
5. การสรปุ และจดั ระเบียบความรู้ 5.แบบสงั เกตพฤติกรรม
6. การปฏิบัตแิ ละ / หรือการแสดง

ผลงาน

7. การประยุกต์ใช้ความรู้

สอบกลางภาค

22

ตารางที่ 9 การออกแบบ/การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (Learning Management Plan)

รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสั วิชา ค32101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5

แผนท่ี ช่ือหน่วย ตัวชี้วัด(Indicator) แนวทางการประเมินผล คาสาคญั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ส่อื /นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ ฟงั กช์ นั และ (Key และ แนวทางการกิจกรรม ทรัพยากร ชวั่ โมง
Word)
หลกั ฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ 18
(คดั ลอกมาจากตาราง 4)

ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟงั กช์ นั และ 1. ใหผ้ ูเ้ รียน ปฏบิ ัติ - ใช้ 2.1 ฟังก์ชัน (6) 1. แบบฝึกทักษะ เกณฑ์

กราฟของฟังกช์ ันอธบิ าย ดังนี้ - อธิบาย 2.2 ฟังก์ชันเชงิ เสน้ (3) การให้คะแนน(Rubric)

สถานการณท์ ี่กาหนด 1.1 หาโดเมนและเรนจ์และ 2.3 ฟังก์ชนั กาลงั สอง (3) 2. คาถาม

เขยี นกราฟของ 2.4 ฟังกช์ ันข้นั บนั ได (3) 3. หนงั สอื แบบเรยี น

ฟังก์ชนั ได้ 2.5 ฟังกช์ นั เอกซ์โพเนนเชียล คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ช้ัน

1.2 ใชค้ วามรู้เกี่ยวกับ (3) ม. 4 – 6 เล่ม 2

ฟังกช์ ันในการ - จัดการเรียนรโู้ ดยวธิ ีสอนแบบ 4. หนังสอื แบบเรยี น

แกป้ ัญหาได้ แบบนิรนัย คณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ช้นั

5 2. สอบ 1. ขน้ั กาหนดขอบเขตของ ม. 5
11 - 19
3. สังเกตพฤตกิ รรม ปัญหา เปน็ การนาเขา้ สู 4. แบบทดสอบ

บทเรียนโดยการเสนอปญั หา 5.แบบสังเกตพฤติกรรม

หรือระบสุ งิ่ ท่จี ะสอนในแง่ของ

ปญั หา เพอื่ ยว่ั ยใุ ห้ผู้เรียนเกิด

ความสนใจท่จี ะหาตอบ ปญั หา

ท่ีจะนาเสนอควรจะเกย่ี วขอ้ ง

กับสถานการณ์ของชีวิตและ

เหมาะสมกบั วฒุ ภิ าวะของ

ผูเ้ รยี น

23

ตารางท่ี 9 การออกแบบ/การวางแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Management Plan)

รายวชิ าคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวิชา ค32101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

แผนท่ี ชือ่ หน่วย ตวั ชีว้ ัด(Indicator) แนวทางการประเมินผล คาสาคญั กระบวนการจัดการเรียนรู้ สอื่ /นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ และ (Key และ แนวทางการกิจกรรม ทรัพยากร ชว่ั โมง
Word)
หลักฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้
(คดั ลอกมาจากตาราง 4)
2. ขน้ั แสดงและอธบิ าย
ทฤษฎี หลักการ เป็นการ
นาเอาฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรปุ
ท่ตี ้องการสอนมาใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การ
เรยี นร้ทู ฤษฎี หลกั การนั้น
3. ข้ันใช้ฤษฎี หลักการ เปน็ ขัน้ ท่ี
ผเู้ รยี นจะเลือกทฤษฎี
หลกั การ กฎ ขอ้ สรุป ทไี่ ด้จาก
การเรยี นรู้มาใชใ้ นการแก้ปญั หาที่
กาหนดไวไ้ ด้
4. ขนั้ ตรวจสอบและสรปุ
เป็นขัน้ ทผี่ ้เู รยี นจะตรวจสอบและ
สรุปทฤษฎี หลักการ กฎ
ขอ้ สรุปหรือนยิ ามที่ใชว้ ่า
ถูกต้อง สมเหตสุ มผลหรือไม่ โดย
อาจปรึกษาผสู้ อน หรือค้นควา้ จาก
ตาราตา่ งๆ หรือจากการทดลอง
ข้อสรุปทีไ่ ด้พสิ ูจน์หรือตรวจสอบวา่
เปน็ จริง จงึ จะเป็นความรูท้ ่ีถกู ตอ้ ง

24

ตารางที่ 9 การออกแบบ/การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Learning Management Plan)

รายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน รหสั วิชา ค32101 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 5

แผนท่ี ชอ่ื หนว่ ย ตัวชวี้ ัด(Indicator) แนวทางการประเมินผล คาสาคญั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ส่ือ/นวัตกรรม/ จานวน
ัสปดา ์หที่ ฟังก์ชนั และ (Key และ แนวทางการกิจกรรม ทรัพยากร ชว่ั โมง
ค 1.2 ม.5/1 ใช้ฟังกช์ ันและ Word)
กราฟของฟังก์ชันอธิบาย หลักฐานการเรียนรู้ การเรียนรู้ 2
สถานการณท์ ี่กาหนด (คัดลอกมาจากตาราง 4)
5. ขัน้ ฝกึ ปฏิบตั ิ เมื่อผเู้ รียน
เกิดความเข้าใจในทฤษฎี
หลกั การ กฎ ขอ้ สรุป พอสม
ควรแลว้ ผูส้ อนเสนอ
สถานการณ์ใหม่ให้ผู้เรียนฝกึ นา
ความรมู้ าประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ใหมๆ่ ทห่ี ลากหลาย

6 สอบปลายภาค
20

25

สรุปการวัดและประเมินผล

1.เป้าหมายการจดั การเรยี นรู้

1.1. ผู้เรียนมีผลการเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ร้อยละ 98

1.2. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.70

2. การใหค้ ะแนน 100คะแนน

2.1 อัตราสว่ นคะแนน ระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30

2.2 คะแนนระหว่างเรียน

2.2.1 ประเมินวัดความรู้ 20 คะแนน

2.2.2 ประเมินด้านทกั ษะ 10 คะแนน

2.2.3 ประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 10 คะแนน

2.2.4 ประเมนิ สมรรถนะที่สาคัญ 10 คะแนน

2.3 สอบกลางภาค 20 คะแนน

2.4 สอบปลายภาค 30 คะแนน

3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ท่ปี ระเมิน คือ

3.1 ซ่อื สัตย์สจุ ริต 3.2 มวี นิ ยั 3.3 ใฝ่เรยี นรู้

3.4 มุง่ มั่นในการทางาน 3.5 มจี ติ สาธารณะ

4. สมรรถนะทีไ่ ดร้ บั การพัฒนาจากการเรียนรรู้ ายวิชาน้ีคอื

4.1 ความสามารถในการคิด 4.2 ความสามารถในการแก้ปญั หา


Click to View FlipBook Version