The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Teacher's Guide for Grade 1 teachers

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k_piyawonghirun, 2022-12-14 02:19:26

GO Math TG_G1 Unit 1_1.1-1.12

Teacher's Guide for Grade 1 teachers

unit overview 1

Mathematical background

In ORIGO GO Math Thailand-Kindergarten, students focused on numbers 0 to 20. For numbers 0 to 10,
number names, numerals and collections of objects were matched. Students wrote numerals and practiced
recognizing small collections of objects (subitizing). For numbers 11 to 20, the students own fingers were
used to represent teen numbers as one group of 10 and some more ones.

This first unit of Grade 1 reviews and then builds on the above concepts. New models to represent numbers
1–20 are introduced, with students using these same units to compare and order numerals. For example,
ten-frame number mats are used to represent teen numbers. Pictures of fingers are also used, which means
students can quickly show the number 14 by selecting the card that shows 10 and 4. This is a quick way to
build a place-value picture for teen numbers. In this unit, Hindu-Arabic numerals are first explored and then
related to Thai numerals. The sequence then culminates with student working with both Hindu-Arabic and
Thai numerals. Unit 1 then concludes with a review of ordinal numbers.

Lesson overview

1.1 Number: Writing numerals 0 to 9
1.2 Number: Writing numerals 0 to 9 (Thai)
1.3 Number: Matching representations to 10
1.4 Number: Analyzing teen numbers
1.5 Number: Analyzing teen numbers (Thai)
1.6 Number: Representing teen numbers
1.7 Number: Comparing teen numbers
1.8 Number: Making groups that have more or fewer (to 20)
1.9 Number: Working with position
1.10 Number: Ordering 1 to 19
1.11 Number: Reading ordinal number symbols
1.12 Number: Matching ordinal number names and symbols

Mathematical language

Students will use and develop the following language:

numeral number count teen
more
ten-frame balance greater number track
third (3rd)
less fewer between seventh (7th)
position
order first (1st) second (2nd)

fourth (4th) fifth (5th) sixth (6th)

eighth (8th) ninth (9th) tenth (10th)

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1 1

Assessment 1

Learning Targets

On completion of this unit, students should be able to:

A Write and read numbers 0 - 20 in Hindu Arabic and Thai

MA1.1 Grade 1/1 B Tell the value of 1 ten and up to 9 ones
C Represent numbers up to 20
D Use ordinal numbers and names to 10th

MA1.1 Grade 1/2 E Find the next number in a pattern increasing by 1
F Compare and order numbers up to 20

MA1.1 Grade 1/3 G Order multiple numbers up to 20

Written check up 1 – Unit 1 Written check up 2 – Unit 1

Written check up 1 1 Written check up 2 1

A 1. Count the number of . Write the numeral in Hindu Arabic and then F 1. Circle the numerals that are written in order from least to greatest.
D
in Thai to match. EG a. 19 17 18 18 17 19 17 18 19
a. b. c. G

b. 13 15 14 789 15 18 17

8 ๘ 15 ๑๕ 13 ๑๓ 2. Write the missing symbol to show each car’s position.

AC 2. Color to match each numeral. c. 6th sixth 4th fourth 2nd second
B
a. 9 5th fifth 3rd third 1st first
b. 18
c. ๑๔ 3. Write the missing numerals on these tracks.
d. ๑๗
a. 1 2 3 7 8 9 10 11 15 16 17 18
3. Write the tens then the ones. 456 12 13 14 19
a. b.
10 11 12 17 18 19
b. 6 7 8 9 13 14 15 16

15 17 11 © ORIGO Education 4. Write the four numerals in order from least to greatest. 4 © ORIGO Education

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1 14 7 17 17

4 7 14

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1

© ORIGO Education

2 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1

การประเมินผล 1

เปา้ หมายการเรยี นรู้
เม่อื จบหนว่ ยการเรียนรู้นีแ้ ลว้ นกั เรียนควรจะสามารถ

ก อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ และตวั เลขไทยแสดงจำ�ำนวนนบั 1 - 20 และศนู ย์

ข บอกค่าของจำ�ำนวน 1 สิบ กับจำำ� นวนไมเ่ กิน 9 หนว่ ย

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/1 ค แสดงจำ�ำนวนนับไมเ่ กิน 20 และศนู ย์

ง ใชจ้ ำำ� นวนเชงิ อันดับทีแ่ ละสญั ลกั ษณแ์ ทนจำ�ำนวนเชิงอนั ดบั ทไี่ ม่เกินลำ�ำดับที่ 10

จ หาจำ�ำนวนต่อไปในแบบรูปของจำำ� นวนท่เี พ่ิมขึ้นทีละ 1

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/2 ฉ เปรียบเทยี บและเรยี งลำำ� ดับจำ�ำนวนนบั ไมเ่ กนิ 20

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/3 ช เรยี งลำำ� ดับจำ�ำนวนนบั ไม่เกิน 20 หลายจำ�ำนวน

แบบทดสอบ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 แบบทดสอบ 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

แบบทดสอบ 1 1 แบบทดสอบ 2 1

ก 1. นบั จํานวน จากนั้นเขียนตวั เลขฮินดูอารบกิ และตวั เลขไทยแสดงจํานวน ฉ 1. วงลอมรอบตวั เลขทเี่ รยี งลาํ ดบั จากนอยที่สุดไปมากทีส่ ุด
(1) (2) (3) (1) 19 17 18
18 17 19 17 18 19

(2) 13 15 14 789 15 18 17

8 ๘ 15 ๑๕ 13 ๑๓ ง 2. เตมิ สัญลักษณแ สดงอันดบั ทล่ี งในชอ งวางเพ่อื แสดงลาํ ดับการเขา เสนชยั ของรถแตละคนั

กค 2. ระบายสี ใหต รงกับตัวเลขท่ีกําหนดให (3) 6th 4thอนั ดบั ทีห่ ก อันดับที่ส่ี 2nd อันดบั ทีส่ อง

(1) 9 5th อนั ดบั ทห่ี า 3rd อันดับท่สี าม 1st อันดบั แรก
(2) 18
(3) ๑๔ จช 3. เตมิ จาํ นวนทห่ี ายไปลงในชอ งวา ง
(4) ๑๗ ช (1) 1 2 3 7 8 9 10 11 15 16 17 18
456 12 13 14 19

3. เตมิ จํานวนสบิ และจํานวนหนวยลงในชอ งวาง (2) 10 11 12 17 18 19
(1) (2)
6 7 8 9 13 14 15 16

© ORIGO Education 15 17 11 © ORIGO Education 4. เรียงลําดับจาํ นวนทก่ี าํ หนดใหจากนอยท่ีสดุ ไปมากท่สี ุด 4

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1 14 7 17 17

4 7 14

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1 3

STUDENT RECORD SHEET 1

Recording

Record each student’s achievement of the Indicators and Learning Targets in the box(es) for this unit alongside the relevant target
description(s) on a copy of the Student Record Sheet. Record significant observations of the learning targets and the skills and processes
on pages viii–xii.

Assessment – Check Up 1

This chart shows the options for assessing each Indicators and Learning Target for Lessons 1–6.

Indicator Learning target Question Observation/comments

Write Hindu Arabic numerals 0 - 20 Q1, Q2

MA1.1 Grade 1/1 Write Thai numerals 0 - 20 Q1, Q2
Represent numbers up to 20 Q2

Tell the value of 1 ten and up to 9 ones Q3

Assessment – Check Up 2

This chart shows the options for assessing each Indicators and Learning Target for Lessons 7–12.

Indicator Learning target Question Observation/comments

MA1.1 Grade 1/1 Use ordinal numbers to 10th Q2
Q3
Find the next number in a pattern
increasing by 1

MA1.1 Grade 1/2 Compare (up to 3) numbers up to 20 Q1
Order multiple numbers up to 20 Q4

MA1.1 Grade 1/3 Order numbers up to 20 Q3 © ORIGO Education

4 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1

แบบบันทกึ ผล 1

การบนั ทกึ ผล
บันทึกผลการสังเกตการณ์ของนักเรยี นตามตัวชว้ี ดั และเป้าหมายการเรียนรแู้ ต่ละขอ้ ลงในชอ่ งว่างทก่ี ำำ� หนดใหใ้ นแบบบันทกึ ผลหนา้ viii - xii

การประเมนิ ผล แบบทดสอบ 1
ตารางบันทึกขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะตามตวั ช้ีวดั และเป้าหมายการเรยี นร้สู ำ�หรบั บทเรียน 1 - 6

ตวั ชีว้ ดั เป้าหมายการเรยี นรู้ คำ�ถาม ข้อสังเกต/ขอ้ เสนอแนะ

เขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบิกแสดงจำ�ำนวนนับ ขอ้ 1, ข้อ 2
ไม่เกนิ 20 และ 0

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/1 เขียนตวั เลขไทยแสดงจำ�ำนวนนับ ข้อ 1, ขอ้ 2
ไม่เกนิ 20 และ 0 ขอ้ 2
แสดงจำ�ำนวนนบั ไม่เกนิ 20 และ 0

บอกคา่ ของจำ�ำนวน 1 สบิ กบั จำำ� นวนไมเ่ กนิ ขอ้ 3
9 หนว่ ย

การประเมนิ ผล แบบทดสอบ 2
ตารางบันทกึ ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะตามตวั ชีว้ ัดและเป้าหมายการเรียนรู้สำ�หรับบทเรียน 7 - 12

ตวั ช้ีวัด เป้าหมายการเรยี นรู้ ค�ำ ถาม ขอ้ สงั เกต/ข้อเสนอแนะ

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/1 ใชจ้ ำำ� นวนเชิงอนั ดบั ท่ไี มเ่ กินลำ�ำดับที่ 10 ขอ้ 2
หาจำำ� นวนต่อไปท่ีอยู่ในแบบรปู ของจำำ� นวน ข้อ 3
ทเ่ี พิ่มขึ้นทีละ 1

มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/2 เปรียบเทยี บจำำ� นวนนับไม่เกิน 20 ขอ้ 1
(ไมเ่ กนิ 3 จำ�ำนวน) ขอ้ 4
เรยี งลำำ� ดบั จำำ� นวนนบั ไมเ่ กนิ 20 หลายจำำ� นวน

© ORIGO Education มาตรฐาน ค 1.1 ป.1/3 เรียงลำำ� ดับจำ�ำนวนนับไม่เกนิ 20 ขอ้ 3

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1 5

Written check up 1 1

1. Count the number of . Write the numeral in Hindu Arabic and then
in Thai to match.

a. b. c.

2. Color to match each numeral. c.

a. 9
b. 18
c. ๑๔
d. ๑๗

3. Write the tens then the ones.
a. b.

© ORIGO Education

6 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1

แบบทดสอบ 1 1

1. นบั จํานวน จากน้ันเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิกและตวั เลขไทยแสดงจาํ นวน
(1) (2) (3)

2. ระบายสี ใหต รงกบั ตวั เลขทกี่ าํ หนดให

(1) 9
(2) 18
(3) ๑๔
(4) ๑๗

3. เติมจํานวนสบิ และจํานวนหนวยลงในชองวา ง (3)
(1) (2)

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1 7

Written check up 2 1

1. Circle the numerals that are written in order from least to greatest.

a. 19 17 18 18 17 19 17 18 19

b. 13 15 14 789 15 18 17

2. Write the missing symbol to show each car’s position.

sixth fourth second

1st first
fifth third

3. Write the missing numerals on these tracks.

a. 1 9 11 18

46 14

11 17

b. 6 8 14

4. Write the four numerals in order from least to greatest. 4 © ORIGO Education

14 7 17

8 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1

แบบทดสอบ 2 1

1. วงลอมรอบตัวเลขท่ีเรียงลําดับจากนอยทส่ี ุดไปมากทส่ี ดุ
(1) 19 17 18
18 17 19 17 18 19
15 18 17
(2) 13 15 14 789

2. เตมิ สญั ลกั ษณแสดงอนั ดับท่ีลงในชองวา งเพ่อื แสดงลําดับการเขา เสน ชัยของรถแตล ะคนั

อนั ดบั ที่หก อนั ดบั ทสี่ ่ี อันดบั ท่ีสอง

1st อนั ดับแรก

อันดับท่ีหา อันดบั ทสี่ าม

3. เตมิ จาํ นวนที่หายไปลงในชองวาง 9 11 18
(1) 1 14 4

46 17
14
(2) 11
68

© ORIGO Education 4. เรยี งลําดับจาํ นวนท่กี ําหนดใหจ ากนอยทีส่ ดุ ไปมากทส่ี ดุ
14 7 17

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1 9

1.1 Number: Writing numerals 0 to 9

In this lesson, students identify numerals and number names that match collections Classroom materials
of objects up to nine. The mathematical skills and processes learning standard,
Communication, is embedded in this lesson. You will need:
• 10 small toy zoo animals in a container
Step 1 Starting the lesson
• set of cards from Blackline Master 1
Show the students the toy animals and the “zoo“ (plastic container). Say, “Count (remove the card for 10)
the animals with me.” Place the toy animals one by one into the container as you
count, One, two … ten. Take all of the animals out of the container. Place three animals Each student will need:
in the container and say, “There are three animals in the zoo. Let’s count the animals • Student Journal 1.1
starting at three.” Point to the container of three and drop in animals as you count,
“Three, four … ten.” Repeat using other starting numbers and finishing numbers less Student Journal pp.8–9
than 10.
1.1 Number: Writing numerals 0 to 9
Step 2 Teaching the lesson Warm Up Trace the numerals.

1. Recite each of these rhymes as you write the numerals 0–9 on the board so all 1 1 22 33
students can see them clearly. Repeat the rhyme after each number and have 44 5 5 66
the students write the numeral in the air.
o 0 – Make a 0, high not low. That makes a zero just like so. 77 88 99
o 1 – A short flick up, then down like a stick. Writing number one is very quick.


o 2 – Go around to the right. Curve to the bottom and then make a line to Which numerals start down ? 0 © ORIGO Education
the right. You made a two, neat and tight. Which numerals start left ?
o 3 – Go around and around. What can it be? It is the dancing number three. Which numerals start right ? ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.1
o 4 – Go down and then go right. A long straight stick then four is in sight.
Which numerals start up ?
o 5 – Draw the line halfway down. Make a curve to the right. Put a line on
the top and you made a five so bright. Show how you would write
o 6 – Draw the line down and then go around. This is the number six you the numeral for zero.
have found.


o 7 – Across the top and down we go. Now we have number seven to show.

Which way did you start?
o 8 – Start with an S, do not wait. Go to the top to make an eight.


o 9 – First a loop and then a line. It’s fun to write the number nine. ♦8

2. Show the picture card for four. Ask, “What numeral matches this number of Work Out Count the fruit. Write the matching numeral.
monkeys?” Invite students to say the number and trace the number in the air a. b. c.
with you as you revise the necessary hand movements for writing 4. Repeat
the discussion for each of the picture cards and numerals. 4 apples 3 bananas 5 oranges

3. Read the instructions and questions from Student Journal 1.1. Make sure students d. e. f.
know what to do and then have them work independently to complete the task.
2 pineapples 8 plums 1 pear
Step 3 Reflecting on the work
g. h. i.
Once students have finished, discuss their answers. Have the students share and
compare the numeral they wrote for each collection of fruit. They can then practice 9 cherries 7 lemons 6 peaches
the numeral they found the most difficult to write by pretending to write it in the air.
Fast Finishers Look at these telephone numbers.
Extra practice Circle the numerals that do not match
the numerals on page 8.
Each student will need:
• 1 copy of Blackline Master 2 (two pages) Kim 521-6262 Mai 934-4332
Bella 9 2 9 - 2 0 79 Mario 526-8701
Activity
9♦
Have the students complete the practice pages. Students trace each numeral ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.1© ORIGO Education Practice 1.1
twice, write the numeral once using the dot for the starting position, then write
the numeral once using the lines as a guide. © ORIGO Education

10 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.1

1.1 จำ�ำนวน การเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิกศนู ยถ์ ึงเกา้

สำ�ำหรับบทเรียนน้ี นกั เรียนระบุตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ และตัวหนงั สือท่ีแสดงจำำ� นวนสงิ่ ของที่ สื่อและอุปกรณ์
กำำ� หนดใหไ้ มเ่ กนิ เกา้ บทเรยี นสอดแทรกทกั ษะการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ ครูจะตอ้ งใช้
• สตั วข์ องเล่น 10 ตวั พร้อมภาชนะบรรจุ
ขนั้ ท่ี 1 นำ�ำเข้าสู่บทเรยี น • ชดุ บตั รภาพจากตน้ แบบส่ือ 1 (ไมใ่ ชบ้ ัตรภาพ

ครหู ยิบสัตว์ของเล่นใสใ่ น “สวนสตั ว”์ (ภาชนะ) ทลี ะตวั ครพู ดู วา่ “เรามานบั จำ�ำนวนสตั ว์ แสดงจำ�ำนวน 10)
ด้วยกันนะ” หยบิ สัตวใ์ ส่ลงภาชนะทีละตัวพร้อมกับนบั หนึ่ง, สอง … สบิ จากนัน้ หยิบสตั ว์ นักเรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
ทั้งหมดออกจากภาชนะ ครูหยิบสัตว์ 3 ตัวใสใ่ นภาชนะแล้วพดู วา่ “มีสัตวส์ ามตวั ในสวนสตั ว์ • หนงั สอื เรยี นหนา้ 8 - 9
เรามานบั สัตวก์ ันตอ่ นบั เริ่มจากสามนะ” ครูชีท้ ี่ภาชนะซึ่งมสี ตั ว์ 3 ตวั จากนัน้ หยิบสัตว์
ใส่ลงภาชนะทีละตวั พร้อมทง้ั พูด “สาม, ส่,ี ... สบิ ” ทำำ� กิจกรรมซ้�้ำำโดยเปล่ยี นจำ�ำนวนเรม่ิ ต้น หนังสอื เรียนหน้า 8 - 9
และใหจ้ ำ�ำนวนสุดทา้ ยเปน็ จำำ� นวนอน่ื ทีน่ ้อยกว่า 10
1.1 จาํ นวน การเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ศูนยถึงเกา
ขนั้ ที่ 2 สอนบทเรยี น อนุ เครอ่ื ง ลากเสนตามรอยเพือ่ เขยี นเปน ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก

1. ครทู อ่ งขอ้ ความคล้องจองตอ่ ไปนี้ พร้อมทั้งเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ 0 ถงึ 9 บนกระดาน 1 1 22 33
ใหน้ ักเรียนเหน็ ได้อย่างชัดเจน ท่องขอ้ ความคล้องจองการเขยี นแตล่ ะจำำ� นวนซ้�้ำำอกี คร้ังและ 44 5 5 66
ใหน้ ักเรียนเขยี นตวั เลขในอากาศ 77 88 99
o 0 – วงรปู ไข่ ได้เลขศูนย์
o 1 – เส้นส้นั เฉยี งขึน้ เสน้ ตรงดงิ่ ลงมา เรยี กวา่ เลขหน่ึง ตัวเลขใดบางท่ีเร่ิมจากการลากเสน ลง 0 © ORIGO Education
o 2 – ลากโคง้ ลงขวา ทแยงมาลงซา้ ย ขดี ขวาตามไป เขยี นไวไ้ ด้สอง ตวั เลขใดบา งทเ่ี ร่ิมจากการลากเสนไปทางซาย
o 3 – โค้งคร่งึ ลงขวา โคง้ ลงมาอกี ขยกั คกึ คกั เรยี กเลขสาม ตวั เลขใดบา งทเ่ี ร่มิ จากการลากเสน ไปทางขวา หนังสือพัฒนาทกั ษะคณิตศาสตร ป.1
o 4 – ลงซา้ ย แลว้ ไปขวา ตง้ั ค่นั มา พาไปสี่ ตวั เลขใดบา งทเี่ ริม่ จากการลากเสนขึ้น
o 5 – ลงครง่ึ แล้วจึงโคง้ ขวา ขดี บนตามมา ได้หา้ พาไป
o 6 – ลงล่าง เกบ็ หางม้วน ชวนเปน็ หก แสดงใหดูซิวา นักเรียนจะเขียน
o 7 – ขดี บน ลงซ้าย ได้เลขเจ็ด ตัวเลขศูนยอยางไร
o 8 – ลากเอสมา พาโค้งขน้ึ ไป ได้เลขแปด
o 9 – เริ่มจากวงกลม แลว้ ลากเส้น เหน็ เปน็ เก้า นกั เรียนเรม่ิ ตน เขียนตัวเลขศนู ยจากทางไหน

2. ครชู ูบตั รภาพแสดงจำ�ำนวนสี่ให้นกั เรียนดู แลว้ ถามวา่ “ตวั เลขใดตรงกับจำ�ำนวนลิงใน ♦8
บตั รภาพน”้ี ครูเชญิ ชวนใหน้ กั เรยี นพูดบอกจำ�ำนวนและเขียนตัวเลขในอากาศ ขณะเดียวกัน
ใหค้ รทู บทวนการลากมอื เพอ่ื เขยี นตวั เลข 4 ทำำ� กจิ กรรมทำำ� นองนอี้ กี โดยเปลย่ี นเปน็ บตั รภาพ ฝกทักษะ นบั จํานวนผลไมแลวเตมิ ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ลงในชอ งวา ง
และตัวเลขอน่ื ๆ (1) (2) (3)

3. ครูอ่านคำำ� ส่ังและคำ�ำถามจากหนงั สอื เรยี นหนา้ 8 - 9 ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่านักเรียนเข้าใจวา่ 4 ผล 3 ผล 5 ผล
ตอ้ งทำ�ำอะไร จากนน้ั ให้นกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมดว้ ยตนเอง
(4) (5) (6)
ขนั้ ท่ี 3 สรุปบทเรยี น
2 ผล 8 ผล 1 ผล
เมื่อนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแลว้ อภปิ รายคำ�ำตอบร่วมกนั ให้นกั เรียนเขียนคำำ� ตอบและ
เปรยี บเทยี บตัวเลขทน่ี ักเรยี นเขียนแสดงจำ�ำนวนผลไมแ้ ตล่ ะกลุ่ม จากนน้ั ให้นักเรียนฝกึ เขียน (7) (8) (9)
ตัวเลขทน่ี ักเรียนคิดว่าเขียนยากทสี่ ุด โดยการลากนวิ้ มอื เขยี นตัวเลขในอากาศ
9 ผล 7 ผล 6 ผล
ฝกึ ทักษะ
นักเรยี นแต่ละคนจะต้องใช้ ประลองปญญา สังเกตหมายเลขโทรศพั ทตอไปน้ี วงลอมรอบตัวเลขทเี่ ขียนไมถ กู ตอ ง
• ใบงานจากต้นแบบสอื่ ภาษาไทย 2.1 และ 2.2 (ดตู วั อยา งในหนา 8)
กจิ กรรม
© ORIGO Education ครูใหน้ ักเรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมในใบงาน สำ�ำหรับตวั เลขแตล่ ะตัว นกั เรียนจะไดเ้ ขยี นตวั เลข © ORIGO Education คิม 5 2 1 - 6 2 6 2 ใหม 934-4332
ตามรอย 2 ครั้ง เขยี นตวั เลขโดยใชจ้ ดุ ทกี่ ำำ� หนดให้เป็นตำำ� แหน่งเรม่ิ ตน้ 1 คร้งั จากนน้ั เบลลา 9 2 9 - 2 0 7 9 มาริโอ 526 -8701
เขยี นตวั เลขตามแนวบรรทดั 1 คร้ัง
หนังสอื พัฒนาทักษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.1 9♦

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.1 11

1.2 Number: Writing numerals 0 to 9 (Thai)

In this lesson, students practice writing Thai numerals 0 to 9. The mathematical Classroom materials
skills and processes learning standard, Communication, is embedded in this lesson.
You will need:
Step 1 Starting the lesson • Set of cards from Blackline Master 1
(remove the card for 10)
Say “Listen carefully as I count. I want you to help me today. If you hear me make Each student will need:
a mistake, raise your hand.” Count to 12 slowly using an incorrect sequence. After • Student Journal 1.2
the students have corrected the counting, ask all the students to count along as you
complete a successful count. Repeat for incorrect counting sequences to a number Student Journal pp.10–11
15 or less. Then have the students say the correct sequence from 1 to 15 with you.
Repeat at other times. 1.2 Number: Writing numerals 0 to 9 (Thai)

Step 2 Teaching the lesson Warm Up Trace the numerals.

1. Recite each of these rhymes as you write the Thai numerals 0–9 on the board Show how you would write ๐
so all students can see them clearly. For each numeral, draw a larger dot on the numeral for zero.
the starting position of each number as show in the Student Journal.
Work Out 1. Draw to match each numeral.
o ๐ – zero just make it round. It can never fail. a. b.
o ๑ – one sure looks like a snail.
o ๒ – double hills with long tail is two. © ORIGO Education
o ๓ – Three makes do without tail. Well, it reminds me of letter M.
o ๔ – Four and five are not the same. Four is the one with tail that is pointy. ♦ 10 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.2
o ๕ – Five is like four but with tail that's loopy .
o ๖ – Six, you see what it looks like? Hunchback it is on the right. 2. Count the fruit. Write the matching numeral.
o ๗ – Seven looks like three with an extra arm a. b. c.
o ๘ – Eight starts right, goes zigzag down left. It works like a charm.
o ๙ – It’s high time with number nine. Can you see a bird ready to fly? ๔ lemons ๘ cherries ๙ plums

2. Show the picture of 1 monkey and ask, “How many monkeys do you see? d. e. f.
Who can write the Thai numeral that tells the number of monkeys?” Invite
several volunteers to write the numeral on the board while the remaining ๕ oranges ๑ pineapple ๗ peaches
students trace the number in the air with you. Repeat for each of the remaining
picture cards. g. h. i.

3. Read the instructions and questions from Student Journal 1.2. Make sure ๒ bananas ๖ apples ๓ pears
students know what to do and then have them work independently to complete
the task. Fast Finishers Bella made this birthday card.
Write the numeral correctly.
Step 3 Reflecting on the work
© ORIGO EducationORIGO GO Math • Grade 1 • 1.2Practice 1.2 11 ♦
1. Once students have finished, discuss their answers. Have the students share
and compare the numeral they wrote for each collection of fruit. © ORIGO Education

2. Have the students practice writing numerals by tracing the numeral they find
the most difficult to write on another students’ palm.

Extra practice

Each student will need:
• 1 copy of Blackline Master 3 (two pages)

Activity

Have the students complete the practice pages. Students trace each Thai numeral
twice, write the numeral once using the dot for the starting position, then write
the numeral once using the lines as a guide.

12 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.2

1.2 จำ�ำนวน การเขยี นตวั เลขไทยศูนยถ์ ึงเก้า

สำำ� หรบั บทเรยี นนี้ นักเรียนจะไดฝ้ ึกเขยี นตัวเลขไทยศูนยถ์ ึงเกา้ บทเรียนสอดแทรกทักษะ ส่อื และอปุ กรณ์
การส่อื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ ครูจะต้องใช้
• ชดุ บตั รภาพจากตน้ แบบส่อื 1 (ไมใ่ ชบ้ ตั รภาพ
ขน้ั ที่ 1 นำ�ำเขา้ สบู่ ทเรียน
แสดงจำ�ำนวน 10)
ครูพดู วา่ “ครูจะนับให้ฟงั นะ ให้นักเรยี นคอยฟังว่าครนู บั ถกู หรือไม่ ถ้านกั เรียนได้ยนิ ครู นกั เรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
นบั ผดิ เมอื่ ไหร่ ใหย้ กมอื ขน้ึ ” ครนู บั 1 ถงึ 12 อยา่ งชา้ ๆ โดยเรยี งลำำ� ดบั ผดิ ๆ ถกู ๆ หลงั จากที่ • หนงั สอื เรยี นหนา้ 10 - 11
นักเรียนได้ชว่ ยแก้ไขการนบั ของครใู ห้ถกู ต้องแลว้ ให้นักเรยี นทั้งหมดนบั 1 ถงึ 12 ไปพร้อม ๆ
กบั ครู จดั กจิ กรรมซ้�้ำำโดยเปล่ียนใหค้ รแู กลง้ นบั ผิด ๆ ถกู ๆ ถึงจำำ� นวนท่ไี ม่เกิน 15 จากนัน้ หนังสอื เรยี นหน้า 10 - 11
ให้นักเรียนนับอยา่ งถูกต้องตามลำำ� ดบั จาก 1 ถงึ 15 ไปพรอ้ มกบั ครู ทำำ� กิจกรรมทำำ� นองนี้
ในช่วงเวลาอ่นื ๆ 1.2 จํานวน การเขยี นตัวเลขไทยศูนยถงึ เกา
อนุ เครือ่ ง ลากเสนตามรอยเพ่ือเขียนเปน ตวั เลขไทย
ข้นั ท่ี 2 สอนบทเรยี น
แตสัวเดลงขใศหูนดยูซอิวยาางนไักรเรียนจะเขียน ๐
1. ครูทอ่ งข้อความคลอ้ งจองตอ่ ไปน้ี พร้อมทั้งเขียนตวั เลขไทย ๐ ถงึ ๙ บนกระดานใหน้ ักเรยี น
ทุกคนเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน สำำ� หรบั ตวั เลขแตล่ ะตวั ใหว้ าดจดุ ทต่ี ำำ� แหนง่ เรมิ่ ตน้ ของการเขยี น ฝกทักษะ 1. วาด ใหม ีจาํ นวนตามตัวเลขไทย
ตามตัวอยา่ งในหนงั สอื เรยี น (1) (2)
๐ – ศูนย์ ดูกลม จงึ กลมกลงึ
๑ – หนงึ่ ขดวง เป็นก้อนหอย © ORIGO Education
๒ – สอง ขยักคู่ ชูหางลอย
๓ – ลากสองดอย คอยคู่ ดูเป็นสาม ♦ 10 หนงั สอื พัฒนาทักษะคณติ ศาสตร ป.1
๔ – สี่ ดีงาม ตามหางชี้
๕ – ห้าเหมอื นส่ี ทีห่ างมว้ น ชวนดู 2. นับจํานวนผลไมแลวเตมิ ตัวเลขไทยลงในชอ งวา ง (3)
๖ – หก คดคู้ ดหู ลังงอ (1) (2)
๗ – เจ็ด คลา้ ยสาม มีตอ่ ขา
๘ – แปด ฟนั ปลา พาไป ๔ ผล ๘ ผล ๙ ผล
๙ – เกา้ มาไกล ได้นกบนิ
(4) (5) (6)
2. ค รูชบู ตั รภาพลงิ 1 ตัวแลว้ ถามว่า “นักเรยี นเห็นลงิ กตี่ ัว มใี ครเขยี นตัวเลขไทยท่ีบอกจำำ� นวน
ลิงได้บา้ ง” ครูเชญิ ชวนให้อาสาสมคั รหลายคนออกมาเขยี นตัวเลขบนกระดาน ขณะเดยี วกัน ๕ ผล ๑ ผล ๗ ผล
ใหน้ กั เรยี นท่ีเหลอื เขียนตัวเลขในอากาศไปพร้อมกบั ครู ทำ�ำกิจกรรมซ้�้ำำกบั บัตรภาพที่เหลือ
(7) (8) (9)
3. ค รอู ่านคำำ� สง่ั และคำำ� ถามในหนังสือเรยี นหน้า 10 - 11 ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จว่านักเรียนเขา้ ใจวา่
ตอ้ งทำ�ำอะไร จากน้นั ใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติกิจกรรมด้วยตนเอง ๒ ๖ ๓ผล ผล ผล

ข้ันท่ี 3 สรปุ บทเรยี น ประลองปญ ญา เบลลา เขยี นตวั เลขไทยบนบตั รอวยพรวันเกดิ
ดังภาพ เขยี นตวั เลขไทยใหถูกตอ ง
1. เมอ่ื นกั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมเสร็จแลว้ อภิปรายคำำ� ตอบรว่ มกัน ใหน้ ักเรยี นแสดงคำำ� ตอบและ
© ORIGO Education เปรยี บเทียบตัวเลขทน่ี กั เรยี นเขยี นแสดงจำำ� นวนผลไมแ้ ต่ละกลุ่ม © ORIGO Education

2. ใหน้ ักเรยี นฝกึ เขยี นตัวเลขท่นี ักเรียนคดิ วา่ เขยี นยากทีส่ ดุ โดยการลากน้วิ มือเขียนตัวเลข หนังสอื พฒั นาทักษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.2 11 ♦
บนฝ่ามอื ของเพอ่ื น
13
ฝึกทักษะ
นักเรียนแต่ละคนจะต้องใช้
• ใบงานจากต้นแบบส่อื ภาษาไทย 3.1 และ 3.2
กจิ กรรม
ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในใบงาน สำ�ำหรับตัวเลขแต่ละตัว นักเรียนจะได้เขียนตัวเลข
ตามรอย 2 คร้ัง เขียนตัวเลขโดยใช้จดุ ทีก่ ำ�ำหนดใหเ้ ปน็ ตำ�ำแหน่งเร่ิมต้น 1 คร้งั จากน้นั
เขียนตัวเลขตามแนวบรรทัด 1 ครั้ง

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.2

1.3 Number: Matching representations to 10

In this lesson, students match numerals with pictorial representations of numbers Classroom materials
to ten. The mathematical skills and processes learning standards, Communication
and Using media, technologies, and resources, are embedded in this lesson. Each student will need:
• Student Journal 1.3
Step 1 Starting the lesson
Student Journal pp.12–13
Have the students count from 1 to 10. Ask, “What numbers do we say after ten?”
Invite a confident student to count from 11 to 20. Then have the whole class count 1.3 Number: Matching representations to 10
from 11 to 20. Say the counting sequence from 1 to 20. Emphasise the “n” sound
in “teen” of the teen numbers. Then have the students say the sequence with you Warm Up How can you quickly figure out
a number of times. Repeat at other times. how many fingers are raised
without counting each one?
Step 2 Teaching the lesson
I know there are 10 fingers
1. Ask “How could we write the number one greater than nine as a numeral?” on 2 hands. 3 fingers are
Invite two students to the board to write 10 in Hindu Arabic and in Thai numerals. down, so it is 3 less than 10.

2. As a group, discuss the different ways to represent numbers 1 to 10. 7Write the Hindu-Arabic numeral to match
Elicit several suggestions including fingers, ten-frames, cubes, and counters.
Talk about the convenience of showing the numbers 1 to 10 with fingers. the number of fingers that are raised.
Remind the students how to represent numbers from 1 to 10 using their fingers. Now write the same number with Thai numerals.

3. Have one student come to the front of the class and represent ”six”using their Work Out 1. Write the Hindu-Arabic and Thai numerals to
fingers (five and one more). Ask another student to show ”two”. Ensure a. match the number of fingers that are raised.
students display left-to-right reading for the class (as shown on the cards from b. c.
Blackline Master 4). Continue until all numbers from 1 to 10 are represented.
4 8 6
4. Ask the students who are showing the numbers 1 to 10 to order themselves
from least to greatest in front of the board. The remaining students can then d. e. f.
write the matching numeral above each student.
5 10 1 © ORIGO Education
5. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.3. Ask “How
can you quickly figure out how many fingers are raised without counting each ♦ 12 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.3
one?” Encourage students to view the two hands as both “one group of 10
and three less” and as “one group of five and two more”. Read the remaining 2. Write the Hindu-Arabic and Thai numerals to match
questions and have students write the number 7 in Hindu Arabic and then in Thai. the number of blocks you count.
Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure
they know what to do and then have them work independently to complete the task. a. b. c.

Step 3 Reflecting on the work 7 9 3

Once students have finished the activities, discuss their answers. Ask them to d. e. f.
share the number they represented and then wrote in the Fast Finishers question.
Have students compare their number with another student and then identify 2 10 6
the greater number.
3. Write the Hindu-Arabic and Thai numerals to match
Extra practice the number of dots on each card.

Each pair of students will need: a. b. c.
• 1 set of cards from Blackline Master 4
• recycle paper 9 2 1

Activity d. e. f.

Give each pair of students the cards for one to ten. Say a number from one to ten. 6 78
Direct one student in each pair to find the matching card while the other student writes
the matching numeral. Repeat several times then alternate roles for other numbers. Fast Finishers Draw a picture of some blocks and then write
the Hindu-Arabic and Thai numerals to match.
14
© ORIGO Education 7

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.3 © ORIGO EducationPractice 1.3Answers will vary.13 ♦
This is one example.

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.3

1.3 จำ�ำนวน จบั คตู่ วั เลขกับรูปภาพแสดงจำ�ำนวนนบั ไมเ่ กิน 10

สำ�ำหรบั บทเรียนน้ี นักเรยี นจบั คตู่ ัวเลขกับรปู ภาพแสดงจำ�ำนวนไม่เกินสิบ บทเรียนสอดแทรก ส่อื และอปุ กรณ์
ทกั ษะการสอื่ สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และทกั ษะการใช้สือ่ เทคโนโลยี นักเรียนแตล่ ะคนจะต้องใช้
และแหล่งการเรียนรู้ • หนังสอื เรียนหนา้ 12 - 13

ข้นั ที่ 1 นำ�ำเขา้ สบู่ ทเรยี น หนังสอื เรียนหนา้ 12 - 13

ครใู หน้ กั เรยี นนบั จาก 1 ถงึ 10 แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ “จำำ� นวนทเี่ ราจะนบั ตอ่ จากสบิ คอื จำำ� นวนใด” 1.3 จาํ นวน จบั คูตัวเลขกับรูปภาพแสดงจํานวนนับไมเกิน 10
ใหน้ กั เรียนท่ีมน่ั ใจหนงึ่ คนนับจาก 11 ถงึ 20 จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นทง้ั ชัน้ นบั จาก 11 ถงึ 20
ครนู ับจาก 1 ถงึ 20 ออกเสยี งการนบั แตล่ ะจำ�ำนวนใหช้ ดั เจน จากนนั้ ให้นักเรยี นนับจาก 1 อุนเครอื่ ง นักเรยี นสามารถบอกจํานวนนว้ิ มอื
ถงึ 20 ไปพรอ้ มกับครหู ลาย ๆ ครัง้ ทำ�ำกจิ กรรมนอี้ ีกในช่วงเวลาอ่ืน ๆ ท่ชี ูขน้ึ อยา งรวดเร็ว โดยไมตองนบั ทลี ะนิ้ว
ไดอยา งไร
ขนั้ ที่ 2 สอนบทเรียน
ตายรูวามือสองขางมีน้ิวมือรวมกัน 10 นิ้ว
1. ค รถู ามนักเรยี นวา่ “เราจะเขยี นจำ�ำนวนทมี่ ากกว่าเก้าอย่หู นึ่งเป็นตวั เลขได้อย่างไร” พับลง 3 นิ้ว ดังน้ันจึงมีนิ้วมือที่นอยกวา 10 อยู 3 น้ิว
ให้นกั เรยี น 2 คน ออกมาเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ และตัวเลขไทยแสดงจำำ� นวนสิบ
7เขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิกแสดงจาํ นวนนว้ิ มอื ทชี่ ู
2. ค รูและนักเรียนท้ังชั้นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีต่าง ๆ ในการแสดงจำ�ำนวน 1 ถึง 10
ครชู ว่ ยชน้ี ำำ� ใหไ้ ดข้ อ้ เสนอแนะทหี่ ลากหลาย เชน่ การชนู ว้ิ มอื , กรอบสบิ , ลกู บาศก์ และตวั นบั เขยี นตัวเลขไทยแสดงจํานวนนวิ้ มอื ทชี่ ู
ครแู นะนำำ� วา่ การชนู วิ้ มอื เปน็ วธิ ที สี่ ะดวกในการแสดงจำำ� นวน 1 ถงึ 10 ครทู บทวนการชนู ว้ิ มอื
แสดงจำำ� นวน 1 ถงึ 10 ฝกทักษะ 1. เขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบกิ และตวั เลขไทยตามจํานวนนิ้วมือทช่ี ู
(1) ในแตล ะภาพ
3. ครใู ห้นกั เรียนหนึ่งคนออกมาหนา้ ชนั้ เพอ่ื ชนู ว้ิ มอื แสดงจำ�ำนวน “หก” (ห้ากับอกี หนึ่ง) ให้ (2) (3)
นกั เรียนอีกคนออกมาแสดงจำำ� นวน “สอง” ครตู รวจสอบให้แน่ใจว่านักเรียนแสดงจำำ� นวน
ใหเ้ พือ่ น ๆ อา่ นไดจ้ ากซ้ายไปขวา (ดงั แสดงในบัตรภาพจากต้นแบบสอ่ื 4) ทำ�ำกิจกรรมต่อไป 4 8 6
จนกระท่งั นักเรียนแสดงจำ�ำนวน 1 ถงึ 10 ครบทุกจำำ� นวน
(4) (5) (6)
4. ครูให้นกั เรยี นทช่ี ูนิ้วมอื แสดง 1 ถงึ 10 อยหู่ นา้ ชั้น ยนื เรยี งลำ�ำดับจากน้อยที่สดุ ไปมากทสี่ ดุ
ตรงหนา้ กระดาน ให้นกั เรยี นทเี่ หลือออกมาเขียนตวั เลขบนกระดานให้ตรงกบั จำ�ำนวนที่ 5 10 1 © ORIGO Education
นักเรียนแต่ละคนแสดง
♦ 12 หนงั สือพัฒนาทักษะคณติ ศาสตร ป.1
5 ครใู ห้นักเรียนสังเกตการอภิปรายกจิ กรรมอุ่นเคร่ืองในหนงั สือเรียนหน้า 12 ครถู ามนักเรียน
ว่า “นักเรียนจะบอกจำ�ำนวนน้ิวมือท่ีชูได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องนับทีละนิ้วได้อย่างไร” 2. เขียนตวั เลขฮนิ ดอู ารบิกและตวั เลขไทยตามจํานวนลูกบาศกใ นแตล ะภาพ
ครสู ่งเสริมให้นักเรยี นเห็นว่ามอื สองข้างแสดง “จำ�ำนวนทีน่ อ้ ยกว่าหนึ่งกลมุ่ ของ (a1). (2) (3)
สิบอยู่สาม” (7) และ “จำำ� นวนที่มากกวา่ หนง่ึ กลุ่มของห้าอยสู่ อง” (7) ครอู ่านคำำ� ถาม
ท่เี หลือแลว้ ใหน้ กั เรยี นเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ และตวั เลขไทยแสดงจำำ� นวน “เจด็ ” 7 9 3
ครอู า่ นคำำ� สง่ั ในกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะและประลองปญั ญาไปพร้อมกบั นักเรยี น ตรวจสอบ
ใหแ้ นใ่ จวา่ นักเรียนเขา้ ใจว่าตอ้ งทำำ� อะไร จากนั้นให้นกั เรียนปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยตนเอง (4) (5) (6)

ขั้นท่ี 3 สรปุ บทเรียน 2 10 6

เม่ือนกั เรยี นปฏบิ ัติกิจกรรมเสรจ็ แลว้ อภปิ รายคำ�ำตอบร่วมกัน ครูให้นกั เรียนบอกจำ�ำนวนที่ 3. เขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ และตัวเลขไทยตามจํานวนจุดในแตล ะภาพ
นักเรยี นแสดงและวาดรปู ลูกบาศกใ์ นกจิ กรรมประลองปญั ญา ใหน้ ักเรียนเปรียบเทยี บคำ�ำตอบ (1) (2) (3)
กับนักเรียนคนอ่ืน และระบจุ ำำ� นวนทีม่ ากกว่า
9 2 1
ฝกึ ทักษะ
นกั เรยี นแตล่ ะคจู่ ะต้องใช้ (4) (5) (6)
• ชดุ บตั รภาพจากต้นแบบสอ่ื 4 จำำ� นวน 1 ชดุ
• กระดาษสำ�ำหรบั เขยี น 6 78
กจิ กรรม
ครูแจกบตั รภาพ 1 ถงึ 10 ให้นกั เรยี นแต่ละคู่ ครูบอกจำ�ำนวนจาก 1 ถึง 10 มาหนง่ึ จำ�ำนวน ประลองปญ ญา วาดรปู ลกู บาศกแลวเตมิ ตัวเลขฮินดูอารบิกและตวั เลขไทย
สำำ� หรับนกั เรยี นแตล่ ะคู่ ให้นกั เรียน 1 คนหาบัตรภาพทต่ี รงกบั จำ�ำนวนที่ครบู อก ในขณะที่ ตามจํานวนลูกบาศกล งในชองวา ง
นักเรียนอกี คนเขียนตวั เลขแสดงจำ�ำนวนนั้น ทำำ� กิจกรรมซ้้� ำำหลาย ๆ ครัง้ กับจำ�ำนวนอน่ื ๆ และ
ให้นกั เรียนแตล่ ะค่สู ลับบทบาทกัน © ORIGO Education 7

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.3 หนังสอื พัฒนาทักษะคณิตศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.3 คาํ ตอบทเ่ี ปน ไปไดม หี ลากหลาย 13 ♦
น่เี ปนเพยี งตัวอยา งหนงึ่

© ORIGO Education

15

1.4 Number: Analyzing teen numbers

In this lesson, students analyze the place-value properties of teen numbers. Classroom materials
The mathematical skills and processes learning standards, Making predictions
and Creative thinking, are embedded in this lesson. Each student will need:
• Student Journal 1.4
Step 1 Starting the lesson
Student Journal pp.14–15
Say, “When we count by ones we take little steps between numbers. Today we are
going to take big steps and count by tens.” Count in steps of 10 to 100. Repeat the 1.4 Number: Analyzing teen numbers
count, then invite the students to say it with you. Point out that the starting sound Warm Up Circle a group of ten hens.
for twenty to ninety is the same starting sound as two to nine. Say, “Listen carefully How could you use the group of ten
to the end sound as it can be a little tricky. It can sound like a teen number if you do to figure out the total?
not say it clearly.” Say the count sequence again, emphasizing the sounds, before
having the class say the sequence with you once more. Repeat at other times Work Out 1. Circle a group of ten. Write the number of tens
during the day. a. and ones.
b. c.
Step 2 Teaching the lesson
1 1ten ones 1 4ten ones 1 3ten ones
1. Inform the class that they will be working with another student to create
a number between 11 and 20. One student will raise ten fingers and the other d. e.
student raise between one and nine more fingers. Have students to turn to
the person next to them to create their two-digit number. Ask, “How many 1 0ten ones 1 2ten ones © ORIGO Education
fingers do you and your partner have raised altogether?” Invite pairs to respond
by saying “We have ten and (eight) more. We have (eighteen) fingers raised ♦ 14 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.4
altogether.” Have all pairs share their teen number with the class.
2. Circle a group of ten fingers. Then write the number of tens
2. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.4 and have and ones.
them circle 10 hens. Ask “How could you use the group of ten to figure out
the total?” Encourage students to count on from 10 to determine there are a.
13 hens (‘Ten and three more is thirteen’).
1 7ten ones
3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure
they know what to do and then have them work independently to complete b.
the task.
1 9ten ones
Step 3 Reflecting on the work
c.
Once students have finished the pages, discuss their answers. Ask questions such as,
“What is the same about all of the numbers on the page? How can you work out the 1 5ten ones
number without counting all of the ones?” Ask students to share their drawings from
the Fast Finishers with a partner. Ask pairs how many more crayons they would have d.
to draw if there were 19 crayons with one box of 10 already there. Have students
explain their thinking. 1 8ten ones

Extra challenge Fast Finishers Each box holds ten crayons. Draw more crayons
beside the box to match each amount.
Each pair of students will need:
• 1 set of cards from Blackline Master 5 (remove 20) 10 16 crayons
• recycle paper
10
Activity
ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.4
Shuffle the cards and lay them face down in a pile. Have each student turn © ORIGO Education Practice 1.4 12 crayons
a card over from the pile and draw a picture of objects to represent the number.
For example, 13 stars. The students then swap pictures and circle ten of the items © ORIGO Education15 ♦
and write the teen numeral on the top right of the picture. If time allows, have
students continue until all the numbers have been made (the last student can
represent 10). Display the number pictures in the classroom.

16 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.4

1.4 จำ�ำนวน วเิ คราะห์จำ�ำนวนนับ 11 ถึง 19

สำำ� หรบั บทเรยี นนี้ นกั เรยี นวเิ คราะหค์ า่ ประจำำ� หลกั ของจำำ� นวนนบั 11 ถงึ 19 บทเรยี นสอดแทรก สอื่ และอปุ กรณ์
ทักษะการสร้างข้อคาดเดา และทักษะการใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
• หนังสอื เรยี นหนา้ 14 - 15
ขั้นที่ 1 นำ�ำเขา้ สู่บทเรียน
หนงั สอื เรยี นหนา้ 14 - 15
ครพู ดู วา่ “ตอนทเี่ รานบั ทลี ะหนงึ่ เหมอื นวา่ เรากา้ วเทา้ ไปขา้ งหนา้ หนง่ึ กา้ ว กจ็ ะถงึ จำำ� นวนถดั ไปแลว้
แตว่ นั นเ้ี ราจะได้ กา้ วยาวขนึ้ เพราะเราจะนบั ทลี ะสบิ กนั ” ครนู บั ทลี ะสบิ ใหน้ กั เรยี นฟงั เรม่ิ ตง้ั แต่ 1.4 จำนวน วเิ คราะหจำนวนนบั 11 ถึง 19
10 ไปจนถึง 100 ครูนับทีละสบิ จาก 10 ถึง 100 อกี ครั้ง (10, 20, 30,...,100) และให้นักเรยี น อนุ เคร่ือง วงลอ มรอบกลุมของไก 10 ตัว
นับไปพรอ้ มกันกบั ครู ครูชใ้ี ห้นักเรียนเห็นว่า การนับจำำ� นวน 20 ถงึ 90 น้นั คลา้ ยกบั การนับ นักเรียนจะใชก ลุม ของสิบในการหาจํานวนไกทัง้ หมด
จำ�ำนวน 2 ถงึ 9 ซ่ึงนักเรยี นรจู้ กั อยูแ่ ล้ว ครนู ับทลี ะสบิ จาก 10 ถงึ 100 อีกคร้ังชา้ ๆ ชัด ๆ ไดอยางไร
ก่อนที่จะให้นักเรยี นนบั ไปพรอ้ ม ๆ กับครอู ีกครงั้ ทำำ� กิจกรรมลักษณะน้ีอกี ในช่วงเวลาอืน่ ๆ
ฝกทกั ษะ 1. วงลอ มรอบกลมุ ของสบิ จากนนั้ เตมิ ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ แสดงจาํ นวนสบิ
ข้ันท่ี 2 สอนบทเรียน (1) และจํานวนหนวย
(2) (3)
1. ค รบู อกนกั เรียนวา่ นักเรียนกับเพอ่ื นจะได้ชว่ ยกนั สรา้ งจำำ� นวนระหว่าง 11 ถึง 20 นกั เรยี น
หนง่ึ คนจะชมู อื 10 นวิ้ และนกั เรยี นอกี คนจะชนู ว้ิ มอื ระหวา่ ง 1 ถงึ 9 นว้ิ ใหน้ กั เรยี นจบั คู่ 1 สิบ 1 หนวย 1 สบิ 4 หนวย 1 สบิ 3 หนว ย
กับเพอ่ื นท่ีนง่ั ขา้ ง ๆ เพอ่ื สรา้ งจำำ� นวนท่มี สี องหลกั ครถู ามว่า “นักเรียนกับคขู่ องตนเอง
ชนู ิ้วมือรวมกนั ท้ังหมดกน่ี ว้ิ ” ครูเชญิ ชวนให้นักเรยี นแต่ละคู่ตอบโดยพูดวา่ “เรามสี ิบ (4) (5)
กับอกี (แปด) เราชนู ิว้ มือท้ังหมด (สบิ แปด) นิว้ ” ใหน้ ักเรียนทุกค่แู สดงจำ�ำนวนทีส่ รา้ งขนึ้
ใหเ้ พื่อน ๆ ในช้นั ดู 1 สิบ 0 หนวย 1 สบิ 2 หนว ย © ORIGO Education

2. ค รใู ห้นักเรียนสงั เกตการอภิปรายกจิ กรรมอ่นุ เคร่อื งในหนังสือเรียนหน้า 14 และให้ ♦ 14 หนงั สือพฒั นาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1
นักเรียนวงลอ้ มรอบไก่ 10 ตัว ครูถามนกั เรียนวา่ “นักเรียนจะใชก้ ลุ่มของสิบเพือ่ ช่วย
ในการหาจำ�ำนวนไกท่ งั้ หมดได้อย่างไร” ครสู ง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นนับตอ่ จาก 10 เพอ่ื ตอบ 2. วงลอมรอบกลุม ของนวิ้ มือ 10 นิว้ จากนน้ั เตมิ ตวั เลขฮินดอู ารบกิ แสดงจำนวนสิบ
ใหไ้ ดว้ า่ มีไก่ 13 ตวั (‘สิบกับอีกสามเป็นสบิ สาม’) และจำนวนหนว ย

3. ครอู ่านคำำ� ส่ังในกจิ กรรมฝึกทักษะและประลองปญั ญาไปพร้อมกบั นกั เรยี น ตรวจสอบ (1)
ให้แน่ใจว่านกั เรยี นเข้าใจว่าตอ้ งทำ�ำอะไร จากนน้ั ให้นกั เรยี นปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง
1 สบิ 7 หนวย
ขั้นที่ 3 สรุปบทเรยี น
(2)
เมอื่ นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสรจ็ แลว้ อภปิ รายคำำ� ตอบรว่ มกนั ครใู ชค้ ำำ� ถามเชน่ “จำำ� นวนทง้ั หมด
ในหนา้ 14 มอี ะไรทีเ่ หมอื นกัน นักเรยี นหาจำำ� นวนท้งั หมดโดยไมต่ อ้ งนบั จำำ� นวนหน่วยทั้งหมด 1 สิบ 9 หนวย
ไดอ้ ยา่ งไร” ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคแู่ ลกเปลีย่ นหนงั สือกนั เพ่ือเปรยี บเทยี บรปู ทแี่ ตล่ ะคนวาด
ในกจิ กรรมประลองปญั ญา ครถู ามนักเรียนแตล่ ะควู่ า่ ถา้ ในกล่องมีสีเทียนอยู่แลว้ 10 แท่ง (3)
จะตอ้ งวาดแทง่ สีเทยี นเพ่มิ อกี กีแ่ ท่งจึงจะได้สีเทยี น 19 แท่ง ครูให้นักเรยี นอธบิ ายวิธกี ารคดิ
1 สิบ 5 หนว ย
เสรมิ ปญั ญา
นักเรยี นแต่ละคูจ่ ะต้องใช้ (4)
• บตั รตัวเลขจากตน้ แบบสือ่ 5 จำำ� นวน 1 ชดุ (ไมใ่ ช้บตั รตวั เลข 20)
• กระดาษสำ�ำหรบั เขียน 1 สบิ 8 หนวย
กิจกรรม
ครสู บั บตั รแลว้ วางกองบัตรคว่�่ำำลง ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนผลดั กันหยิบบัตรจากกอง หงายข้นึ แลว้ ประลองปญญา กลองสแี ตละกลอ ง มีสเี ทยี นจำนวน 10 แทง วาดรูปสีเทยี นเพิม่
วาดรปู สงิ่ ของเพอ่ื แสดงจำำ� นวนบนบตั ร เชน่ ดาว 13 ดวง จากนนั้ นกั เรยี นแลกเปลย่ี นรปู ภาพ ใหเทากับจำนวนทกี่ ำหนดให
ทตี่ นวาด วงล้อมรอบกลุ่มของสบิ และเขยี นตัวเลขแสดงจำ�ำนวนสิ่งของทม่ี ุมบนขวาของภาพ
ถ้ามเี วลา ให้นกั เรยี นทำำ� กจิ กรรมตอ่ ไปจนกระทง่ั นกั เรียนได้วาดรปู แสดงทกุ จำำ� นวนบนบตั ร 10 สเี ทียน 16 แทง
(อาจจะให้นกั เรยี นคนสดุ ทา้ ยแสดงจำ�ำนวน 10) ครูนำ�ำผลงานของนักเรยี นติดแสดงในชัน้ เรียน
© ORIGO Education 10 สเี ทยี น 12 แทง

หนงั สือพัฒนาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.4 15 ♦

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.4 17

1.5 Number: Analyzing teen numbers (Thai)

In this lesson, students analyze the place-value properties of teen numbers. Classroom materials
They then write the Thai numeral to match a collection of objects. The mathematical
skills and processes learning standards, Making predictions and Creative thinking, You will need:
are embedded in this lesson. • 1 set of cards from Blackline Masters 5
and 6 (enlarged, remove 20 in both sets)
Step 1 Starting the lesson • multiple sets of cards from Blackline

Display one Hindu Arabic numeral from Blackline Master 5. Invite two students to Master 6 (enough for each student to have
come to the front and show the number with their fingers. The remaining students one card, remove 20) in a box/container
confirm the correct number of fingers has been shown. The activity is then repeated • sticky tack
by using the Thai numeral cards from Blackline Master 6. Each student will need:
• 20 connecting cubes
Step 2 Teaching the lesson • Student Journal 1.5

1. H and out the connecting cubes to students and have them join together 10 Student Journal pp.16–17
connecting cubes and put the left over cubes to the side. Each student then
selects a numeral card from the box/container and represents the numeral they 1.5 Number: Analyzing teen numbers (Thai)
chose by joining some of the left over cubes to their stack. Ask the students to
describe what their numbers look like. For example, 11 could look like a stack of Warm Up Circle a group of ten fish.
10 with 1 more cube added. Repeat for the other teen numbers.
How could you use the group of ten to figure out the total?
2. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.5 and have
students circle a group of 10 fish. Then ask students how they could work out Work Out 1. Circle a group of ten. Write the number of tens
the total number of fish. Encourage students to see 10 fish and four more fish. a. and ones.
Invite a student to write the number using Thai numerals on the board. b. c.

3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure ๑ ๒ ๑ ๐ ๑ ๔ten ones
they know what to do and then have them work independently to complete ten ones ten ones
the task.
d. e.
Step 3 Reflecting on the work
๑ ๑ten ones ๑ ๓ten ones © ORIGO Education
Once students have finished the pages, discuss their answers. Ask some
students to explain how they worked out how many more eggs to draw in ♦ 16 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.5
the Fast Finishers question.
2. Circle a group of ten fingers. Then write the number of tens
Extra practice and ones.

Each student will need: ๑ ๖a.
• 1 copy of Blackline Master 7 ten ones
• 20 counters
๑ ๕b.
Activity ten ones

Ask the student to place some counters on each ten-frame. They then rearrange ๑ ๗c.
the counters to figure out the total number of counters. For example, Bella showed ten ones
8 counters on one ten-frame and 7 counters on the other. She then rearranged
the counters to show 10 counters on one ten-frame and 5 on the other. Bella has ๑ ๙d.
shown the number 15. ten ones

Fast Finishers Each box holds ten eggs. Draw more eggs
beside the box to match each amount.

๑๘ eggs
© ORIGO Education

© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 1 •1.5 Practice 1.5 ๑๓ eggs

17 ♦

18 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.5

1.5 จำ�ำนวน วเิ คราะหจ์ ำ�ำนวนนบั 11 ถึง 19 (ตัวเลขไทย)

สำ�ำหรบั บทเรยี นน้ี นกั เรยี นวเิ คราะห์คา่ ประจำำ� หลกั ของจำำ� นวนนับ 11 ถงึ 19 จากน้ันเขียน คสรื่อจู แะตล้อะงอใชุป้ กรณ์
ตวั เลขไทยแสดงจำ�ำนวนสิง่ ของท่กี ำ�ำหนดให้ บทเรยี นสอดแทรกทกั ษะการสร้างข้อคาดเดา
และทักษะการใช้ความคิดสร้างสรรค์ • ชดุ บตั รจากตน้ แบบสอื่ 5 และ 6 จำำ� นวน 1 ชดุ
(ขยายใหญ่, ไม่ใชบ้ ตั รตวั เลข 20)
ข้ันที่ 1 นำ�ำเข้าสบู่ ทเรียน
• ชดุ บตั รจากตน้ แบบสอื่ 6 จำำ� นวนหลายชดุ
ครูชูบัตรตัวเลขฮินดูอารบิกจากต้นแบบส่ือ 5 1 ใบ ให้นักเรียนดู ให้นักเรียน 2 คนออกมา (ใหเ้ พยี งพอกบั จำำ� นวนนกั เรยี น โดยนกั เรยี นแตล่ ะคน
หนา้ ชน้ั เพอื่ ชนู วิ้ มอื แสดงจำำ� นวนบนบตั ร นกั เรยี นทเ่ี หลอื ชว่ ยกนั ตดั สนิ วา่ นกั เรยี น 2 คนหนา้ ชน้ั จะไดบ้ ตั ร 1 ใบ, ไมใ่ ช้บตั รตวั เลข 20)
ชนู ้ิวมือแสดงจำ�ำนวนไดถ้ ูกต้องหรอื ไม่ ทำ�ำกจิ กรรมนีอ้ กี โดยใชบ้ ัตรตัวเลขไทยจากต้นแบบสอ่ื 6 บรรจใุ นกลอ่ งหรอื ภาชนะ

ข้ันท่ี 2 สอนบทเรียน • กาวดินน้้� ำำมัน
นักเรียนแต่ละคนจะต้องใช้
1. ครูแจกตัวต่อลกู บาศก์ใหน้ ักเรยี น และใหน้ ักเรียนนำ�ำตวั ตอ่ 10 อนั มาประกอบเป็นแทง่ • ตัวตอ่ ลกู บาศก์ 20 อนั
และวางตวั ตอ่ ท่ีเหลอื ไวข้ า้ ง ๆ จากน้ันให้นกั เรียนแต่ละคนเลอื กบัตรตัวเลขท่ตี รงกับจำำ� นวน • หนังสือเรียนหน้า 16 - 17
ตวั ตอ่ ของตน แลว้ ใหน้ ำำ� ตวั ตอ่ ทเ่ี หลอื มาตอ่ กบั แทง่ สบิ ครใู หน้ กั เรยี นเลา่ วา่ จำำ� นวนทต่ี นได้
เป็นอย่างไร ตัวอย่างเชน่ 11 อาจจะดเู หมอื นแทง่ สิบ ทีม่ ีตวั ตอ่ เพิ่มเขา้ ไปอีก 1 อนั หนังสือเรียนหน้า 16 - 17
ทำำ� กจิ กรรมนอ้ี ีกกับจำ�ำนวนอื่น ๆ ทอ่ี ยรู่ ะหว่าง 11 ถึง 19
1.5 จำนวน วเิ คราะหจำนวนนับ 11 ถงึ 19 (ตวั เลขไทย)
2. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตการอภปิ รายกจิ กรรมอนุ่ เครอ่ื งในหนงั สอื เรยี นหนา้ 16 และใหน้ กั เรยี น อนุ เครื่อง วงลอ มรอบกลุมของปลา 10 ตวั
วงล้อมรอบกลุ่มของปลา 10 ตวั จากนนั้ ถามนักเรียนวา่ จะหาจำ�ำนวนปลาทงั้ หมดได้อย่างไร
ครูใหน้ กั เรียนสงั เกตภาพ ในภาพเป็นปลา 10 ตัว กบั อกี 4 ตวั ครูใหน้ กั เรยี นหน่ึงคนออกมา นักเรียนจะใชกลุมของสบิ ในการหาจำนวนปลาทงั้ หมดไดอ ยางไร
เขียนตวั เลขไทยแสดงจำ�ำนวนปลาในภาพบนกระดาน
ฝก ทกั ษะ 1. วงลอมรอบกลมุ ของสิบ จากน้นั เตมิ ตัวเลขไทยแสดงจํานวนสิบ
3. ค รอู ่านคำ�ำสัง่ ในกจิ กรรมฝกึ ทกั ษะและประลองปัญญาไปพร้อมกบั นักเรียน ตรวจสอบ (1) และจาํ นวนหนว ย
ให้แนใ่ จว่านักเรยี นเขา้ ใจว่าต้องทำำ� อะไร จากน้ันใหน้ ักเรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง (2) (3)

ขนั้ ท่ี 3 สรุปบทเรยี น ๑ ๒สิบ หนวย ๑ ๐สิบ หนว ย ๑ ๔สบิ หนว ย

เมือ่ นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเสรจ็ แลว้ ใหอ้ ภปิ รายคำำ� ตอบร่วมกนั ให้นักเรยี นบางคนอธิบาย (4) (5)
วธิ คี ิดหาจำ�ำนวนไขท่ ่ตี อ้ งวาดเพิ่มในคำำ� ถามประลองปัญญา
๑ ๑สบิ หนว ย ๑ ๓สิบ หนวย © ORIGO Education
ฝกึ ทกั ษะ
นักเรยี นแตล่ ะคนจะต้องใช้ ♦ 16 หนังสอื พัฒนาทักษะคณติ ศาสตร ป.1
• ต้นแบบสอื่ 7 จำ�ำนวน 1 ชุด
• ตวั นบั 20 อัน 2. วงลอมรอบกลุม นิ้วมือ 10 นิว้ จากนัน้ เติมตวั เลขไทยแสดงจำนวนสิบและ
กิจกรรม จาํ นวนหนวยลงในชอ งวาง
ให้นกั เรียนวางตัวนับบางสว่ นลงในกรอบสิบแต่ละกรอบ จากนั้นใหน้ กั เรยี นนำ�ำตวั นับมาวาง
เรยี งใหม่เพอ่ื หาจำ�ำนวนตวั นับทั้งหมด ตวั อย่างเช่น [เบลลา่ ] วางตัวนับ 8 อนั ลงในกรอบสิบ ๑ ๖(1)
กรอบแรกและวางตวั นับ 7 อนั ลงในกรอบสบิ อกี กรอบ จากน้ันเบลลา่ นำำ� ตัวนับมาเรยี งใหม่ สบิ หนวย
โดยวางตัวนบั 10 อนั ในกรอบสบิ กรอบแรก และวางตวั นบั 5 อนั ในกรอบสบิ กรอบที่สอง
เบลลา่ ได้แสดงจำำ� นวน 15 ๑ ๕(2)
สิบ หนว ย

๑ ๗(3)
สบิ หนว ย

๑ ๙(4)
สิบ หนวย

ประลองปญ ญา กลอ งไขแ ตละกลอ ง บรรจไุ ขได 10 ฟอง วาดรปู ไขเ พมิ่ ขา ง ๆ กลอง
เพื่อแสดงจํานวนทก่ี าํ หนดให

© ORIGO Education ๑๘ ฟอง

© ORIGO Education ๑๓ ฟอง

หนังสือพฒั นาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.5 17 ♦

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.5 19

1.6 Number: Representing teen numbers

In this lesson, students represent teen numbers with fingers and ten-frames. Classroom materials
The language of “10 and some more” is reinforced with each representation.
The mathematical skills and processes learning standards, Communication You will need:
and Using Media, technologies, and resources, are embedded in this lesson. • 1 copy of an enlarged number track 1–10

Step 1 Starting the lesson only from Blackline Master 8 (cover the
numbers 2, 3, 4 and 6, 7, 8, 9, retain for
Display the number track 1–10 with the suggested numbers covered. Ask, “Who future lessons)
can show number seven on this number track?” Invite individuals to explain how
they know the number and its position. Encourage students to justify its position Each pair of students will need:
relative to other numbers they can see. For example, 7 comes after 5, or 7 is 2 • 1 ten-frame from Blackline Master 7
more than 5. Repeat for numbers that are one or two more or less than other
numbers shown on the track. • 20 counters

Step 2 Teaching the lesson Each student will need:
• Student Journal 1.6
1. Organize the students into pairs and distribute the resources. Ask, “How many
counters do you need to fill the frame if you place one counter in each square?” Student Journal pp.18–19
Have students place 10 counters inside the frame to establish that 10 counters
fill the frame. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.6 Number: Representing teen numbers
1.6 and have students confirm that there are 10 blue counters filling the frame.
Ask students how they could use the ten-frame to show numbers greater than Warm Up How many are on this ten-frame?
10. Students should explain that loose counters can be placed beside the frame. How do you know?
Have students use their ten-frames and counters to represent 12, 15, and 18. How could you use the ten-frame and extra
For each representation, ask questions such as “What does (12) look like? counters to show 12, 15, or 18?
How many counters are on the frame? How many counters are beside the Look at the picture below.
frame?” Reinforce the language of 10 and (2) more. Write the number of counters.

2. Have students place their counters and frames to one side. Read and have 1 6ten ones
students write how many counters are on the second (orange) frame in their
journal, then have students confirm their understanding of ones units in teen What do the counters beside
numbers by answering the question “What do the counters beside the ten-frame the ten-frame show?
show?” (the number of ones in the number).
Work Out 1. Draw more to match each numeral. Then write
3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure a. Thai numerals to match the Hindu-Arabic.
they know what to do and then have them work independently to complete b. c.
the task.
14 ๑๔ 17 ๑๗ 12 ๑๒ © ORIGO Education
Step 3 Reflecting on the work
♦ 18 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.6
Once students have finished the pages, discuss their answers. Say, “Think about how
you would show 18 with your fingers and how you would show 18 on the ten-frame. 2. Draw to match each numeral. Remember to fill
What do these ways to represent number have in common? How are they different?” the ten-frame first. Then write Thai numerals to match.
Through discussion, establish that each representation shows 10 and 8 more.
a. b. c.
Extra practice
16 ๑๖ 18 ๑๘ 11 ๑๑
Each pair of students will need:
• 2 sets of cards from Blackline Master 4 d. e. f.
• 1 set of cards from Blackline Master 5 (remove 20)
15 ๑๕ 13 ๑๓ 19 ๑๙
Activity
Fast Finishers ๑๑
In pairs, the students select a numeral card and then represent their numeral using This number of counters can be
the finger cards, For example, 15 would be represented with the cards showing shown another way. Draw them using 19 ♦
10 and 5. Practice continues until all the numeral cards have been represented. the ten-frame. Write the matching
Thai numeral.
20 © ORIGO Education

© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.6 Practice 1.6

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.6

1.6 จำ�ำนวน การแสดงจำ�ำนวนนบั 11 ถงึ 19

สำ�ำหรบั บทเรยี นนี้ นักเรยี นแสดงจำ�ำนวนนับ 11 ถงึ 19 โดยใช้นิ้วมือและกรอบสิบ และฝกึ ใช้ สือ่ และอปุ กรณ์
ภาษา “สิบกบั อีกจำ�ำนวนหนึง่ ” ในการแสดงจำ�ำนวน บทเรยี นสอดแทรกทักษะการสอื่ สารและ
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และทักษะการใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหลง่ การเรยี นรู้ ครูจะต้องใช้
• แถบจำำ� นวน 1 - 10 จากตน้ แบบสอื่ 8 ขยายใหญ่
ข้ันที่ 1 นำ�ำเขา้ สู่บทเรยี น
จำำ� นวน 1 ชดุ (ปิดตวั เลข 2, 3, 4 และ 6, 7, 8, 9
ครตู ดิ แถบแสดง 1 - 10 ทตี่ วั เลขบางตวั ถกู ปดิ ไว้ ครถู ามนกั เรยี นวา่ “ใครบอกไดว้ า่ เจด็ อยตู่ รงไหน เอาไว้ เก็บไวส้ ำำ� หรบั บทเรยี นตอ่ ๆ ไป)
ของแถบจำำ� นวน” ครูเชญิ ชวนใหน้ กั เรียนอธบิ ายว่า รูต้ ำำ� แหนง่ ของเจด็ ได้อยา่ งไร ครสู ง่ เสรมิ ให้ นักเรียนแตล่ ะคจู่ ะต้องใช้
นกั เรยี นบอกตำำ� แหนง่ ของจำำ� นวนทกี่ ำำ� หนดใหโ้ ดยใชจ้ ำำ� นวนอน่ื ๆ ทนี่ กั เรยี นมองเหน็ เปน็ เกณฑ์ • กรอบสบิ 1 กรอบ จากตน้ แบบสอ่ื 7
อา้ งองิ ตวั อยา่ งเชน่ “เจด็ มาทหี ลงั หา้ ” หรอื อาจกลา่ ววา่ “หา้ นอ้ ยกวา่ เจด็ อยสู่ อง” ทำำ� กจิ กรรมนี้ • ตวั นับ 20 อนั
อกี โดยเปลย่ี นเปน็ จำำ� นวนอน่ื ๆ ทมี่ ากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ จำำ� นวนทแี่ สดงบนแถบจำำ� นวนอยหู่ นงึ่ นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
หรอื สอง • หนังสอื เรียนหน้า 18 - 19

ขั้นที่ 2 สอนบทเรียน หนังสอื เรยี นหนา้ 18 - 19

1. ค รจู บั คนู่ กั เรยี น และแจกสอ่ื อปุ กรณใ์ หน้ กั เรยี นแตล่ ะคู่ ครถู ามวา่ “นกั เรยี นจะตอ้ งใชต้ วั นบั 1.6 จำนวน การแสดงจำนวนนบั 11 ถึง 19
ก่ีอันในการวางใหค้ รบทุกชอ่ งในกรอบสิบ” ให้นกั เรยี นวางตัวนบั 10 อนั ในกรอบสบิ เพอ่ื
ให้เขา้ ใจตรงกันวา่ การเติมกรอบสบิ ใหเ้ ต็มจะตอ้ งใช้ตวั นับ 10 อนั ครใู ห้นกั เรียนสงั เกต อนุ เคร่ือง มี กอ่ี นั ในกรอบสบิ ทางขวามือ
การอภิปรายกิจกรรมอนุ่ เครื่องในหนงั สอื เรยี นหน้า 18 และใหน้ กั เรยี นยนื ยันวา่ มตี ัวนบั สีฟา้ นกั เรียนทราบไดอ ยางไร
10 อนั เติมเตม็ กรอบสบิ ถามนกั เรียนว่า นกั เรียนจะใช้กรอบสิบในการแสดงจำำ� นวน นักเรยี นจะใชกรอบสบิ และตวั นบั ท่เี หลือจากการวางในกรอบสิบ
ทมี่ ากกว่า 10 ไดอ้ ย่างไร นักเรยี นควรจะอธิบายไดว้ า่ ตวั นับท่เี หลือสามารถนำ�ำมาวางขา้ ง ๆ เพอื่ แสดงจำนวน 12, 15 หรือ 18 ไดอยางไร
กรอบสิบ ครูให้นกั เรยี นใชก้ รอบสิบและตัวนับแสดงจำ�ำนวน 12, 15 และ 18 สำำ� หรบั สังเกตภาพดานลางน้ี
การแสดงแตล่ ะจำำ� นวน ครใู ชค้ ำำ� ถามเชน่ “สบิ สองมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร มตี วั นบั กตี่ วั ใน เติมตัวเลขแสดงจาํ นวนตัวนบั ลงในชอ งวาง
กรอบสบิ มีตัวนับกีต่ ัวอยขู่ ้างกรอบสิบ” ครูเนน้ ย้�้ำำการใชภ้ าษา 10 กับอกี (2)
1 สบิ 6 หนว ย
2. ครูให้นักเรียนวางตัวนับและกรอบสิบไว้ด้านหน่ึงของโต๊ะ ครูอ่านคำ�ำสั่งแล้วให้นักเรียน
เตมิ จำำ� นวนตวั นบั (สสี ม้ ) ในภาพทสี่ องในหนงั สอื เรยี น จากนนั้ ตรวจสอบความเขา้ ใจของ ตแสัวนดังบอทะ่ีวไารงขาง ๆ กรอบสิบ
นกั เรียนเกย่ี วกบั จำ�ำนวนของหนว่ ยในจำ�ำนวนนับ 11 ถงึ 19 โดยใช้คำำ� ถาม “ตวั นับขา้ ง ๆ
กรอบสิบแสดงอะไร” (จำ�ำนวนของหน่วยในจำำ� นวนทีก่ ำำ� หนดให้) ฝก ทักษะ 1. วาดรูป เพิม่ ใหเทา กับตวั เลขในแตละภาพ
(1) จากนัน้ เติมตัวเลขไทยใหตรงกบั ตัวเลขฮินดูอารบิก
3. ค รูอ่านคำำ� สงั่ ในกิจกรรมฝึกทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกบั นกั เรียน ตรวจสอบ (2) (3)
ให้แนใ่ จวา่ นกั เรยี นเขา้ ใจว่าต้องทำ�ำอะไร จากนัน้ ใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมด้วยตนเอง
14 ๑๔ 17 ๑๗ 12 ๑๒ © ORIGO Education
ขั้นที่ 3 สรปุ บทเรยี น
♦ 18 หนงั สือพัฒนาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1
เมอื่ นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสรจ็ แลว้ ใหอ้ ภปิ รายคำำ� ตอบรว่ มกนั ครพู ดู วา่ “นกั เรยี นลองคดิ ดวู า่
จะแสดงจำำ� นวนสบิ แปดดว้ ยนวิ้ มอื ไดอ้ ยา่ งไร และจะแสดงจำำ� นวนสบิ แปดโดยใชก้ รอบสบิ 2. วาดรูป ใหเทากับตัวเลขในแตละภาพ โดยเติมกรอบสิบใหเต็มกอนแลวจึงวาด
ไดอ้ ยา่ งไร วิธแี สดงจำ�ำนวน 2 แบบนม้ี ีอะไรทเี่ หมือนกัน วิธแี สดงจำ�ำนวน 2 แบบน้ีแตกตา่ งกนั จํานวนที่เหลือไวนอกกรอบสิบ จากน้ันเติมตัวเลขไทยใหตรงกับตัวเลขฮินดูอารบิก
อยา่ งไร” ครใู ช้การอภิปรายในการสรา้ งความเขา้ ใจตรงกันวา่ ทัง้ 2 วิธแี สดง 10 กบั อีก 8
ฝกึ ทกั ษะ (1) (2) (3)
นกั เรยี นแตล่ ะคู่จะตอ้ งใช้
• ชุดบตั รภาพจากต้นแบบส่ือ 4 จำ�ำนวน 2 ชุด 16 ๑๖ 18 ๑๘ 11 ๑๑
• ชุดบัตรจากต้นแบบส่ือ 5 จำ�ำนวน 1 ชุด (ไมใ่ ชบ้ ตั รตัวเลข 20)
กิจกรรม (4) (5) (6)
ครูให้นกั เรยี นทำ�ำงานเป็นคู่ นกั เรยี นแตล่ ะค่เู ลอื กบัตรตวั เลขมา 1 ใบ จากนนั้ แสดงตัวเลข
© ORIGO Education บนบตั รโดยใช้บตั รภาพ ตวั อยา่ งเช่น 15 สามารถแสดงได้ด้วยบตั รภาพ 10 กับบัตรภาพ 5 15 ๑๕ 13 ๑๓ 19 ๑๙
ทำำ� กิจกรรมตอ่ ไปจนกระทั่งนักเรียนได้แสดงจำำ� นวนบนบัตรตวั เลขครบทกุ ใบ
ประลองปญ ญา ๑๑
ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.6 เราสามารถแสดงจาํ นวนตวั นบั เหลาน้ีในแบบอน่ื ไดอีก
วาดรูปแสดงจํานวนน้ีโดยใชก รอบสิบ 19 ♦
จากนั้นเติมตัวเลขไทยลงในชองวาง
21
© ORIGO Education

หนงั สือพฒั นาทกั ษะคณิตศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.6

1.7 Number: Comparing teen numbers

In this lesson, students compare two teen numbers. The mathematical skills Classroom materials
and processes learning standards, Problem solving and Making connections,
are embedded in this lesson. You will need:
• 1 copy of an enlarged number track 1–20
Step 1 Starting the lesson
from Blackline Master 8 (use sticky notes
Show your partially covered number track. Ask, “What can you tell me about the to cover sections of the number track)
numbers which are covered?” Invite individuals to explain how they know the
number and its position. Repeat for numbers that are one or two more (or less) than Each student will need:
a number already shown on the number track. • Student Journal 1.7

Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp.20–21

1. Write the numerals 14 and 17 on the board and ask, “Which number is greater? 1.7 Number: Comparing teen numbers
How do you know?” Invite individuals to show each number using fingers,
counters, a ten-frame, or connecting cubes to prove their thinking. Make sure Warm Up Look at this picture. What do you see?
they represent the numbers using a group of ten and ones. During the
discussion, ask questions such as, “What is the same about the numbers? What Why are the pans not balanced?
is different? Where do we need to look to work out which number is greater?”
Repeat the discussion to compare 18 and 12, 16 and 19 and then 15 and 13. How many blocks are 10 10
on the left pan? blocks blocks
2. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.7 and have How many blocks are
students look at the picture. Ask, “Why are the pans not balanced?” Establish on the right pan?
that in a pan balance, the pans are only level if the two sides are equal and the
heavier side is lower. Ask students the remaining questions on the Warm Up to Which number is greater? What is another way
determine that 16 blocks is greater (would be heavier) than 11 blocks, so that How do you know? you could show which
side of the pan is lower. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with number is greater?
the students. Discuss the value of the 10 and 1 baht coins to help the students
complete the Fast Finisher activity. Make sure students know what to do and Work Out 1. Write the number of boxes on each truck. Circle
then have them work independently to complete the task. the truck in each pair that has the greater number.

Step 3 Reflecting on the work 12a. 10 17 10
boxes
1. Discuss the students’ answers to Student Journal 1.7. For Question 2, have or boxes
the students work in pairs to compare their solutions. Reinforce the possibility
of having more than one correct answer to each number. 18b. 10 11 10
boxes
2. Write the numerals 12 and 15 on the board and say, “Imagine you had to tell or boxes
a friend how to work out which number is greater. What would you say?”
Invite individuals to explain their thinking. Encourage explanations with 16c. 10 15 10
and then without using materials such as blocks. boxes
or boxes
Extra practice © ORIGO Education

Each pair of students will need: ♦ 20 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.7
• 2 cubes labeled: C ube A: 7, 9, 13, 14, 16, 18


2. Write a number that is more than and a number that is
Cube B: 8, 10, 12, 15, 17, 19 less than each numeral.

Activity less more less more

In pairs, each student rolls one cube. The student with the greater number scores 15 16 18 11 13 15
one point. The first player to reach seven points wins.
8 11 16 14 17 20

6 15 20 10 12 13

17 18 19 16 19 20

5 10 12 10 14 18

Fast Finishers Write the amount of money in each wallet.
a. Then circle the wallet that holds the greater
total value.

13 15

b.

6 12

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.7
© ORIGO Education Practice 1.7 Answers will vary. 21 ♦
This is one example.
© ORIGO Education

22 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.7

1.7 จำ�ำนวน เปรยี บเทียบจำ�ำนวนนับ 11 ถงึ 19

สำ�ำหรบั บทเรียนน้ี นกั เรยี นเปรยี บเทยี บจำำ� นวนนับ 11 ถึง 19 สองจำำ� นวน บทเรียนสอดแทรก สื่อและอปุ กรณ์
ทักษะการแกป้ ัญหา และทักษะการเชือ่ มโยง ครจู ะตอ้ งใช้
• แถบจำำ� นวน 1 - 20 จากตน้ แบบสอื่ 8
ขน้ั ที่ 1 นำ�ำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
ขยายใหญ่ (ใชก้ ระดาษโนต้ แถบกาวปดิ บางชอ่ ง
ครใู หน้ กั เรยี นดแู ถบจำ�ำนวนทมี่ บี างชอ่ งถูกปดิ เอาไว้ ครูถามวา่ “นกั เรียนรู้อะไรบ้างเก่ยี วกับ ของแถบจำำ� นวน)
จำำ� นวนทถี่ กู ปดิ เอาไว”้ ครเู ชญิ ชวนให้นกั เรยี นอธบิ ายวา่ รู้จำ�ำนวนและตำำ� แหนง่ ของจำ�ำนวน นกั เรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
ได้อย่างไร ทำำ� กิจกรรมนีอ้ กี โดยเปลี่ยนเปน็ จำ�ำนวนอ่นื ๆ ทีม่ ากกวา่ (หรือน้อยกว่า) จำำ� นวน • หนงั สอื เรยี นหนา้ 20 - 21
ท่ีแสดงบนแถบจำำ� นวนอยหู่ นงึ่ หรอื สอง
หนงั สอื เรยี นหนา้ 20 - 21
ขั้นที่ 2 สอนบทเรยี น
1.7 จำนวน เปรียบเทยี บจำนวนนับ 11 ถงึ 19
1. ครูเขียนตัวเลข 14 และ 17 บนกระดานแล้วถามนักเรยี นวา่ “จำำ� นวนใดมากกว่า นักเรยี นรู้
ไดอ้ ยา่ งไร” ครูเชิญชวนให้นกั เรียนแสดงแตล่ ะจำำ� นวนโดยใชน้ ้ิวมอื , ตัวนับ, กรอบสิบ หรือ อนุ เครื่อง สงั เกตภาพน้ี นกั เรียนมองเหน็ อะไร
ตัวต่อลกู บาศก์ เพอื่ แสดงวธิ ีคดิ ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ นกั เรยี นแสดงจำ�ำนวนโดยใช้ 1 กลมุ่
ของสบิ และหนว่ ย ระหวา่ งการอภิปราย ครใู ช้คำ�ำถาม เช่น “จำำ� นวนทั้งสองมีอะไรเหมือนกัน ทำไมเครอื่ งชงั่ สองแขนจงึ เอยี งไมเ ทา กนั ล1กู 0บาลศูกก ล1กู 0บาลศูกก
มอี ะไรแตกตา่ งกนั เราจะตอ้ งดตู รงไหนจงึ จะบอกไดว้ า่ จำำ� นวนใดมากกวา่ ” ทำำ� กจิ กรรมนอี้ กี บนจานชั่งดานซาย มลี กู บาศกกลี่ กู
เพ่ือเปรยี บเทียบ 18 กบั 12, 16 กับ 19 และ 15 กับ 13 บนจานช่ังดา นขวา มีลูกบาศกก ีล่ กู มีวิธีอ่ืนอีกไหมที่แสดง
จำนวนใดที่มากกวา จำนวนที่มากกวา
2. ค รูใหน้ กั เรียนสังเกตการอภปิ รายกจิ กรรมอ่นุ เครื่องในหนงั สอื เรยี นหนา้ 20 แลว้ ถามวา่ นกั เรยี นทราบไดอยา งไร
“ทำำ� ไมเครอื่ งชัง่ สองแขนในภาพจึงไม่เทา่ กนั ” สร้างความเข้าใจตรงกนั วา่ เครอ่ื งชั่งสองแขน
จะเทา่ กนั ถา้ ท้ังสองข้างเท่ากัน และขา้ งท่หี นักกว่าจะเอียงลงต่�่ำำกว่า ครูถามคำำ� ถามท่เี หลือ ฝก ทกั ษะ 1. เติมตวั เลขแสดงจาํ นวนกลอ งบนรถบรรทกุ ลงในชอ งวา ง
ในกจิ กรรมอนุ่ เครอ่ื งเพอ่ื ตอบใหไ้ ดว้ า่ ลกู บาศก์ 16 อนั มากกวา่ (หนกั กวา่ ) ลกู บาศก์ 11 อนั วงลอ มรอบภาพรถบรรทุกท่ีมีจํานวนกลองมากกวาในแตล ะขอ
ดังนัน้ ด้านท่ีมีลูกบาศก์ 16 อนั จะเอยี งลงมาต่่� ำำกวา่ ครูอา่ นคำ�ำสง่ั ในกิจกรรมฝกึ ทกั ษะและ 12(1) 10
ประลองปัญญาไปพร้อมกับนักเรียน อภิปรายเกี่ยวกับค่าของเหรียญสิบบาทและเหรียญ กลอ ง หรอื 17 10
หนง่ึ บาทเพอ่ื ชว่ ยนักเรยี นในการทำ�ำกจิ กรรมประลองปญั ญา ตรวจสอบให้แน่ใจว่านักเรียน
เข้าใจวา่ ตอ้ งทำำ� อะไร จากนน้ั ให้นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมด้วยตนเอง กลอง

ขั้นที่ 3 สรปุ บทเรียน 18(2) 10 หรอื 11 10
กลอง
1. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายคำำ� ตอบของกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น สำ�ำหรบั คำ�ำถามข้อ 2 กลอง
ให้นกั เรยี นจับคู่กนั เพ่ือเปรียบเทียบคำำ� ตอบ ครเู นน้ ย้้� ำำให้นักเรียนตระหนักว่าคำำ� ตอบที่
เปน็ ไปไดม้ ีมากกว่าหนึ่งคำ�ำตอบ 16(3) 10 หรือ 15 10
กลอง
2. ครเู ขยี นตวั เลข 12 และ 15 บนกระดานแลว้ พดู วา่ “สมมตวิ า่ นกั เรยี นตอ้ งบอกเพอ่ื นเกย่ี วกบั กลอง © ORIGO Education
วิธีการหาจำำ� นวนที่มากกวา่ นกั เรยี นจะพูดบอกเพอื่ นอยา่ งไร” ครเู ชิญชวนให้นักเรยี น
อธบิ ายวิธีคิด ครสู ง่ เสริมการอธิบายโดยใชแ้ ละไมใ่ ช้สื่ออปุ กรณ์ เช่น บล็อกจำ�ำนวน ♦ 20 หนังสือพัฒนาทกั ษะคณิตศาสตร ป.1

ฝึกทกั ษะ 2. เตมิ ตวั เลขแสดงจำนวนทม่ี ากกวา และจำนวนทนี่ อ ยกวา จำนวนทก่ี ำหนดใหล งในชอ งวา ง
นกั เรยี นแตล่ ะคจู่ ะต้องใช้
• ลูกบาศก์ 2 ลูก ล กู บาศก์ ก แต่ละหน้าประกอบดว้ ยตวั เลขตอ่ ไปนี้ 7, 9, 13, 14, 16, 18 นอยกวา มากกวา นอยกวา มากกวา

ลูกบาศก์ ข แต่ละหน้าประกอบดว้ ยตวั เลขตอ่ ไปน้ี 8, 10, 12, 15, 17, 19 15 16 18 11 13 15
กจิ กรรม
ใหน้ กั เรยี นจบั คกู่ นั นกั เรยี นแตล่ ะคนทอยลกู บาศก์ 1 ลกู นกั เรยี นทแี่ ตม้ บนลกู บาศกม์ ากกวา่ 8 11 16 14 17 20
ได้หน่งึ คะแนน ผูเ้ ล่นทีไ่ ด้ 7 คะแนน กอ่ นเปน็ ผชู้ นะ
6 15 20 10 12 13
17 18 19 16 19 20
5 10 12 10 14 18

ประลองปญ ญา เขียนจํานวนเงนิ ในกระเปา สตางคแ ตละใบ จากน้นั วงลอ มรอบ
(1) กระเปา สตางคท มี่ ีจาํ นวนเงินมากกวา

13 15

(2)

© ORIGO Education © ORIGO Education 6 12

หนงั สอื พัฒนาทักษะคณิตศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.7 คาํ ตอบทีเ่ ปน ไปไดมีหลากหลาย 21 ♦
นเี่ ปน เพยี งตวั อยา งหนึง่

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.7 23

1.8 Number: Making groups that have more or fewer (to 20)

In this lesson, students compare teen numbers using the terms “less” and Classroom materials
“greater” and “one less” and “one greater”. Student use a ten-frame
representation to help make these comparisons. The skills and processes learning Each student will need:
standards Problem solving and Making predictions, are embedded in this lesson. • 1 ten-frame from Blackline Master 7

Step 1 Starting the lesson • 13 counters

Write “1__” on the board and ask, “What is the smallest two-digit number that has • Student Journal 1.8
one ten?” (10.) Ask a student to write a zero in the appropriate space on the board.
Have each student place 10 counters on their ten-frame to show 10 and ask each Student Journal pp.22–23
student to write 10 on a sheet of paper. Ask, “What does the one mean? What
does the zero mean?” Repeat the discussion for the greatest two-digit number 1.8 Number: Making groups that have more or fewer (to 20)
that has one ten (19).
Warm Up Look at this picture of counters.
Step 2 Teaching the lesson
How can you figure out the number that
1. Direct students to the picture of counters on and off the ten-frame in is shown without counting all the counters?
the Warm Up discussion from Student Journal 1.8. Determine which students
are familiar with the ten-frame representation by asking, “How can you figure out 12Write the matching numeral.
the number that is shown without counting all the counters?” Encourage the
thinking “10 and 2 more”, before asking students to write the numeral 12 in Draw to show a number Draw to show a number
the space provided. that is less. that is greater.

2. Distribute 12 counters and one ten-frame to each student. Ask them to match Think about all the numbers that are less than 12.
the picture shown in the journal by representing 12 as 10 and 2 more. Ask, What different numbers could you draw?
“What happens if you take one counter away from 12? What number shows What number is one greater than 12?
one less than 12?” Have students act this out using their counters and draw their What number is one less than 12?
findings onto their journal in the correct space. Establish that one less than 12 is
11. Have the students replace the counter and repeat the activity, this time, giving Work Out 1. Write the numeral to match the number that is
students one more counter to add to 12. Establish that one greater than 12 is 13. shown. Draw to show a number that is greater.
Then draw to show a number that is less.
3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure
they know what to do and then have them work independently to complete the task. less greater

Step 3 Reflecting on the work 14

Once students have completed the Journal pages, discuss their answers. Ask students © ORIGO Education
to share how they worked out the Fast Finisher question.
♦ 22 Answers will vary. This is one example. ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.8
Extra challenge
2. Write the numeral to match the number shown in each
Each small group of students will need: picture. Draw to show the number that is one greater.
• 1 set of cards from Blackline Master 5 (remove 20) Then draw to show the number that is one less.

Activity one less one greater
a.
The cards are shuffled and placed separately face down on a table. In turn, students 17
randomly select two cards. They then put the cards in order from least to greatest
or vice versa. The cards are returned face down and mixed around before the next b. 8
student has a turn.
c. 15

Fast Finishers Read the problem. Then color the beside
the true statement.

Jin has 18 cards in his collection. He has one more card
than Ploy.

Ploy has more cards.
Ploy has 19 cards.
Ploy has 17 cards.
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.8 Practice 1.8 23 ♦
© ORIGO Education

24 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.8

1.8 จำ�ำนวน จัดกลุ่มสิง่ ของทีม่ ีจำ�ำนวนมากกว่าหรอื น้อยกวา่
จำ�ำนวนทก่ี ำ�ำหนดให้ (ไม่เกนิ 20)

สำำ� หรับบทเรยี นน้ี นกั เรยี นเปรียบเทียบจำ�ำนวนนบั 11 ถึง 19 โดยใช้คำ�ำวา่ “นอ้ ยกวา่ ” กับ สื่อและอปุ กรณ์
“มากกวา่ ” และ “น้อยกว่าอยู่หนึ่ง” กบั “มากกวา่ อยหู่ นึง่ ” นักเรียนใช้กรอบสบิ เพ่อื ชว่ ย นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
ในการเปรียบเทยี บจำำ� นวน บทเรียนสอดแทรกทกั ษะการแก้ปัญหา และทกั ษะการเชอื่ มโยง • กรอบสิบจากต้นแบบส่ือ 7 จำ�ำนวน 1 กรอบ
• ตวั นับ 13 อัน
ขั้นท่ี 1 นำ�ำเขา้ สู่บทเรียน • หนงั สอื เรยี นหนา้ 22 - 23

ครเู ขยี น “1__” บนกระดานแล้วถามนักเรียนว่า “จำ�ำนวนสองหลกั ท่ีมีหนึง่ สบิ ท่ีนอ้ ยที่สดุ หนังสือเรียนหน้า 22 - 23
คอื จำ�ำนวนใด” (10) ให้นกั เรียนหนึง่ คนออกมาเติมตวั เลข 0 ลงในช่องว่างบนกระดาน
ครใู ห้นักเรียนแต่ละคนวางตัวนบั 10 อันลงในกรอบสบิ เพื่อแสดง 10 และใหน้ กั เรียนเขียน 10 1.8 จำนวน จัดกลมุ ส่งิ ของที่มีจำนวนมากกวา หรือนอยกวา
ลงในกระดาษ ครถู ามนกั เรยี นวา่ “หนงึ่ ในตวั เลขนห้ี มายถงึ อะไร ศนู ย ์ ในตวั เลขนห้ี มายถงึ อะไร” จำนวนทก่ี ำหนดให (ไมเ กิน 20)
อภิปรายทำ�ำนองน้ีอีกโดยเปล่ียนคำ�ำถามเป็นจำ�ำนวนสองหลักที่มี 1 สิบ ท่ีมากที่สุด (19)
อุนเครื่อง สงั เกตภาพตัวนบั ทางขวามือ
ขนั้ ที่ 2 สอนบทเรียน
นกั เรียนจะหาจำนวนตวั นับทงั้ หมดโดยท่ีไมต องนับตัวนับ
1. ค รใู ห้นกั เรยี นสงั เกตภาพตวั นับในกรอบสิบและนอกกรอบสบิ ในการอภิปรายกิจกรรม ทุกอันไดอ ยา งไร
อนุ่ เครือ่ งในหนงั สือเรียนหนา้ 22 ครูตรวจสอบวา่ นกั เรียนคนใดคนุ้ เคยกบั การแสดงจำำ� นวน
ด้วยกรอบสิบโดยใชค้ ำำ� ถาม “นกั เรยี นบอกจำำ� นวนตวั นบั โดยไม่ตอ้ งนับตัวนับท้งั หมด 12เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในภาพ
ได้อย่างไร” ครูสง่ เสริมวธิ คี ิด “สิบกบั อีกสอง” ก่อนทจี่ ะให้นกั เรยี นเขยี นตัวเลข 12 ลงใน
ชอ่ งว่างท่กี ำำ� หนดให้ วาดรูป เพอ่ื แสดงจํานวนทน่ี อยกวา น้ี วาดรปู เพอ่ื แสดงจํานวนทมี่ ากกวา นี้

2. ค รแู จกตวั นับ 12 อัน และกรอบสบิ 1 กรอบ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคน ใหน้ กั เรยี นแสดงจำำ� นวน ลองนกึ ถึงจำนวนท้ังหมดท่นี อ ยกวา 12
ตามภาพในหนังสอื เรยี นโดยแสดง 12 เปน็ 10 กับอีก 2 ครถู ามวา่ “จะเกดิ อะไรข้นึ ถ้าหยบิ นกั เรยี นวาดรปู แสดงจํานวนใดไดอีก
ตวั นับหน่ึงอนั ออกจากกองท่มี ตี วั นับสบิ สองอัน จำ�ำนวนใดทแี่ สดงน้อยกวา่ สิบสองอยู่หนึง่ ” จำนวนทีม่ ากกวา 12 อยูห นง่ึ คือจำนวนใด
ใหน้ ักเรียนใชต้ ัวนบั แสดงสถานการณ์ท่กี ำ�ำหนดแล้ววาดรูปตัวนับลงในช่องว่างที่กำ�ำหนดให้ จำนวนท่นี อ ยกวา 12 อยูหนึ่งคอื จำนวนใด
สร้างความเข้าใจทีต่ รงกันวา่ น้อยกวา่ 12 อยูห่ นง่ึ คือ 11 ให้นกั เรียนทำ�ำกจิ กรรมนีอ้ กี โดย
ให้หยบิ ตวั นับ 1 อนั มาเพ่มิ ในกองตวั นบั 12 อนั สรา้ งความเข้าใจท่ตี รงกนั ว่า มากกว่า 12 ฝกทักษะ 1. เติมตวั เลขแสดงจำนวนในภาพ วาดรปู เพอ่ื แสดงจำนวน
อย่หู นึ่งคือ 13 ทีม่ ากกวา จากน้ันวาดรปู เพ่อื แสดงจำนวนทีน่ อยกวา

3. ครูอ่านคำ�ำสงั่ ในกจิ กรรมฝึกทกั ษะและประลองปัญญาไปพรอ้ มกับนกั เรียน ตรวจสอบ นอยกวา มากกวา
ให้แน่ใจวา่ นกั เรียนเขา้ ใจวา่ ตอ้ งทำ�ำอะไร จากน้ันให้นักเรียนปฏิบตั ิกจิ กรรมด้วยตนเอง
14
ขัน้ ที่ 3 สรุปบทเรียน
© ORIGO Education
เมอ่ื นักเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมในหนังสือเรียนเสร็จแลว้ ใหอ้ ภปิ รายคำ�ำตอบรว่ มกัน ครูใหน้ ักเรยี น
แสดงวธิ คี ิดหาคำำ� ตอบของคำ�ำถามประลองปญั ญา ♦ 22 คําตอบที่เปน ไปไดม ีหลากหลาย นี่เปนเพียงตัวอยา งหนงึ่ หนงั สือพฒั นาทักษะคณติ ศาสตร ป.1

เสริมปญั ญา 2. เตมิ ตวั เลขแสดงจำนวนในภาพ วาดรูป เพื่อแสดงจำนวนท่ีมากกวาอยหู นึง่
นักเรยี นกล่มุ เล็กแตล่ ะกลมุ่ จะต้องใช้ จากนั้นวาดรูป เพ่ือแสดงจาํ นวนทน่ี อยกวาอยูหน่งึ
• ชดุ บัตรจากต้นแบบสื่อ 5 จำ�ำนวน 1 ชดุ (ไมใ่ ชบ้ ัตรตวั เลข 20)
กจิ กรรม นอยกวาอยูหน่ึง มากกวาอยหู น่ึง
ครูสับบัตร และวางบตั รแตล่ ะใบคว่�่ำำไว้บนโตะ๊ นักเรียนผลดั กนั สมุ่ หยบิ บตั รข้นึ มา 2 ใบ (1)
จากน้ันให้นกั เรียนนำำ� บตั รมาวางเรยี งจากนอ้ ยท่ีสดุ ไปมากทีส่ ดุ หรือจากมากทีส่ ดุ ไปน้อยที่สดุ 17
จากน้ันคืนบัตรคว่�่ำำไว้บนโตะ๊ แลว้ นำ�ำบตั รท้งั หมดมาวางคละกนั ใหม่ กอ่ นให้นกั เรียนคนตอ่ ไป
หยิบบัตร (2) 8

(3) 15

ประลองปญญา อานโจทยป ญหา จากน้ันระบายสีใน หนาขอ ความทเ่ี ปน จริง

© ORIGO Education จินมีบัตร 18 ใบ เขามีบัตรมากกวา พลอยอยหู น่ึง
พลอยมบี ตั รมากกวา
พลอยมบี ัตร 19 ใบ
พลอยมีบตั ร 17 ใบ

หนังสือพฒั นาทักษะคณิตศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.8 23 ♦

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.8 25

1.9 Number: Working with position

In this lesson, students use number tracks to order up to three numbers. Classroom materials
The mathematical skills and processes learning standard, Problem solving,
is embedded in this lesson. You will need:
• set of cards from Blackline Masters
Step 1 Starting the lesson
5 and 9 (attach sticky tack to the back)
Say “Today we are going to play a counting game.” Explain that students will count
from 1–20 by ones and that the student who comes after the student who says 20 • 5 sticky notes
will sit down. The count will then start again at 1. Have students stand, ensuring
they know the order that counting will occur in and have them count around Each student will need:
the room until one student is left standing. • Student Journal 1.9

Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp.24–25

1. D istribute one numeral card (1–19) to each student. As you do so, ask them to 1.9 Number: Working with position
attach their numbers along the board (or wall) in order from least to greatest.
Encourage other students in the class to provide assistance as required. Once Warm Up Write the missing numerals on this number track.
finished, explain that they have created a number track. You can then ask the
students to identify the number that is one greater than 19. Attach the number 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
20 to the end of the number track. Have the class count from 1 to 20, pointing
to each numeral as you carry out the count. Use red to color the numbers that are one greater than and one less
than 7. Use blue to color all the numbers that are greater than 15.
2. Ask a volunteer to cover the numbers 5, 6, 12, 14, and 19 using sticky notes. Use green to color all the numbers that are less than 4.

3. Direct students to look at their number tracks in the Warm Up discussion from Complete these sentences.
Student Journal 1.9. Ask “What is the number that is one greater than four? How do
you know?” Have students write the missing 5 on their number tracks in their books 87 is one less than . 4 is one greater than 3.
after you reveal the number on the board. Ask, ”What is the number that is one less
than seven?” (Have students write the 6 on their track after you reveal the number Work Out 1. Write the missing numerals on these parts
six). Repeat for 12, 14, and 19, asking similar questions from other, known numbers. a. of a number track.
b.
4. Read the remaining Warm Up discussion and have students complete their
responses on their journal. Read the Work Out and Fast Finishers instructions 13 14 15 789
with the students. Make sure they know what to do and then have them work
independently to complete the task. c. d.

Step 3 Reflecting on the work 9 10 11 234

Once finished, discuss the students’ answers. For Question 2, have the students e. f.
work in pairs to compare their solutions. As the answers will vary, encourage them
to prove that their answer is correct. 8 9 10 9 10 11 © ORIGO Education

Extra help ♦ 24 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.9

Each small group of students will need: 2. Write the matching number. Use the number track at the top
• number track 1–20 from Blackline Master 8 of previous page to help your thinking. Some clues have
more than one match.
• recycle paper
My number is
Activity
a. one greater than 10 b. less than 4
Say, “I am thinking of a number less than 14. What could it be?” Have students write
the possible responses on recycle paper then compare and discuss their answers. 11 2
Say, “I am thinking of a number that is one less than 17. What could it be?” Have
students write the response on recycle paper then compare and discuss their answers. c. greater than 17 d. 1 less than 12
Ask “Why is there only one response for the number one less than 17?” Repeat for
other numbers 1–20. 19 11

e. between 10 and 15 f. 1 less than 20

12 19

g. between 14 and 16 h. two greater than 5

15 7

Fast Finishers 3 friends collect basketball cards.
Jit has one more card than Sarawut.
Boon has one less card than Jit.
How many cards could each person have?

14 14Boon has
cards. Sarawut has cards.

© ORIGO Education 15Jit has cards.

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.9 © ORIGO EducationPractice 1.9Answers will vary.25 ♦
This is one example.

26 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.9

1.9 จำ�ำนวน เรยี นรเู้ ก่ยี วกบั ตำ�ำแหน่งของจำ�ำนวนนับ

สำำ� หรบั บทเรยี นน้ี นกั เรยี นใชแ้ ถบจำำ� นวนในการเรยี งลำำ� ดบั จำำ� นวนสามจำำ� นวน บทเรยี นสอดแทรก สือ่ และอปุ กรณ์
ทกั ษะการแก้ปญั หา ครูจะต้องใช้
• ชดุ บตั รจากตน้ แบบสอ่ื 5 และ 9
ข้ันท่ี 1 นำ�ำเข้าสบู่ ทเรยี น
(ตดิ กาวดนิ น้�้ำำมันไวด้ า้ นหลัง)
ครูพูดวา่ “วนั นี้เราจะเลน่ เกมการนบั กนั นะ” ครอู ธบิ ายวา่ นักเรยี นจะผลัดกันนับเพ่ิมทีละหนง่ึ • กระดาษโน้ตมแี ถบกาวในตวั 5 แผน่
จาก 1 ถงึ 20 และนักเรียนท่อี ย่ถู ดั จากนักเรยี นคนทนี่ ับ 20 จะตอ้ งนง่ั ลง จากนนั้ นักเรียน นกั เรียนแต่ละคนจะตอ้ งใช้
คนถัดไปจะเร่ิมนับใหมจ่ าก 1 ครูใหน้ ักเรียนยืนขนึ้ ตกลงกนั ว่าจะให้นับวนไปทางใด และให้ • หนงั สอื เรยี นหนา้ 24 - 25
นักเรียนนับวนไปเรอื่ ย ๆ จนกระท่งั เหลือนักเรียนยนื อยู่เพียงคนเดยี ว
หนงั สือเรยี นหน้า 24 - 25
ขัน้ ที่ 2 สอนบทเรยี น
1.9 จาํ นวน เรียนรเู กีย่ วกับตาํ แหนงของจาํ นวนนับ
1. ครูแจกบตั รตวั เลข (1 - 19) ให้นักเรยี นแตล่ ะคน ขณะที่แจกบตั ร ครบู อกใหน้ กั เรยี น
ติดบัตรตัวเลขที่ตนไดร้ บั บนกระดาน (หรอื ฝาผนัง) เรยี งลำำ� ดบั จากน้อยทสี่ ุดไปมากท่สี ุด อุนเครอ่ื ง เตมิ ตัวเลขท่หี ายไปจากแถบจาํ นวนดานลา งนี้
ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยเพอ่ื นทตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื เมอื่ นกั เรยี นทกุ คนตดิ บตั รเสรจ็ แลว้
ครอู ธิบายวา่ นักเรียนไดส้ ร้างแถบจำำ� นวนข้นึ มา จากน้นั ครใู ห้นกั เรยี นบอกจำ�ำนวนทม่ี ากกว่า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
19 อยู่หนง่ึ ติดบัตรตวั เลข 20 ท่ีปลายแถบจำำ� นวน ใหน้ กั เรยี นทงั้ ชัน้ นับจาก 1 ถงึ 20 ใหค้ รู
ชท้ี ่ีตวั เลขแต่ละตัวบนแถบจำ�ำนวนไปด้วยขณะที่นบั สำหรบั จำนวนท่มี ากกวา 7 อยหู น่งึ และจำนวนทน่ี อ ยกวา 7 อยูหน่งึ ใหร ะบายสีแดง
สำหรบั จำนวนทมี่ ากกวา 15 ใหร ะบายสีฟา สำหรบั จำนวนที่นอยกวา 4 ใหระบายสเี ขยี ว
2. ครใู ห้นักเรยี นหนึ่งคนออกมาปดิ ตัวเลข 5, 6, 12, 14 และ 19 ด้วยกระดาษโน้ตมแี ถบกาว เตมิ ตวั เลขลงในชองวางเพ่ือใหป ระโยคสมบรู ณ
ในตวั
87 นอยกวา อยูหนึ่ง 4 มากกวา 3 อยหู น่ึง
3. ค รใู ห้นักเรียนสังเกตแถบจำำ� นวนในกิจกรรมอุ่นเครอื่ งในหนงั สือเรียนหน้า 24 ครูถามว่า
“จำำ� นวนใดที่มากกวา่ ส่อี ยู่หน่ึง นกั เรียนทราบได้อยา่ งไร” ใหน้ กั เรียนเขียนตัวเลข 5 ฝก ทักษะ 1. เติมตัวเลขท่ีหายไปจากแถบจาํ นวน
ทีห่ ายไปบนแถบจำำ� นวนในหนงั สอื เรยี นหลงั จากทีค่ รูเปดิ ตวั เลข 5 ทถ่ี กู ปิดไวบ้ นกระดาน
ให้นักเรียนเห็น ครถู ามว่า “จำำ� นวนใดท่ีน้อยกว่าเจ็ดอยู่หน่งึ ” (ใหน้ ักเรยี นเขยี นตวั เลข 6 (1) (2)
บนแถบจำำ� นวนในหนังสอื เรียนหลังจากทคี่ รูเปิดตัวเลข 6 ท่ถี กู ปดิ ไวบ้ นกระดานใหเ้ หน็ )
ทำำ� กิจกรรมน้ีอีกกับ 12, 14 และ 19 โดยใช้คำำ� ถามลักษณะเดียวกัน 13 14 15 789

4. ครอู า่ นการอภปิ รายในกจิ กรรมอนุ่ เครอื่ งสว่ นทเ่ี หลอื และใหน้ กั เรยี นเขยี นคำำ� ตอบลงในหนงั สอื (3) (4)
ครอู ่านคำำ� สง่ั ในกิจกรรมฝึกทกั ษะและประลองปญั ญาไปพรอ้ มกับนกั เรยี น ตรวจสอบให้
แน่ใจว่านักเรยี นเขา้ ใจวา่ ต้องทำำ� อะไร จากน้นั ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดว้ ยตนเอง 9 10 11 234

ขนั้ ที่ 3 สรปุ บทเรยี น (5) 9 10 (6) © ORIGO Education

เมอ่ื นักเรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมเสร็จแล้ว ให้อภิปรายคำำ� ตอบร่วมกนั สำ�ำหรบั คำำ� ถามข้อ 2 8 9 10 11
ใหน้ ักเรียนจบั คู่กันเปรยี บเทียบคำ�ำตอบ เนื่องจากคำ�ำตอบที่เป็นไปไดม้ หี ลากหลาย ครูส่งเสริม
ให้นกั เรยี นพสิ ูจนว์ า่ คำ�ำตอบของตนถกู ต้อง ♦ 24 หนงั สือพฒั นาทกั ษะคณิตศาสตร ป.1

ปรบั พนื้ ฐาน 2. เตมิ ตวั เลขลงในชอ งวา งตามเง่อื นไขทกี่ ำหนด ใชแถบจำนวนในหนา 24
นักเรียนกลุ่มเลก็ แตล่ ะกล่มุ จะตอ้ งใช้ เพือ่ ชว ยในการคดิ บางเงอ่ื นไขอาจมีมากกวา หน่งึ คาํ ตอบ
• แถบจำำ� นวน 1 - 20 จากตน้ แบบสื่อ 8
• กระดาษสำ�ำหรบั เขียน จาํ นวนของฉันคือ
กิจกรรม (1) มากกวา 10 อยูหนง่ึ (2) นอ ยกวา 4
ครพู ูดวา่ “ครกู ำำ� ลังนึกถึงจำำ� นวนหนง่ึ ซ่ึงน้อยกว่าสิบสจ่ี ำ�ำนวนนีค้ ือจำำ� นวนใด” ใหน้ กั เรียน
เขยี นคำ�ำตอบท่เี ป็นไปไดล้ งในกระดาษ จากนน้ั ให้เปรียบเทียบและอภิปรายเกี่ยวกบั คำำ� ตอบ 11 2
ครพู ดู วา่ “ครูกำ�ำลงั นึกถึงจำ�ำนวนหน่ึง จำำ� นวนนน้ี ้อยกว่าสิบเจด็ อยู่หน่ึง จำ�ำนวนนคี้ อื จำ�ำนวนใด”
ให้นักเรยี นเขียนคำำ� ตอบลงในกระดาษ จากนน้ั ใหเ้ ปรียบเทยี บและอภิปรายเกีย่ วกบั คำ�ำตอบ (3) มากกวา 17 (4) นอ ยกวา 12 อยูหน่งึ
ครถู ามวา่ “ทำำ� ไมจำำ� นวนทน่ี อ้ ยกวา่ สบิ เจด็ อยหู่ นงึ่ จงึ มแี คจ่ ำำ� นวนเดยี ว” ทำำ� กจิ กรรมนอ้ี กี
กบั จำำ� นวน 1 - 20 จำ�ำนวนอื่น ๆ 19 11

(5) อยูร ะหวา ง 10 กบั 15 (6) นอ ยกวา 20 อยูหนึง่

12 19

(7) อยรู ะหวาง 14 กับ 16 (8) มากกวา 5 อยูส อง

15 7

ประลองปญญา เพอื่ น 3 คนสะสมบัตรภาพบาสเกตบอล จติ มบี ัตรภาพ
มากกวาสราวธุ หนึง่ ใบ บญุ มบี ัตรภาพนอ ยกวา จิตหนึ่งใบ
แตล ะคนมบี ัตรภาพกใี่ บ

บญุ มบี ตั รภาพ 14 ใบ สราวธุ มบี ตั รภาพ 14 ใบ

© ORIGO Education © ORIGO Education จติ มบี ตั รภาพ 15 ใบ

หนงั สือพฒั นาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.9 คาํ ตอบที่เปนไปไดม หี ลากหลาย 25 ♦
นี่เปน เพียงตัวอยา งหน่ึง

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.9 27

1.10 Number: Ordering 1 to 19

In this lesson, students order numbers from 1 to 19 and reinforce the idea that Classroom materials
any teen number is composed of 1 ten and up to 9 ones. The mathematical skills
and processes learning standards, Reasoning and Using media, technologies, Each student will need:
and resources, are embedded in this lesson. • 20 connecting cubes

Step 1 Starting the lesson • Student Journal 1.10

Say “I am thinking of a mystery number between 1 and 20. What could it be?” Student Journal pp.26–27
Have students raise their hands and attempt to guess your number. Use language
such as “My number is greater than X” and/or “My number is less than X” to allow 1.10 Number: Ordering 1 to 19
students to guess with greater accuracy. Make reference to a number track if
necessary. Repeat as time allows. Warm Up Look at this number track.

Step 2 Teaching the lesson 8 9 10 18

1. Write “1__” on the board and ask, “What is the greatest two-digit number you 1 7 11 17
can make with one ten?” (19.) Ask a student to write the numeral for nine in the
appropriate space on the board. Distribute the cubes and have each student join 26 12 16
10 cubes to show 10 and join nine more to show 9. Ask, “What does the one in 345
this number mean? (10 ones or one group of ten.) What does the nine mean?” 13 14 15
(9 ones or one group of nine.) Repeat the activity for the number that has
two less cubes than 19, then other numbers as time allows. Color blue the numeral that is 1 less than 12.
Color red the numeral that is 2 greater than 5.
2. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.10. Have Color green the numeral that is between 12 and 14.
students color in blue the numeral that is one less than 12, then color in red the Write the missing numerals on the track.
numeral that is 2 greater than 5, then in green the numeral between 12 and 14.
Finally, have students write the missing numbers on the track. Work Out 1. Write the missing numerals on these tracks.

3. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with the students. Make sure a. 1 2 3 9 10 11 17 18 19
they know what to do and then have them work independently to complete the 4 8 12 16
task. Allow students to use their cubes to support their thinking. 5 6 7 13 14 15

Step 3 Reflecting on the work b. 10 11 12 17 18 19

Once all students have completed the Journal pages, discuss their answers. Have 6 7 8 9 13 14 15 16 © ORIGO Education
students share their thinking to each question. At Question 2, ask, “What has changed
when you added one more cube?” (The digit in the ones place.) “Imagine you had ♦ 26 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.10
one stack of ten cubes and another stack of nine cubes. What would happen if one
more cube was added to the stack of nine cubes?” (Both digits would change.) 2. Write the number of cubes you see. Draw one more cube.
Model the problem with cubes if students are struggling to visualize the change. Then write the new total below the cubes.

Extra practice 14a. 18b. 16c.
I see I see I see
Each group of students will need:
• set of cards from Blackline Masters 5 and 9 15New total 19New total 17New total

Activity 3. Write the numerals in order from least to greatest.
a. b. c.
Shuffle the cards and place them separately, face down on a table. In turn, students
randomly select three cards. They then put the cards in order from least to greatest 16 12 9 14 15 10 13 19 17
or vice versa. The cards are returned face down and mixed around before the next
student has a turn. 9 12 16 10 14 1 5 1 3 17 19

Fast Finishers Read the clues. Then color the beside
the correct statement.

Clues Kate is the oldest.
Kate is 9 years old. Joe is older than Kate.
Kim is 15 years old. Kim is younger than Kate.
Joe is 11 years old. Kim is the youngest.
© ORIGO Education
ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.10 Practice 1.10 27 ♦
© ORIGO Education

28 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.10

1.10 จำ�ำนวน การเรยี งลำ�ำดบั จำ�ำนวนนบั 1 ถึง 19

สำำ� หรับบทเรียนน้ี นกั เรียนเรียงลำ�ำดับจำ�ำนวนจาก 1 ถงึ 19 และทบทวนแนวคิดทว่ี า่ จำ�ำนวนนับ ส่อื และอปุ กรณ์
11 ถึง 19 ประกอบดว้ ย 1 สบิ กับไมเ่ กนิ 9 หนว่ ย บทเรียนสอดแทรกทกั ษะการให้เหตผุ ล นกั เรียนแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
และทักษะการใช้ส่อื เทคโนโลยีและแหลง่ การเรียนรู้ • ตัวต่อลูกบาศก์ 20 อนั
• หนงั สอื เรยี นหนา้ 26 - 27
ขน้ั ที่ 1 นำ�ำเข้าสู่บทเรยี น
หนังสอื เรยี นหน้า 26 - 27
ครูพูดว่า “ครูกำ�ำลังนึกถึงจำ�ำนวนปริศนาจำ�ำนวนหนึ่ง จำ�ำนวนน้ีอยู่ระหว่างหน่ึงกับย่ีสิบ
จำำ� นวนน้คี อื จำำ� นวนใด?” ใหน้ ักเรียนยกมอื ขึน้ และพยายามเดาจำำ� นวนปรศิ นา ครตู อบโดยใช้ 1.10 จำนวน การเรยี งลำดบั จำนวนนบั 1 ถึง 19
คำ�ำพดู วา่ “จำำ� นวนปรศิ นานีม้ ากกวา่ X” และ/หรือ “จำ�ำนวนปรศิ นานี้น้อยกวา่ X” เพอ่ื ชว่ ยให้
นกั เรยี นคาดเดาคำ�ำตอบไดใ้ กล้เคยี งยงิ่ ขึน้ ใช้แถบจำำ� นวนในการอา้ งองิ ถา้ จำ�ำเป็น ทำ�ำกิจกรรมซ้�้ำำ อุน เครอ่ื ง สังเกตแถบจาํ นวนตอ ไปนี้
หากมีเวลาเหลือ
8 9 10 18
ขั้นที่ 2 สอนบทเรยี น
1 7 11 17
1. ค รูเขียน “1__” บนกระดานแล้วถามนักเรียนว่า “จำำ� นวนสองหลักทีม่ ีหนงึ่ สิบ ทมี่ ากทส่ี ดุ
คอื จำ�ำนวนใด” (19) ใหน้ กั เรยี นหนึง่ คนออกมาเติมตวั เลข 9 ลงในช่องว่างบนกระดาน 26 12 16
ครแู จกตวั ตอ่ ลกู บาศก ์ ใหน้ กั เรยี น จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นนำำ� ตวั ตอ่ 10 อนั มาประกอบเปน็ แทง่ เพอื่ 345
แสดง 10 และนำำ� ตวั ตอ่ อกี 9 อนั มาตอ่ เพอ่ื แสดง 9 ครถู ามนกั เรยี นวา่ “เลขหนงึ่ ในจำำ� นวนน้ี 1513 14
หมายถึงอะไร (10 หนว่ ย หรือ หนึง่ กลุม่ ของสบิ ) เลขเกา้ ในจำ�ำนวนนหี้ มายถงึ อะไร”
(9 หน่วย หรอื หนงึ่ กลมุ่ ของเกา้ ) ทำำ� กจิ กรรมนอี้ กี โดยใชจ้ ำำ� นวนทน่ี อ้ ยกวา่ 19 อยสู่ อง สำหรบั จำนวนท่ีนอยกวา 12 อยหู นงึ่ ใหระบายสีฟา
และจำำ� นวนอนื่ ๆ หากมเี วลา สำหรับจำนวนท่ีมากกวา 5 อยูสอง ใหร ะบายสีแดง
สำหรบั จำนวนท่อี ยูร ะหวาง 12 กับ 14 ใหร ะบายสเี ขียว
2. ค รใู หน้ กั เรยี นสงั เกตการอภปิ รายกจิ กรรมอนุ่ เครอ่ื งในหนงั สอื เรยี นหนา้ 26 ครใู หน้ กั เรยี น เตมิ จาํ นวนที่หายไปในแถบจาํ นวน
ระบายสฟี ้าลงในชอ่ งจำ�ำนวนทน่ี ้อยกวา่ 12 อยหู่ น่ึง จากน้นั ให้นกั เรียนระบายสีแดงลงใน
ชอ่ งจำำ� นวนท่ีมากกวา่ 5 อย่สู อง ให้นกั เรียนระบายสเี ขยี วลงในชอ่ งจำ�ำนวนทอี่ ยูร่ ะหวา่ ง ฝก ทกั ษะ 1. เติมตัวเลขที่หายไปในแถบจำนวนตอไปนี้
12 กับ 14 จากนน้ั ให้นักเรยี นเติมจำำ� นวนท่หี ายไปลงในแถบจำำ� นวน
(1) 1 2 3 9 10 11 17 18 19
3. ค รูอ่านคำำ� สง่ั ในกจิ กรรมฝกึ ทักษะและประลองปัญญาไปพร้อมกับนกั เรียน ตรวจสอบ 4 8 12 16
ให้แนใ่ จว่านักเรียนเข้าใจวา่ ต้องทำำ� อะไร จากนัน้ ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมด้วยตนเอง 5 6 7 13 14 15
ใหน้ ักเรียนใช้ตัวต่อลูกบาศก์เพื่อชว่ ยในการคดิ
(2) 10 11 12 17 18 19
ขั้นที่ 3 สรปุ บทเรยี น
6 7 8 9 13 14 15 16 © ORIGO Education
เมือ่ นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมในหนงั สือเรียนเสรจ็ แล้ว ใหอ้ ภปิ รายคำำ� ตอบร่วมกัน ครูให้นกั เรยี น
บอกวธิ ีคิดสำ�ำหรบั แตล่ ะคำำ� ถาม สำำ� หรับคำำ� ถามขอ้ 2 ครูถามวา่ “อะไรเปลีย่ นไปเมื่อนกั เรียน ♦ 26 หนังสอื พัฒนาทกั ษะคณติ ศาสตร ป.1
เพิม่ ลูกบาศก์หนึง่ อัน” (เลขโดดในหลักหน่วย) “สมมตวิ ่านักเรยี นมีแทง่ ลกู บาศก์สบิ อัน
หนงึ่ แทง่ และแท่งลูกบาศกเ์ ก้าอนั อีกหนงึ่ แทง่ จะเกิดอะไรขน้ึ ถา้ เพิม่ ลูกบาศกห์ นึง่ อนั 2. เตมิ ตวั เลขแสดงจำนวนลกู บาศกท ่นี ักเรยี นเหน็ ในแตล ะภาพ วาดรปู ลูกบาศก
ในแท่งลูกบาศกเ์ ก้าอัน” (เลขโดดท้ังสองตัวจะเปล่ียนไป) ถ้านกั เรยี นนึกภาพไม่ออก ให้ใช้ เพ่ิมอีกหนึ่งลกู จากนนั้ เตมิ ผลรวมใหมของจำนวนลกู บาศกใ ตภาพ
ตวั ต่อลกู บาศกเ์ พอ่ื ช่วยในการคิด
(2)
ฝกึ ทกั ษะ จาํ นวนท่เี ห็น
นักเรียนแต่ละกลุ่มจะต้องใช้ 14 18 16(1)
• ชดุ บตั รจากต้นแบบสือ่ 5 และ 9 จาํ นวนทีเ่ หน็
กิจกรรม (3)
ครสู ับบัตรแลว้ วางบตั รแต่ละใบคว่่� ำำไว้บนโตะ๊ ให้นักเรยี นผลดั กนั สมุ่ หยิบบตั รขึ้นมา 3 ใบ จํานวนที่เห็น
จากน้นั ใหน้ ำำ� บัตรมาวางเรยี งลำำ� ดับจากนอ้ ยท่ีสดุ ไปมากทีส่ ุด หรือจากมากท่สี ดุ ไปนอ้ ยที่สุด
จากน้นั คนื บตั รคว่่� ำำไว้บนโต๊ะแล้วนำ�ำบตั รทง้ั หมดมาวางคละกนั ใหม่ กอ่ นใหน้ ักเรยี นคนตอ่ ไป ผลรวมใหม 15 ผลรวมใหม 19 ผลรวมใหม 17
หยิบบัตร
3. เรียงลําดบั จํานวนท่ีกําหนดใหจากนอ ยไปมาก (3)
(1) (2)

16 12 9 14 15 10 13 19 17

9 12 16 10 14 1 5 1 3 17 19

ประลองปญ ญา อานเง่ือนไขตอ ไปนี้ จากน้ันระบายสีใน หนาขอ ความทถี่ ูกตอ ง

© ORIGO Education เงื่อนไข เกตอายุมากท่ีสุด
เกตอายุ 9 ป โจอายมุ ากกวาเกต
คมิ อายุ 15 ป คมิ อายุนอ ยกวาเกต
โจอายุ 11 ป คิมอายุนอ ยทส่ี ุด

หนงั สอื พัฒนาทักษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.10 27 ♦

© ORIGO Education

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.10 29

1.11 Number: Reading ordinal number symbols

In this lesson, students read and match the ordinal number symbols to the position Classroom materials
of characters in a sequence of events. The mathematical skills and processes
learning standards, Making connections and Reasoning, are embedded in this lesson. You will need:
• vertical number track from Blackline
Step 1 Starting the lesson
Master 10 (retain for Lesson 1.12)
Direct students’ attention to the number track on display and ask, “What is the first
missing number?” Invite students to come to the board and fill in the missing • 6 ribbons of different colors
numerals from least to greatest (bottom to top). As they do so, use the language
“first” number, “second” number, and so on. As they write each numeral, write Each student will need:
the ordinal number symbol next to each numeral to 10. Explain that first is written • color pencils
as the numeral 1 followed by “st”, read as “first”. Repeat this discussion for
2nd (second), 3rd (third), and so on. • Student Journal 1.11

Step 2 Teaching the lesson Student Journal pp.28–29

1. Ask six students to come to the front and give each a ribbon. Explain that they 1.11 Number: Reading ordinal number symbols
are actors standing in line to walk on the red carpet at an awards night. Write
the color of one of the ribbons on the board next to each of the ordinal number Warm Up What is happening in this picture?
symbol for first to sixth. Say, “First is (green), second is (yellow)… (to sixth). Which athlete finished 1st?
Actors, please make the line for the red carpet.” Have each actor say the ordinal How do you know?
number name for their position. Confirm that they are correct, then repeat with
six different students and the color words written in a different order. Collect Look at this toy. 1 3
the ribbons. Which ring went on 1st? 2
Which ring went on 3rd?
2. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.11 and work How could you describe the positions
through the questions. Read the Work Out and Fast Finishers instructions with of the other two rings?
the students. Ensure students understand and then have them work
independently to complete the task. Where else would you describe things as 1st, 2nd, and 3rd?

Step 3 Reflecting on the work Work Out 1. Draw lines to connect the dots in order.
a. b.
1. Have pairs of students compare their responses and discuss the students’ answers.
2nd 3rd 1st
2. Write “st, nd, rd, and th” on the board and say each sound. Say, “Think about 4th
the dates in the calendar. What dates end in each of these sounds?” Write the 1st 2nd
students’ responses below each sound on the board. Ask, “What patterns do 6th
you see?” 5th TOYS 5th
3rd
Extra practice © ORIGO Education
4th
Each student will need:
• 1 set of cards from Blackline Masters 9 and 11 ♦ 28 ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.11

Activity 2. Draw to connect the dots in order.

Organize the students into pairs. Instruct the students to first arrange the numeral a. b. 4th 5th
cards 1–10 in order from left to right in the space in front of them. Then have 3rd
students mix up the ordinal number cards and place them face down in a pile.
Students then take turns in turning over a card, reading the ordinal number, and 6th 1st 2nd 6th
placing it next to the corresponding numeral card. Pairs then read the ordinal 5th 1st 7th
numbers aloud in order, first to tenth.
2nd 8th
4th 3rd 9th

3. The 1st scoop of ice cream is strawberry.
Color these scoops.

a. Color the 2nd b. Color the 4th c. Color the 3rd
scoop blue. scoop red. scoop green.

Fast Finishers Draw in the 1st, 3rd, 5th, 7th, and 9th positions.
start here Then draw in the other positions to make
a pattern.

© ORIGO Education

© ORIGO Education
tenthWrite the name of the last position.

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.11 Practice 1.11 29 ♦

30 ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.11

1.11 จำ�ำนวน อา่ นสัญลกั ษณ์แทนจำ�ำนวนเชิงอันดบั ทีใ่ นภาษาอังกฤษ

สำ�ำหรบั บทเรยี นน้ี นกั เรียนอา่ นและจบั ค่สู ญั ลกั ษณแ์ ทนจำ�ำนวนเชงิ อนั ดับท่ีกับตำ�ำแหนง่ สื่อและอปุ กรณ์
ของตัวละครในลำ�ำดับเหตกุ ารณท์ ีก่ ำำ� หนดให้ บทเรียนสอดแทรกทกั ษะการเชอื่ มโยง ครจู ะตอ้ งใช้
และทกั ษะการให้เหตุผล • แถบจำ�ำนวนแนวตั้งจากตน้ แบบสอื่ 10

ขนั้ ท่ี 1 นำ�ำเข้าสูบ่ ทเรียน (เก็บไวส้ ำำ� หรับบทเรยี น 1.12)
• โบวร์ บิ บน้ิ สตี า่ ง ๆ กัน 6 อนั
ครใู หน้ กั เรยี นดแู ถบจำำ� นวนทต่ี ดิ แสดงไวบ้ นกระดาน แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ “จำำ� นวนแรกทห่ี ายไป นักเรยี นแตล่ ะคนจะตอ้ งใช้
คือจำำ� นวนใด” ใหน้ ักเรยี นออกมาท่ีกระดานเพอ่ื เติมตัวเลขที่หายไปจากน้อยทสี่ ดุ ไปมากทสี่ ุด • ดินสอสี
(จากล่างสดุ ไปบนสุด) ขณะทน่ี ักเรียนเติมตวั เลขทห่ี ายไป ใหค้ รูพดู ว่า จำ�ำนวน “แรก”, • หนงั สอื เรยี นหนา้ 28 - 29
จำำ� นวน “ทีส่ อง”, ฯลฯ ไปด้วย ใหค้ รเู ขยี นสญั ลักษณแ์ ทนจำำ� นวนเชิงอนั ดับทีข่ า้ ง ๆ ตัวเลข
ทน่ี ักเรยี นเตมิ ครอู ธบิ ายวา่ สญั ลักษณแ์ ทนอันดับแรกในภาษาองั กฤษ คอื 1 ตามดว้ ย “st” หนังสอื เรียนหนา้ 28 - 29
อา่ นวา่ “first”, สญั ลกั ษณแ์ ทนอนั ดบั ทส่ี องในภาษาองั กฤษ คอื 2nd อา่ นวา่ “second”,
สญั ลกั ษณแ์ ทนอนั ดบั ทส่ี าม ในภาษาองั กฤษ คอื 3rd อา่ นวา่ “third”, สญั ลกั ษณแ์ ทนอนั ดบั ที่ 1.11 จาํ นวน อานสัญลกั ษณแ ทนจาํ นวนเชิงอันดับทใ่ี นภาษาองั กฤษ
ส่ี ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สบิ ในภาษาอังกฤษ คอื 4th, 5th, 6th, 7th, 8th, 9th, 10th
อา่ นวา่ fourth, fifth, sixth, seventh, eighth, ninth และ tenth ตามลำ�ำดบั อนุ เครอื่ ง เกดิ อะไรขนึ้ ในภาพนี้

ขั้นที่ 2 สอนบทเรียน นกั กฬี าคนไหนวิ่งเขา เสน ชัยเปน คนแรก
นักเรียนทราบไดอยา งไร
1. ค รใู หน้ กั เรยี น 6 คนออกมาหนา้ ชน้ั และแจกโบวร์ บิ บน้ิ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนถอื ไว้ ครอู ธบิ ายวา่
นักเรียน 6 คนนเี้ ป็นนกั แสดงทก่ี ำำ� ลงั ยืนเรยี งเป็นแถวบนพรมแดงเพือ่ รอรับรางวลั ครูเขียน สังเกตของเลนชิน้ น้ี
ช่อื สขี องโบว์ริบบิ้นบนกระดานข้าง ๆ สญั ลักษณแ์ ทนอันดบั ที่หนง่ึ ถงึ หก ครพู ูดวา่ “อันดับ นักเรยี นใสหวงสีใดเปนอนั ดบั แรก
แรกเป็น (สีเขียว), อันดับท่ีสองเป็น (สีเหลือง) .... อันดับที่หกเป็น (สี....) นักแสดงท้ังหก นกั เรียนใสหว งสีใดเปนอันดบั ทส่ี าม
โปรดยืนเรยี งตามลำำ� ดบั การรบั รางวัล เรมิ่ จากอันดับแรก” ครูให้นักแสดงแตล่ ะคนพูดบอก
อนั ดบั ของตน ยืนยันความถกู ตอ้ ง จากนน้ั ทำ�ำกิจกรรมซ้้� ำำโดยเปลย่ี นเป็นนักเรยี น 6 คน นกั เรียนจะบอกตาํ แหนง 1
กลมุ่ อ่นื และเปลี่ยนสปี ระจำำ� แตล่ ะอนั ดับเสยี ใหม่ เมอ่ื ทำำ� กจิ กรรมเสรจ็ แลว้ เกบ็ โบว์ริบบิน้ คืน ของหวงอีกสองอนั ทเ่ี หลือไดอยางไร 23
ภาพน้ีเปนตัวอยา งของการใชต ัวเลขเพอ่ื บอกอันดับท่ี
2. ครูให้นกั เรยี นสงั เกตการอภิปรายกิจกรรมอนุ่ เครื่องในหนงั สอื เรียนหน้า 28 แลว้ ครูและ ในภาษาอังกฤษ คำที่ใชบ อกจำนวนแตกตางจากคำทใ่ี ช
นกั เรียนร่วมกันตอบแตล่ ะคำ�ำถาม ครูอ่านคำำ� สัง่ ในกจิ กรรมฝึกทกั ษะและประลองปัญญา บอกอนั ดับที่ อนั ดบั ที่ 1, 2 และ 3 แทนดว ยสญั ลักษณ 1st, 2nd และ 3rd ตามลำดับ
ไปพร้อมกบั นกั เรยี น ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ ตอ้ งทำำ� อะไร จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง สำหรบั อนั ดับที่ 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 ใชส ญั ลกั ษณ 4th, 5th, 6th, 7th, 8th, 9th
และ 10th ตามลำดับ
ขน้ั ท่ี 3 สรปุ บทเรียน
นกั เรยี นเคยเห็นการใชต วั เลขบอกอนั ดับทีใ่ นสถานการณใดอกี บาง
1. ครใู ห้นกั เรียนจบั คู่กันเพ่ือเปรยี บเทียบและอภิปรายคำำ� ตอบ
2. ครเู ขยี น “st, nd, rd และ th” บนกระดานแลว้ อา่ นออกเสยี ง ครพู ดู วา่ “นกั เรยี นลอง ฝกทักษะ 1. ลากเสน เชือ่ มโยงจดุ ตามลาํ ดบั
(1) (2)
นึกถึงวันที่ในปฏิทิน นักเรียนคิดว่าวันท่ีใดบ้างลงท้ายด้วย st วันที่ใดบ้างลงท้ายด้วย nd
วันที่ใดบา้ งลงทา้ ยดว้ ย rd และวันทีใ่ ดบา้ งลงท้ายดว้ ย th” ครเู ขียนคำ�ำตอบที่ถูกต้องบน 2nd 3rd 1st
กระดานข้างใต้ st, nd, rd และ th จากน้ันถามนกั เรยี นวา่ “นกั เรียนสังเกตเหน็ แบบรูป 4th
อะไรบ้าง” 1st 2nd
6th
ฝกึ ทกั ษะ
นักเรียนแต่ละคนจะต้องใช้ 5th 3rd ของเลน 5th
• ชุดบัตรจากตน้ แบบส่อื 9 และ 11 จำ�ำนวน 1 ชดุ
กิจกรรม 4th © ORIGO Education
ครจู บั คนู่ ักเรยี น ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะคู่นำำ� บัตรตวั เลข 1 - 10 มาวางเรียงตามลำำ� ดบั จากซา้ ย
ไปขวาบนโต๊ะ จากน้ันให้นักเรียนสับบัตรอันดับท่ี แล้ววางกองบัตรคว่่� ำำไว้บนโต๊ะ จากนั้น ♦ 28 หนังสือพฒั นาทกั ษะคณิตศาสตร ป.1
ใหน้ กั เรยี นผลดั กนั หยบิ บตั รจากกองหงายขนึ้ อา่ นอนั ดบั ทบี่ นบตั ร แลว้ วางไวข้ า้ ง ๆ บตั รตวั เลข
ที่ตรงกัน เมื่อวางบัตรครบแล้วใหน้ ักเรียนอา่ นอันดับที่ตามลำำ� ดบั จากอันดับแรกถงึ อันดับท่สี บิ 2. วาด เพื่อเชือ่ มโยงจดุ ตามลําดับ 3rd 4th 5th
(1) (2)

6th 1st 2nd 6th
5th 1st
2nd 7th
4th 3rd 9th 8th

3. ไอศกรีมกอ นแรกเปน รสสตรอวเบอรรี ระบายสกี อ นไอศกรมี ตามเงอ่ื นไขทก่ี ําหนด

(1) ระบายสไี อศกรีม (2) ระบายสีไอศกรมี (3) ระบายสีไอศกรมี
กอนที่สองเปน สีฟา กอ นท่สี เ่ี ปน สีแดง กอ นท่สี ามเปน สเี ขยี ว

ประลองปญ ญา วาดรปู ในลำดบั ที่ 1, 3, 5, 7 และ 9 ตามลำดบั
จากนนั้ วาดรูป ในลาํ ดบั อน่ื ๆ ที่เหลอื เพือ่ สรางเปนแบบรูป

© ORIGO Education © ORIGO Education เรม่ิ ตรงน้ี ทส่ี ิบ
เขยี นตัวหนังสือแทนลำดับสุดทา ยลงในชอ งวา ง

หนังสอื พฒั นาทักษะคณิตศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.11 29 ♦

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.11 31

1.12 Number: Matching ordinal number names and symbols

In this lesson, students match ordinal number names to their ordinal symbols. Classroom materials
The skills and processes learning standards, Communication and Making
Connections, are embedded in this lesson. You will need:
• 12-month calendar
Step 1 Starting the lesson • vertical number track from Lesson 1.11

Refer to the calendar and ask, “When is your birthday?” Encourage students to with numbers 11–20 folded back (or use
share. Listen for any new ordinal number names that students may know e.g. 21st Blackline Master 10 with the missing
July or 15th October. Turn to the month of January and work with the students to numbers 1–10 filled in)
identify the ordinal number name for each day of January. • A set of cards from Blackline Master 12
(with sticky tack or tape at the back
Step 2 Teaching the lesson for display)
Each student will need:
1. Display the (vertical) number track and ask, “What is the position of this number • color pencils
on the track?” Invite a student to write “1st” beside the track. Repeat the • Student Journal 1.12
discussion for the 4th, 5th and 6th numerals, without discussing second and
third. Ask, “What symbols are missing?” Invite volunteers to make suggestions Student Journal pp.30–31
and write the missing ordinal symbols to tenth to fill in the number track.
1.12 Number: Matching ordinal number names and symbols
2. Ask, “Does anyone know another way to write ‘1st’?” Display the ordinal
number word cards and invite a student to select the card for “first” and place it Warm Up Describe the order of the cars in this race.
next to the symbol. Repeat for the remaining cards until each word is matched.
Have students read aloud the symbols as you point to them. Use green to color the car that will finish 2nd.
Use blue to color the car that will finish last.
3. Direct students to the Warm Up discussion from Student Journal 1.12 and have Use yellow to color the car that will finish 3rd.
students describe the order of the cars. Read each instruction and have students Use red to color the car that will finish first.
color the 2nd, last, 3rd, and first cars using the different colors. Establish that In which position will the other car finish? How do you know?
the other car will finish in the fourth place. Read the Work Out and Fast Finishers
instructions with the students. Make sure they know what to do and then have Work Out 1. Draw lines to connect cars and their ribbons.
them work independently to complete the task.
second 1st fourth
Step 3 Reflecting on the work 2nd 3rd
fifth
Once finished, discuss the students’ answers. Have students share their thinking first 5th 4th
to solve the Fast Finishers questions.
♦ 30 third © ORIGO Education
Extra practice
ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.12
Each student will need:
• 1 set of cards from Blackline Master 13 (two pages) 2. The first plane is colored. Color other planes to match
• scissors the instructions.

Activity a. Color the fourth plane red.
b. Color the 7th plane green.
Have pairs of students place the recipe cards in order from “what happens first“ to c. Color the last plane orange.
“what happens last“ with the ordinal number name cards below each picture to d. Color the sixth plane purple.
match its position in the sequence. In pairs, one student then closes their eyes e. Color the 3rd plane yellow.
while the other student changes the positions of two cards. The first student then f. Color the eighth plane brown.
identifies which cards have been moved.
g. In which positions are the two white planes?
32
second fifth

Fast Finishers In each race, Thailand finished two places after
Australia. Write the missing positions for each race.
© ORIGO Education

© ORIGO Education
Thailand Australia Thailand Australia Thailand Australia

6th 4th 3rd 1st 4th 2nd

Thailand Australia Thailand Australia Thailand Australia

5th 3rd 10th 8th 9th 7th

ORIGO GO Math • Grade 1 • 1.12 Practice 1.12 31 ♦

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.12

1.12 จำ�ำนวน จบั คูจ่ ำ�ำนวนเชงิ อันดับที่กับสัญลักษณ์

สำ�ำหรับบทเรยี นน้ี นักเรียนจบั คอู่ นั ดบั ทีก่ บั สัญลักษณบ์ อกอนั ดับในภาษาอังกฤษ บทเรียน สื่อและอปุ กรณ์
สอดแทรกทกั ษะการส่ือสารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และทักษะการเชื่อมโยง
ครจู ะต้องใช้
ขั้นที่ 1 นำ�ำเขา้ สูบ่ ทเรียน • ปฏทิ ิน 12 เดอื น
• แถบจำำ� นวนจากบทเรียน 1.11 โดยพบั ส่วน
ครใู หน้ กั เรยี นดปู ฏทิ นิ แลว้ ถามวา่ “เมอื่ ใดเปน็ วนั เกดิ ของนกั เรยี น” ครเู ชญิ ชวนใหน้ กั เรยี นบอก
วันเกดิ และบอกสัญลกั ษณแ์ ทนอนั ดบั ในภาษาอังกฤษของวนั ทเ่ี กิด ครฟู งั คำ�ำตอบของนกั เรยี น 11 - 20 ไวด้ ้านหลัง (หรอื ใช้ต้นแบบสื่อ 10
และสังเกตว่าสัญลักษณ์บอกอันดับท่ีใดบ้างที่นักเรียนรู้แล้ว จากนั้นให้นักเรียนดูปฏิทินเดือน ทีเ่ ติมตวั เลข 1 - 10 กไ็ ด)้
มกราคม ครูกบั นกั เรยี นทง้ั ช้ันช่วยกนั เขียนสัญลกั ษณ์แทนอนั ดบั ที่ 1 - 31 บนกระดาน • ชดุ บัตรจากตน้ แบบสอื่ ภาษาไทย 12
(ติดกาวดนิ น้้� ำำมันหรือเทปกาวไว้ด้านหลงั )
ข้ันท่ี 2 สอนบทเรียน นักเรียนแต่ละคนจะตอ้ งใช้
• ดินสอสี
1. ครนู ำำ� แถบจำ�ำนวน (แนวต้ัง) มาตดิ แสดงบนกระดาน และถามวา่ “จำ�ำนวนน้อี ยู่ในตำำ� แหนง่ • หนงั สอื เรยี นหนา้ 30 - 31
ท่เี ท่าไหรบ่ นแถบจำ�ำนวน” ให้นกั เรียนหนงึ่ คนออกมาเขียน “1st” ข้าง ๆ แถบจำ�ำนวน
ครูนำ�ำอภิปรายลักษณะน้ีกับอนั ดบั ท่ี 4, 5 และ 6 โดยไมพ่ ดู ถึงอนั ดบั ทส่ี องและสาม จากนั้น หนงั สอื เรยี นหนา้ 30 - 31
ถามนักเรียนว่า “อันดับใดบา้ งที่หายไป” ครูใหน้ กั เรยี นหลายคนเสนอคำ�ำตอบท่เี ป็นไปได้
และออกมาเขียนสญั ลักษณแ์ ทนอนั ดบั ที่หายไปบนกระดาน จนครบถึงอนั ดับทีส่ บิ 1.12 จาํ นวน จับคูจ าํ นวนเชงิ อนั ดบั ทก่ี บั สญั ลกั ษณ
อุนเคร่อื ง บอกอันดบั การเขาเสนชัยของรถแขงในภาพ
2. ค รถู ามนกั เรยี นวา่ “ใครรบู้ า้ งวา่ อนั ดบั ทห่ี นงึ่ เขยี นเปน็ ภาษาองั กฤษไดอ้ ยา่ งไร” ครตู ดิ บตั รคำำ�
บอกอนั ดบั บนกระดาน และใหน้ กั เรยี นหนึ่งคนออกมาเลือกบัตร “first” แลว้ วางขา้ ง ๆ เสนชัยสำหรบั รถทีเ่ ขาเสน ชัยเปนอนั ดับที่ 2 ใหระบายสีเขยี ว
สญั ลกั ษณ์ 1st ทำ�ำกจิ กรรมนี้อีกจนกระทง่ั จบั ค่บู ตั รครบทุกใบ จากน้นั ครชู ี้สญั ลักษณ์ เสนชัยสําหรบั รถทเี่ ขา เสน ชัยเปนอนั ดับสดุ ทา ยใหระบายสีฟา
แทนอันดับ แล้วให้นักเรียนอ่านคำ�ำบอกอันดับท่ีครูชี้ สำหรับรถท่เี ขาเสนชัยเปน อันดับที่ 3 ใหระบายสเี หลือง
สาํ หรับรถทเ่ี ขาเสนชัยเปนอันดับแรกใหระบายสีแดง
3. ครูให้นกั เรียนสังเกตการอภปิ รายกิจกรรมอุน่ เครอ่ื งในหนังสือเรยี นหนา้ 30 และให้ รถที่เหลอื เขาเสน ชัยเปนอนั ดบั ทีเ่ ทา ใด นักเรียนทราบไดอ ยา งไร
นกั เรียนบอกอันดับการเขา้ เสน้ ชยั ของรถแขง่ ในภาพ ครอู ่านแตล่ ะคำำ� สงั่ ในหนงั สือเรียน
แล้วให้นักเรยี นระบายสรี ถท่ีเขา้ เสน้ ชัยเป็นอันดับทสี่ อง อันดบั สดุ ทา้ ย อนั ดับท่ีสาม ฝกทกั ษะ 1. ลากเสน จบั ครู ถและรบิ บน้ิ
และอนั ดับแรกโดยใชส้ ที แ่ี ตกต่างกัน ครสู ร้างความเขา้ ใจให้ตรงกนั วา่ รถทเี่ ข้าเส้นชัย
เปน็ อนั ดบั สดุ ทา้ ยน้ันเข้าเส้นชัยเปน็ อนั ดับท่ีส่ี ครูอา่ นคำ�ำสั่งในกจิ กรรมฝึกทกั ษะไป ท่ีสอง 1st ทส่ี ่ี
พร้อมกบั นกั เรียน ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ ตอ้ งทำำ� อะไร จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง 2nd ท่ีหา 3rd
4th
ข้ันที่ 3 สรปุ บทเรยี น ท่ีหนง่ึ 5th
ท่ีสาม
เมือ่ นกั เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเสรจ็ แล้ว ใหอ้ ภปิ รายคำำ� ตอบรว่ มกัน ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายวิธีคดิ ♦ 30 © ORIGO Education
หาคำำ� ตอบของคำ�ำถามประลองปญั ญา หนงั สือพฒั นาทักษะคณิตศาสตร ป.1
ฝกึ ทักษะ
นกั เรยี นแต่ละคนจะต้องใช้ 2. เครื่องบินลําแรกถูกระบายสีไวแลว ระบายสีเคร่ืองบินลําอ่ืน ๆ ที่เหลือตามคําสั่ง
• ชุดบัตรจากต้นแบบส่ือ 13b และต้นแบบสื่อภาษาไทย 13.1 ที่กําหนดให
• กรรไกร
กจิ กรรม (1) ระบายสเี ครื่องบินลําทส่ี ่ีเปน สีแดง
ให้นกั เรยี นแตล่ ะคนู่ ำำ� บัตรภาพมาวางเรยี งตามลำำ� ดับจาก “เหตุการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ เปน็ อันดับแรก” (2) ระบายสีเครื่องบนิ ลำที่ 7 เปน สีเขียว
ไปหา “เหตกุ ารณ์ทเี่ กิดข้ึนเปน็ อันดับสดุ ท้าย” จากน้ันนำำ� บตั รคำ�ำบอกอนั ดับมาวางใตบ้ ัตรภาพ (3) ระบายสีเครื่องบินลําสดุ ทา ยเปนสีสม
แตล่ ะใบใหถ้ กู ต้องตามอนั ดบั เหตุการณ์ จากนั้นใหน้ กั เรียนคนแรกในแตล่ ะคู่หลบั ตา นักเรยี น (4) ระบายสเี ครอ่ื งบนิ ลําทีห่ กเปน สีมว ง
อกี คนแอบหยบิ บัตร 2 ใบมาวางสลบั ตำ�ำแหน่งกนั จากนนั้ ให้นักเรียนคนแรกลมื ตาและหาวา่ (5) ระบายสีเครอ่ื งบนิ ลำที่ 3 เปนสีเหลือง
บัตรใดบา้ งทถี่ กู ยา้ ยตำ�ำแหนง่ (6) ระบายสีเคร่อื งบนิ ลําทแ่ี ปดเปนสีนา้ํ ตาล

ORIGO GO Math  • Grade 1 • 1.12 (7) เครือ่ งบินลําท่ีเทา ใดบา งทเ่ี ปน สีขาว

ที่สอง ท่ีหา

© ORIGO Education ประลองปญญา ในการแขง รถในแตล ะครง้ั ประเทศไทยตามหลงั ออสเตรเลยี อยู
สองตาํ แหนง เตมิ ตาํ แหนง ทหี่ ายไปลงในชอ งวา ง
ไทย ออสเตรเลยี ไทย ออสเตรเลีย ไทย ออสเตรเลยี

6th 4th 3rd 1st 4th 2nd

© ORIGO Education ไทย ออสเตรเลยี ไทย ออสเตรเลยี ไทย ออสเตรเลีย

5th 3rd 10th 8th 9th 7th

หนงั สือพฒั นาทักษะคณติ ศาสตร ป.1 แบบฝกหัด 1.12 31 ♦

33


Click to View FlipBook Version