ผูเ้ รียบเรียง ผตู้ รวจ
Dr Calvin Irons นันทพล มยี ง่ิ
James Burnett วลั ลยี ์ ครินชยั
Peter Stowasser บรรณาธกิ าร
Allan Turton วลัยพร ยะอนนั ต์
Jaye Kelly นยั เนตร มลู เฟย
ดร.ทิพวรรณ นันตระกลู
BOOK A CONTENTS
UNIT 1 14 UNIT 4 116
1.1 Number: Representing four-digit numbers 24 4.1 Multiplication: Reviewing strategies 126
1.2 Number: Writing four-digit numerals and number names 26 4.2 Multiplication: Relating multiples and factors 128
1.3 Number: Writing four-digit numerals and number 28 4.3 Multiplication: Extending the fours and eights facts 130
4.4 Multiplication: Using patterns to extend known facts 132
names (Thai) 30 4.5 Multiplication: Reviewing the partial-products 134
1.4 Number: Writing four-digit numbers in expanded form 32
1.5 Number: Working with place value 34 strategy (two-digit numbers) 136
1.6 Number: Locating four-digit numbers on a number line 36 4.6 Multiplication: Using the partial-products strategy
1.7 Number: Comparing and ordering four-digit numbers 38 138
1.8 Number: Comparing and ordering three- and (three-digit numbers)
40 4.7 Multiplication: Using the partial-products strategy 140
four-digit numbers
1.9 Fractions: Identifying one-half, one-fourth, 42 (four-digit numbers) 142
44 4.8 Multiplication: Using the partial-products strategy 144
and one-third
1.10 Fractions: Working with parts of a whole (equal size) 46 (two two-digit numbers) 146
1.11 Fractions: Showing the same fraction with wholes 4.9 Number: Comparing and ordering five-digit numbers 148
4.10 Number: Comparing and ordering four- and
of different size
1.12 Fractions: Representing the same fraction in five-digit numbers
4.11 Number: Analyzing and extending patterns
different ways 4.12 Number: Using patterns to solve word problems
UNIT 2 48 UNIT 5 150
2.1 Addition: Investigating patterns 58 5.1 Division: Reviewing the think-multiplication strategy 160
2.2 Addition: Two-digit numbers (with composing) 60 5.2 Division: Halving to divide by two, four, and eight 162
2.3 Addition: Two- and three-digit numbers (with composing) 62 5.3 Division: Finding whole-number quotients 164
2.4 Addition: Developing written methods 64
2.5 Addition: Working with the standard algorithm 66 and remainders 166
2.6 Addition: Working with the standard algorithm 68 5.4 Division: Solving word problems with remainders 168
5.5 Division: Reviewing the relationship between
(composing tens) 70 170
2.7 Addition: Working with the standard algorithm multiplication and division
72 5.6 Division: Introducing the partial-quotients strategy 172
(composing hundreds)
2.8 Addition: Reinforcing the standard algorithm with 74 (two-digit dividends) 174
76 5.7 Division: Reinforcing the partial-quotients strategy
three-digit numbers 78 176
2.9 Number: Building a picture of 10,000 80 (two-digit dividends)
2.10 Number: Representing five-digit numbers 5.8 Division: Using the partial-quotients strategy (three- 178
2.11 Number: Representing five-digit numbers (Thai) 180
2.12 Number: Writing five-digit numbers in expanded form and four-digit dividends)
5.9 Division: Reinforcing the partial-quotients strategy 182
UNIT 3 82
(three- and four-digit dividends)
3.1 Subtraction: Counting back to subtract two-digit 92 5.10 Division: Introducing short division
numbers (with decomposing) 94 5.11 Division: Reinforcing short division
96
3.2 Subtraction: Counting back to subtract two- and 98 (with remainders)
three-digit numbers (with decomposing) 100 5.12 Division: Solving word problems
3.3 Subtraction: Counting on to subtract two-digit UNIT 6 184
numbers (with composing)
6.1 Fractions: Analyzing unit fractions 194
3.4 Subtraction: Counting on to subtract two- and three-
digit numbers (with composing) 6.2 Fractions: Writing with symbols 196
3.5 Subtraction: Working with the standard algorithm 6.3 Fractions: Representing unit fractions on a number line 198
6.4 Fractions: Representing as a sum of unit fractions 200
6.5 Fractions: Relating models 202
3.6 Subtraction: Using the standard algorithm with 102 6.6 Fractions: Comparing unit fractions (length model) 204
two-digit numbers (decomposing tens) 104
106 6.7 Fractions: Making comparisons with the same 206
3.7 Subtraction: Using the standard algorithm with 108 numerator (number line)
three-digit numbers (decomposing tens)
6.8 Fractions: Solving comparison word problems 208
3.8 Subtraction: Using the standard algorithm with
three-digit numbers (decomposing hundreds) 6.9 Time: Reading and writing to the minute 210
3.9 Money: Identifying amounts (coins) 6.10 Time: Duration in hours and minutes 212
3.10 Money: Identifying amounts (bills) 110 6.11 Time: Converting between units 214 © ORIGO Education
3.11 Money: Working with bills and coins 112 6.12 Time: Solving word problems 216
3.12 Money: Solving word problems 114 BLACKLINE MASTERS 218
PRACTICE BOOK ANSWERS 288
2 ORIGO GO Math • Grade 3
BOOK B CONTENTS
UNIT 7 14 UNIT 10 116
7.1 Addition: Introducing the compensation strategy 24 10.1 Division: Analyzing partitioning strategies 126
(two- and three-digit numbers)
26 10.2 Division: Three- and four-digit dividends and one-digit 128
7.2 Addition: Working with the compensation strategy divisors (with remainders)
(two- and three-digit numbers) 28
10.3 Division: Recording steps (three- and four-digit 130
7.3 Addition: Working with the algorithm (composing 30 dividends)
in any place)
32 10.4 Division: Introducing long division 132
7.4 Addition: Using the algorithm with multi-digit 34
numbers 36 10.5 Division: Working with long division (no remainders) 134
38
7.5 Addition: Using the algorithm with multiple addends 40 10.6 Division: Working with long division 136
7.6 Addition: Solving word problems 42 (with remainders) 138
7.7 Addition: Solving two-step word problems 44
7.8 Addition: Creating two-step word problems 46 10.7 Division: Making estimates to solve problems
7.9 Length: Estimate in metres and centimeters
7.10 Length: Introducing millimeters 10.8 Division: Solving and creating word problems 140
7.11 Length: Introducing kilometers (two-step) 142
7.12 Length: Exploring the relationship between
10.9 Money: Exchanging amounts
different units
10.10 Money: Making transactions 144
10.11 Money: Calculating change 146
10.12 Money: Interpreting ledgers 148
UNIT 8 48 UNIT 11 150
8.1 Subtraction: Introducing the compensation strategy 58 11.1 Fractions: Adding with the same denominators 160
8.2 Subtraction: Reinforcing the compensation strategy 60 (length model)
8.3 Subtraction: Reviewing the algorithm (decomposing 62 162
11.2 Fractions: Reinforcing adding with the same
tens or hundreds) 64 denominators (number line) 164
8.4 Subtraction: Using the algorithm (decomposing
66 11.3 Fractions: Adding with the same denominators 166
in any place) (word problems)
8.5 Subtraction: Analyzing decomposition across places 68 168
11.4 Fractions: Introducing subtracting with the same
involving zero (three-digit numbers) 70 denominators (length model) 170
8.6 Subtraction: Using the algorithm with multi-digit 72
74 11.5 Fractions: Reinforcing subtracting with the same 172
numbers 76 denominators (number line) 174
8.7 Subtraction: Solving two-step word problems 78 176
8.8 Subtraction: Creating two-step word problems 80 11.6 Fractions: Subtracting with the same denominators
8.9 Data: Reviewing picture graphs (word problems) 178
8.10 Data: Creating and interpreting pictograms 180
8.11 Data: Working with data displays 11.7 Fractions: Mixed computations
8.12 Data: Solving word problems 182
11.8 Fractions: Solving mixed word problems
UNIT 9 82
11.9 Weights: Revising estimating and measuring in
9.1 Multiplication: Reviewing the algorithm with two-digit 92 kilograms and kheed
numbers (regrouping tens)
11.10 Weights: Introducing metric ton
11.11 Weights: Exploring the relationship between
kilograms and grams
11.12 Weights: Exploring the relationship between
metric tons and kilograms
9.2 Multiplication: Using the algorithm with two-digit 94 UNIT 12 184
numbers (regrouping ones)
9.3 Multiplication: Using the algorithm with two-digit 96 12.1 Geometry: Review of shapes 194
numbers (regrouping tens and ones) 12.2 Geometry: Working with rectangles 196
12.3 Geometry: Making and identifying shapes 198
9.4 Multiplication: Introducing the algorithm with 98 12.4 Geometry: Introducing reflective symmetry 200
three- and four-digit numbers 12.5 Geometry: Working with reflective symmetry 202
12.6 Geometry: Finding a line of symmetry 204
9.5 Multiplication: Using the algorithm with three- and 100 12.7 Geometry: Exploring symmetry 206
four- digit numbers 12.8 Geometry: Finding multiple lines of symmetry 208
12.9 Measurement: Reviewing liters and introducing 210
9.6 Multiplication: Using the algorithm with two two-digit 102
numbers milliliters 212
12.10 Measurement: Relating and comparing milliliters
9.7 Multiplication: Reinforcing the algorithm with multi-digit 104 214
numbers (word problems) and liters 216
12.11 Measurement: Tools for measuring volume and capacity
9.8 Multiplication: Using the associative property with 106 12.12 Measurement: Solve two-step mixed volume and
two two-digit numbers (double and halve)
capacity word problems
9.9 Multiplication: Using the associative property with 108
two-digit numbers (use factors)
9.10 Multiplication: Reinforcing the use-factors strategy 110
© ORIGO Education 9.11 Multiplication: Comparing strategies with multi-digit 112
numbers (word problems)
9.12 Multiplication: Creating and solving two-step 114 BLACKLINE MASTERS 218
word problems PRACTICE BOOK ANSWERS 274
ORIGO GO Math • Grade 3 3
Introduction The developmental sequence
Background A well-sequenced curriculum is important to ensure all
students have the prior knowledge they need to master
ORIGO GO Math is a world-class, comprehensive new ideas. Traditional math programs provide chapters
mathematics program developed by a team of experts of content that aim to teach all aspects of a mathematics
to provide a contemporary approach to the teaching and topic in one block of lessons. This approach requires content
learning of mathematics from Kindergarten to Grade 6. in each chapter to be mastered in a much shorter time
period. It also requires more practice than one block
ORIGO GO Math is a rigorous program that aims to of work allows.
• Develop conceptual understanding by connecting A growing body of research suggests that learning
ideas and using a range of visual tools spaced over time, helps students to learn more quickly
and to remember better*. This research-based approach has
• Foster 21st century skills such as thinking been adopted by countries that perform well on international
and reasoning benchmarking tests, such as TIMMS and PISA.
• Create rich opportunities to communicate ORIGO GO Math reflects this spaced-learning approach,
mathematics using language and discussion where students receive exposure to identical key content
several times to build mastery of concepts and fluency
• Promote confidence in problem-solving and creativity of skills during the year.
Developed for the *Casebourne, Imogen. 2015. Spaced Learning: An approach
latest national curriculum to minimize the forgetting curve. Elements: Self-Paced
Learning Library.
ORIGO GO Math has been developed to help today’s teachers
prepare students for tomorrow’s world. It reflects research into
the teaching and learning of mathematics, while
simultaneously addressing the latest national curriculum.
The diagram below (right) shows the three content strands
of the latest national curriculum that are appropriate for
Kindergarten to Grade 6. Central to the strands are all
essential skills and processes. ORIGO GO Math embeds
these in each learning experience throughout the year.
Numbers Problem solving Measurement
and Algebra and Geometry
Communication
Making connections of
mathematical ideas
Reasoning
Creative thinking
Making predictions
Using media, technologies,
and resources
Statistics and
Probability
© ORIGO Education
4 ORIGO GO Math • Grade 3
Introduction ORIGO GO Math introduces symbols gradually, after
students have had many meaningful experiences ranging
The ORIGO teaching model from hands-on real objects, to classroom materials and 2D
pictures, as shown on the left side of the diagram below.
Mathematics involves the use of symbols (for example, But symbols are also abstract representations of verbal
1, 2, 3, +, −, ×, and ÷), so a major goal of a math program language, so students move through distinct language
is to prepare students to read, write, and interpret these stages (see the right side of the diagram), which is described
symbols. In traditional programs, symbols are introduced in further detail below.
very early as a way of representing certain concepts.
This limits students’ understanding of the concept and Verbal
what these symbols represent, and so greatly reduces
their ability to make connections by applying and
extending their knowledge to new situations.
Tools
Real objects Real-life language
Classroom materials Classroom language
Mathematical language
Pictures
Symbolic
The language approach
At ORIGO Education, we believe that language is critical to developing deep understanding of mathematics. This is why
ORIGO GO Math supports language development in four distinct stages.
© ORIGO Education 1. Real-life language 3. Mathematical language
In the first stage, the program is designed to leverage In the third stage, students begin to exhibit mathematical
students’ existing natural language to describe precision in their language. For example, in the context
concepts. For example, students might use eat, break, of subtraction, students will use the term subtract,
jump away, swim away, or spend to describe situations then eventually minus.
involving subtraction. Teachers should use real-world stories
and illustrations to stimulate the use of this rich and 4. Symbolic language
meaningful language.
In the final stage, students are introduced to the symbols
2. Classroom language or notation for that concept. For example, with subtraction,
they learn that the subtraction symbol is an abbreviation
In the second stage, students’ language broadens as for all the language used in the previous stages.
they begin to act out stories and problems using classroom
resources. For example, new language such as cover up or This language approach serves to build a deep understanding
take away may be introduced when acting out subtraction of the concepts underlying abstract symbols. In this way,
stories with hands-on resources. Similarly, if pictures are ORIGO GO Math better equips students with the confidence
being used, students may say cross out or erase in and the ability to communicate, solve problems, make
the context of subtraction. connections, reason, and think creatively in new
and unfamiliar situations.
ORIGO GO Math • Grade 3 5
Introduction
How a unit is organized
Each unit provides all the information you need to teach the lessons within it. This page shows the format and the key features
of a typical unit in Grade 3.
Unit overview Assessment
The first page serves as Specific learning targets
a summary of the unit. are provided on the second
Teachers can see the page of each unit of work.
content and intent of the
lessons and activities. Formal and informal
assessment options
This page also lists the include a written check-up
essential mathematics and observations.
language that will be
developed during the This image shows the
course of teaching the unit. learning target that each
question on the written
Student achievement Check-up is addressing.
can be recorded on the
Student Progress Record,
which can be copied from
pages viii-ix.
Check-ups Lesson notes
Check-up 1 1 There are two check-up At this grade, concepts
assessments in each unit. and skills are developed
1. Write numbers in the place-value chart to match the blocks. Check-up 1 assesses and consolidated over
a. b. content from lessons 1–6. twelve carefully
Check-up 2 assesses sequenced lessons.
Th H T Ones Th H T Ones content from lessons
7–12. Reproducible Suggestions for extra help,
2. Write the matching numeral or number name. Blackline Masters are extra practice or
a. provided directly opposite extra challenge are
the assessment page. provided where
3,048 appropriate.
b. four thousand seven hundred and six
3. Write the matching numeral or number name in Thai.
a. ๖,๐๑๔
b. หน่ึงพันเจ็ดรอยเกา สิบ
4. Write each number in expanded form.
a. 415 + ++
+ ++
2
b. 970
6
5. Write the numbers that are 10 greater and 100 less. 701 8,396 2,024 © ORIGO Education
a. 10 greater © ORIGO Education
3,135 678 1,993
b. 100 less
20 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
Practice Book
The Practice Book includes
one page of practice for
each ORIGO GO Math
lesson. The Practice Book
answers can be found at
the back of Teacher
Guides Book A and B.
using�a�range�
g�language�
cs
3 Product�Code:�TPB�713�3 ORIGO GO Math • Grade 3
6
Introduction The materials needed for
each lesson are clearly listed.
Components of a lesson Reproducible Blackline Masters
are provided at the back of
The lesson starts with a five- each Teacher’s Guide.
to ten-minute warm-up.
The ORIGO GO Math Student
These notes provide step-by-step Journal pages are shown
instructions, clear diagrams for quick reference. This is
for quick reference and key where the answers are located.
questions with expected student
responses where necessary. Suggestions for extra help,
In ORIGO GO Math, lessons extra practice or extra challenge
are first taught, then supported are provided where appropriate.
by appropriate practice in
the Student Journal.
The reflection provides
an opportunity to have
the students share and justify
their answers to the questions
in the Student Journal.
Student Journal
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 7
Progress record
Learning targets (Units 1–6)Unit 1 Lessons Observations/comments
ORIGO GO Math • Grade 3
Learning targets 1
1
Write Hindu-Arabic numerals for whole numbers up to 10,000 2
Understand the value of each digit in a four-digit number
Read and write number names for whole numbers up to 10,000 3
Read and write Thai numerals and number names for whole numbers
up to 10,000 4
Write four-digit numbers in expanded form 5
Count by 10s and 100s up to 10,000 5
Understand the value of the tens and hundreds places 6, 7
Compare whole numbers up to 10,000 using symbols 6
Compare and order up to three four-digit numbers 7
Compare and order up to five four-digit numbers
Compare and order whole numbers up to 10,000 using symbols 8
9, 10,
Identify fractions 11, 12
Write fractions to represent quantities
Use objects to represent a given fraction 9
Count by 2s, 5s, and 10s
Find the missing number in number patterns that increase by a 11, 12
common difference
Find the unknown in number sentences involving addition of whole 1
numbers up to 1,000
Understand the place values of ones and tens 1
Understand the place values of ones, tens, and hundreds
2, 3, 4, 5,
6, 7, 8
2
3, 4
Unit 2 Read and write Hindu-Arabic numerals for whole numbers up to 100,000 9
Understand the value of each digit to the ten thousands place 9, 10, 11
Read and write number names for whole numbers up to 100,000 10
Read and write Thai number names for whole numbers up to 100,000 11
Read and write Thai numerals for whole numbers up to 100,000 11 © ORIGO Education
Write five-digit numbers in expanded form 12
8
Progress record
Learning targets (Units 1–6) Lessons Observations/comments
Learning targets 1, 2, 3, 4,
5, 6, 7, 8
Find the unknown in number sentences involving subtraction of whole
numbers up to 1,000
Tell the amount of money in a collection of coins 9
Tell the amount of money in a collection of notes 10
Compare amounts of money 10
Unit 3 Tell the amount of money 11
Write amounts using decimals 11
Solve word problems involving money 12
Solve 2-step problems involving addition and subtraction 12
Unit 4 Write amounts using decimals 12
1, 2, 3
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a
1-digit number and a 1- or 2-digit number 4
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a 5
1-digit number and up to a 4-digit number 6
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a 7
1-digit number and a 2-digit number 8
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a 9, 10
1-digit number and a 3-digit number 11, 12
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a
1-digit number and a 4-digit number
Find the unknown in number sentences involving multiplication of a
2-digit number and a 2-digit number
Compare and order whole numbers up to 100,000
using symbols
Find the missing number in number patterns that increase
or decrease by a common difference
© ORIGO Education Count by 2s, 5s, 10s and 100s 11, 12
Solve word problems involving repeated addition 12
ORIGO GO Math • Grade 3 9
Progress record
Learning targets (Units 1–6) Lessons Observations/comments
ORIGO GO Math • Grade 3
Learning targets 1, 3, 5
1, 2, 5, 6, 7
Find the unknown in number sentences involving multiplication
of a 1-digit number and a 2-digit number 3, 4, 11
Find the unknown in number sentences involving division with a 4
2-digit dividend and a 1-digit divisor
Find the unknown in number sentences involving division with a
2-digit dividend and a 1-digit divisor (with remainders)
Solve word problems involving division
Unit 5 Understand place value of up to 2-digit numbers 6, 7
Find the unknown in number sentences involving division with a
3- or 4-digit dividend and a 1-digit divisor 8, 9, 10
Understand place value of up to 4-digit numbers
Find the unknown in number sentences involving division using the 8, 9
short division algorithm
Solve 2-step word problems involving division and multiplication 10, 11
Identify fractions
Compare fractions with the same numerator 12
1, 2, 3, 4,
5, 6
3, 7, 8
Add fractions with the same denominator 4
Compare fractions 6
Order fractions with the same numerator 7
Unit 6 Tell time in hours and minutes 9, 11
Write and read time using : or . 9
Tell duration in hours and minutes 10
Compare duration using the relationship between hours and minutes 11, 12
Reading and writing records of activities 11 © ORIGO Education
Solve words problems involving lengths of time 12
10
Progress record Observations/comments
Unit 1Skills and processes (Unit 1–6)
Unit 2 Skills and processes
Unit 3 Problem solving
Communication
© ORIGO Education Making connections
Reasoning
Creative thinking 11
Using media, technologies, and resources
Problem solving
Communication
Making connections
Reasoning
Creative thinking
Making predictions
Using media, technologies, and resources
Problem solving
Communication
Making connections
Reasoning
Making predictions
ORIGO GO Math • Grade 3
Unit 4Progress record Observations/comments
ORIGO GO Math • Grade 3
Unit 5Skills and processes (Unit 1–6)
Unit 6 Skills and processes
Problem solving © ORIGO Education
Communication
Making connections
Reasoning
Creative thinking
Making predictions
Using media, technologies, and resources
Problem solving
Communication
Making connections
Reasoning
Creative thinking
Using media, technologies, and resources
Problem solving
Communication
Making connections
Reasoning
Creative thinking
Making predictions
Using media, technologies, and resources
12
additional support resources
ORIGO Education produces unique resources to enhance the learning experiences of your students.
The Number Case
The Number Case gives teachers ready-made tools to help develop students’ understanding of number and operations.
There is one case for each grade level.
The Number Case includes:
• demonstration cards for whole-group discussion
• mix-and-match cards
• cards for concept development
• cards for practice and reinforcement
• some cards with write-on/wipe-off finish
Sample cards from The Number Case for Grade 3
© ORIGO Education
© ORIGO Education4 71four hundredone-half1
seventy-one 2
471
Thousands Hundreds Tens Ones
one thousand hundreds tens ones
six hundred
eighty-two
© ORIGO Education
1 6 82 1,682 thousands hundreds tens ones
30 500 1 8000 121212
ORIGO Big Books and digital tools
ORIGO Big Books are large format storybooks. This series helps teachers introduce key mathematical concepts in Grades K–2.
Each Big Book has teacher notes and interactive whiteboard tools.
Contact ORIGO Education for more information.
ORIGO GO Math • Grade 3 13
unit overview 1
Mathematical background
In the first unit of Grade 3, students expand their understanding of place value to the thousands place. Lessons
1 to 8 of this unit focus on representing four-digit whole numbers in words, numerals, and expanded form, then
comparing and ordering three- and four-digit numbers. Four-digit numbers are written as Hindu-Arabic and Thai
numerals, and number names are written in English and in Thai. Students use pictures of base-10 blocks and
numeral expanders to analyze the value of the digits in the different places of a number. Discussions about
numbers help students investigate how numbers can be rearranged for different purposes and strategies.
In Lessons 9 to 12, students are introduced to one-half, one-fourth, and one-third as being one of two, four, or
three equal parts of a whole. Students represent and compare unit fractions of wholes that are different shapes
and sizes to develop their understanding.
Lesson overview
1.1 Number: Representing four-digit numbers
1.2 Number: Writing four-digit numerals and number names
1.3 Number: Writing four-digit numerals and number names (Thai)
1.4 Number: Writing four-digit numbers in expanded form
1.5 Number: Working with place value
1.6 Number: Locating four-digit numbers on a number line
1.7 Number: Comparing and ordering four-digit numbers
1.8 Number: Comparing and ordering three- and four-digit numbers
1.9 Fractions: Identifying one-half, one-fourth, and one-third
1.10 Fractions: Working with parts of a whole (equal size)
1.11 Fractions: Showing the same fraction with wholes of different sizes
1.12 Fractions: Representing the same fraction in different ways
Mathematical language
Students will use and develop the following language:
add centimeter (cm) different digit equal parts
fraction greater
equals (=) estimate expanded form is greater than (>) is less than (<)
number line numeral expander
greatest hundreds hundreds block place value same
whole
is not equal to (≠) least less
one-fourth one-half one-third
subtract thousands total
© ORIGO Education
14 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
ภาพรวมของหน่ว่ ยการเรียี นรู้�้ 1
พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์
ส�ำหรบั หน่วยการเรยี นรู้แรกในชั้น ป.3 นักเรียนขยายขอบขา่ ยความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับคา่ ประจ�ำหลักไปถึงหลักพนั
บทเรียนท่ี 1 ถงึ 8 ของหน่วยการเรียนรูน้ ้เี นน้ การแสดงจำ� นวนเตม็ ท่มี ีสห่ี ลกั เป็นตวั หนังสอื ตัวเลข และในรูปกระจาย จากน้ัน
จึงเป็นการเปรยี บเทียบและเรยี งลำ� ดับจ�ำนวนนับที่มสี ามหลกั และจ�ำนวนนับทม่ี ีสีห่ ลัก นกั เรยี นได้เขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือแทนจ�ำนวนนบั ที่มสี หี่ ลกั นกั เรียนใชภ้ าพบล็อกจ�ำนวนฐานสบิ และแถบการกระจายในการวิเคราะห์
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของจ�ำนวน การอภปิ รายเก่ยี วกบั จ�ำนวนชว่ ยนักเรียนในการศกึ ษาคน้ คว้าวา่ จำ� นวนสามารถน�ำมา
เรียงลำ� ดับใหม่ตามวัตถปุ ระสงค์และกลยุทธ์การคดิ หาคำ� ตอบไดอ้ ยา่ งไร
ในบทเรียนที่ 9 ถงึ 12 นักเรียนจะได้รับการแนะน�ำใหร้ จู้ ักกับ เศษหนง่ึ สว่ นสอง เศษหนงึ่ ส่วนสี่ และเศษหน่ึงส่วนสาม
ว่าเปน็ หนึง่ ในสอง หนง่ึ ในส่ี หรอื หนงึ่ ในสามสว่ นท่เี ทา่ กันทั้งหมด นกั เรียนจะแสดงและเปรยี บเทยี บหน่วยของเศษสว่ น
ของสว่ นรวมทีม่ รี ูปร่างและขนาดแตกตา่ งกนั เพ่อื พฒั นาความเขา้ ใจ
ภาพรวมของบทเรียน
1.1 จ�ำนวน การแสดงจ�ำนวนนับที่มีส่ีหลัก
1.2 จ�ำนวน การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแทนจ�ำนวนนับที่มีสี่หลัก
1.3 จ�ำนวน การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแทนจ�ำนวนนับที่มีสี่หลัก (ตัวเลขไทย)
1.4 จ�ำนวน การเขียนจ�ำนวนนับที่มีสี่หลักในรูปกระจาย
1.5 จ�ำนวน การใช้ค่าประจ�ำหลัก
1.6 จ�ำนวน ระบุต�ำแหน่งของจ�ำนวนนับที่มีส่ีหลักบนเส้นจ�ำนวน
1.7 จ�ำนวน การเปรียบเทียบและเรียงล�ำดับจ�ำนวนนับท่ีมีสี่หลัก
1.8 จ�ำนวน การเปรียบเทียบและเรียงล�ำดับจ�ำนวนนับที่มีสามหลักและจ�ำนวนนับท่ีมีสี่หลัก
1.9 เศษส่่วน รู้้�จัักเศษหนึ่�งส่่วนสอง เศษหนึ่�งส่่วนสี่� และเศษหนึ่�งส่่วนสาม
1.10 เศษส่วน ใช้แนวคิดของส่วนหนึ่งของส่วนรวม (ส่วนท่ีเท่ากัน)
1.11 เศษส่วน แสดงเศษส่วนเดียวกันจากส่วนรวมขนาดต่าง ๆ กัน
1.12 เศษส่วน การแสดงเศษส่วนเดียวกันในแบบต่าง ๆ กัน
ภาษาทางคณิตศาสตร์
นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรกู้ ารใชค้ ำ� ต่อไปนี้
บวก เซนติเมตร (ซม.) ผลตา่ ง เลขโดด สว่ นทเ่ี ท่ากัน
เท่ากับ (=) คาดคะเน รปู กระจาย เศษสว่ น มากกวา่
มากที่สดุ หลักร้อย บลอ็ กรอ้ ย มีค่ามากกว่า (>) มคี า่ นอ้ ยกว่า (<)
ไม่เท่ากบั (≠) นอ้ ยท่สี ุด น้อยกว่า เสน้ จำ�นวน แถบการกระจาย
เศษหน่งึ ส่วนสี่ เศษหนึง่ ส่วนสอง เศษหนงึ่ ส่วนสาม ค่าประจำ�หลัก เหมอื นกัน
ลบ หลักพัน ผลรวม ส่วนรวม
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 15
Assessment 1
Learning targets
On completion of this unit, students should be able to:
A Write Hindu-Arabic numerals for whole numbers up to 10,000
B Understand the value of each digit in a four-digit number
C Read and write number names for whole numbers up to 10,000
MA1.1 Grade 3/1 Read and write Thai numerals and number names for whole numbers
up to 10,000
D
E Write four-digit numbers in expanded form
MA1.1 Grade 3/2 F Count by tens and hundreds up to 10,000
G Compare and order up to five four-digit numbers
H Compare whole numbers up to 10,000 using symbols
MA1.1 Grade 3/3 I Identify fractions
J Use objects to represent a given fraction
Check-up 1 – Unit 1, p. 20 Check-up 2 – Unit 1, p. 22
Check-up 1 1 Check-up 2 Answers will vary. 1
AB 1. Write numbers in the place-value chart to match the blocks. G 1. Write each set of numbers from least to greatest.
a. b.
a. 3,456 4,356 2,305 3,029 4,008
least greatest
Th H T Ones Th H T Ones 2,305 , 3,029 , 3,456 , 4,008 , 4,356
2235 1 549 b. 9,001 998 9,301 9,902 899
least greatest
AC 2. Write the matching numeral or number name. 899 , 998 , 9,001 , 9,301 , 9,902
D
a. three thousand and forty-eight H 2. Shade the true statements.
BE 3,048
AB F b. 4,706 four thousand seven hundred and six a. 4,098 > 4,900 b. 799 < 7,099 c. 2,017 ≠ 217
3. Write the matching numeral or number name in Thai. d. 3,801 = 381 e. 3,780 > 3,699 f. 1,000 = 100
a. ๖,๐๑๔ หกพันสิบส่ี I 3. Circle the shapes that show one-half shaded.
b. ๑,๗๙๐ a. b. c.
หนึ่งพนั เจ็ดรอ ยเกา สิบ
4. Write each number in expanded form.
a. 4 1 5 2,000 + 400 + 10 + 5 d. e. f.
2
b. 9 7 0 6,000 + 900 + 70 + 0 J 4. Use a ruler to draw straight lines that split each shape into the fractions shown on the labels.
Then color one part of each shape. Make the splits different for each pair of shapes.
6
5. Write the numbers that are 10 greater and 100 less. a. one-half b. one-fourth c. one-third
3,145a. 10 greater 688 2,003 711 8,406 2,034
3,135 678 1,993 701 8,396 2,024 © ORIGO Education
© ORIGO Education
b. 100 less 3,035 578 1,893 601 8,296 1,924
© ORIGO Education
20 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 22 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
16 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
การประเมินิ ผล 1
เปา้ หมายการเรยี นรู้
เมือ่ จบหน่วยการเรยี นรู้นแ้ี ล้ว นักเรยี นควรจะสามารถ
ก เขียี นตัวั เลขฮิินดูอู ารบิกิ แสดงจำนวนนัับไม่่เกิิน 1,000 และ 0
ข เขา้ ใจค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจำ� นวนนับท่ีมีสหี่ ลกั
มาตรฐาน ค 1.1 ป.2/1 ค อ่า่ นและเขียี นตัวั หนัังสืือแทนจำนวนนับั ไม่เ่ กิิน 10,000 และ 0
มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/1 ง อา่ นและเขียนตัวเลขไทยและตัวหนงั สอื แทนจ�ำนวนเตม็ ไมเ่ กิน 10,000
จ เขียนจ�ำนวนนบั ทม่ี สี ี่หลักในรปู กระจาย
ฉ นบั เพม่ิ ทลี ะสบิ และทลี ะรอ้ ยไม่เกนิ 10,000
มาตรฐาน ค 21.1 ป.23/21 ช เปรยี บเทยี บและเรยี งล�ำดบั จ�ำนวนนบั ท่มี ีสี่หลักไม่เกนิ 5 จ�ำนวน
ซ เปรียี บเทีียบจำนวนนับั ไม่่เกินิ 10,000 และ 0 โดยใช้เ้ ครื่�องหมายแสดงการเปรียี บเทีียบ
มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/3 ฌ ระบเุ ศษสว่ นทีก่ �ำหนดให้
มาตรฐาน ค 1.1 ป.2/2 ญ ใช้ส่ิงของในการแสดงเศษสว่ นทก่ี ำ� หนดให้
แบบทดสอบ 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1, หน้า 21 แบบทดสอบ 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1, หนา้ 23
แบบทดสอบ 1 1 แบบทดสอบ 2 คําตอบท่เี ปน ไดม ีหลากหลาย 1
กข 1. เตมิ ตัวเลขลงในตารางคาประจําหลกั ใหส มั พันธกับจาํ นวนบล็อกทก่ี ําหนดให ช 1. เรียงลําดบั จาํ นวนทกี่ ําหนดใหจากนอ ยที่สุดไปมากทส่ี ุด
(1) (2) (1) 3,456 4,356 2,305 3,029 4,008
นอยที่สุด มากทสี่ ดุ
2,305 , 3,029 , 3,456 , 4,008 , 4,356
พนั รอ ย สิบ หนวย พนั รอย สิบ หนวย
(2) 9,001 998 9,301 9,902 899
2235 1 549
นอ ยท่สี ุด มากทส่ี ุด
899 , 998 , 9,001 , 9,301 , 9,902
กค 2. เตมิ ตวั เลขหรือตวั หนงั สอื แทนจํานวนลงในชองวา ง
ง (1) 3,048 สามพนั สสี่ ิบแปด ซ 2. ระบายสลี งในชองท่ีมปี ระโยคสญั ลกั ษณแสดงการเปรยี บเทียบทเ่ี ปน จรงิ
(2) 4,706 (1) 4,098 > 4,900 (2) 799 < 7,099 (3) 2,017 ≠ 217
ขจ สี่พันเจด็ รอยหก
(4) 3,801 = 381 (5) 3,780 > 3,699 (6) 1,000 = 100
กขฉ 3. เตมิ ตวั เลขไทยหรอื ตวั หนงั สือแทนจํานวนลงในชอ งวาง
ฌ 3. วงลอ มรอบภาพทส่ี ว นที่แรเงาแสดงเศษหนึ่งสวนสอง (3)
(1) ๖,๐๑๔ หกพันสิบส่ี (1) (2)
(2) ๑,๗๙๐
หน่ึงพันเจ็ดรอ ยเกาสบิ
4. เขยี นจํานวนทกี่ ําหนดใหในรูปกระจาย 2,000 + 400 + 10 + 5 (4) (5) (6)
(1) 6,000 + 900 + 70 + 0
2 415
(2) 970 ญ 4. ใชไมบ รรทัดลากเสนตรงเพื่อแบงรูปแตล ะรูปออกเปน สวนท่ีเทากนั ตามเศษสว นท่กี าํ หนดให
6 จากนัน้ ระบายสี 1 สว นของแตละรปู สําหรับรปู แตล ะคูใหลากเสนแบง สว นในแบบท่ตี างกนั
5. เติมจํานวนท่ีมากกวา จาํ นวนที่กาํ หนดใหอ ยู 10 และจํานวนท่นี อ ยกวา จาํ นวนที่กําหนดใหอยู 100 (1) เศษหนึ่งสวนสอง (2) เศษหนึ่งสวนสี่ (3) เศษหน่งึ สว นสาม
3,145(1) มากกวาอยู 10 688 2,003 711 8,406 2,034
3,135 678 1,993 701 8,396 2,024
© ORIGO Education
© ORIGO Education
© ORIGO Education
3,035(2)นอยกวา อยู 100 578 1,893 601 8,296 1,924
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 21 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 23
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 17
STUDENT RECORD SHEET 1
Recording
Use a copy of this page to grade each student. Record their achievements of
the assessment indicators and learning targets in the observation/comments
column. To record general observations for all learning targets and skills and
processes, use the Progress Record on pages 8–12.
Assessment – Check-up 1
This chart shows the options for assessing each indicator and learning target for Lessons 1–6.
Indicator Learning target Question Observation/comments
MA1.1 Grade 3/1 Q1, Q2, Q5
Write Hindu-Arabic numerals for whole
numbers up to 10,000
Understand the value of each digit Q1, Q4, Q5
in a four-digit number
Read and write number names Q2
for whole numbers up to 10,000 Q3
Q4
Read and write Thai numerals and Q5
number names for whole numbers
up to 10,000
Write four-digit numbers in
expanded form
Count by tens and hundreds up
to 10,000
Assessment – Check-up 2
This chart shows the options for assessing each indicator and learning target for Lessons 7–12.
Indicator Learning target Question Observation/comments
MA1.1 Grade 3/2 Q1
Compare and order up to five
four-digit numbers Q2
Compare whole numbers up to
10,000 using symbols
MA1.1 Grade 3/3 Identify fractions Q3
Q4
Use objects to represent
a given fraction
© ORIGO Education
18 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
แบบบันั ทึกึ ผล 1
การบนั ทกึ ผล
บันทึกผลการสงั เกตการณ์ของนักเรียนตามตัวช้ีวดั และเปา้ หมายการเรยี นร้แู ต่ละขอ้
ลงในชอ่ งวา่ งท่ีก�ำหนดให้ในแบบบนั ทึกผลหนา้ 8 - 12
การวัดผล แบบทดสอบ 1
ตารางบนั ทกึ ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะตามตวั ชวี้ ดั และเปา้ หมายการเรียนร้สู ำ�หรับบทเรยี น 1 - 6
ตวั ช้ีวดั เป้าหมายการเรียนรู้ คำ�ถาม ข้อสังเกต/ขอ้ เสนอแนะ
ข้อสงั เกต/ข้อเสนอแนะ
เขียี นตัวั เลขฮินิ ดูอู ารบิิกแสดงจำนวนนัับ ข้อ 1, ข้อ 2,
ไม่่เกินิ 1,000 และ 0 ข้อ 5
เขา้ ใจคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของ ขอ้ ข1้อ, ข5อ้ 4,
จ�ำนวนนับทม่ี ีสีห่ ลัก
มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/1 อ่า่ นและเขีียนตััวหนังั สืือแทนจำนวนนัับ ข้อ 2
ไม่่เกินิ 10,000 และ 0 ข้อ 3
อ่่านและเขียี นตััวเลขไทยและตััวหนัังสือื
แทนจำนวนนัับไม่่เกิิน 10,000 และ 0
เขยี นจ�ำนวนนับทีม่ สี ห่ี ลักในรปู กระจาย ข้อ 4
นบั เพิม่ ทีละสบิ และทีละร้อย ขอ้ 5
ไมเ่ กิน 10,000
การวดั ผล แบบทดสอบ 2
ตารางบนั ทึกขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะตามตัวชว้ี ดั และเป้าหมายการเรียนรสู้ ำ�หรบั บทเรียน 7 - 12
ตวั ชวี้ ดั เป้าหมายการเรยี นรู้ ค�ำ ถาม
มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/2 เปรียบเทยี บและเรยี งลำ� ดบั จำ� นวนนบั ขอ้ 1
ท่มี สี ีห่ ลักไมเ่ กิน 5 จำ� นวน ขอ้ 2
เปรียี บเทีียบจำนวนนับั ไม่เ่ กินิ 10,000 และ 0
โดยใช้เ้ ครื่�องหมายแสดงการเปรียี บเทียี บ
มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/3 ระบเุ ศษส่วนท่กี ำ� หนดให้ ขอ้ 3
ใชส้ ิง่ ของในการแสดงเศษสว่ นทก่ี ำ� หนดให้ ขอ้ 4
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 19
Check-up 1 1
1. Write numbers in the place-value chart to match the blocks.
a. b.
Th H T Ones Th H T Ones
2. Write the matching numeral or number name.
a.
3,048
b. four thousand seven hundred and six
3. Write the matching numeral or number name in Thai.
a. ๖,๐๑๔
b. หน่ึงพันเจด็ รอ ยเกาสิบ
4. Write each number in expanded form.
a. 415 ++ +
+
2
b. 970 ++
6
5. Write the numbers that are 10 greater and 100 less. 701 8,396 2,024 © ORIGO Education
a. 10 greater
3,135 678 1,993
b. 100 less
20 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
แบบทดสอบ 1 1
1. เติมตวั เลขลงในตารางคาประจําหลกั ใหส ัมพนั ธก บั จาํ นวนบล็อกทีก่ าํ หนดให
(1) (2)
พนั รอ ย สบิ หนว ย พัน รอ ย สบิ หนวย
2. เตมิ ตวั เลขหรือตวั หนังสือแทนจาํ นวนลงในชอ งวาง สพี่ นั เจ็ดรอ ยหก
(1) 3,048
(2)
3. เติมตวั เลขไทยหรือตัวหนงั สอื แทนจํานวนลงในชองวาง
(1) ๖,๐๑๔
(2) หนง่ึ พันเจด็ รอยเกา สบิ
4. เขยี นจาํ นวนท่ีกาํ หนดใหในรูปกระจาย ++ +
(1) ++ +
2 415
(2) 970
6
© ORIGO Education 5. เติมจาํ นวนท่ีมากกวาจาํ นวนที่กาํ หนดใหอ ยู 10 และจํานวนทน่ี อยกวาจํานวนทกี่ าํ หนดใหอ ยู 100 2,024
(1) มากกวาอยู 10 21
3,135 678 1,993 701 8,396
(2) นอยกวา อยู 100
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
Check-up 2 1
1. Write each set of numbers from least to greatest.
a. 3,456 4,356 2,305 3,029 4,008
least greatest
,,, ,
b. 9,001 998 9,301
9,902 899
least
greatest
,,, ,
2. Shade the true statements.
a. 4,098 > 4,900 b. 799 < 7,099 c. 2,017 ≠ 217
3,780 > 3,699 f. 1,000 = 100
d. 3,801 = 381 e.
3. Circle the shapes that show one-half shaded. c.
a. b.
d. e. f.
4. Use a ruler to draw straight lines that split each shape into the fractions shown on the labels.
Then color one part of each shape. Make the splits different for each pair of shapes.
a. one-half b. one-fourth c. one-third
© ORIGO Education
22 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1
แบบทดสอบ 2 1
1. เรียงลาํ ดบั จํานวนทีก่ ําหนดใหจากนอ ยทสี่ ดุ ไปมากทสี่ ดุ
(1) 3,456 4,356 2,305 3,029 4,008
มากท่สี ุด
นอ ยทส่ี ุด ,
899
,,, มากทสี่ ดุ
,
(2) 9,001 998 9,301 9,902
2,017 ≠ 217
นอ ยท่สี ดุ
1,000 = 100
,,,
2. ระบายสีลงในชอ งทีม่ ีประโยคสัญลกั ษณแ สดงการเปรียบเทียบท่ีเปนจริง
(1) 4,098 > 4,900 (2) 799 < 7,099 (3)
(6)
(4) 3,801 = 381 (5) 3,780 > 3,699
3. วงลอมรอบภาพท่ีสว นท่ีแรเงาแสดงเศษหนงึ่ สวนสอง (3)
(1) (2)
(4) (5) (6)
4. ใชไมบ รรทดั ลากเสนตรงเพือ่ แบงรปู แตละรูปออกเปนสวนทีเ่ ทา กันตามเศษสว นท่ีกําหนดให
จากนนั้ ระบายสี 1 สวนของแตละรปู สําหรบั รปู แตละคูใ หลากเสน แบง สวนในแบบที่ตา งกนั
(1) เศษหน่งึ สวนสอง (2) เศษหน่งึ สวนสี่ (3) เศษหนึง่ สว นสาม
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1 23
1.1 Number: Representing four-digit numbers
In this lesson, students are introduced to four-digit numbers beyond 1,000. Students Classroom materials
describe the amount in each place and use expanders to informally begin reading
what has been written. The following Mathematical skills and processes learning Each student will need:
standards are embedded in this lesson: Communication and Reasoning. • Student Journal 1.1
Step 1 Starting the lesson Student Journal pp. 8–9
Ask, What can you recall about one thousand? What does one thousand mean?
Where might we see one thousand things? Encourage discussion.
Step 2 Teaching the lesson
1. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.1. Ask, What do
you know about this block? (It shows one thousand ones blocks.) How many
hundreds do you think are in this block? Count by hundreds, pointing to each
layer of the block and say, Ten hundreds is the same amount as one thousand.
How many tens blocks are in one thousands block? Allow time for students to
figure out the amount and say, One hundred tens is the same amount as
one thousand.
2. Read the character’s questions, then direct students’ attention to the second
image of blocks. Ask, How would you describe the number in each place?
Invite students to write the matching number for each place in the place-value
chart. Explain the chart if necessary.
3. Direct students’ attention to the expander and ask, How can we record
the number on this expander? How can we use the expander to help us
read the number name? Establish that the tens and ones places are closed
in the expander because they are not said when the number name is read.
As a class, read the number name aloud.
4. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss the students’ answers to Student Journal 1.1. Invite volunteers to read
the number names aloud. Ask questions such as, How many hundreds blocks
are shown? How many tens blocks are shown? How do you know?
Extra practice © ORIGO Education
Each group of students will need:
• 1 four-digit numeral expander from Blackline Master 2 (Note: Laminate the expander
or tape over the four write-on sections so the expander can be reused. Retain
for future lessons.)
• 1 non-permanent marker
• recycled paper
Activity
Organize students into groups and distribute the materials. Students take turns to
write a four-digit number from 1,000 to 5,000 on the expander. Explain that students
are not to use zero in any place value. All members of the group then draw a block
picture to match the number. Repeat as time allows with different four-digit numbers.
24 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.1
1.1 จ�ำนวน การแสดงจ�ำนวนนับที่มีส่ีหลัก
สำ� หรบั บทเรยี นนี้ นกั เรยี นไดร้ จู้ กั กบั จำ� นวนนบั ทม่ี สี ห่ี ลกั ทมี่ ากกวา่ 1,000 นกั เรยี นบอกคา่ ของ สื่อและอุปกรณ์
จำ� นวนในแตล่ ะหลักและใชแ้ ถบกระจายเพอื่ ชว่ ยในการอ่านจำ� นวน บทเรยี นสอดแทรกทกั ษะ นักเรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
การสือ่ สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และทักษะการใหเ้ หตุผล • หนงั สือเรียนหน้า 8 - 9
หนงั สอื เรียนหน้า 8 - 9
ข้นั ที่ 1 น�ำเขา้ ส่บู ทเรยี น
© ORIGO Education
ครถู ามวา่ นกั เรยี นจำ� อะไรไดบ้ า้ งเกยี่ วกบั หนงึ่ พนั หนงึ่ พนั หมายถงึ อะไร เราจะเหน็ สงิ่ ตา่ ง ๆ ทมี่ ี
จำ� นวนเป็นหนง่ึ พันทใี่ ดบา้ ง ครสู ง่ เสริมใหน้ กั เรียนอภปิ รายร่วมกัน
ขน้ั ท่ี 2 สอนบทเรียน
1. ครูใู ห้น้ ักั เรียี นสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สือื เรียี นหน้า้ 8 แล้ว้ ถามว่า่ นักั เรียี น
รู้อ�้ ะไรบ้้างเกี่�ยวกับั บล็็อกจำนวนนี้้� (บล็อ็ กนี้�แสดงบล็อ็ กหน่ว่ ยหนึ่�งพัันอันั ) นักั เรียี นคิิดว่า่
บล็อ็ กอัันนี้้�ประกอบด้้วยกี่่�ร้อ้ ย นัับทีลี ะร้อ้ ยและชี้�ที่�แต่ล่ ะชั้�นของบล็อ็ กแล้ว้ พูดู ว่่า สิิบร้อ้ ย
มีคี ่า่ เท่่ากับั หนึ่�งพันั มีีบล็อ็ กสิิบกี่่�อัันในบล็็อกพันั หนึ่�งอััน ให้้เวลานักั เรีียนในการคิดิ หา
คำตอบแล้้วพูดู ว่่า บล็็อกสิิบหนึ่�งร้้อยอัันมีคี ่า่ เท่า่ กัับหนึ่�งพััน
2. ครูอู ่า่ นคำถามของเสือื ให้น้ ักั เรียี นฟังั จากนั้�นให้น้ ักั เรียี นพิจิ ารณาภาพบล็อ็ กจำนวนภาพที่� 2
แล้ว้ ถามว่่า นักั เรียี นจะบอกจำนวนในแต่ล่ ะหลักั ได้อ้ ย่า่ งไร ให้้นัักเรียี นเขียี นจำนวนใน
แต่่ละหลัักลงในตารางค่า่ ประจำหลักั ครููอธิบิ ายเกี่�ยวกัับตารางค่า่ ประจำหลัักถ้า้ จำเป็็น
3. ครูใู ห้น้ ักั เรียี นสังั เกตแถบการกระจายแล้ว้ ถามว่า่ นักั เรียี นจะเติมิ ตัวั เลขลงในแถบการกระจาย
อย่่างไร นัักเรีียนจะใช้้แถบการกระจายเพื่�่อช่่วยในการอ่่านจำนวนได้้อย่่างไร ครููสร้้าง
ความเข้้าใจให้้ตรงกัันว่่าหลัักสิิบและหลัักหน่่วยของแถบการกระจายถููกพัับปิิดเอาไว้้
เพราะว่่าเวลาอ่่านจำนวนเราไม่่อ่่านคำว่่าสิิบและหน่่วย จากนั้�นให้้นัักเรีียนทั้�งชั้�นอ่่าน
ชื่ �อจำนวนบนแถบการกระจายพร้้อมกััน
4. ครูอ่านค�ำส่ังในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรียน ตรวจสอบ
ใหแ้ น่ใจว่านกั เรยี นเข้าใจว่าจะต้องท�ำอะไร จากน้นั ให้นกั เรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยตนเอง
ข้ันท่ี 3 สรปุ บทเรียน
ครููและนัักเรีียนร่่วมกัันอภิิปรายคำตอบของกิิจกรรมในหนัังสือื เรียี น แล้้วให้อ้ าสาสมััคร
อ่า่ นชื่�อจำนวนดังั ๆ ครูใู ช้ค้ ำถาม เช่่น ภาพนี้้�แสดงบล็็อกร้้อยกี่่�อััน ภาพนี้้แ� สดงบล็อ็ กสิิบกี่่�อันั
นักั เรีียนทราบได้อ้ ย่า่ งไร
ฝึกทกั ษะ
นักั เรีียนแต่่ละกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้
• ต้น้ แบบสื่�อภาษาไทย 2 (หมายเหตุุ นำแถบการกระจายไปเคลือื บพลาสติกิ
หรือื ติดิ พลาสติกิ ใสบนช่อ่ งสำหรับั เขียี นจะได้ส้ ามารถนำแถบการกระจายมาใช้ไ้ ด้้ใหม่่
เก็็บไว้้สำหรัับบทเรียี นต่อ่ ๆ ไป)
• ปากกามารค์ เกอรแ์ บบลบได้
• กระดาษส�ำหรบั เขยี น
กจิ กรรม
ครแู บง่ กลมุ่ นักเรยี นแลว้ แจกสื่อและอปุ กรณใ์ ห้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ใหน้ ักเรยี นผลดั กนั เขยี น
จ�ำนวนนบั ทมี่ ีสห่ี ลกั ระวา่ ง 1,000 ถงึ 5,000 บนแถบการกระจาย ครูอธิบายว่านักเรียนจะตอ้ ง
ไม่เติม 0 ในหลกั ใด ๆ จากนั้นสมาชกิ ในกลมุ่ วาดภาพบลอ็ กให้ตรงกบั จ�ำนวนทเ่ี พ่ือนเขียน
ทำ� กิจกรรมซำ้� โดยเปลีย่ นเป็นจำ� นวนนบั ทีม่ สี ีห่ ลักจ�ำนวนอื่น ๆ ตามแต่เวลาจะอ�ำนวย
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.1 25
1.2 Number: Writing four-digit numerals and number names
In this lesson, students write four-digit numerals and number names. The following Classroom materials
Mathematical skills and processes learning standards are embedded in this lesson:
Communication and Making connections. You will need:
• 1 set of cards from Blackline
Step 1 Starting the lesson
Masters 1a–1i
Remove the blank base-10 block card and the card showing 1 tens block. Sort the • 1 four-digit numeral expander from
cards by place value. Mix each set of place-value cards and place them facedown
in separate piles. Ask four students to turn over the top card from each pile. Invite Blackline Master 2 (from Lesson 1.1 Extra
another student to say the number name aloud and write it on the expander. Practice activity; retain for future lessons)
Repeat the activity two more times, asking other students to turn over the cards, Each student will need:
read the four-digit number, and write it on the expander. • Student Journal 1.2
Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp. 10–11
1. Return the blank card and the card showing 1 ten to the set of base-10 block © ORIGO Education
cards. Show the number 2,036 with the base-10 block cards. Ask, What will
we write when we do not have a block in a place? What do we say? Write
the number on the expander and explain that we write a zero in the place with
no value. If we left the place empty, it would look like a different number.
Demonstrate by writing the same number on the board without the zero as
a placeholder. Emphasize the need for zero. Repeat the activity with 3,018.
2. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.2. Refer to
the blocks at the top of the page and ask, Which student has written
the correct numeral? How do you know? What mistake did the other
student make? Reinforce that when a number has zero in one of the places,
we must write zero in the numeral as a placeholder. As a class, read aloud
the number names at the bottom of the Warm Up discussion. Emphasize that
the comma separates the thousands from the hundreds, tens, and ones and
makes it easier to read the number name.
3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss the students’ answers to Student Journal 1.2. Refer to Question 2a and
ask, What does the eight tell us about the number? What place name do you
say with the eight? What do you say when you read the last two digits?
Highlight the importance of reading the last two digits together.
Extra practice
Each group of students will need:
• 1 set of base-10 block cards from Blackline Masters 1a–1i
• 1 four-digit numeral expander from Blackline Master 2
• recycled paper
Activity
Organize students into groups and distribute the materials. Ask the students to use
the cards to represent 2,254. Then ask them to remove the card in the hundreds
place. Have them write the number that matches on the expander, then write
the number in words. Repeat with other numbers to use zero in the tens place.
26 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.2
1.2 จ�ำนวน การเขียนตัวเลขและตัวหนังสือแทนจ�ำนวนนับท่ีมีส่ีหลัก
สำ� หรบั บทเรยี นนี้ นกั เรยี นเขยี นตวั เลขและตวั หนงั สอื แทนจำ� นวนนบั ทมี่ สี ห่ี ลกั บทเรยี นสอดแทรก สือ่ และอปุ กรณ์
ทกั ษะการส่ือสารและการสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และทกั ษะการเช่อื มโยง ครูจู ะต้อ้ งใช้้
• ต้น้ แบบสื่�อ 1a - 1i จำนวน 1 ชุุด
ขน้ั ท่ี 1 น�ำเขา้ สบู่ ทเรียน • ต้น้ แบบสื่�อภาษาไทย 2 จำนวน 1 แผ่น่
ครหู ยบิ บัตรบล็อกฐานสิบท่เี ป็นบตั รเปล่าและบตั รแสดง 1 สิบออกไป จำ� แนกกลมุ่ บตั รทเ่ี หลือ (จากกิจิ กรรมฝึึกทักั ษะบทเรียี น 1.1
ตามคา่ ประจำ� หลกั น�ำบัตรแตล่ ะกลมุ่ มาคละกนั แลว้ วางคว�่ำไว้เปน็ กองตามคา่ ประจำ� หลัก เก็็บไว้้สำหรับั บทเรีียนต่อ่ ๆ ไป)
ครใู หน้ กั เรียน 4 คนออกมาพลกิ บัตรใบบนสดุ จากแต่ละกองหงายขึ้น ให้นกั เรียนอีกคนอ่าน นักเรยี นแต่ละคนจะตอ้ งใช้
ชอ่ื จำ� นวนและเขยี นลงในแถบการกระจาย ท�ำกิจกรรมซำ้� อกี 2 ครั้งโดยเปล่ยี นให้นักเรียน • หนัังสืือเรียี นหน้า้ 10 - 11
คนอนื่ ๆ ออกมาพลิกบัตร, อ่านจำ� นวน และเขียนจำ� นวนลงในแถบการกระจาย หนังสือเรยี นหน้า 10 - 11
© ORIGO Education ข้นั ท่ี 2 สอนบทเรียน
1. ครนู ำ� บตั รเปลา่ และบตั รแสดง 1 สบิ ใสค่ นื ไปในชดุ บตั รบลอ็ กฐานสบิ ครแู สดงจำ� นวน 2,036
ด้วยบัตรบล็อกฐานสบิ ให้นกั เรียนดู แลว้ ถามว่า ในหลกั ทไี่ ม่มบี ล็อกอยเู่ ลย นักเรียนจะเขียน
อะไรลงไป นกั เรยี นจะอา่ นจำ� นวนอยา่ งไร ครเู ตมิ ตวั เลขลงในแถบการกระจายและอธบิ ายวา่
เราเขยี นตัวเลข 0 ลงในต�ำแหน่งที่ไม่มคี ่า ถา้ เราปลอ่ ยใหต้ ำ� แหน่งนั้นวา่ ง มนั จะดูเหมอื น
จำนวนอื่�น ครููแสดงให้้ดููเป็น็ ตัวั อย่่างโดยการเขีียนจำนวนเดีียวกันั บนกระดานโดยไม่ม่ ีี 0
เป็น็ ตัวั ยึดึ ตำแหน่ง่ ครูเู น้น้ ถึงึ ความสำคัญั ของ 0 แล้ว้ ทำกิจิ กรรมซ้ำ้ โดยเปลี่�ยนจำนวนเป็น็ 3,018
2. ครูใู ห้น้ ักั เรียี นสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สือื เรียี นหน้า้ 10 ให้น้ ักั เรียี นสังั เกต
ภาพบล็็อกจำนวนที่่�ส่่วนบนของหน้้านั้้�นแล้้วถามว่่า นัักเรีียนคนไหนเขีียนตััวเลขแสดง
จำนวนบล็็อกได้้ถููกต้อ้ ง นักั เรีียนทราบได้้อย่า่ งไร ข้อ้ ผิิดพลาดของนักั เรีียนอีกี คนคืืออะไร
ครูเู สริมิ ว่า่ เมื่�อจำนวนมีี 0 อยู่�ในหลักั ใด เราจะต้อ้ งเขียี นตัวั เลข 0 เพื่�อยึดึ ตำแหน่ง่ ของหลักั นั้�น
เอาไว้้ ครูใู ห้น้ ักั เรียี นทั้�งชั้�นอ่า่ นชื่�อจำนวนที่่�ส่ว่ นล่า่ งของกิจิ กรรมอภิปิ รายอุ่�นเครื่�องพร้อ้ ม ๆ กันั
และเน้้นว่่าเครื่�องหมายจุุลภาคแยกหลัักพันั ออกจากหลัักร้้อย หลักั สิิบ และหลัักหน่่วย
และทำให้ก้ ารอ่่านจำนวนง่่ายขึ้�น
3. ครููอ่่านคำสั่�งในกิิจกรรมฝึึกทัักษะและประลองปััญญาไปพร้้อมกัับนัักเรีียน ตรวจสอบ
ให้้แน่่ใจว่่านัักเรียี นเข้้าใจว่่าจะต้้องทำอะไร จากนั้�นให้น้ ัักเรียี นปฏิบิ ััติกิ ิจิ กรรมด้้วยตนเอง
ขัน้ ที่ 3 สรปุ บทเรยี น
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภิปรายคำ� ตอบของกจิ กรรมในหนงั สือเรียน ครใู หน้ กั เรยี นดูค�ำถาม
ขอ้ 2 (2) และถามวา่ ตัวเลขแปดบอกอะไรเกีย่ วกับจ�ำนวนน้ี นักเรียนจะพูดแปดในหลกั ใด
นกั เรยี นจะอา่ นสองหลกั สดุ ทา้ ยอยา่ งไร ครเู นน้ ความสำ� คญั ของการอา่ นตวั เลขสองหลกั สดุ ทา้ ย
ด้วยกนั เวลาบอกจ�ำนวน
ฝกึ ทกั ษะ
นัักเรีียนแต่่ละกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 1a - 1i จำนวน 1 ชุดุ
• ต้น้ แบบสื่�อภาษาไทย 2 จำนวน 1 แผ่่น
• กระดาษสำ� หรับเขยี น
กจิ กรรม
ครูแบง่ กลมุ่ นกั เรียนแลว้ แจกส่ือและอปุ กรณ์ให้นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ให้นกั เรยี นใช้บัตรที่แจกให้
แสดงจำ� นวน 2,254 แลว้ ใหน้ กั เรยี นหยบิ บตั รในหลกั รอ้ ยออกไป จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นเขยี นจำ� นวน
ลงในแถบการกระจายใหต้ รงกับจำ� นวนใหม่ และเขียนเปน็ ตวั หนังสอื แทนจ�ำนวน ทำ� กิจกรรม
แบบนี้อีกโดยเปลีย่ นเปน็ จ�ำนวนอืน่ ๆ และเปลย่ี นให้ใช้ตัวเลข 0 ในหลักสิบ
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.2 27
1.3 Number: Writing four-digit numerals and number names (Thai)
In this lesson, students write four-digit numerals and number names in Thai. Classroom materials © ORIGO Education
The following Mathematical skills and processes learning standards are embedded
in this lesson: Communication and Reasoning. You will need:
• 1 set of cards from Blackline Masters
Step 1 Starting the lesson
1a–1i (remove blank card and 1 ten
Sort the base-10 block cards by place value. Mix the cards for each place value and for Step 1.)
place them facedown in separate piles. Ask four students to turn over the top card • 1 four-digit numeral expander (Thai)
from each pile. Invite another student to say the number name aloud and write it on from Blackline Master 3
the expander in Thai numerals. Repeat the activity two more times. Each time, ask • 1 set of cards from Blackline Masters 4–6
other students to read the four-digit number and write it on the expander. Each student will need:
• Student Journal 1.3
Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp. 12–13
1. S how the number 3,102 with the block cards. Ask, How do we write this number ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.3
on the expander in Thai numerals? How do we say the number name in Thai?
Then ask, What is the Thai number name that is ten greater than this number?
How do you know? Repeat the activity with different four-digit numbers that
include a zero. Make sure you include an example with a teen number.
2. M ix the expander, numeral, and number name cards and place them faceup at
the front of the room. Invite a student to choose a numeral card, then find the
matching expander card and number name card. Ask the class to confirm the
match. Repeat with different students until all the cards have been matched.
3. D irect students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.3. Refer to the
block picture at the top of the page. Ask, Which student has written the correct
numeral? How do you know? What mistake did the other student make?
Then ask, What is the Thai number name that is ten greater than this
number? Ask students to write the number as a numeral and in words in their
Student Journal. Invite five students to read aloud the five numbers at
the bottom of the Warm Up discussion. Ask questions such as, What number
is ten (one hundred) greater than the number? How do you know?
4. R ead the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss the students’ answers to Student Journal 1.3. Encourage students to
suggest methods that might be different from the thinking used by other members
of the class. For each number, ask questions such as, How many hundreds does
this number have? How many tens does this number have? What number
name do we say/write for this number? How do you know?
Extra practice
Each pair of students will need:
• 1 set of cards from Blackline Masters 4–6
• recycled paper
Activity
Organize students into pairs and distribute the materials. Ask pairs to find the
matching numeral, expander, and number name cards. For an extra challenge, ask
students to then write the numeral and the number name that is ten greater than
the number on each card.
28
1.3 จ�ำนวน การเขยี นตัวเลขและตวั หนังสอื แทนจ�ำนวนนับทม่ี สี ี่หลกั (ตัวเลขไทย)
ส�ำหรบั บทเรียนน้ี นกั เรยี นเขยี นตัวเลขไทยและตวั หนังสือแทนจำ� นวนนับที่มีสห่ี ลัก บทเรยี น สื่อและอุปกรณ์
สอดแทรกทักษะการส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ และทกั ษะการให้เหตุผล ครูจู ะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 1a - 1i (หยิิบบัตั รเปล่่าและ
ข้ันท่ี 1 น�ำเขา้ สบู่ ทเรียน
บััตร 1 สิบิ ออกสำหรับั กิิจกรรมขั้�นที่� 1)
ครูจ�ำแนกกลมุ่ บตั รบลอ็ กจำ� นวนฐานสิบตามคา่ ประจ�ำหลัก คละบัตรแต่ละกลุ่มแล้ววางคว่�ำไว้ • ต้้นแบบสื่�อภาษาไทย 3 จำนวน 1 แผ่่น
เปน็ กองตามคา่ ประจำ� หลกั ครใู หน้ กั เรยี น 4 คนออกมาพลกิ บตั รใบบนสดุ จากแตล่ ะกองหงายขน้ึ • ต้น้ แบบสื่�อ 4 - 6 จำนวน 1 ชุุด
ใหน้ กั เรยี นอกี คนอา่ นจำ� นวนและเขยี นตวั เลขไทยลงในแถบการกระจาย ทำ� กจิ กรรมซำ้� อกี 2 ครง้ั นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
แต่ละครง้ั ให้เปลย่ี นนกั เรียนคนอ่นื ๆ อ่านจำ� นวนและเขยี นตวั เลขไทยลงในแถบการกระจาย • หนังั สืือเรียี นหน้้า 12 - 13
หนงั สอื เรยี นหน้า 12 - 13
ขน้ั ท่ี 2 สอนบทเรียน
© ORIGO Education
1. ครูแสดงจ�ำนวน 3,102 ดว้ ยบัตรบลอ็ กจำ� นวนใหน้ ักเรยี นดู แล้วถามวา่ นักเรยี นจะเขียน
ตวั เลขไทยลงในแถบการกระจายเพอ่ื แสดงจำ� นวนน้ไี ด้อย่างไร นกั เรยี นจะอา่ นจำ� นวนนี้
อยา่ งไร จากน้นั ถามวา่ จำ� นวนใดท่มี ากกวา่ จำ� นวนนี้อยู่สบิ นกั เรยี นทราบได้อยา่ งไร
ท�ำกจิ กรรมซ�้ำโดยเปลย่ี นเป็นจำ� นวนนบั ทม่ี สี ี่หลกั ทมี่ ี 0 จ�ำนวนอนื่ ๆ โดยจ�ำนวนท่ใี ช้
เปน็ ตัวอยา่ งจะต้องมจี �ำนวนท่ีสองหลกั สุดทา้ ยเปน็ 11 - 19 อย่างน้อย 1 จำ� นวน
2. ครูนู ำบััตรแถบการกระจาย บัตั รตัวั เลข และบัตั รชื่�อจำนวนมาวางคละกันั แล้้ววางหงายไว้้
ให้้นัักเรีียน 1 คนออกมาเลืือกบััตรตัวั เลข 1 ใบ จากนั้�นหาบััตรแถบการกระจายและ
บััตรชื่�อจำนวนที่�ตรงกััน ให้น้ ัักเรีียนในชั้�นช่่วยยืืนยันั ความถููกต้อ้ ง ทำกิิจกรรมซ้ำ้ โดย
เปลี่�ยนเป็็นนักั เรียี นคนอื่�น ๆ จนกระทั่�งจับั คู่่�บััตรได้ค้ รบ
3. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตการอภปิ รายกจิ กรรมอนุ่ เครอ่ื งในหนงั สอื เรยี นหนา้ 12 ใหน้ กั เรยี นสงั เกต
ภาพบล็อกจ�ำนวนแล้วถามว่า นกั เรยี นคนใดเขยี นตัวเลขแสดงจ�ำนวนบล็อกได้ถกู ต้อง
นักั เรียี นทราบได้้อย่า่ งไร ข้อ้ ผิิดพลาดของนักั เรียี นอีกี คนคืืออะไร จากนั้�นถามว่่า จำนวนใด
ที่�มากกว่า่ จำนวนนี้้อ� ยู่่�สิบิ โดยให้น้ ักั เรียี นเขียี นตัวั เลขไทยและตัวั หนังั สือื แทนจำนวนดังั กล่า่ ว
ลงในช่่องว่่างในหนัังสือื เรียี น ครููให้น้ ัักเรีียน 5 คนอ่า่ นจำนวน 5 จำนวนที่่�ส่ว่ นล่่างของ
กิิจกรรมอภิิปรายอุ่�นเครื่�องในหนัังสือื เรียี น แล้ว้ ครูใู ช้ค้ ำถาม เช่น่ จำนวนใดที่�มากกว่า่
จำนวนนี้้�อยู่่�สิิบ (หนึ่�งร้้อย) นัักเรียี นทราบได้อ้ ย่่างไร
4. ครูอ่านค�ำสั่งในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรียน ตรวจสอบ
ใหแ้ นใ่ จว่านกั เรยี นเขา้ ใจวา่ จะตอ้ งท�ำอะไร จากนั้นให้นกั เรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมด้วยตนเอง
ขัน้ ที่ 3 สรุปบทเรยี น
ครููและนักั เรีียนร่ว่ มกันั อภิปิ รายคำตอบของกิิจกรรมในหนัังสือื เรียี น ครููส่่งเสริิมให้น้ ักั เรีียน
เสนอวิธิ ีคี ิิดที่�แตกต่า่ งจากวิธิ ีีที่�เพื่�อน ๆ ใช้้ ครููใช้ค้ ำถามสำหรัับแต่่ละจำนวน เช่น่ จำนวนนี้้�
มีกี ี่่�ร้้อย จำนวนนี้้�มีกี ี่่�สิบิ จำนวนนี้้อ� ่่าน/เขียี นว่่าอย่่างไร นักั เรีียนทราบได้้อย่่างไร
ฝกึ ทกั ษะ
นัักเรียี นแต่ล่ ะคู่�จะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 4 - 6 จำนวน 1 ชุุด
• กระดาษสำ� หรับเขยี น
กิจกรรม
ครูให้นักเรียนจับคู่กันแล้วแจกสื่ออุปกรณ์ให้ ให้นักเรียนแต่ละคู่ช่วยกันหาบัตรตัวเลข
บตั รแถบการกระจาย และบตั รชอ่ื จำ� นวนทตี่ รงกนั เพอ่ื เปน็ การเพมิ่ ความทา้ ทายใหก้ บั กจิ กรรม
ครูใหน้ กั เรียนเขียนตวั เลขไทยและช่ือจ�ำนวนทีม่ ากกว่าจำ� นวนบนบตั รแต่ละใบอยู่สิบ
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.3 29
1.4 Number: Writing four-digit numbers in expanded form
In this lesson, students write four-digit numbers in expanded form. The following Classroom materials
Mathematical skills and processes learning standards are embedded in this lesson:
Problem solving and Reasoning. You will need:
• 1 set of base-10 block cards from Blackline
Step 1 Starting the lesson
Masters 1a–1i
Sort the base-10 block cards by place value. Mix the cards for each place value, • 1 four-digit numeral expander from
and place them facedown in separate piles. Display the numeral expander. Ask four
students to turn over the top card from each pile. Invite another student to say the Blackline Master 2 (from Lesson 1.2)
digits that should be recorded on the expander. Write the number on the expander Each student will need:
and read the number name aloud. Repeat for different numbers and with other • recycled paper
students. • Student Journal 1.4
Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp. 14–15
1. Write the number 4,762 on the expander and ask, What number is written on
this expander? What block cards would you use to show this number? What
does the four tell us? What value does the four represent? Invite a student to
come to the front and use the block cards to show the number. Refer to the
block cards and establish that four groups of one thousand represents a value of
4,000, seven groups of one hundred represents a value of 700, six groups of one
ten represents a value of 60, and two groups of one represents a value of two.
Ask, What happens when we add these values together? What is the total?
Write 4,000 + 700 + 60 + 2 on the board. Ask the students if they can remember
from Grade 2 what this method of recording the value of each digit in a number
is called (expanded form).
2. W ork through the Warm Up discussion in Student Journal 1.4 with the whole
class for the number 1,254. If necessary, explain that each part of the puzzle
(that is, the block picture, the place-value chart, and the number written in
expanded form) is a mix-and-match card. Guide students to observe that the total
matches the place-value parts.
3. R ead the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss the students’ answers to Student Journal 1.4. Focus students’ attention
on Question 3c and ask, How did you decide what number to write when there
are 12 ones? Invite students to share their thinking.
Extra practice © ORIGO Education
Each student will need:
• recycled paper
Activity
Distribute the paper. Ask the students to write a four-digit number on their paper.
They then exchange papers with the student beside them. The student reads
the number, records it in expanded form, and writes the number name. Students
can then discuss and check each other’s work. Repeat the activity with different
numbers as time allows.
30 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.4
1.4 จ�ำนวน การเขียนจ�ำนวนนับท่ีมีส่ีหลักในรูปกระจาย
ส�ำหรบั บทเรียนนี้ นักเรยี นเขียนจ�ำนวนนับทีม่ สี ่ีหลกั ในรปู กระจาย บทเรยี นสอดแทรกทักษะ ส่อื และอุปกรณ์
การแก้ปัญหา และการให้เหตุผล ครูจู ะต้้องใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 1a - 1i จำนวน 1 ชุุด
ขน้ั ท่ี 1 น�ำเข้าสบู่ ทเรียน • ต้น้ แบบสื่�อภาษาไทย 2 (จากบทเรีียน 1.2)
นักั เรียี นแต่่ละคนจะต้้องใช้้
ครูจู ำแนกกลุ่�มบัตั รบล็อ็ กฐานสิบิ ตามค่า่ ประจำหลักั คละบัตั รแต่ล่ ะกลุ่�มแล้ว้ วางคว่ำ่ ไว้เ้ ป็น็ กอง • กระดาษสำหรับั เขีียน
ตามค่า่ ประจำหลักั ครูตู ิดิ แถบการกระจายแสดงไว้้ให้น้ ัักเรีียนเห็น็ ครูใู ห้้นัักเรีียน 4 คนออกมา • หนังสอื เรียนหนา้ 14 - 15
พลิกิ บัตั รใบบนสุุดจากแต่ล่ ะกองหงายขึ้�นมา ให้้นักั เรีียนอีกี คนบอกตัวั เลขที่�ควรจะเขียี น หนงั สอื เรียนหน้า 14 - 15
ในแต่่ละช่อ่ งของแถบการกระจาย ครูเู ขียี นตัวั เลขบนแถบการกระจายแล้ว้ อ่า่ นจำนวนให้้
นักั เรียี นฟังั ทำกิจิ กรรมซ้้ำโดยเปลี่�ยนเป็็นจำนวนอื่�น ๆ และนัักเรีียนคนอื่�น ๆ
ขั้�นที่� 2 สอนบทเรียี น
1. ครเู ขยี นจำ� นวน 4,762 บนแถบการกระจายแลว้ ถามวา่ จำ� นวนทเ่ี ขยี นบนแถบการกระจายนี้
คือจำ� นวนใด นกั เรียนจะใช้บตั รบลอ็ กจ�ำนวนใดเพอ่ื แสดงจำ� นวนนี้ สบี่ อกอะไรนกั เรียน
สี่แสดงค่าใด ให้นักเรยี น 1 คนออกมาหน้าชนั้ เพอื่ ใชบ้ ัตรบล็อกจ�ำนวนแสดงจ�ำนวนดงั กล่าว
ให้นกั เรียนดบู ัตรบล็อกจ�ำนวนและสรา้ งความเข้าใจทีต่ รงกันวา่ 4 กลุม่ ของ 1 พนั แสดงค่า
4,000, 7 กลมุ่ ของ 1 รอ้ ยแสดงคา่ 700, 6 กลมุ่ ของ 1 สิบแสดงค่า 60 และ 2 กลมุ่ ของ 1
แสดงค่า 2 ครถู ามวา่ จะเกิดอะไรข้ึนเม่อื นักเรยี นบวกค่าเหลา่ น้ีด้วยกนั ผลรวมเปน็ เทา่ ใด
ครเู ขยี น 4,000 + 700 + 60 + 2 บนกระดาน ครถู ามนกั เรยี นวา่ จำ� ไดห้ รอื ไมว่ า่ ในชน้ั ป.2
วธิ กี ารเขียนจ�ำนวนแบบนีเ้ รียกวา่ อะไร (รูปกระจาย)
2. ครูนู ำนักั เรียี นอภิปิ รายเกี่�ยวกับั จำนวน 1,254 โดยใช้ค้ ำถามในการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�อง
ในหนัังสืือเรียี น ถ้า้ จำเป็น็ ให้้อธิบิ ายว่่าแต่ล่ ะส่่วนของจิ๊ก� ซอว์์ (นั่�นคืือภาพบล็็อก ตาราง
ค่า่ ประจำหลักั และจำนวนที่�เขียี นในรูปู กระจาย) เป็น็ บัตั รสำหรับั นำมาจับั คู่�ให้ไ้ ด้จ้ ำนวนตรงกันั
ครููช่่วยชี้�นำให้้นักั เรียี นสังั เกตเห็็นว่่าผลรวมที่�ได้้ตรงกัับค่่าในแต่่ละหลัักคือื เท่่ากัับ 1,254
3. ค รอู ่านค�ำสง่ั ในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปญั ญาไปพรอ้ มกับนกั เรยี น ตรวจสอบ
ให้แน่ใจวา่ นกั เรียนเขา้ ใจวา่ ตอ้ งท�ำอะไร จากน้นั ให้นกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรมดว้ ยตนเอง
ขัน้ ที่ 3 สรปุ บทเรยี น
ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายค�ำตอบของกิจกรรมในหนงั สือเรยี น ให้นักเรยี นมุ่งความสนใจ
ไปที่ค�ำถามข้อ 3 (3) แล้วถามว่า นักเรียนตัดสินใจได้อย่างไรว่าจะเขียนจ�ำนวนใดเม่ือมี
12 หนว่ ย ใหน้ ักเรยี นน�ำเสนอวธิ คี ิด
ฝึกทักษะ
นักเรยี นแตล่ ะคนจะต้องใช้
• กระดาษสำ� หรบั เขยี น
กจิ กรรม
ครูแจกกระดาษให้นักเรียน ให้นักเรียนเขียนจ�ำนวนนับท่ีมีส่ีหลัก 1 จ�ำนวนลงในกระดาษ
จากนนั้ ใหน้ กั เรียนแลกเปล่ยี นกระดาษกับเพื่อนทนี่ ง่ั ข้าง ๆ นกั เรียนอา่ นจ�ำนวน เขียนจำ� นวน
ในรปู กระจาย และเขยี นเป็นตัวหนังสือ จากน้นั ให้นกั เรียนแตล่ ะคอู่ ภปิ รายร่วมกันและช่วยกนั
ตรวจสอบความถูกตอ้ งของค�ำตอบของเพ่อื น ท�ำกจิ กรรมซำ�้ โดยเปลีย่ นเปน็ จำ� นวนอน่ื ๆ
ตามแตเ่ วลาจะอ�ำนวย
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.4 31
1.5 Number: Working with place value
In this lesson, students increase and decrease four-digit numbers by ten or 100. Classroom materials
The following Mathematical skills and processes learning standards are embedded
in this lesson: Problem solving and Using media, technology, and resources. You will need:
• 1 set of base-10 block cards from Blackline
Step 1 Starting the lesson
Masters 1a–1i
Sort the cards by place-value. Mix each place value, and place the cards facedown Each student will need:
in separate piles. Invite a student to select one base-10 block card. Ask, What do • 1 cube labeled: 10, 10, 10, 100, 100, 100
you know about the number in this picture? Encourage observations such as, • Student Journal 1.5
“The blocks are hundreds” and “There are four blocks.” Invite a different student to
select another card from a different pile. Ask questions such as, What is the same Student Journal pp. 16–17
or different about the blocks in the two pictures? What number do we get if we
put the blocks together? Repeat the activity, and have students select cards from
other place values until a four-digit number is displayed.
Step 2 Teaching the lesson
1. D irect students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.5. Refer to the
block picture at the top of the page. Ask, How many blocks are in each place?
How do you read and write the number name? Invite students to say the
number, then write the number with words and as a numeral. Students can then
record the number on the expander in their Student Journals. Refer to the number
and ask, How can we figure out the number that is 10 greater? Invite students
to share their thinking. Encourage them to identify the position of the tens place
and describe how the digit in this place value is changing. Use the block cards to
confirm that the new number is ten greater. Start with the new number, and repeat
the activity to find the number that is 100 less.
2. R epeat the activity, discussing the next block picture. Use the block cards to
confirm the answers.
3. R ead the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Distribute
the cubes. Have students work independently to complete the tasks. If students
require more information or support, you may choose to guide students through
the first two rolls and calculations for Question 3.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss the students’ answers to Student Journal 1.5. Ask students to describe
which digit(s) changed for each new number. Invite students to share the strategies
they used to complete each problem.
Extra practice © ORIGO Education
Each pair of students will need:
• 1 copy of Blackline Master 7
• 1 cube labeled: +1, +10, +100, -1, -10, -100
• scissors
Activity
Organize students into pairs and distribute the materials. Ask the students to cut
out the two game boards. Students take turns to roll the cube. They then add or
subtract the number they rolled from the start number for that round. The student
with the greater total at the end of each round earns one point. The student with
the greater number of points after three rounds wins.
32 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.5
1.5 จ�ำนวน การใช้ค่าประจ�ำหลัก
ส�ำหรับบทเรยี นนี้ นกั เรยี นนำ� จ�ำนวนนบั ทม่ี ีส่ีหลกั ท่กี �ำหนดให้มาเพ่ิมหรือลดทลี ะสบิ หรอื 100 สอื่ และอปุ กรณ์
บทเรยี นสอดแทรกทักษะการแก้ปญั หา และทกั ษะการใช้สื่อ เทคโนโลยแี ละแหลง่ การเรียนรู้ ครูจู ะต้อ้ งใช้้
• ต้น้ แบบสื่�อ 1a - 1i จำนวน 1 ชุุด
ข้ันที่ 1 น�ำเข้าส่บู ทเรยี น นักเรียนแต่ละคนจะตอ้ งใช้
• ลูกู บาศก์์ 1 ลูกู แต่่ละหน้้าประกอบด้ว้ ย
ครูนู ำบััตรมาจำแนกกลุ่�มตามค่า่ ประจำหลักั คละบัตั รแต่ล่ ะกลุ่�ม แล้ว้ วางบััตรคว่ำ่ ไว้เ้ ป็็นกอง
ตามค่า่ ประจำหลักั ให้้นัักเรีียน 1 คนออกมาหยิบิ บัตั รบล็อ็ กฐานสิบิ 1 ใบ และถามว่า่ นัักเรีียน 10, 10, 10, 100, 100, 100
รู้�้อะไรบ้า้ งเกี่�ยวกับั จำนวนในภาพนี้้� ครูสู ่ง่ เสริิมให้น้ ักั เรีียนตั้�งข้อ้ สัังเกต เช่่น “บล็็อกเหล่า่ นี้้�เป็น็ • หนังสอื เรยี นหนา้ 16 - 17
บล็อ็ กร้้อย” และ “มีบี ล็็อกสี่่�อััน” ให้น้ ักั เรียี นอีีกคนออกมาหยิบิ บััตร 1 ใบจากกองอื่�น หนังสอื เรียนหนา้ 16 - 17
ครูใู ช้ค้ ำถาม เช่่น สองภาพนี้้�มีีบล็็อกอะไรที่�เหมืือนกันั หรืือแตกต่า่ งกััน ถ้า้ เรานำบล็็อกเหล่า่ นี้้�
มารวมกันั จะได้เ้ ป็น็ จำนวนใด ทำกิิจกรรมซ้ำ้ และให้้นักั เรียี นเลืือกบััตรจาก 2 กองที่�เหลือื
เพื่�อให้้ได้เ้ ป็็นจำนวนนัับที่่�มีีสี่�หลััก
ขั้�นที่� 2 สอนบทเรียี น
1. ค รูใู ห้้นัักเรียี นสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สืือเรียี นหน้้า 16 และให้น้ ักั เรียี น
สัังเกตภาพบล็็อกด้า้ นบนของหน้า้ นั้้�นแล้ว้ ถามว่่า มีีบล็อ็ กจำนวนกี่่�อันั ในแต่่ละหลักั นัักเรียี น
จะอ่า่ นและเขียี นจำนวนนี้้�อย่า่ งไร ให้น้ ัักเรียี นบอกจำนวนและเขีียนตัวั หนัังสือื แทนจำนวน
และตัวั เลขแสดงจำนวน จากนั้�นให้น้ ักั เรียี นเขียี นตัวั เลขลงในแถบการกระจายในหนังั สือื เรียี น
ให้้นักั เรียี นพิจิ ารณาจำนวนที่�ได้แ้ ล้ว้ ถามว่่า นักั เรียี นจะหาจำนวนที่�มากกว่า่ จำนวนนี้้�อยู่่�สิบิ
ได้้อย่่างไร ครููเชิิญชวนให้้นัักเรีียนนำเสนอวิิธีีคิิด และส่่งเสริิมให้้นัักเรีียนระบุุตำแหน่่ง
ของหลัักสิิบและอธิบิ ายว่่าเลขโดดในหลักั นี้�เปลี่�ยนไปอย่่างไร ใช้บ้ ัตั รบล็อ็ กจำนวนช่ว่ ย
ในการยืนื ยัันว่า่ จำนวนใหม่่ที่�ได้้นั้�นมากกว่า่ จำนวนเดิิมอยู่� 10 เปลี่�ยนจำนวนเริ่�มต้น้ ใหม่่
และให้น้ ักั เรีียนหาจำนวนที่่�น้้อยกว่่าจำนวนนี้�อยู่� 100
2. ทำ� กิจกรรมซ�้ำโดยเปลย่ี นเป็นอภิปรายเก่ยี วกับภาพบล็อกจ�ำนวนภาพต่อไป ใช้บตั รภาพ
บลอ็ กจำ� นวนในการตรวจสอบความถูกต้องของค�ำตอบ
3. ค รูอ่านคำ� สัง่ ในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรียน ครแู จกลูกบาศก์
ใหน้ กั เรยี นแลว้ ให้นกั เรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง ถา้ นักเรียนตอ้ งการขอ้ มูลเพมิ่ เติมหรือ
ความช่วยเหลอื ครอู าจจะนำ� นกั เรยี นทำ� กิจกรรมฝกึ ทักษะขอ้ 3 สำ� หรบั การทอยลกู บาศก์
และการคดิ คำ� นวณค�ำตอบ 2 คร้งั แรก
ขัน้ ท่ี 3 สรปุ บทเรยี น
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายค�ำตอบของกิจกรรมในหนังสือเรียน ให้นักเรียนอธิบายว่า
เลขโดดตัวไหนท่ีเปล่ียนไปส�ำหรับจ�ำนวนใหม่ ครูเชิญชวนให้นักเรียนน�ำเสนอกลวิธีที่ใช้
ในการหาค�ำตอบ
© ORIGO Education ฝกึ ทกั ษะ
นักเรียนแต่ละคูจ่ ะตอ้ งใช้
• ตน้ แบบสอ่ื ภาษาไทย 7 จ�ำนวน 1 ชดุ
• ลกู บาศก์ 1 ลกู แต่ละหนา้ ประกอบด้วย +1, +10, +100, -1, -10, -100
• กรรไกร
กิจกรรม
ครูใหน้ ักเรียนจบั คู่กันแลว้ แจกส่ือและอุปกรณใ์ ห้นักเรียนแตล่ ะคู่ ให้นักเรยี นตดั กระดานเกมทง้ั
2 แผน่ ออกมาแลว้ ผลดั กนั ทอยลูกบาศก์ จากน้นั บวกหรอื ลบกับจ�ำนวนเริ่มตน้ ตามผลท่ีได้
จากการทอยลูกบาศก์ นกั เรียนท่ีได้ผลรวมมากกวา่ ในแต่ละรอบได้ 1 คะแนน หลงั จาก
การเลน่ 3 รอบนกั เรียนที่ไดค้ ะแนนมากกว่าเป็นผชู้ นะ
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.5 33
1.6 Number: Locating four-digit numbers on a number line
In this lesson, students explore the relative position of four-digit numbers on Classroom materials
a number line. They use comparison language and symbols to compare up to
three four-digit numbers. The following Mathematical skills and processes Each student will need:
learning standards are embedded in this lesson: Communication and Reasoning. • Student Journal 1.6
Step 1 Starting the lesson Student Journal pp. 18–19
Draw a number line from 300 to 700 on the board. Mark increments of 100, but
only label 300 and 700. Then ask, What do you notice about this number line?
How has it been divided? What number will we write at each mark? How do
you know? Invite three students to each choose a mark, write the number, and
explain how they knew which number to write.
Step 2 Teaching the lesson
1. Draw a number line from 2,000 to 4,000 on the board. Mark increments of 100,
but only label increments of 500. Draw an arrow pointing to the position of 2,400.
Ask, What do you notice about the number line? How has it been divided?
Ask a volunteer to identify the value of the position of the arrow. Then ask,
Who can show the position of the number that is 100 greater? Will you move
left or right along the number line? Invite a volunteer to draw an arrow
showing the position and to share their thinking. Guide students to observe
that greater numbers are farther to the right than lesser numbers. Repeat
the discussion to show the number that is 100 less than 2,400.
2. Invite two students to mark and label 3,100 and 3,500 on the number line. Then
ask, How can we figure out which number is greater? Have students share
their thinking with the student beside them. Write the comparison sentence
3,500 > 3,100 on the board and review what students know about the
comparison symbol. Invite a student to read the comparison sentence aloud:
“Three thousand five hundred is greater than three thousand one hundred.”
Write 2,900 and 3,700 on the board with a space between. Invite a student
to record the comparison and read the comparison sentence aloud.
3. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.6. Explain that
the ruler extends off the page. Work through the discussion and questions with
the whole class. Reinforce the position of the arrow marked on the number line.
4. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Have students
work independently to complete the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.6. For Question 3, ask, What place
did you look at to figure out the greatest number? Encourage discussion.
Extra practice © ORIGO Education
Each group of three students will need:
• 1 number line from Blackline Master 8
Activity
Organize students into groups of three and distribute the number lines. Ask one
student to label the number line from 6,000 to 9,000. The other students each mark
a number on the number line and label it. The group writes a comparison statement
to describe the two numbers. Students alternate roles and repeat the activity.
34 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.6
1.6 จ�ำนวน ระบุต�ำแหน่งของจ�ำนวนนับที่มีสี่หลักบนเส้นจ�ำนวน
สำหรับั บทเรีียนนี้� นักั เรีียนเรีียนรู้�เกี่�ยวกับั ตำแหน่ง่ ของจำนวนนัับที่่�มีสีี่�หลัักบนเส้น้ จำนวน นักั เรียี น ส่ือและอปุ กรณ์
ใช้้ภาษาและเครื่�องหมายในการเปรีียบเทีียบจำนวนนัับที่่�มีีสี่�หลัักไม่่เกิิน 3 จำนวน บทเรียี นสอดแทรก
ทักั ษะการสื่�อสารและการสื่�อความหมายทางคณิติ ศาสตร์์ และทัักษะการให้้เหตุุผล นกั เรียนแตล่ ะคนจะต้องใช้
• หนังสือเรยี นหนา้ 18 - 19
ขั้�นที่� 1 นำเข้า้ สู่�บทเรีียน หนงั สอื เรยี นหน้า 18 - 19
© ORIGO Education ครูวาดเสน้ จ�ำนวนจาก 300 ถงึ 700 บนกระดาน โดยระยะระหวา่ งรอยขีดเป็น 100 แตเ่ ขยี นตัวเลข
ก�ำกับไว้ที่ 300 กบั 700 เทา่ น้นั จากนน้ั ถามนักเรียนว่า นกั เรยี นสังเกตเหน็ อะไรบา้ งเกยี่ วกบั
เสน้ จำ� นวนน้ี เสน้ จำ� นวนนแ้ี บง่ สว่ นอยา่ งไร นกั เรยี นจะเขยี นตวั เลขใดทแ่ี ตล่ ะรอยขดี นกั เรยี นทราบ
ไดอ้ ย่างไร ครูใหน้ กั เรยี น 3 คนออกมาเลอื กรอยขดี 1 อันและเขียนตวั เลขก�ำกบั ที่รอยขีดน้นั
แล้วอธิบายว่าทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าจะตอ้ งเขียนตัวเลขใด
ขัน้ ท่ี 2 สอนบทเรยี น
1. ครููวาดเส้น้ จำนวนจาก 2,000 ถึงึ 4,000 บนกระดาน โดยระยะระหว่า่ งรอยขีีดเป็็น 100 แต่่เขียี น
ตััวเลขกำกัับไว้ท้ ุุก ๆ ระยะ 500 เท่่านั้้�น เขีียนลูกู ศรชี้�ที่�ตำแหน่ง่ ของ 2,400 แล้ว้ ถามนัักเรียี นว่่า
นัักเรีียนสัังเกตเห็็นอะไรบ้้างเกี่�ยวกัับเส้้นจำนวนนี้้� เส้้นจำนวนนี้้�มีีการแบ่่งแต่่ละส่่วนอย่่างไร
ให้้อาสาสมััคร 1 คนบอกจำนวนในตำแหน่่งที่่�ลููกศรชี้� แล้้วถามว่่า ใครสามารถแสดงตำแหน่่ง
ของจำนวนที่�มากกว่่าจำนวนนี้้�อยู่�หนึ่�งร้้อยได้้บ้้าง นัักเรีียนจะขยัับไปทางซ้้ายหรืือทางขวาของ
เส้้นจำนวน ให้้อาสาสมััคร 1 คนวาดลููกศรชี้�ที่�จำนวนนั้�นและอธิิบายวิิธีีคิิด ครููชี้�นำให้้นัักเรีียน
สัังเกตเห็็นว่า่ จำนวนที่�มากกว่่าจะอยู่�ทางขวาของจำนวนที่่�น้้อยกว่่า ทำกิจิ กรรมอภิิปรายแบบนี้้�อีีก
เพื่�อแสดงจำนวนที่่�น้อ้ ยกว่่า 2,400 อยู่� 100
2. ค รูใู ห้น้ ักั เรียี น 2 คนออกมาทำเครื่�องหมายและเขียี นตัวั เลข 3,100 และ 3,500 กำกับั บนเส้น้ จำนวน
จากนั้�นถามว่า่ นักั เรียี นจะรู้ไ�้ ด้อ้ ย่า่ งไรว่า่ จำนวนใดมากกว่า่ ให้น้ ักั เรียี นอภิปิ รายวิธิ ีคี ิดิ หาคำตอบกับั
เพื่�อนที่�นั่�งข้้าง ๆ ครูเู ขียี นประโยคสัญั ลัักษณ์แ์ สดงการเปรียี บเทียี บ 3,500 > 3,100 บนกระดาน
และทบทวนสิ่�งที่่�นักั เรีียนได้้เรียี นรู้�มาแล้ว้ เกี่�ยวกับั เครื่�องหมายแสดงการเปรีียบเทียี บ ครูใู ห้้นักั เรียี น
1 คนอ่า่ นประโยคแสดงการเปรียี บเทียี บให้เ้ พื่�อน ๆ ฟังั ว่า่ “สามพันั ห้า้ ร้อ้ ยมากกว่า่ สามพันั หนึ่�งร้อ้ ย”
ครูเู ขียี น 2,900 และ 3,700 บนกระดานโดยเว้น้ ช่อ่ งว่า่ งระหว่า่ ง 2 จำนวน ให้้นัักเรีียน 1 คน
ออกมาเติมิ เครื่�องหมายแสดงการเปรียี บเทียี บและอ่า่ นประโยคแสดงการเปรียี บเทียี บให้เ้ พื่�อน ๆ ฟังั
3. ครใู หน้ ักเรียนสังเกตการอภปิ รายกิจกรรมอุน่ เครอื่ งในหนงั สือเรียนหน้า 18 ครอู ธิบายว่าไม้บรรทัด
ต่อออกไปได้อีกเกินหน้ากระดาษ ครูน�ำอภิปรายแตล่ ะคำ� ถามในหนังสือเรียนกบั นักเรียนท้งั ชน้ั
ครูเนน้ เกย่ี วกับตำ� แหนง่ ของจ�ำนวนท่ลี กู ศรชีบ้ นเสน้ จำ� นวน
4. ครอู ่านคำ� สง่ั ในกจิ กรรมฝึกทักษะและประลองปญั ญาไปพร้อมกบั นกั เรยี น จากนนั้ ใหน้ ักเรียน
ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง
ข้นั ที่ 3 สรปุ บทเรียน
ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายค�ำตอบของกจิ กรรมในหนงั สอื เรียน สำ� หรับคำ� ถามข้อ 3 ครูถามว่า
ในการหาวา่ จำ� นวนใดมคี า่ มากทสี่ ดุ นกั เรยี นจะพจิ ารณาทหี่ ลกั ใด ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั
ฝกึ ทกั ษะ
นักั เรีียนกลุ่�มละ 3 คนแต่่ละกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 8 จำนวน 1 แผ่่น
กิจกรรม
ครูแบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลุ่มละ 3 คนแล้วแจกเสน้ จำ� นวนให้ ให้นักเรยี น 1 คนเขียนตวั เลข 6,000
และ 9,000 ก�ำกบั ไว้ทขี่ ดี แรกและขดี สดุ ท้ายของเสน้ จำ� นวนตามล�ำดบั นกั เรียนอีก 2 คนทเ่ี หลอื
เขยี นตวั เลขกำ� กบั ท่ี 1 รอยขดี บนเสน้ จำ� นวน แตล่ ะกลมุ่ เขยี นประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการเปรยี บเทยี บ
จำ� นวน 2 จ�ำนวน นักเรยี นสลับบทบาทกันแล้วทำ� กจิ กรรมซำ้�
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.6 35
1.7 Number: Comparing and ordering four-digit numbers
In this lesson, students use a number line and a place-value strategy to compare and Classroom materials
order four-digit numbers. The following Mathematical skills and processes learning
standards are embedded in this lesson: Problem solving and Making connections. You will need:
• 2 sets of base-10 block cards from
Step 1 Starting the lesson
Blackline Masters 1a–1i
Organize students into pairs and distribute the number name cards. Ask pairs to Each pair of students will need:
work with another pair to determine who has the greater number and who has the • 1 number name card from Blackline
lesser number. Invite students to describe the thinking they used to figure it out.
Masters 9a and 9b (retain for future
Step 2 Teaching the lesson lessons)
Each student will need:
1. Sort the base-10 block cards by place value. Mix the cards for each place value and • Student Journal 1.7
place them facedown in separate piles. Draw a number line from 0 to 10,000 on the
board. Mark and label the thousands only. Have two students each turn over four Student Journal pp. 20–21
base-10 block cards to make two four-digit numbers. Then say, We want to figure
out which number is greater. We are going to mark the numbers on the
number line. Which place should we look at first? Why? Would we need to
look at more places? Why? (Why not?) If the thousands digits of the two numbers
are different, ask students to label the approximate position of each number on the
number line and decide which number is greater. If the thousands digits are the
same, guide students to explain that they should look at the hundreds place next.
Look at each place until students can identify the greater number.
2. Mark both numbers on the number line and label them. Ask, What words or
symbols can we write between the numbers to compare them? Write the
comparison symbol to compare the two numbers. Ask, What other symbol
could we write between these numbers to make it correct? If not suggested,
write the inequality symbol (≠) between the two numbers and review its
meaning. Invite different students to form two more four-digit numbers and
repeat the discussion. Relate the position of the numbers on the number line to
the place-value picture cards.
3. Refer to the four numbers shown on the number line. Ask, How can we
write these numbers in order from least to greatest? Listen to students’
suggestions, then emphasize that the numbers on the number line
are already ordered from least to greatest.
4. Work through the Warm Up discussion in Student Journal 1.7 with the whole class.
Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Have students
work independently to complete the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.7. Ask students to explain their
thinking as they present their answers.
Extra practice © ORIGO Education
Each group of students will need: ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.7
• 1 set of number name cards from Blackline Masters 9a and 9b
Activity
Organize students into groups and distribute the cards. Mix the cards and place them
facedown in one pile. Have each student select a card. Students work together to
order the cards from greatest to least or from least to greatest. When the cards are
ordered correctly, students put them to the side. Repeat as time allows.
36
1.7 จ�ำนวน การเปรียบเทียบและเรียงล�ำดับจ�ำนวนนับท่ีมีส่ีหลัก
สำ� หรบั บทเรียนนี้ นักเรยี นใชเ้ ส้นจำ� นวนและแนวคิดเก่ยี วกบั ค่าประจำ� หลักในการเปรยี บเทยี บและ สอื่ และอปุ กรณ์
เรียงลำ� ดับจ�ำนวนนับทีม่ ีสีห่ ลัก บทเรยี นสอดแทรกทกั ษะการแกป้ ญั หา และทกั ษะการเชอ่ื มโยง
ครููจะต้อ้ งใช้้
ขั้นท่ี 1 น�ำเขา้ สู่บทเรยี น • ต้้นแบบสื่�อ 1a - 1i จำนวน 2 ชุุด
นักั เรีียนแต่่ละคู่�จะต้้องใช้้
ครูให้นักเรียนจบั คกู่ ันแลว้ แจกบตั รชือ่ จ�ำนวนให้ ใหน้ กั เรียนแต่ละค่เู ปรียบเทยี บบตั รกับนักเรียน • ต้้นแบบสื่�อภาษาไทย 9.1 และ 9.2 จำนวน 1 ชุดุ
อกี คู่เพอ่ื ดูว่าใครมีจำ� นวนทมี่ ากกว่าและใครมีจ�ำนวนทนี่ ้อยกว่า ครเู ชิญชวนให้นักเรียนอธบิ ายวิธีคิด
(เก็บ็ ไว้้สำหรัับบทเรีียนต่่อ ๆ ไป)
ข้นั ที่ 2 สอนบทเรยี น นักเรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
• หนังั สือื เรียี นหน้้า 20 - 21
1. ค รนู ำ� บตั รบลอ็ กจำ� นวนฐานสบิ มาจดั กลมุ่ ตามคา่ ประจำ� หลกั สำ� หรบั บตั รแตล่ ะกลมุ่ ใหน้ ำ� มาคละกนั หนังสอื เรียนหน้า 20 - 21
แล้ววางคว�่ำไวแ้ ยกเป็นกองตามคา่ ประจ�ำหลกั ครูวาดเสน้ จ�ำนวนจาก 0 ถงึ 10,000 บนกระดาน
ทำ� ขีดแบ่งและเขยี นตัวเลขกำ� กับทกุ ๆ 1,000 เทา่ น้นั ใหน้ กั เรียน 2 คนออกมาหยบิ บัตรจากกอง
4 ใบเพ่ือน�ำไปสร้างเปน็ จำ� นวนนบั ท่ีมีสหี่ ลัก 2 จ�ำนวน จากนนั้ ครูพูดว่า นักเรียนต้องการหาว่า
จำนวนใดมากกว่า่ นักั เรียี นจะทำเครื่�อ่ งบอกตำแหน่่งของจำนวนบนเส้น้ จำนวน นักั เรีียนจะต้อ้ ง
พิิจารณาที่�หลัักใดก่่อน เพราะเหตุใุ ด นัักเรีียนจะต้้องพิิจารณาที่�หลักั อื่่น� ๆ อีกี หรืือไม่่ เพราะเหตุใุ ด
ถ้าเลขโดดในหลักพนั ของแตล่ ะจ�ำนวนแตกตา่ งกนั ใหน้ กั เรียนเขยี นตวั เลขกำ� กบั ไวท้ ่ตี ำ� แหนง่
โดยประมาณของแต่ละจำ� นวนบนเสน้ จำ� นวนแลว้ บอกวา่ จ�ำนวนใดมากกว่า ถา้ เลขโดดในหลักพนั
เป็นจำ� นวนเดียวกันครูชว่ ยชี้นำ� ให้นกั เรยี นอธบิ ายไดว้ า่ นกั เรยี นควรจะพิจารณาเลขโดดในหลักรอ้ ย
เป็นลำ� ดบั ต่อไป พจิ ารณาแต่ละหลกั จนกระท่ังนกั เรียนสามารถบอกได้ว่าจำ� นวนใดมากกวา่
2. ครูทู ำเครื่�องหมายบอกตำแหน่ง่ ของทั้�ง 2 จำนวนบนเส้น้ จำนวนแล้ว้ เขียี นตัวั เลขกำกับั ถามนักั เรียี นว่า่
นัักเรีียนใช้้คำหรืือเครื่อ่� งหมายอะไรระหว่่างจำนวนสองจำนวนเพื่อ�่ แสดงการเปรีียบเทียี บ ครููเขียี น
เครื่�องหมายแสดงการเปรียี บเทีียบเพื่�อเปรียี บเทีียบ 2 จำนวนนั้�น แล้้วถามว่่า นักั เรีียนสามารถเติมิ
เครื่อ�่ งหมายอะไรระหว่า่ งจำนวนสองจำนวนนี้้ไ� ด้อ้ ีกี เพื่อ�่ ให้ป้ ระโยคสัญั ลักั ษณ์แ์ สดงการเปรียี บเทียี บ
เป็น็ จริิง ถ้า้ ไม่่มีีใครเสนอคำตอบให้้ครูเู ขียี นเครื่�องหมายไม่เ่ ท่า่ กับั (≠) ระหว่า่ ง 2 จำนวนนี้�
แล้ว้ ทบทวนความหมายของเครื่�องหมายไม่เ่ ท่า่ กับั ครูเู ชิญิ ชวนนักั เรียี นอีกี คู่�หนึ่�งให้อ้ อกมาหยิบิ บัตั ร
จากกองมาสร้า้ งเป็น็ จำนวนนับั ที่่�มีสีี่�หลักั 2 จำนวน แล้ว้ ทำกิจิ กรรมอภิปิ รายแบบนี้้�อีกี ครูชูี้�ใ ห้น้ ักั เรียี น
เห็น็ ความเชื่�อมโยงระหว่่างตำแหน่่งของจำนวนบนเส้น้ จำนวนและบััตรภาพแสดงค่่าประจำหลักั
3. ค รูใู ห้้นัักเรียี นพิิจารณาจำนวน 4 จำนวนที่�แสดงบนเส้้นจำนวน และถามว่่า นัักเรียี นจะเรียี งลำดัับ
จำนวนเหล่่านี้้จ� ากน้้อยที่่�สุดุ ไปมากที่่�สุดุ ได้้อย่า่ งไร ครูฟู ังั ข้อ้ เสนอแนะจากนัักเรียี นแล้้วเน้น้ ว่่า
จำนวนบนเส้น้ จำนวนนั้�นเรีียงลำดับั จากน้อ้ ยที่่�สุดุ ไปมากที่่�สุุดอยู่�แล้้ว
4. ครููนำนัักเรียี นอภิิปรายแต่่ละคำถามในกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สืือเรียี นหน้้า 20 และอ่า่ นคำสั่�ง
ในกิจกรรมฝึกทกั ษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรยี น จากน้นั ให้นกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรม
ดว้ ยตนเอง
ข้นั ท่ี 3 สรุปบทเรียน
ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายคำ� ตอบของกจิ กรรมในหนงั สือเรยี น ขณะท่นี กั เรยี นนำ� เสนอค�ำตอบ
ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายวธิ คี ิดไปด้วย
© ORIGO Education ฝึกทักษะ
นัักเรีียนแต่ล่ ะกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้ 37
• ต้้นแบบสื่�อภาษาไทย 9.1 และ 9.2 จำนวน 1 ชุุด
กจิ กรรม
ครูแบ่งกล่มุ นักเรยี นแล้วแจกบตั รให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ให้นกั เรียนนำ� บตั รมาคละกนั แลว้ วางควำ่� ไว้
เป็นกอง ให้นกั เรยี นแต่ละคนเลอื กบตั รมา 1 ใบ แล้วชว่ ยกันเรยี งลำ� ดับจำ� นวนจากมากที่สุดไป
น้อยท่สี ดุ หรอื จากนอ้ ยท่ีสุดไปมากทีส่ ดุ เมอื่ นกั เรียนเรียงลำ� ดบั ได้ถูกตอ้ งแลว้ ใหแ้ ยกบัตรไวต้ ่างหาก
ท�ำกจิ กรรมซ้�ำตามแต่เวลาจะอำ� นวย
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.7
1.8 Number: Comparing and ordering three- and
four-digit numbers
In this lesson, students use place-value strategies to compare and order three- and Classroom materials
four-digit numbers. The following Mathematical skills and processes learning
standards are embedded in this lesson: Problem solving and Reasoning. Each pair of students will need:
• 1 number name card from
Step 1 Starting the lesson
Blackline Masters 9a and 9b
Mix the cards. Organize students into pairs and distribute the cards. Ask pairs to Each student will need:
work with the pair beside them to determine who has the greater number and who • Student Journal 1.8
has the lesser number. Ask four pairs to create a group and order themselves from
least number to greatest number. Invite groups to share their ordering with the class Student Journal pp. 22–23
and explain their thinking.
Step 2 Teaching the lesson
1. Write the numbers 589 and 1,009 on the board. Ask, What do you notice about
these two numbers? How could we figure out which number is greater?
Listen to students’ suggestions. If it is not discussed, highlight that one number
is a three-digit number and the other number is a four-digit number. If we know
that the three-digit number does not have any thousands, then we also know
it must be less than the four-digit number. So we do not have to look at any
other places.
2. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.6. Refer to the
two numbers at the top of the page and explain that both are three-digit
numbers. Say, Imagine the number in the square is greater than the number
in the circle. What could be the missing digit? Encourage students to identify
that the digit can only be 8 or 9. Then ask students what the missing digit could
be if the number in the square was less than the number in the circle. Encourage
discussion and confirm that the digit could be any number from 1 to 7. Repeat
the discussion for 999 and the partially covered number. Review that the number
in the square is a four-digit number. This means the missing digits could be any
combination of numbers, but the first number cannot be zero.
3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.8. Encourage students to describe
how they used their place-value knowledge to compare the numbers, beginning
with the thousands place.
Extra practice © ORIGO Education
Each group of students will need:
• 1 set of place-value cards from Blackline Masters 10a–13 (retain for future
lessons)
Activity
Organize students into groups and distribute the cards. Sort the cards by place
value. Mix the cards for each place value and place them facedown in separate
piles. Students take turns to select cards to make a three-digit or four-digit number.
They then compare the numbers in their group and order them from least to
greatest. Students return the cards to the piles and repeat the activity.
38 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.8
1.8 จำนวน การเปรีียบเทีียบและเรีียงลำดัับจำนวนนัับที่่�มีีสามหลััก
และจำนวนนัับที่่�มีีสี่ �หลััก
สำ� หรบั บทเรยี นน้ี นกั เรียนใชแ้ นวคิดเก่ียวกับค่าประจ�ำหลักในการเปรียบเทยี บและเรียงลำ� ดับ สื่อและอุปกรณ์
จำ� นวนนบั ท่ีมสี ามหลกั และจ�ำนวนนับทีม่ ีส่หี ลกั บทเรียนสอดแทรกทกั ษะการแก้ปัญหา และ นักั เรียี นแต่ล่ ะคู่�จะต้้องใช้้
ทักษะการใหเ้ หตผุ ล • ต้้นแบบสื่�อภาษาไทย 9.1 และ 9.2
ขัน้ ท่ี 1 น�ำเข้าสูบ่ ทเรียน จำนวน 1 ชุุด
นกั เรียนแตล่ ะคนจะต้องใช้
ครูนำ� บตั รมาคละกนั ให้นกั เรยี นจับคู่กนั แล้วแจกบตั รให้นักเรยี นแตล่ ะคู่ ใหน้ กั เรียนแต่ละคู่ • หนงั สอื เรยี นหนา้ 22 - 23
เปรยี บเทียบบัตรกบั นักเรียนค่ทู ่ีนั่งขา้ ง ๆ เพ่ือหาว่าใครไดจ้ ำ� นวนทม่ี ากกว่าและใครได้จำ� นวน หนงั สอื เรียนหนา้ 22 - 23
ท่นี ้อยกว่า จากน้ันใหน้ กั เรยี น 4 คู่มารวมกนั เป็น 1 กลุ่ม และเรยี งลำ� ดบั บตั รทไ่ี ดจ้ ากน้อยท่ีสดุ
© ORIGO Education ไปมากทส่ี ดุ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ออกมาแสดงการเรยี งลำ� ดบั จำ� นวนใหเ้ พอ่ื น ๆ ในชน้ั ดพู รอ้ มทง้ั อธบิ าย
วธิ ีคิด
39
ขน้ั ท่ี 2 สอนบทเรยี น
1. ค รููเขียี นตัวั เลข 589 และ 1,009 บนกระดาน แล้้วถามนัักเรีียนว่่า นักั เรียี นสัังเกตเห็น็
อะไรบ้า้ งเกี่�ยวกัับจำนวนสองจำนวนนี้้� นักั เรีียนมีีวิิธีคี ิดิ อย่า่ งไรว่่าจำนวนใดมากกว่่า ครูฟู ััง
คำตอบที่่�นัักเรีียนเสนอ ถ้้าไม่ม่ ีีใครพููดถึงึ ให้้ครูเู น้น้ ว่า่ จำนวนหนึ่�งเป็็นจำนวนนัับที่่�มีีสามหลักั
และอีกี จำนวนหนึ่�งเป็็นจำนวนนัับที่่�มีสีี่�หลักั ถ้้าเรารู้้�ว่่าจำนวนนับั ที่่�มีีสามหลักั ไม่ม่ ีีหลักั พันั
เราก็ร็ู้�ว่าจำนวนนัับที่่�มีสี ามหลัักจะต้อ้ งน้้อยกว่า่ จำนวนนับั ที่่�มีีสี่�หลััก ดัังนั้�นเราจึึงไม่่ต้อ้ ง
พิจิ ารณาจำนวนในหลัักอื่�น ๆ
2. ค รููให้้นัักเรียี นสังั เกตการอภิิปรายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สืือเรียี นหน้า้ 22 และให้น้ ักั เรียี น
พิจิ ารณาจำนวน 2 จำนวนที่่�ส่ว่ นบนของหน้้าแล้ว้ อธิิบายว่่าทั้้�งสองจำนวนเป็็นจำนวนนัับ
ที่่�มีีสามหลักั ครููพููดว่า่ สมมติวิ ่า่ จำนวนในสี่�เหลี่�ยมจััตุุรัสั มากกว่า่ จำนวนในวงกลม เลขโดด
ที่�หายไปเป็็นจำนวนใดได้บ้ ้า้ ง ครููช่่วยส่่งเสริมิ ให้้นักั เรีียนตอบให้ไ้ ด้ว้ ่า่ เลขโดดที่�เป็น็ ไปได้้
มีเี พียี ง 8 หรืือ 9 จากนั้�นถามนัักเรียี นว่า่ เลขโดดที่�หายไปเป็น็ จำนวนใดได้บ้ ้้างหากจำนวน
ในสี่�เหลี่�ยมจตุุรััสน้้อยกว่า่ จำนวนในวงกลม ครูสู ่ง่ เสริิมให้น้ ักั เรีียนอภิปิ รายร่ว่ มกัันแล้้ว
ยืนื ยันั คำตอบว่า่ เลขโดดที่�เป็็นไปได้ค้ ือื เลขโดดตั้�งแต่่ 1 ถึึง 7 ทำกิจิ กรรมอภิิปรายแบบนี้้�อีีก
กับั 999 และจำนวนที่่�ถูกู ปิดิ ไว้บ้ างส่ว่ น ครูทู บทวนว่า่ จำนวนในสี่�เหลี่�ยมจัตั ุรุ ัสั เป็น็ จำนวนนับั
ที่่�มีสีี่�หลักั นั่�นหมายความว่า่ เลขโดดที่�หายไปเป็น็ เลขโดดใด ๆ 2 จำนวนมารวมกันั แต่จ่ ำนวนแรก
จะต้้องไม่เ่ ป็็น 0
3. ค รูอ่านค�ำส่ังในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรียน ตรวจสอบ
ให้แนใ่ จวา่ นกั เรียนเข้าใจวา่ จะตอ้ งทำ� อะไร จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง
ขน้ั ที่ 3 สรปุ บทเรียน
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายคำ� ตอบของกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายวา่
ใช้ความรเู้ กยี่ วกับคา่ ประจำ� หลกั ในการเปรยี บเทยี บจ�ำนวนโดยเริ่มพจิ ารณาจากเลขโดดใน
หลักพนั ได้อยา่ งไร
ฝกึ ทกั ษะ
นัักเรีียนแต่่ละกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อ 10a - 13 (เก็บ็ ไว้ส้ ำหรับั บทเรีียนต่่อ ๆ ไป)
กจิ กรรม
ครูแบ่งกลุ่มนกั เรยี นแล้วแจกบตั รใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่ม โดยจัดกลุ่มบตั รตามคา่ ประจำ� หลัก
คละบตั รแตล่ ะกลมุ่ กอ่ นจะนำ� มาวางควำ่� ไวแ้ ละแยกเปน็ กองตามคา่ ประจำ� หลกั ใหน้ กั เรยี นผลดั กนั
เลอื กบัตรเพอ่ื นำ� มาสร้างเป็นจ�ำนวนนับท่มี ีสามหลกั หรอื จ�ำนวนนบั ทีม่ สี ่หี ลกั จากนั้นนักเรียน
เปรียี บเทียี บจำนวนที่�แต่ล่ ะคนได้แ้ ล้ว้ นำมาเรียี งลำดับั จากน้อ้ ยที่่�สุดุ ไปมากที่่�สุดุ นักั เรียี นคืนื บัตั ร
ไว้ใ้ นกองแล้ว้ ทำกิิจกรรมซ้ำ้
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.8
1.9 Fractions: Identifying one-half, one-fourth, and one-third
In this lesson, students use area models to explore different representations of Classroom materials
one-half, one-third, and one-fourth. The following Mathematical skills and processes
learning standards are embedded in this lesson: Making connections and Each student will need:
Creative thinking. • Student Journal 1.9
Step 1 Starting the lesson Student Journal pp. 24–25
Draw a circle, a square, and a rectangle on the board. Draw dashed lines to split
the circle into halves, the square into fourths, and the rectangle into thirds. Ask,
How many whole shapes can you see? (Three.) Which shape is split into only
two equal parts? (The circle.) Which shape is split into four equal parts?
(The square.) Which shape is split into three equal parts? (The rectangle.)
Step 2 Teaching the lesson
1. Shade one part of the circle. Then say, This circle has two equal parts. One of
the parts is shaded, so one-half is shaded. How many parts are not shaded?
Establish that a shape that shows halves has two equal parts. It does not matter
how the shape is divided as long as both parts are equal. Write one-half below
the circle on the board.
2. Shade one part of the square. Then ask, How many parts has the square been
split into? (Four.) How many parts have been shaded? (One.) Explain that the
square shows one-fourth shaded. Write one-fourth below the square on the
board. Repeat the discussion for the rectangle showing thirds. Write one-third
below the rectangle on the board.
3. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.9. Ask,
What do you notice about each of the shapes? Encourage students to
describe the fractions that are shaded. Read the character’s speech to clarify
that each shape shows one-fourth shaded. Work through the remaining
discussion and questions with the whole class. Students can refer to the shapes
and fraction names written on the board to help them complete the Student Journal.
4. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.9. Refer to Question 2 and invite
students to share how they categorized the shapes. Highlight different ways
students shaded the same fraction. Ask students to share how they know that
the same fraction is represented.
Extra practice © ORIGO Education
Each group of students will need: ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.9
• 1 set of cards from Blackline Masters 14 and 15 (retain for future lessons)
Activity
Organize students into groups and distribute the cards. Ask students to place
the fraction name cards facedown in a central pile. The fraction area cards are
distributed equally among the students. Students take turns to turn over one card
from the central pile and find a matching fraction area card in their hand. If students
can make a matching pair, they place the pair to one side. Play continues until all
the cards are matched.
40
1.9 เศษส่่วน รู้้�จัักเศษหนึ่�งส่่วนสอง เศษหนึ่�งส่่วนสี่� และเศษหนึ่�งส่่วนสาม
สำ� หรบั บทเรยี นน้ี นกั เรยี นใชแ้ บบจำ� ลองเกย่ี วกบั พนื้ ทใี่ นการเรยี นรเู้ กยี่ วกบั รปู แบบตา่ ง ๆ ของ ส่อื และอปุ กรณ์
การแสดงจำ� นวนเศษหนง่ึ สว่ นสอง เศษหนงึ่ สว่ นสาม และเศษหนงึ่ สว่ นสี่ บทเรยี นสอดแทรก นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
ทักษะการเชอื่ มโยง และทักษะการใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ • หนงั สือเรยี นหนา้ 24 - 25
หนังสอื เรียนหนา้ 24 - 25
ขัน้ ที่ 1 น�ำเข้าสบู่ ทเรยี น
© ORIGO Education
ครูวาดรปู วงกลม รปู สเี่ หลีย่ มจตั รุ ัส และรูปสเ่ี หล่ียมผนื ผา้ บนกระดานอย่างละ 1 รปู
วาดเสน้ ประเพ่ือแบ่งรปู วงกลมออกเปน็ 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั , แบง่ รปู สีเ่ หลี่ยมจตั ุรัสออกเป็น 41
4 ส่วนเทา่ ๆ กนั และแบง่ รปู สีเ่ หลี่ยมผนื ผ้าออกเปน็ 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ครูถามวา่ นักเรียน
เหน็ รูปทั้งหมดกรี่ ปู (สาม) รูปใดทถี่ กู แบ่งออกเป็นสองสว่ นเทา่ ๆ กนั (รูปวงกลม) รูปใดทถ่ี กู
แบ่งออกเป็นส่ีส่วนเท่า ๆ กัน (รูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส) รูปใดท่ีถูกแบ่งออกเป็นสามส่วนเท่า ๆ กัน
(รปู สีเ่ หล่ยี มผนื ผ้า)
ขัน้ ที่ 2 สอนบทเรยี น
1. ครรู ะบายสี 1 สว่ นของรปู วงกลมบนกระดาน จากนน้ั พดู วา่ รปู วงกลมรปู นม้ี สี องสว่ นเทา่ ๆ กนั
มีส่วนที่ระบายสีหนึ่งส่วน ดังน้ันมีคร่ึงหน่ึงหรือเศษหนึ่งส่วนสองที่ระบายสี ส่วนที่ไม่ได้
ระบายสมี กี สี่ ว่ น สรา้ งความเขา้ ใจใหต้ รงกนั วา่ รปู ทแ่ี สดงเศษหนง่ึ สว่ นสองมี 2 สว่ นทเ่ี ทา่ กนั
ไมส่ ำ� คญั วา่ รปู จะถกู แบง่ อยา่ งไรตราบเทา่ ทท่ี ง้ั 2 สว่ นเทา่ กนั ครเู ขยี นคำ� วา่ เศษหนง่ึ สว่ นสอง
ใตร้ ปู วงกลมบนกระดาน
2. ครูรู ะบายสีี 1 ส่ว่ นของรูปู สี่�เหลี่�ยมจัตั ุรุ ัสั บนกระดาน จากนั้�นถามว่า่ รููปนี้้ถ� ููกแบ่ง่ เป็น็ กี่่�ส่วน (สี่�)
มีีกี่่�ส่่วนที่่�ถููกระบายสีี (หนึ่�ง) ครููอธิิบายว่่ารููปสี่�เหลี่�ยมจััตุุรััสแสดงส่่วนที่�ระบายสีีเป็็น
เศษหนึ่�งส่ว่ นสี่� ครููเขียี นคำว่า่ เศษหนึ่�งส่่วนสี่่�ใ ต้้รูปู สี่�เหลี่�ยมจัตั ุรุ ัสั บนกระดาน ทำกิิจกรรม
อภิปิ รายแบบนี้้�อีกี กับั รูปู สี่�เหลี่�ยมผืนื ผ้า้ ซึ่่�งแสดงเศษหนึ่�งส่ว่ นสาม แล้ว้ เขียี นเศษหนึ่�งส่ว่ นสาม
ใต้ร้ ูปู สี่�เหลี่�ยมผืืนผ้า้ บนกระดาน
3. ครูใู ห้น้ ักั เรียี นสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนังั สือื เรียี นหน้า้ 24 และถามนักั เรียี นว่า่
นัักเรีียนสังั เกตเห็็นอะไรบ้้างเกี่�ยวกับั รููปแต่่ละรููป ครููส่ง่ เสริมิ ให้น้ ักั เรียี นอธิบิ ายเกี่�ยวกัับ
เศษส่่วนที่่�ถูกู ระบายสีี ครูอู ่า่ นคำพูดู ของกระต่า่ ยเพื่�ออธิบิ ายว่า่ แต่ล่ ะรูปู ส่ว่ นที่�ระบายสีแี สดง
เศษหนึ่�งส่ว่ นสี่� ครูนู ำนักั เรียี นอภิิปรายแต่่ละคำถามในกิิจกรรมอุ่�นเครื่�องที่�เหลืือ นักั เรีียน
สามารถใช้ร้ ูปู และชื่�อเศษส่่วนบนกระดานสำหรัับอ้า้ งอิงิ เวลาทำกิจิ กรรมในหนัังสือื เรียี น
4. ครูอา่ นค�ำส่ังในกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะและประลองปญั ญาไปพร้อมกับนกั เรียน ตรวจสอบ
ให้แน่ใจวา่ นักเรยี นเขา้ ใจว่าต้องทำ� อะไร จากน้ันใหน้ ักเรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมดว้ ยตนเอง
ขัน้ ท่ี 3 สรปุ บทเรยี น
ครูแู ละนักั เรียี นร่ว่ มกันั อภิปิ รายคำตอบของกิจิ กรรมในหนังั สือื เรียี น และให้น้ ักั เรียี นดูคู ำถามข้อ้ 2
แลว้ เชญิ ชวนใหน้ กั เรยี นอธบิ ายวา่ นกั เรยี นจะจดั กลมุ่ รปู ตา่ ง ๆ อยา่ งไร ครเู นน้ ถงึ วธิ ที แี่ ตกตา่ งกนั
ในการระบายสเี พ่ือแสดงเศษส่วนเดยี วกนั ครใู หน้ ักเรยี นอธบิ ายวา่ นักเรียนทราบไดอ้ ยา่ งไรว่า
รปู ใดแสดงเศษสว่ นเดยี วกนั
ฝกึ ทกั ษะ
นักั เรีียนแต่ล่ ะกลุ่�มจะต้อ้ งใช้้
• ต้น้ แบบสื่�อภาษาไทย 14 และต้้นแบบสื่�อ 15 จำนวน 1 ชุุด
(เก็็บไว้้สำหรัับบทเรียี นต่่อ ๆ ไป)
กจิ กรรม
ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นแลว้ แจกบตั รใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ใหน้ กั เรยี นวางบตั รชอื่ เศษสว่ นไวใ้ นกอง
ตรงกลาง จากนน้ั แจกบตั รภาพเศษสว่ นใหน้ กั เรยี นคนละเทา่ ๆ กนั ใหน้ กั เรยี นผลดั กนั หยบิ บตั ร
จากกองกลางขนึ้ มา 1 ใบแลว้ หาบตั รภาพเศษส่วนของตนเองท่ีตรงกัน ถ้านักเรียนสามารถหา
บตั รทเี่ ขา้ คกู่ นั ได ้ใหว้ างบตั รคนู่ น้ั แยกไวด้ า้ นหนง่ึ เลน่ ตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ จนกระทง่ั จบั คบู่ ตั รไดค้ รบทกุ ใบ
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.9
1.10 Fractions: Working with parts of a whole (equal size)
In this lesson, students work with equal- and different-sized shapes to explore Classroom materials
fractions and non-fractions. The following Mathematical skills and processes
learning standards are embedded in this lesson: Making connections and Using Each student will need:
media, technologies, and resources. • recycled paper
• Student Journal 1.10
Step 1 Starting the lesson
Student Journal pp. 26–27
Draw a rectangle, a circle, and a square on the board. Draw dashed lines to split
the rectangle into thirds, the circle into fourths, and the square into halves. Invite
a student to shade one part in each shape. Refer to the rectangle and ask, What
fraction of the rectangle has been shaded? How do you know? Encourage
students to explain their thinking. Record the fraction name one-third below
the rectangle. Repeat the discussion and process with the circle and square. Record
the fraction names one-fourth below the circle and one-half below the square.
Step 2 Teaching the lesson
1. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.10. Ask the
students to look at how each shape has been split and to describe what they
notice. Discuss students’ answers, then ask, Which shapes show equal parts?
How do you know? Confirm that the first shape and the last shape have not
been split into equal parts. Explain that a shape that has been split into (four)
non-equal parts does not represent (fourths).
2. Refer to the circle on the far right and ask, What fraction of the whole circle is
shaded? Why do you think so? Ask students to discuss their thinking with the
student beside them. Read the character’s speech and confirm that even though the
circle is split into two parts that are not equal, the shaded part represents one-fourth.
3. Look at the three circles and ask, How has each circle been divided? If we
shaded one part in each circle, what fraction could we use to describe the
shaded part? Discuss students’ answers and establish that the circles have been
divided into two, three, and four equal parts respectively. Then ask, What do you
notice about the number of parts and the size of the parts in each circle?
Establish that as the number of parts increases, the size of each part decreases.
4. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Distribute
the paper for the Fast Finishers activity. Make sure students know what to do,
then have them work independently to complete the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.10. For the Fast Finishers activity,
ask, What happens each time you fold the piece of paper in half? Reinforce that
the number of equal parts doubles after each fold and the parts get smaller.
Extra help © ORIGO Education
Each pair of students will need: ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.10
• 1 set of fraction cards from Blackline Masters 14 and 15
Activity
Organize students into pairs and distribute the cards. Have the students place the
fraction name cards facedown in a central pile. The fraction area cards are distributed
equally between the students. Students take turns to turn over one card from the
central pile and find a matching fraction area card in their hand. Students set aside
matching pairs. Play continues until all possible pairs are matched.
42
1.10 เศษส่วน ใช้แนวคิดของส่วนหนึ่งของส่วนรวม (ส่วนที่เท่ากัน)
สำหรัับบทเรียี นนี้� นักั เรีียนเรีียนรู้�เกี่�ยวกับั เศษส่ว่ นผ่า่ นกิิจกรรมที่่� ใช้ร้ ููปร่า่ งแบบเดียี วกัันและ สอื่ และอุปกรณ์
แบบต่า่ ง ๆ กัันเพื่�อหาว่า่ รูปู ใดแสดงเศษส่ว่ น และรูปู ใดไม่่ ใช่่เศษส่่วน บทเรียี นสอดแทรก นักเรยี นแต่ละคนจะตอ้ งใช้
ทกั ษะการเช่ือมโยง และทกั ษะการใช้สือ่ เทคโนโลยีและแหล่งการเรียนรู้ • กระดาษสำ� หรบั เขยี น
• หนงั สอื เรียนหนา้ 26 - 27
ข้นั ที่ 1 น�ำเขา้ สู่บทเรียน หนงั สอื เรยี นหนา้ 26 - 27
© ORIGO Education ครููวาดรููปสี่�เหลี่�ยมผืืนผ้้า รููปวงกลม และรููปสี่�เหลี่�ยมจััตุุรััสบนกระดานอย่่างละ 1 รููป
วาดเส้้นประเพื่�อแบ่่งรููปสี่�เหลี่�ยมผืืนผ้้าออกเป็็น 3 ส่่วนเท่่า ๆ กััน, แบ่่งรููปวงกลมออกเป็็น
4 ส่่วนเท่า่ ๆ กััน และแบ่่งรููปสี่�เหลี่�ยมจััตุรุ ัสั ออกเป็น็ 2 ส่ว่ นเท่่า ๆ กันั ครูใู ห้น้ ัักเรีียน 1 คน 43
ออกมาระบายสี 1 ส่วนในแตล่ ะรปู ใหน้ กั เรียนดรู ูปสเ่ี หล่ียมผืนผ้าแล้วถามว่า สว่ นท่ีระบายสี
ของรูปส่เี หลี่ยมผืนผา้ แสดงเศษส่วนใด นักเรียนทราบไดอ้ ยา่ งไร ครสู ่งเสริมใหน้ กั เรียนอธิบาย
วิธิ ีคี ิดิ ครูเู ขียี นคำว่า่ เศษหนึ่�งส่ว่ นสามใต้ร้ ูปู สี่�เหลี่�ยมผืนื ผ้า้ ทำกิจิ กรรมอภิปิ รายแบบเดียี วกันั
กับั รูปู วงกลม และรููปสี่�เหลี่�ยมจััตุรุ ััส ครูเู ขีียนคำว่า่ เศษหนึ่�งส่่วนสี่่�ใ ต้้รูปู วงกลม และ
เศษหน่ึงส่วนสองใต้รูปสเี่ หล่ียมจัตรุ สั
ขัน้ ที่ 2 สอนบทเรยี น
1. ค รูใู ห้น้ ักั เรีียนสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนัังสือื เรียี นหน้้า 26 และให้้นักั เรียี น
พิิจารณาว่่าแต่่ละรูปู ถูกู แบ่่งส่่วนอย่่างไรแล้้วอธิิบายข้อ้ สัังเกตที่่�ไ ด้้ ครููและนักั เรีียนร่่วมกััน
อภิปิ รายเกี่�ยวกัับคำตอบจากนั้�นครููถามว่่า รููปใดที่�แสดงส่่วนแบ่ง่ ที่�เท่า่ กััน นักั เรียี นทราบ
ได้้อย่่างไร ครููยืืนยัันคำตอบว่่ารููปแรกและรููปสุุดท้้ายไม่่ได้้ถููกแบ่่งเป็็นส่่วนที่�เท่่ากััน
ครููอธิิบายว่่ารููปที่่�ถููกแบ่่งเป็็น (สี่�) ส่ว่ นที่�ไม่เ่ ท่่ากันั ไม่ไ่ ด้้แสดง (เศษหนึ่�งส่ว่ นสี่�)
2. ค รูให้นักเรียนดูรูปวงกลมทางขวาสุดแล้วถามว่า ส่วนที่ระบายสีของรูปวงกลมน้ีแสดง
เศษสว่ นใด ทำ� ไมนกั เรยี นจงึ คดิ เชน่ นน้ั ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายความคดิ เหน็ กบั เพอื่ นทนี่ ง่ั ขา้ ง ๆ
ครูอ่านคำ� พดู ของกวางและยนื ยันวา่ ถงึ แม้รูปวงกลมจะถูกแบ่งออกเปน็ 2 สว่ นทไ่ี ม่เท่ากัน
แตส่ ่วนท่รี ะบายสแี สดงเศษหน่งึ สว่ นสี่
3. ครใู ห้นักเรียนพจิ ารณารูปวงกลม 3 รูปแลว้ ถามว่า รูปวงกลมแต่ละรปู ถกู แบ่งสว่ นอยา่ งไร
ถา้ นักเรยี นระบายสหี น่ึงสว่ นในวงกลมแตล่ ะรปู สว่ นที่ระบายสใี นวงกลมแตล่ ะรปู แสดง
เศษสว่ นใด ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายค�ำตอบ ครสู ร้างเข้าใจให้ตรงกนั ว่า รูปวงกลม
ถกู แบง่ ออกเปน็ 2, 3 และ 4 สว่ นทเ่ี ท่ากันตามลำ� ดับ จากนั้นถามวา่ นกั เรยี นสงั เกต
เหน็ อะไรบา้ งเกยี่ วกบั จ�ำนวนสว่ นแบ่งและขนาดของสว่ นแบง่ ในรปู วงกลมแต่ละรูป
สร้างความเข้าใจใหต้ รงกนั ว่าจำ� นวนส่วนแบง่ ย่ิงเพิ่มข้นึ ขนาดของส่วนแบ่งย่ิงลดลง
4. ครูอา่ นคำ� สงั่ ในกจิ กรรมฝกึ ทักษะและประลองปญั ญาไปพรอ้ มกบั นักเรยี น ครแู จกกระดาษ
ให้นกั เรียนสำ� หรับใชใ้ นกจิ กรรมประลองปญั ญา ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่านกั เรยี นเขา้ ใจวา่
ต้องทำ� อะไร จากนน้ั ให้นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมด้วยตนเอง
ขน้ั ที่ 3 สรุปบทเรียน
ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายค�ำตอบของกจิ กรรมในหนงั สือเรยี น สำ� หรับกจิ กรรมประลอง
ปัญั ญา ครูถู ามว่า่ เกิดิ อะไรขึ้น� ในแต่ล่ ะครั้้ง� ที่่�นักั เรียี นพับั ครึ่่�งกระดาษ ครูเู น้น้ ว่า่ จำนวนส่ว่ นแบ่ง่
ที่�เท่า่ กัันเพิ่�มขึ้�นเป็็น 2 เท่่าหลังั จากการพับั ครึ่�งแต่ล่ ะครั้�ง และแต่ล่ ะส่ว่ นแบ่่งจะเล็็กลง
ปรบั พ้นื ฐาน
นัักเรียี นแต่่ละคู่�จะต้อ้ งใช้้
• ต้้นแบบสื่�อภาษาไทย 14 และต้น้ แบบสื่�อ 15 จำนวน 1 ชุดุ
กจิ กรรม
ครูให้นกั เรยี นจับค่กู นั แล้วแจกบัตรให้นักเรียนแต่ละคู่ ให้นกั เรยี นวางบตั รช่อื เศษส่วนควำ�่ ไว้
ในกองตรงกลาง จากนนั้ นักเรยี นแต่ละคนจะไดร้ บั แจกบัตรภาพเศษสว่ นคนละเทา่ ๆ กัน
นกั เรียนผลดั กันหยบิ บัตรจากกองกลางหงายขึ้นมา 1 ใบ แลว้ หาบัตรภาพเศษส่วนของตนเอง
ทตี่ รงกนั วางบตั รทเี่ ขา้ คกู่ นั แยกไวต้ า่ งหาก การเลน่ ดำ� เนนิ ตอ่ ไปจนกระทง่ั จบั คบู่ ตั รไดค้ รบทกุ ใบ
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.10
1.11 Fractions: Showing the same fraction with wholes of
different sizes
In this lesson, students focus on recognizing that the same fractions can be Classroom materials
represented with a number of different objects, lengths, or shapes. This allows
students to develop understanding that the size of the fraction is proportional to the You will need:
size of the whole. The following Mathematical skills and processes learning • 3 pieces of string, all different lengths
standards are embedded in this lesson: Communication and Making connections. • adhesive tape
Each student will need:
Step 1 Starting the lesson • recycled paper
• Student Journal 1.11
Write the following fraction word problem on the board: Tawan and Cherry each
have one-half of a bag of marbles. Do they have the same number of marbles? Student Journal pp. 28–29
Read the problem aloud. Distribute the paper and encourage students to draw pictures
to show their initial predictions. After adequate time, invite some students to share
their thoughts. Emphasize that the total number of marbles in each bag is unknown.
One half bag could hold a different number of marbles from the other half bag.
Step 2 Teaching the lesson
1. Attach the lengths of string to the board so students have a clear view. Ask, How
could I cut each length of string in half? Encourage students to discuss where
the midpoint of each piece of string would be. Mark the midpoint and compare
the halves of each piece of string. Guide students to explain that each string is
split into halves, but the halves are different lengths.
2. Draw three different-sized squares showing halves in different orientations on
the board, beside the lengths of string. Color one part in each square and ask,
What is the same about the shaded parts? What is different? Ask students to
share their thinking with the student beside them. Reinforce that even though
the shapes are different sizes, each shaded part shows one-half. Repeat the
activity with other shapes of different sizes showing one-third, then one-fourth.
3. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.11. Refer to the
sandwiches at the top of the page. Ask students to describe what is the same and
what is different. Work through the discussion and questions with the whole class.
4. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Have students
work independently to complete the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.11. Reinforce that if two wholes
are the same size, and both wholes are split into (halves), then the (halves) of each
whole will be the same size. If two wholes are different sizes, then the (halves)
of one whole will be a different size from the (halves) of the other whole.
Extra help © ORIGO Education
You will need:
• 3 containers with 12, 16, and 20 counters
Activity
Invite three students to come to the front and give them each a container. Ask them
to take out one-half of the counters in their container. Ask them to share how many
counters were in their whole collection and how many counters are in one-half of
their collection. Emphasize that some halves have a greater number of counters
than others, but each shows one-half of the whole. Repeat the activity with other
students showing one-fourth of the collections.
44 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.11
1.11 เศษส่วน แสดงเศษส่วนเดียวกันจากส่วนรวมขนาดต่าง ๆ กัน
© ORIGO Education ส�ำหรับบทเรียนนี้ นกั เรียนปฏิบัติกจิ กรรมทม่ี ุ่งเนน้ ความรูค้ วามเข้าใจที่ว่าเศษสว่ นเดยี วกัน สอ่ื และอุปกรณ์
สามารถแสดงได้โดยใช้ส่ิงของ ความยาว หรอื รปู ร่างต่าง ๆ กนั กิจกรรมดงั กลา่ วชว่ ยให้ ครจู ะตอ้ งใช้
นักเรยี นพฒั นาแนวคิดทีว่ ่าขนาดของเศษส่วนแปรผนั ตรงกับขนาดของสว่ นรวม บทเรยี น • เชอื ก 3 เสน้ แตล่ ะเสน้ มีความยาวแตกตา่ งกนั
สอดแทรกทกั ษะการส่อื สารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และทกั ษะการเชื่อมโยง • เทปกาว
นักเรียนแตล่ ะคนจะต้องใช้
ขน้ั ที่ 1 น�ำเข้าสู่บทเรียน • กระดาษส�ำหรบั เขยี น
• หนังสอื เรยี นหนา้ 28 - 29
ครเู ขียนโจทย์ปญั หาเกีย่ วกับเศษสว่ นตอ่ ไปนี้บนกระดาน ตะวนั กบั เชอรม่ี ีลกู แก้วคนละครงึ่ ถงุ หนงั สอื เรียนหน้า 28 - 29
พวกเขามีลี ูกู แก้ว้ จำนวนเท่า่ กันั หรือื ไม่่ ครูอู ่า่ นโจทย์ป์ ัญั หาให้น้ ักั เรียี นฟังั จากนั้�นแจกกระดาษ
ให้้นัักเรีียนและส่่งเสริิมให้้นัักเรีียนวาดรููปเพื่�อช่่วยในการแสดงข้้อคาดเดา ให้้เวลานัักเรีียน 45
ในการปฏิบิ ััติิกิจิ กรรม จากนั้�นให้้นัักเรียี นบางคนออกมานำเสนอวิิธีีคิดิ ครูเู น้้นว่่าจำนวนลูกู แก้ว้
ทั้�งหมดในแต่ล่ ะถุงุ เป็น็ จำนวนที่�เราไม่ท่ ราบค่า่ ครึ่�งถุงุ ใบหนึ่�งอาจจะมีจี ำนวนลูกู แก้ว้ แตกต่า่ งไป
จากครึ่�งถุุงอีีกใบ
ขนั้ ที่ 2 สอนบทเรยี น
1. ครูตู ิดิ เชืือกทั้�ง 3 เส้้นบนกระดานให้น้ ักั เรีียนสามารถเห็น็ ได้้อย่า่ งชัดั เจน และถามว่า่
ครููจะตัดั แบ่ง่ เชืือกแต่ล่ ะเส้้นออกเป็็นสองส่ว่ นเท่า่ ๆ กัันได้้อย่า่ งไร ครูสู ่่งเสริิมให้น้ ักั เรีียน
อภิิปรายร่ว่ มกันั ว่่าจุดุ กึ่�งกลางของเชืือกแต่่ละเส้น้ ควรจะอยู่�ตรงไหน และทำเครื่�องหมาย
แสดงจุดุ กึ่�งกลางแล้ว้ เปรียี บเทียี บครึ่�งหนึ่�งของเชือื กแต่ล่ ะเส้น้ ครูชู ่ว่ ยชี้�นำให้น้ ักั เรียี นอธิบิ าย
ได้้ว่า่ เชือื กแต่่ละเส้น้ ถููกแบ่่งครึ่�ง แต่ค่ รึ่�งหนึ่�งของเชือื กแต่ล่ ะเส้น้ มีคี วามยาวแตกต่่างกััน
2. ครวู าดรปู สเ่ี หลย่ี มจตั รุ สั ขนาดแตกตา่ งกนั 3 รปู ดา้ นขา้ งเชอื กบนกระดาน โดยแตล่ ะรปู แสดง
การแบ่่งครึ่�งในแนวต่า่ ง ๆ ระบายสีี 1 ส่่วนในรููปสี่�เหลี่�ยมจััตุรุ ััสแต่ล่ ะรููปแล้้วถามนัักเรีียนว่า่
ส่่วนที่�ระบายสีีมีีอะไรที่�เหมืือนกััน มีีอะไรที่�แตกต่่างกััน ครููให้้นัักเรีียนอภิิปรายกัับเพื่�อน
ที่�นั่�งข้้าง ๆ ครููเน้้นว่่าถึึงแม้้ว่่ารููปแต่่ละรููปจะมีีขนาดแตกต่่างกััน ส่่วนที่�ระบายสีีแสดง
เศษหนึ่�งส่่วนสอง ทำกิิจกรรมซ้้ำโดยเปลี่�ยนเป็็นรููปขนาดต่่าง ๆ ที่�แสดงเศษหนึ่�งส่่วนสาม
และเศษหนึ่งสว่ นส่ี
3. ค รููให้้นัักเรียี นสังั เกตการอภิปิ รายกิจิ กรรมอุ่�นเครื่�องในหนัังสืือเรียี นหน้้า 28 และให้น้ ักั เรียี น
สังั เกตรููปแซนวิิชแล้ว้ ให้น้ ักั เรีียนอธิบิ ายว่า่ มีีอะไรที่�เหมือื นกันั และมีีอะไรที่�แตกต่า่ งกันั
ครูนู ำนักั เรียี นอภิปิ รายแต่ล่ ะคำถามในกิิจกรรมอุ่�นเครื่�อง
4. ครอู า่ นคำ� สงั่ ในกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะและประลองปญั ญาไปพรอ้ มกบั นกั เรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น
ปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยตนเอง
ขน้ั ที่ 3 สรปุ บทเรยี น
ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายคำ� ตอบของกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น ครเู นน้ วา่ ถา้ ขนาดของสว่ นรวม
2 สิ่งมขี นาดเทา่ กนั และสว่ นรวมท้งั สองถกู แบ่งออกเปน็ (สองสว่ น) แล้ว (เศษหนึง่ สว่ นสอง)
ของทง้ั หมดจะมขี นาดเทา่ กนั แตถ่ า้ สว่ นรวมสองสงิ่ มขี นาดแตกตา่ งกนั ดงั นน้ั (เศษหนง่ึ สว่ นสอง)
ของสว่ นรวมแรกจะมีขนาดแตกต่างจาก (เศษหนึ่งสว่ นสอง) ของอกี สว่ นรวมหนง่ึ
ปรับพน้ื ฐาน
ครูจะตอ้ งใช้
• ภาชนะ 3 ใบ แตล่ ะใบบรรจตุ วั นับ 12, 16 และ 20 อนั ตามลำ� ดบั
กิจกรรม
ครููให้้นัักเรีียน 3 คนออกมาหน้้าชั้้�นแล้้วแจกภาชนะให้้นัักเรีียนคนละใบ ให้้นัักเรีียนหยิิบ
ตััวนัับครึ่�งหนึ่�งออกจากภาชนะ จากนั้�นให้น้ ัักเรียี นบอกว่า่ มีีตััวนัับทั้�งหมดเท่า่ ใด และครึ่�งหนึ่�ง
ของตัวั นับั มีจี ำนวนเท่า่ ใด ครูเู น้น้ ว่า่ ครึ่�งหนึ่�งของตัวั นับั ในภาชนะใบหนึ่�งมีจี ำนวนตัวั นับั มากกว่า่
ครึ่�งหนึ่�งของตััวนัับในภาชนะใบอื่�น ๆ แต่่ก็็แสดงเศษส่่วนเดีียวกัันคืือเศษหนึ่�งส่่วนสอง
ทำกิจิ กรรมซ้้ำโดยเปลี่�ยนให้้นัักเรียี นแสดงเศษหนึ่�งส่ว่ นสี่�ของทั้�งหมด
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.11
1.12 Fractions: Representing the same fraction
in different ways
In this lesson, students recognize that equal parts of identical whole regions do not Classroom materials
always have the same shape. The following Mathematical skills and processes
learning standards are embedded in this lesson: Making connections and Reasoning. Each student will need:
• recycled paper
Step 1 Starting the lesson • 1 ruler
• Student Journal 1.12
Distribute the materials. Ask students to draw a square or rectangle on their paper,
split it into two equal parts, and shade one part. Invite students to compare their Student Journal pp. 30–31
shapes and halves with the student beside them. Ask, What is the same about the
shaded parts? What is different? Emphasize that each shape shows one-half
shaded. If the students’ shapes are different, or they are different sizes, then
one-half of one shape may be a different size and shape from one-half of the
other shape.
Step 2 Teaching the lesson
1. Direct students to the Warm Up discussion in Student Journal 1.12. Ask them to
compare the three shapes at the top of the page. Establish that each shape
shows one-fourth shaded, then guide students to explain how each shape is split
into fourths, even though the shapes have been split in different ways.
2. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the class. Make sure
students know what to do, then have them work independently to complete
the tasks.
Step 3 Reflecting on the work
Discuss students’ answers to Student Journal 1.12. Ask students to share the
two different ways they showed each fraction and discuss why both ways show
the same fraction. Reinforce that the same fraction can be represented with
different-shaped wholes, but each whole must be split into equal parts.
Extra Practice
Each student will need:
• 1 ruler
• recycled paper
Activity
Organize students into pairs and distribute the materials. Ask students to draw one
rectangle and two different-sized squares on their paper. Have them draw lines
within the shapes to show halves, fourths, and thirds. In their pairs, students
compare the shapes they have drawn. Encourage them to discuss what is the same
and what is different about their shapes and how they are split.
© ORIGO Education
46 ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.12
1.12 เศษส่วน การแสดงเศษส่วนเดียวกันในแบบต่าง ๆ กัน
สำหรับั บทเรีียนนี้� นักั เรีียนได้้เรียี นรู้�ว่าส่่วนแบ่ง่ ที่�เท่่ากัันของส่่วนรวมเดีียวกันั ไม่จ่ ำเป็น็ ต้อ้ ง สื่อและอุปกรณ์
มีีรููปร่่างเหมือื นกััน บทเรียี นสอดแทรกทักั ษะการเชื่�อมโยง และทัักษะการให้้เหตุผุ ล นักเรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
• กระดาษสำ� หรับเขียน
ขัน้ ท่ี 1 น�ำเขา้ สบู่ ทเรยี น • ไม้บรรทดั 1 อัน
• หนงั สอื เรยี นหนา้ 30 - 31
ครูแู จกสื่�อและอุปุ กรณ์ใ์ ห้น้ ักั เรียี นแต่ล่ ะคน ให้น้ ักั เรียี นวาดรูปู สี่�เหลี่�ยมจัตั ุรุ ัสั หรือื รูปู สี่�เหลี่�ยมผืนื ผ้า้ หนงั สอื เรียนหน้า 30 - 31
ลงในกระดาษที่�แจกให้้ แบ่่งรููปออกเป็็น 2 ส่่วนที่�เท่่ากัันแล้้วระบายสีี 1 ส่่วน ให้้นัักเรีียน
เปรีียบเทีียบรูปู แสดงเศษส่่วนของตนกัับเพื่�อนที่�นั่�งข้้าง ๆ จากนั้�นถามว่่า ส่ว่ นที่�ระบายสีีมีีอะไร
ท่เี หมือนกัน มอี ะไรที่แตกตา่ งกัน ครเู นน้ วา่ รปู แต่ละรปู ส่วนทรี่ ะบายสแี สดงเศษหนึง่ ส่วนสอง
หรือครึง่ หนง่ึ ถา้ รปู ที่นกั เรยี นวาดมรี ปู รา่ งแตกตา่ งกนั หรือมขี นาดแตกตา่ งกนั ดงั นั้นคร่งึ หน่งึ
ของรปู หนงึ่ อาจจะมขี นาดและรูปรา่ งแตกตา่ งไปจากครึ่งหนึง่ ของอกี รปู
ขั้นท่ี 2 สอนบทเรยี น
1. ค รูใู ห้้นักั เรีียนสัังเกตการอภิปิ รายกิิจกรรมอุ่�นเครื่�องในหนัังสือื เรียี นหน้า้ 30 และให้้นักั เรีียน
เปรีียบเทีียบรููปสี่�เหลี่�ยม 3 รููปและสร้้างความเข้้าใจให้้ตรงกัันว่่าแต่่ละรููป ส่่วนที่�ระบายสีี
แสดงเศษหนึ่�งส่่วนสี่� จากนั้�นช่่วยชี้�นำให้้นัักเรีียนอธิิบายได้้ว่่าแต่่ละรููปถููกแบ่่งออกเป็็น
4 ส่่วนเท่่า ๆ กันั และแต่่ละส่่วนเป็็นเศษหนึ่�งส่ว่ นสี่� ถึึงแม้ว้ ่่าวิธิ ีีการแบ่่งส่่วนจะแตกต่่างกันั
2. ค รููอ่่านคำสั่�งในกิิจกรรมฝึึกทัักษะและประลองปััญญาไปพร้้อมกัับนัักเรีียน ตรวจสอบ
ให้้แน่ใ่ จว่า่ นักั เรียี นเข้้าใจว่า่ ต้อ้ งทำอะไร จากนั้�นให้น้ ัักเรีียนปฏิิบััติกิ ิจิ กรรมด้้วยตนเอง
ขั้นที่ 3 สรปุ บทเรยี น
ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายคำ� ตอบของกจิ กรรมในหนังสอื เรยี น ใหน้ กั เรียนแสดงวธิ ี 2 วธิ ี
ทแี่ ตกตา่ งกันในการแสดงเศษสว่ นและอภิปรายวา่ ท�ำไมทั้ง 2 แบบจงึ แสดงเศษสว่ นเดยี วกัน
ครูเน้นว่าเศษส่วนเดียวกันสามารถแสดงได้ด้วยส่วนรวมรูปร่างแตกต่างกัน แต่ส่วนรวม
ของแต่ละสิง่ จะต้องถกู แบง่ ออกเปน็ สว่ นทีเ่ ท่ากัน
ฝึกทกั ษะ
นกั เรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
• ไม้บรรทัด 1 อนั
• กระดาษสำ� หรับเขียน
กิจกรรม
ครใู หน้ กั เรยี นจบั คกู่ นั แลว้ แจกสอ่ื และอปุ กรณ ์ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคน ใหน้ กั เรยี นวาดรปู สเี่ หลย่ี มผนื ผา้
1 รปู และรปู สเ่ี หลยี่ มจตั รุ สั ขนาดแตกตา่ งกนั 2 รปู ลงในกระดาษ ใหน้ กั เรยี นวาดเสน้ ภายในรปู
เพอื่ แสดงเศษหนึ่งสว่ นสอง เศษหนึง่ สว่ นสี่ และเศษหนึ่งสว่ นสาม จากน้ันใหเ้ ปรยี บเทยี บ
รูปที่วาดกับคู่ของตนเอง ครูส่งเสริมให้นักเรียนอภิปรายว่ารูปของตนมีอะไรที่เหมือนกัน
และมอี ะไรทแ่ี ตกตา่ งกนั และแตล่ ะรปู ถกู แบง่ สว่ นอยา่ งไร
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 3 • 1.12 47