The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by unchaleepohn.s, 2021-09-21 12:34:52

หน่วยที่ 3

หน่วยที่ 3

ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกบั สหกรณ์

สหกรณ์ การรวมตวั กนั ของกลมุ่ บุคคลที่มีจุดมงุ่ หมายอยา่ งเดยี วกัน ด้วยความสมคั รใจ รว่ มกัน
รบั ผิดชอบโดยยดึ หลกั ประชาธปิ ไตย มีการแบง่ ปันผลประโยชน์อย่างยุตธิ รรม

ลกั ษณะสำคญั ของสหกรณ์

เป็นธรุ กิจรูปแบบหน่ึง
เกิดข้นึ จากการรวมคนและรวมทุนด้วยความสมคั รใจ
มีวตั ถุประสงคใ์ นการดำเนนิ ธรุ กิจทแี่ นน่ อน

มีการจดทะเบยี นถูกตอ้ งตามกฎหมาย โดยมีฐานะเปน็ นิติบคุ คล

สมาชกิ ทุกคนมสี ิทธเิ สมอภาคเทา่ เทยี มกนั
สมาชิกทกุ คนมีสิทธเิ สมอภาคเท่าเทยี มกัน

ประวัติความเปน็ มาของสหกรณ์

• ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๘ - ๑๙ มีการปฏิวัติอตุ สาหกรรม โดยนำเครอ่ื งจักรมาใช้แทนแรงงานคน สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาภาวการณ์วา่ งงานและ
เศรษฐกิจตกต่ำในประเทศอังกฤษ

• โรเบริ ต์ โอเวน ซงึ่ ภายหลงั ได้รับการยกยอ่ งให้เป็นบิดาแหง่ การสหกรณ์ของโลก ไดเ้ สนอแนวคิดใหจ้ ัดต้งั ชมรมสหกรณข์ ้ึน
• พ.ศ. ๒๓๗๐ นายแพทยว์ ิลเลียมคงิ นำแนวคดิ สหกรณข์ องโอเวนไปจดั ตั้งสมาคมการค้า เพือ่ การจำหนา่ ยสินค้า ซง่ึ ถือเปน็ ตน้ แบบของ

สหกรณร์ ้านคา้ ในเวลาตอ่ มา
• พ.ศ. ๒๓๙๓ นายเฮอรม์ นั ชูลส์ ไดจ้ ัดตั้งสหกรณ์หาทนุ ข้ึนในหมูช่ า่ งฝมี ือและพอ่ คา้
• พ.ศ. ๒๔๐๕ นายฟรดิ กิ วลิ เอล์ม ได้จดั ตงั้ สหกรณ์หาทุนขึน้ ในหมเู่ กษตรกรชนบท เพอ่ื จัดหาทุนให้สมาชกิ กู้ยืม

โรเบริ ต์ โอเวน (Robert Owen)
ผูน้ ำแนวคดิ มาปฏิบัตเิ ป็นรปู ธรรมอย่างจริงจงั ภายหลังได้รับการยกย่อง
เป็นบดิ าแหง่ สหกรณ์ของโลก

หลกั การสำคัญของสหกรณ์

• เปิดรับสมาชกิ ทัว่ ไป
• สมาชิกคนหน่งึ ออกเสยี งลงคะแนนได้เสยี งเดียว
• มีการจ่ายเงนิ ปนั ผลตามส่วนแบ่งการซอ้ื ของสมาชกิ
• มีการจ่ายดอกเบย้ี ตามหนุ้ ในอัตราจำกดั
• เปน็ กลางในลทั ธิ ศาสนา และการเมือง
• ขายสินคา้ ตามราคาตลาด และขายด้วยเงนิ สด
• สง่ เสริมการศกึ ษาอบรมทางสหกรณ์

วิวฒั นาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย

พระราชวรวงศ์เธอกรมหมน่ื พิทยาลงกรณ์ พระบดิ าแห่งการสหกรณ์ไทย

• พ.ศ. ๒๔๕๗ ประเทศไทยเริ่มศึกษาวิธีการสหกรณ์
• พ.ศ. ๒๔๕๙ มีการจัดตั้งสหกรณ์ขน้ึ เป็นแห่งแรกของประเทศไทย
• พ.ศ. ๒๔๗๑ รัฐบาลได้ประกาศใช้ พ.ร.บ. สหกรณ์ ซงึ่ ถอื เปน็ กฎหมายสหกรณ์ฉบบั แรกของไทย
• พ.ศ. ๒๔๗๘ มีการจดั ตั้งสหกรณป์ ระเภทต่างๆ เพมิ่ เช่น สหกรณเ์ ชา่ ซ้อื ทด่ี นิ สหกรณค์ า้ ขาย สหกรณน์ คิ มฝ้าย
มีการจดั ต้ังสนั นิบาตสหกรณ์แหง่ ประเทศไทย
เปน็ ตน้
• พ.ศ. ๒๕๑๑

ประเภทของสหกรณใ์ นประเทศไทย

สหกรณก์ ารเกษตร

เปน็ สหกรณท์ ผ่ี ู้ประกอบอาชพี ทางการเกษตรรวมตวั จดั ตง้ั ขน้ึ มจี ุดมุ่งหมายเพ่อื ให้
สมาชกิ ดำเนนิ กิจการรว่ มกนั และชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกัน

สหกรณป์ ระมง

เปน็ สหกรณท์ ี่จัดต้ังข้ึนในหมชู่ าวประมง เพื่อแกไ้ ขปัญหาและ อุปสรรค
ในการประกอบอาชพี บทบาทหนา้ ท่ีของสหกรณ์ประมง

สหกรณน์ ิคม

เป็นสหกรณท์ ี่มกี ารดำเนินการจดั สรรที่ดินทำกินให้ราษฎรการ จัดสรา้ ง
ปัจจัยพน้ื ฐานและสงิ่ อำนวยความสะดวกให้ผู้ทีอ่ ยอู่ าศัยควบคไู่ ปกบั การ
ดำเนินการจดั หา สินเชอ่ื ปจั จัยการผลิต และสิง่ ของทจ่ี ำเป็น

สหกรณ์ร้านค้า

เปน็ สหกรณส์ ำหรบั ผู้บรโิ ภคทั่วไป มีวตั ถุประสงค์เพ่อื ลดค่าใชจ้ ่ายใน
ครอบครัว

สหกรณ์ออมทรพั ย์

เปน็ สหกรณ์สำหรับผทู้ ่มี รี ายได้ประจำโดยทวั่ ไปทตี่ ้องการพ่ึงตนเอง
ด้วยการออมทรัพยเ์ ป็นประจำและชว่ ยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ดว้ ยการให้
กู้ยืมเม่ือเกดิ ความจำเปน็

สหกรณ์การบรกิ าร

เปน็ สหกรณ์ทีจ่ ดั ต้งั ขนึ้ สำหรบั ผ้ทู ีต่ อ้ งการแกไ้ ขปญั หาการ ประกอบอาชพี

สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี น

เปน็ สหกรณท์ จี่ ดั ตงั้ ขึ้นไดใ้ นกลุ่มประชากรทกุ อาชีพ ซึง่ มีภูมิลำเนาหรอื
มีการประกอบอาชพี หลักทีม่ คี วามสัมพนั ธก์ ันและอย่ใู นเขตพนื้ ท่ดี ำเนนิ การของ
สหกรณ์ทีจ่ ดั ตง้ั ขน้ึ

การดำเนินการของสหกรณ์

กำหนดวตั ถปุ ระสงค์และนโยบาย
วางแผนการดำเนนิ งาน
จดั ตั้งและแบง่ สว่ นงานของสหกรณ์
รวบรวมทรพั ยากร
อำนวยความสะดวกแก่ผู้ปฏบิ ตั งิ าน
ตรวจตราดูแล

ปจั จยั ท่ที ำใหส้ หกรณป์ ระสบผลสำเร็จ

๑ สมาชิกเป็นผทู้ ม่ี คี วามรคู้ วามเข้าใจในระบบสหกรณ์
๒ คณะกรรมการดำเนินการจะตอ้ งปฏิบตั ิงานด้วยความซื่อสัตยส์ ุจรติ
๓ ผู้จดั การและเจา้ หน้าทต่ี ้องเปน็ ผ้ทู มี่ คี วามรู้ความสามารถ
๔ การสนบั สนนุ จากภาครฐั

ความสำคัญของสหกรณใ์ นการพฒั นาเศรษฐกจิ

ระบบสหกรณ์ในประเทศไทยมีความสำคัญ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยเฉพาะ
ต่อ ประชาชน เพราะสหกรณ์เป็นสถาบันทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่ช่วยแก้ไขปัญหาในการ
ประกอบอาชีพและช่วยยกระดับความเป็นอยู่
ของประชาชนให้ดยี ่ิงขน้ึ

เศรษฐกจิ ในชุมชนของไทย

ที่มาภาพ : http://www.thansettakij.com/2015/10/08/13174

ลักษณะท่ัวไปของชุมชนไทย สังคมเมอื ง

สงั คมชนบท

ประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น สว่ นใหญป่ ระกอบ
มวี ิถชี วี ิตเรียบง่าย อาชีพค้าขาย อตุ สาหกรรม บรกิ าร มีวถิ กี ารดำเนนิ
ชีวิตรีบเรง่ แข่งกบั เวลา

ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน

ปญั หาความยากจนและการเหลอื่ มล้ำทางรายได้

• ชุมชนไทยส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกรรม ซ่งึ มขี อ้ จำกัดใน
การประกอบอาชีพ

• เกษตรกรมักพ่งึ พาสารเคมีในการเพาะปลูกซ่งึ ตอ้ งลงทุนสงู
ก่อใหเ้ กดิ การสร้างหน้ีสิน

• ในภาคอุตสาหกรรม มีการจ้างงานและมรี ายได้ดีกว่าทำให้เกดิ
ความเหลอื่ มล้ำทางฐานะ

• มกี ารอพยพเดินทางเขา้ มาทำงานในสังคมเมอื ง
สังคมชนบทจงึ ขาดแคลนแรงงาน

ปัญหาการบรหิ ารจดั การชมุ ชนยงั ไมเ่ ขม้ แขง็

• องคก์ รในชมุ ชน ขาดทกั ษะในการดำเนินงานและการบรหิ ารจดั การเงิน
• หนว่ ยธุรกิจในชุมชนไมส่ ามารถรบั มือกบั ความผนั ผวนทางธุรกจิ ได้
• ในบางชุมชนไม่มกี ารจัดระบบองค์ความรูเ้ พือ่ นำมาใชป้ ระโยชน์
• มกี ารพงึ่ พาปจั จยั ภายนอกมาก ท้งั ดา้ นทนุ พลังงาน และเทคโนโลยี
• ชุมชนจำนวนมากขาดทกั ษะในการบริหารทุนและการจดั การเศรษฐกิจชมุ ชน
• ชมุ ชนจำนวนมากไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้และไม่มคี วามเขม้ แขง็ พอ

ปญั หาการการขาดแคลนวิทยาการสมัยใหม่

• มีการประกอบอาชีพแบบด้งั เดิม คอื ใชแ้ รงงานคนและพึง่ พา
ธรรมชาติเป็นหลกั

• เกษตรกรขาดแคลนความร้แู ละอุปกรณ์เครอ่ื งมอื ตา่ งๆ ทีเ่ ป็น
เทคโนโลยสี มยั ใหม่

• เกษตรกรไมส่ ามารถเขา้ ถงึ เทคโนโลยไี ด้ เพราะมีราคาสงู

ปัญหาการทางการศกึ ษา

• คนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ขาดโอกาสทางการศกึ ษา
• ขาดความรทู้ ่ีจะนำมาใช้พัฒนาอาชพี ของตน
• คนบางกลุ่มไมไ่ ด้นำความรูเ้ หล่าน้ันกลับมาพฒั นาชุมชนของตน
• ขาดแคลนแรงงานและบคุ ลากรทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถในการพฒั นาท้องถ่ิน

แนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน

๑ นำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ
๒ การรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วนในชมุ ชน
๓ บูรณาการการทำงานร่วมกนั ระหว่างทอ้ งถ่นิ กับชุมชน
๔ รวมกลมุ่ สรา้ งงาน สร้างอาชพี

โครงสร้างเศรษฐกิจไทย

โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ไทยกอ่ นการใชแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ

สนธสิ ัญญาเบาว์ริงมผี ลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทย
มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลติ และการค้าระหว่างประเทศ
ข้าวไดก้ ลายเปน็ สนิ ค้าสง่ ออกสำคัญท่ีสุดและเปน็ ผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก
ปจั จยั สำคัญท่ที ำใหก้ ารส่งออกขยายตวั อย่างรวดเร็ว ได้แก่ การพฒั นาระบบขนสง่ ภายในประเทศ
และระหวา่ งประเทศ การเพิ่มขน้ึ ของประชากรของประเทศต่างๆ ท่วั โลกและการยกเลกิ ระบบไพร่
และทาส
สง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ ไทยในการแบ่งงานกนั ทำ ระหวา่ งกลุ่มหรอื ชาตแิ ละเกิดชนชัน้ นายทุนและ
กรรมกร

โครงสรา้ งเศรษฐกิจไทยตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

ประเทศไทยไดพ้ ัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
เป็นแนวทางในการพฒั นาประเทศแล้ว ๑๐ แผน

ปจั จุบนั อยใู่ นช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗)
แผนพัฒนาแต่ละฉบับมีแนวคดิ วตั ถุประสงคแ์ ละแนวทางในการพฒั นาแตกต่างกนั

เพราะปัจจยั ในการทำแผนพฒั นาแตล่ ะยคุ สมยั เปลี่ยนแปลงไป

การพัฒนาเศรษฐกจิ ของไทย

สง่ ผลให้

เศรษฐกิจในประเทศดขี ึน้
มีการจา้ งงานเพิ่มมากขึ้น
มีธรุ กิจใหมๆ่
ประชาชนมรี ายได้มากขนึ้
วถิ ีการดำเนนิ ชีวิตมกี ารเปลี่ยนแปลงจากเดมิ

ความสำคญั ของการพัฒนาเศรษฐกิจ

ประชากรมคี วามเป็นอยแู่ ละมีสวัสดกิ ารทางเศรษฐกิจดขี ้ึน
สามารถควบคุมสภาวะแวดล้อมไดม้ ากยิง่ ขึน้
ทำใหป้ ระเทศสามารถช่วยเหลอื บุคคลผดู้ อ้ ยโอกาสได้มากขน้ึ
ทำให้ประชากรมีอสิ ระในการเลือกวถิ กี ารดำรงชวี ิตได้มากขึ้น
ทำให้เปน็ ประเทศมหาอำนาจ

ปัจจยั สำคัญของการพฒั นาเศรษฐกิจ

ปัจจัยที่ไม่เก่ียวขอ้ งกบั เศรษฐกจิ

ทด่ี นิ ทนุ แรงงาน
ความกา้ วหนา้ ทางวิทยาการ ตลาด

ปจั จัยท่ไี มเ่ ก่ียวข้องกบั เศรษฐกจิ

สถาบันครอบครวั โครงสร้างทางสังคม ระบบการเมือง การปกครอง
และกฎหมาย

เคร่อื งชี้วดั การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ

ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ

การพัฒนาเศรษฐกิจมีเปา้ หมายเพอื่ ใหเ้ ศรษฐกิจมีความเจริญเตบิ โตอยา่ งต่อเนอ่ื ง มกี ารปรับปรุงโครงสร้างทางสงั คมอยา่ ง
เหมาะสม เพือ่ ยกระดบั ความอยู่ดีกินดขี องประชาชน ดงั นั้น เครอ่ื งชว้ี ัดการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ จงึ ต้องใชก้ ารวดั ระดบั
ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ และวดั ความอย่ดู ีกนิ ดปี ระกอบกัน

แผนพฒั นาสงั คมและเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

ความสำคญั ของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ เป็นเครอ่ื งมือสำคัญทีจ่ ะชว่ ยพฒั นาประเทศไปสูค่ วามทันสมยั ได้อยา่ งรวดเรว็ และเปน็ ระบบ
ประเทศไทยเรมิ่ มกี ารใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาตฉิ บับที่ ๑ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๔ ในปัจจุบันประเทศไทยกำลงั อย่ใู นการใช้แผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บบั ที่ ๑๑

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม ฉบบั ที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๙)

นโยบายสำคญั
• สนับสนนุ การเพิม่ ปรมิ าณการผลติ ภายในประเทศ
• ส่งเสรมิ การผลิตดา้ นการเกษตรทั้งปรมิ าณและคณุ ภาพ

• สง่ เสรมิ การออมทรพั ยแ์ ละลงทุนในอุตสาหกรรมของ
เอกชน

• พัฒนากำลังคน
• สง่ เสรมิ สมรรถภาพของการทำงานและมาตรฐานของงาน
• พฒั นาสาธารณปู โภคพื้นฐาน

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๔)

นโยบายสำคัญ

• เพิม่ กำลงั การผลติ ของประเทศและรายไดป้ ระชาชาติ
• พัฒนากำลงั คน
• สนับสนุนความก้าวหน้าทางด้านวทิ ยาศาสตร์
• รักษาเสถยี รภาพการเงินการคลงั

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๙)

นโยบายสำคัญ

• เรง่ แก้ไขปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ
• แกป้ ัญหาดลุ การชำระเงนิ
• ยกระดบั รายได้ของประชากร
• ลดอตั ราการเพ่ิมของประชากร
• ยกระดบั การมีงานทำ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๔)

นโยบายสำคัญ

• เรง่ ฟ้ืนฟเู ศรษฐกจิ ของประเทศ
• ลดช่องว่างทางเศรษฐกจิ และสังคมให้นอ้ ยลง
• ลดอตั ราการเพมิ่ ประชากร
• ปรบั ปรงุ การบริหารทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อมของชาติ
• สนบั สนุนขดี ความสามารถในการปอ้ งกันประเทศ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๙)

นโยบายสำคัญ

• ฟนื้ ฟูภาวะเศรษฐกจิ และการเงนิ ของประเทศ
• ปรับโครงสรา้ ง เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพทางเศรษฐกจิ
• พัฒนาและกระจายบรกิ ารทางสังคม
• แกป้ ญั หาความยากจนในชนบท

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๔)

นโยบายสำคญั

• พัฒนาสหกรณใ์ ห้มีความเข้มแขง็
• ปรบั ปรงุ การผลติ และการตลาดของสหกรณ์
• ส่งเสรมิ สหกรณใ์ ห้มอี งคก์ รชนั้ สูง
• ส่งเสรมิ การจัดต้งั สหกรณใ์ หม่

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ - ๒๕๓๙)

นโยบายสำคัญ

• รักษาอตั ราขยายตวั ทางเศรษฐกิจ
• การกระจายรายได้สู่ชนบท
• พฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๔)

นโยบายสำคญั

• เสริมสร้างศกั ยภาพของคน
• พฒั นาสิ่งแวดลอ้ มของสงั คม
• พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้มีเสถียรภาพ
• ปรบั ระบบบริหารจัดการ

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙)

นโยบายสำคญั

• สร้างความเขม้ แขง็ ของชุมชน
• พัฒนาเมอื งน่าอยู่ ชมุ ชนนา่ อยู่
• พฒั นาความเชอ่ื มโยงชนบทและเมอื งอยา่ งเก้อื กลู

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔)

นโยบายสำคญั

• พัฒนาคนใหม้ ีคุณภาพ คุณธรรม
• เสริมสรา้ งเศรษฐกิจให้มเี สถยี รภาพและเป็นธรรม
• สร้างความม่นั คงทางทรพั ยากรและสง่ิ แวดล้อม
• พฒั นาระบบบริหารจัดการประเทศใหเ้ กดิ ธรรมาภบิ าล

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙)

นโยบายสำคัญ

• พัฒนาคนส่สู ังคมแห่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อย่างย่งั ยนื
• สรา้ งความเขม้ แขง็ ภาคเกษตร รวมถึงความมนั่ คง

ของอาหารและพลังงาน
• ปรบั โครงสร้างเศรษฐกิจให้เติบโตอยา่ งมคี ุณภาพและ

ยง่ั ยนื
• สร้างความเชอ่ื มโยงกับประเทศในภมู ภิ าคเพื่อความ

มน่ั คงทางเศรษฐกจิ และสังคม

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)

นโยบายสำคัญ

• ผลักดนั ใหป) ระเทศไทยมีความ เชือ่ มโยงกับประเทศต@าง ๆ ให)เกดิ ผล
ทางการพัฒนา

• ให)มกี ารกระจายความเจริญ ไปสู@ภมู ภิ าค
• ให)การบรหิ ารราชการแผ@นดิน มีประสทิ ธิภาพ โปรง@ ใส ทันสมัย
• วางรากฐานให)คนไทย เปMนคนทส่ี มบรูณO
• ใหค) นไทยมคี วามม่นั คงทาง เศรษฐกจิ และสังคม
• ใหเ) ศรษฐกจิ เขม) แข็ง แข@งขันได) มีเสถยี รภาพ และมคี วามยั่งยืน
• รกั ษาและฟนVU ฟู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ คุณภาพสงิ่ แวดลอ) ม

ความสำคัญของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทมี่ ตี ่อสังคมและเศรษฐกจิ ของไทย

การพัฒนาคนและสังคมไทยส่สู ังคมคณุ ภาพ

การสร้างภูมคิ มุ้ กนั

ระดับสังคม ระดบั ชมุ ชน ระดับสังคม ประเทศชาติ

สามารถจดั การกับความเสย่ี งและปรับตัวเขา้ กบั การเปลย่ี นแปลง ในขณะเดยี วกันก็ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนา
เศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งของประเทศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และมงุ่ พฒั นาทรพั ยากรบุคคล อันมีแนวทางสำคญั ได้แก่

การสร้างความเปน็ ธรรมในสังคม

การพัฒนาคนสสู่ งั คมแห่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ

การปรบั โครงสร้างทางเศรษฐกจิ สทู่ ิศทางการเตบิ โตอย่างมีคณุ ภาพและยงั่ ยืน

เนน้ การพัฒนาเศรษฐกิจใหเ้ ขม้ แข็ง
ลดการพ่ึงพาปัจจยั ภายนอก

แนวทางการปรับโครงสรา้ งทางเศรษฐกิจเพอ่ื การเตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพและยั่งยืน

๑ การสร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร

๒ การปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกจิ

๓ การสร้างความเช่ือมโยงกับประเทศในภูมภิ าค

การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มอย่างย่ังยนื

มงุ่ รักษาสมดุลของ ระบบนเิ วศ การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน การพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม
ที่เป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม

การสร้างภูมิคมุ้ กันดา้ นการค้า เพ่ิมบทบาทของ ประเทศไทย
จากเงือ่ นไขดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ให้เปน็ ทยี่ อมรับในเวที
ประชาคมโลก

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

เศรษฐกิจพอเพียง

๑ เศรษฐกิจพอเพยี งสำหรบั ประชาชนท่ัวไป

๑. ยดึ หลักความประหยดั ตดั ทอนคา่ ใชจ้ ่ายในทุกด้านและลดความฟมุ่ เฟอื ยในการดำรงชพี อยา่ งจรงิ จงั
๒. ประกอบอาชพี ด้วยความสจุ รติ และความถูกตอ้ ง แมจ้ ะเผชญิ กบั ภาวะขาดแคลนในการดำรงชีพก็ตาม
๓. ลดละการแก่งแยง่ ผลประโยชนแ์ ละการแขง่ ขนั ทางการค้าขาย ตลอดจนการประกอบอาชีพที่มีการแขง่ ขนั

อยา่ งรุนแรง
๔. มคี วามขยัน ใฝ่หาความร้เู พอื่ เพิ่มพนู ประสบการณแ์ ละนำมาพัฒนางานหรอื ประกอบอาชีพเสริมเพอ่ื ให้มรี ายได้

เพมิ่ ข้นึ จนถึงข้ันพอเพยี งในการดำรงชีวิตเป็นเปา้ หมายสำคัญ

๒ เศรษฐกจิ พอเพยี งสำหรบั เกษตรกร
ต้งั อย่บู นพ้นื ฐานหลักการทฤษฎีใหม่ ๓ ขน้ั ดงั นี้

ขัน้ ทห่ี นง่ึ
ผลิตอาหารเพื่อบรโิ ภค ท่ีเหลือจึงเอาไว้ขาย

ข้นั ทีส่ อง
รวมตัวกันในรปู ของกลม่ ุ หรอื สหกรณเ์ พื่อการผลติ จำหนา่ ย ให้ความรู้ สง่ เสรมิ สวัสดิการเงินกู้ การดแู ลสขุ ภาพ
รูปแบบของการรวมกลมุ่

ขน้ั ที่สาม
ความร่วมมือของกลุ่มหรอื สหกรณใ์ นชมุ ชนกับองคก์ รหรอื ภาคเอกชนภายนอก โดยให้กลุม่ หรือสหกรณ์ ในชมุ ชน
ติดต่อประสานงานกบั องคก์ รหรือภาคเอกชนหรอื แหลง่ เงนิ

เกษตรทฤษฎใี หม่

https://www.youtube.com/watch?v=rJedTtbt4Uo

๓ เศรษฐกิจพอเพียงสำหรับภาคอตุ สาหกรรม การค้าและบรกิ าร ๔. พัฒนาศกั ยภาพองคก์ ร
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในภาคอตุ สาหกรรม

๑. เปน็ ผูม้ องการณไ์ กล

๒. ทำกำไรอย่างเหมาะสม ๕. ทำธุรกิจตามกำลงั
๓. ติดตามขา่ วสาร ๖. ยึดหลักคณุ ธรรม


Click to View FlipBook Version