The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงาน สรัญญา ชวนจิตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สรัญญา ชวนจิตร, 2022-05-03 14:23:14

พยัญชนะในภาษาไทย

โครงงาน สรัญญา ชวนจิตร

พยัญชนะ

ในภาษาไทย

คำนำ

ในปัจจุบันระบบสารสนเทศมีความสำคัญและความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการ
ดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานรัฐบาลหรือเอกชนเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามามีบทบาทที่สำคัญมากในทุกธุรกิจ ตั้งแต่ธุรกิจขนาดเล็กจนไปถึงธุรกิจ
ขนาดใหญ่ ล้วนได้มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการดำเนินธุรกิจทั้งสิ้น
เช่น การค้าขาย การธนาคาร การขนส่ง การคมนาคม การบริการ ออฟฟิศอัติโนมัติ
เป็นต้น และระบบสารสนเทศมีบทบาทสำคัญต่อมนุษย์มากขึ้นทุกวัน นักเรียนนักศึกา
ต้องใช้สารสนเทศเพื่อศึกษาค้นคว้ารวมถึงนักวิชาการต้องใช้สารสนเทศเพื่อพัฒนา
ความรู้และนวัตกรรมที่มีประโยชน์ในอนาคต และไม่ว่าจะเป็นบุคลากรหรือบุคคลทั่วไปก็
ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกันไม่มากก็น้อย ซึ่งในปัจจุบันสารสนเทศมีคว่มซับซ้อนและ
หลายรูปแบบเป็นผลมาจากการพัฒนาของเทคโนโยสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อ
เนื่อง การเข้าถึงสารสนเทศจึงต้องมีความรู้และทักษะเฉพาะด้านมากยิ่งขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศในหนังสือออนไลน์(e-book)ผู้จัดทำ จัดทำขึ้นเพื่อเป็น
ส่วนหนึ่งของการศึกษาเรื่องต่างๆของเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น นิยามเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาการเทคโนลโย
สารสนเทศ ประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศ ความก้าวหน้าเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น เพื่อให้นักศึษาและผู้ที่สนใจศึกษา

ค้นคว้ามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสารสนเทศมากยึ่งขึ้น



เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสำคัญและจำเป็นอย่างมากในชีวิตประจำวันใน
ปัจจุบันนี้ ผู้จัดจึงได้รวบรวมข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลที่

เกี่ยวข้องต่างๆของเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น อินเตอร์เน็ต เอกสาร เพื่อหวังว่า
เทคโนโลยีสารสนเทศในหนังสือออนไลน์ (e-book) จะเป็นแหล่งความรู้สำหรับที่ผู้สนใจ

ไม่มากก็น้อย

สารบัญ
หน้า

ส่วนประกอบของพยัญชนะภาษาไทย 1

พยัญชนะของภาษาไทย มีกี่รูป กี่เสียง 2

เสียงในภาษาไทย 3

สระS t r e n g t h s a n d W e a k n e s s e s o f t h e B o o k : 4

แบบทดสอบ 8
9
Assessment and Recommendations:

เฉลย

Bibliography:

ส่วนประกอบของ
พยัญชนะภาษาไทย

พยัญชนะไทยมีทั้งหมด 44 รูป 21 เสียง ที่เป็นเช่นนั้น

เหตุเป็นเพราะมีพยัญชนะบางตัวที่รูปต่างกันแต่อ่าน
ออกเสียงคล้ายกันหรือเหมือนกัน จึงนับเป็น 1 เสียง
เช่น เสียง ซ จะมีรูปเสียงที่คล้ายกันกับพยัญชนะ ส ศ ษ
หรือเสียง ห จะมีรูปเสียงที่คล้ายกันกับพยัญชนะ ฮ
เป็นต้น ซึ่งในภาษาไทยได้มีการเรียบเรียงลำดับของ
พยัญชนะโดยเริ่มต้นจาก กอไก่ เป็นพยัญชนะตัวที่ 1
และ ฮอนกฮูก เป็นพยัญชนะตัวที่ 44 นั่นเอง

อักษรไทย คือ เครื่องหมายที่ใช้แทนเสียงในภาษา
ไทย
รูปพยัญชนะ คือ ใช้เขียนแทนเสียงพยัญชนะไทย

พยัญชนะไทย
มีกี่รูปกี่เสียง

พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป 21 เสียง
เสียงพยัญชนะ คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้ว
ถูกสกัดกั้นโดยอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งทำให้
เสียงต่างกันออกไปตามอวัยวะที่มาสกัดกั้น




เสียงใน พยัญชนะไทย มีทั้งหมด 44 รูป 21
เสียง

พยัญชนะไทย
มีกี่รูปกี่เสียง

44 รูป – 21 เสียง
ก ก
ออกเสียง ค
ขฃคฅฆ ง
ง ออกเสียงคล้าย จ
จ รูป ช

ชฌฉ ออกเสียง
ซศษส ด
ออกเสียง
ดฎ ต
ออกเสียง
ตฏ ท
ออกเสียงคล้าย
ทธฑฒถฐ รูป น

นณ ออกเสียงคล้าย
บ รูป

ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียง

พยัญชนะไทย
มีกี่รูปกี่เสียง

ป ออกเสียง ป
พภผ พ
ออกเสียงคล้าย
ฟฝ รูป ฟ
ม ม
ร ออกเสียงคล้าย ร
ยญ รูป ย

ลฬ ออกเสียง ล
ว ว
ฮห ออกเสียง ฮ
อ อ
ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียง

ออกเสียงคล้าย
รูป

ออกเสียง

เสียงในภาษาไทย



เสียงในภาษา หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออก
มาเพื่อสื่อความหมายระหว่างกัน ซึ่งการที่เสียง
ในภาษาจะเกิดขึ้นได้นั้น ก็ต้องอาศัยอวัยวะต่าง
ๆ ที่ทำให้เกิดเสียง สำหรับอวัยวะที่ทำให้เกิด
เสียง ได้แก่ ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก ฟัน ลิ้น เพดาน
ปาก ลิ้นไก่ กล่องเสียง หลอดลม และปอด

สระ


รูปสระ คือ ใช้เขียนแทนเสียงสระมีทั้งหมด 21 รูป 32 เสียง
รูปสระ เรียกว่า

-ะ วิสรรชนีย์

_ั ไม้หันอากาศ

_็ ไม้ไต่คู้

_ิ พินท์ุอิ

_่ ฝนทอง

๐ นิคหิตหรือหยาดน้ำค้าง

“ ฟันหนู

-ุ ตีนเหยียด

-ู ตีนคู้

เ- ไม้หน้า

ใ- ไม้ม้วน

ไ- ไม้มลาย

โ- ไม้โอ

อ ตัวออ

ย ตัวยอ

ว ตัววอ

ฤ ตัวรึ

ฤๅ ตัวรือ

ฦ ตัวลึ

ฦๅ ตัวลือ

า ลากข้าง



รูปวรรณยุกต์

รูปวรรณยุกต์ คือ ใช้เขียนแทนเสียงวรรณยุกต์
มีทั้งหมด 4 รูป 5 เสียง
ดังนี้
เสียงสามัญ ไม่มีรูป เช่นคำว่า ปา

เสียงเอก เรียกว่า ไม้เอก เช่นคำว่า ป่า

เสียงโท เรียกว่า ไม้โท เช่นคำว่า ป้า

เสียงตรี เรียกว่า ไม้ตรี เช่นคำว่า ป๊า

เสียงจัตวา เรียกว่า ไม้จัตวา เช่นคำว่า ป๋า

และการแบ่งพยัญชนะไทยทั้ง 44 ตัว สามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
หรือที่เราเรียกอีกอย่างนึงว่า ‘อักษร 3 หมู่’ ประกอบไปด้วย อักษรสูง
,อักษรกลาง และอักษรต่ำ ซึ่งการแบ่งหมวดหมู่เช่นนี้เป็นการจำแนก
กลุ่มตัวอักษรสำหรับการใช้เพื่อผันคำ เพราะอักษรในแต่ละหมวดหมู่มี
วิธีการผันคำที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้

อักษรกลางมีกี่ตัว มี 9 ตัว

อักษรสูงมีกี่ตัว มี 11 ตัว

อักษรต่ํามีกี่ตัว มี 24 ตัว

อักษรสูง มีทั้งหมด 11 ตัว ประกอบด้วย ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
วิธีท่องจำสำหรับอักษรสูง : ผี(ผ) ฝาก(ฝ) ถุง(ฐ ถ) ข้าว(ฃ ข) สาร(ศ ษ ส)
ให้(ห) ฉัน(ฉ)
ยกตัวอย่างคำเช่น ไข่ ,ฃ(ขวด) ,ฉิ่ง ,ฐาน ,ถุง ,ผึ้ง ,ฝา ,เศรษฐี ,สาป ,หาย
เป็นต้น

กลาง มีทั้งหมด 9 ตัว ประกอบด้วย ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ
วิธีท่องจำสำหรับอักษรกลาง : ไก่(ก) จิก(จ) เด็ก(ฎ) ตาย(ฏ) เด็ก(ด) ตาย(ต)
บน(บ) ปาก(ป) โอ่ง(อ)
ยกตัวอย่างคำเช่น ก่อ ,จำ ,ดุ ,ตาม ,บิน ,ไป ,อาบ เป็นต้น

อักษรต่ำ มีทั้งหมด 24 ตัว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ อักษรต่ำคู่และ
อักษรต่ำเดี่ยว

อักษรต่ำคู่ มีทั้งหมด 14 ตัว ประกอบด้วย ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ
วิธีท่องจำสำหรับอักษรต่ำคู่ : พ่อ(พ ภ) ค้า(ค ฅ) ฟัน(ฟ) ทอง(ฒ ฑ ท ธ) ซื้อ(ซ)
ช้าง(ช) ฮ่อ(ฮ)
ยกตัวอย่างคำเช่น คัน ,ชัก ,พาน ,ภูมิ ,ธง เป็นต้น

อักษรต่ำเดี่ยว มีทั้งหมด 10 ตัว ประกอบด้วย ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ
วิธีท่องจำสำหรับอักษรต่ำเดี่ยว : งู(ง) ใหญ่(ญ) นอน(น) อยู่(ย) ณ(ณ) ริม(ร)
วัด(ว) โม(ม) ฬี(ฬ) โลก(ล)
ยกตัวอย่างคำเช่น งมงาย ,นา ,มา ,รัก ,ยักษ์ ,ลาน ,วัน เป็นต้น

การจำแนกรูปและเสียงของพยัญชนะไทยที่มี 44 ตัว 21 เสียง

เสียงในภาษาไทยจะประกอบไปด้วย 3 ชนิด คือ เสียงสระหรือเสียงแท้ ,เสียงพยัญชนะ
หรือเสียงแปร และเสียงวรรณยุกต์หรือเสียงดนตรี ซึ่งเราจะเจาะลึกถึงเสียงพยัญชนะที่มี
44 ตัว แต่มี 21 เสียง

เสียงพยัญชนะหรือเสียงแปร เป็นเสียงที่เปล่งออกจากลำคอและกระทบส่วนใดส่วนหนึ่ง
ในปาก สาเหตุที่มีเพียง 21 เสียง เป็นเพราะมีพยัญชนะบางตัวที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน
หรือคล้ายกัน ดังนี้

รูป ค ออกเสียงคล้ายรูป ข ฃ ค ฅ ฆ
รูป ช ออกเสียงคล้ายรูป ช ฌ ฉ
รูป ซ ออกเสียงคล้ายรูป ซ ศ ษ ส
รูป ด ออกเสียงคล้ายรูป ด ฎ
รูป ต ออกเสียงคล้ายรูป ต ฏ
รูป ท ออกเสียงคล้ายรูป ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ
รูป น ออกเสียงคล้ายรูป น ณ
รูป พ ออกเสียงคล้ายรูป พ ภ ผ
รูป ฟ ออกเสียงคล้ายรูป ฟ ฝ
รูป ย ออกเสียงคล้ายรูป ย ญ
รูป ล ออกเสียงคล้ายรูป ล ฬ
รูป ฮ ออกเสียงคล้ายรูป ฮ ห

เห็นได้ชัดว่าภาษาไทยของเรายิ่งศึกษายิ่งรู้สึกลึกซึ้ง และตระหนักว่ากว่าจะมาเป็นภาษา
ให้เราได้ใช้ในปัจจุบันล้วนมีการสร้าง แก้ไข กลั่นกรอง จนมาเป็นภาษาไทยที่สวยงามอย่าง
วันนี้ อยากให้ทุกคนหันกลับมาใช้ภาษาให้ถูกต้อง ละเว้นการใช้ภาษาวิบัติ เพื่ออนุรักษ์และ
ส่งต่อความสวยงามของภาษาไทยนี้ให้กับคนรุ่นหลังต่อไป

พยัญชนะไทย ไตรยางค์ 3 หมู่ หรือไตรยางค์ ได้แก่
แบ่งออกเป็นอักษร 3 หมู่ หรือไตรยางค์ ได้แก่
1. อักษรสูง มี 11 ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
2. อักษรกลาง มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ด ต บ ป อ ฎ ฏ
3. อักษรต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น
พฟภมยรลวฬฮ

พยัญชนะไทย แบ่งออกเป็นกลุ่มกี่กลุ่ม และมีกี่เสียง ตาม
จำนวนเสียง
มีเสียง 21 เสียง เราอาจแยกพยัญชนะ 44 รูป ออกเป็น 21
กลุ่มตามจำนวนเสียง

๑. ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะทั้ง ๒๑ เสียง สามารถอยู่ต้นพยางค์ หรือ ต้นคำ
ได้ทั้งหมด

พยัญชนะต้นแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภทคือ
๑.๑ พยัญชนะต้นตัวเดียว ( พยัญชนะต้นเดี่ยว ) หมายถึง พยางค์หรือคำที่มีพยัญชนะ

ต้นเพียงตัวเดียว เช่น ก้อย รัก โดม มาก จะมี ก , ร , ด , ม, เป็นพยัญชนะต้น
๑.๒ พยัญชนะต้นสองตัว ( พยัญชนะต้นคู่ ) หมายถึงพยางค์หรือคำที่มีพยัญชนะ ต้น

๒ ตัว แบ่งเป็น
๑.๒.๑ อักษรควบ หมายถึงพยางค์หรือคำ ที่มีพยัญชนะ ๒ ตัวควบกัน ( ตัวที่มา

ควบได้แก่ ร , ล , ว ) แบ่งเป็น
- อักษรควบแท้ คือ พยางค์ หรือ คำ ที่มีพยัญชนะ ๒ ตัวเป็นพยัญชนะต้น ตัว

หลังเป็น เป็น ร , ล หรือ ว ประสมด้วยสระเดียวกันอ่านออกเสียง พร้อมกันทั้ง ๒ ตัว เช่น ครู
กวาด พริก ขวักไขว่ ครื้นเครง ปลุกปลอบ ควาย ขวิด กวาง ฯลฯ

- อักษรควบไม่แท้ คือ พยางค์ หรือ คำ ที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว ตัวหลัง เป็น ร
ประสมสระเดียวกัน แต่ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัวเดียว หรือ ออกเสียงเป็นเสียง
พยัญชนะตัวอื่น เช่น

ออกเสียงตัวเดียว ได้แก่ จริง ( จิง ) เศร้า ( เส้า ) สร้อย ( ส้อย ) ฯลฯ
ออกเสียงเป็นเสียงอื่น ได้แก่ ทราบ ( ซาบ ) ไทร ( ไซ )
ทรุดโทรม (ซุดโซม ) อินทรีย์ ( อินซี )
๑.๒.๒. อักษรนำ – อักษรตาม หมายถึง คำ ที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตัว ประสมด้วย
สระเดียวกัน แต่ อ่านออกเสียงเป็น ๒ พยางค์ พยางค์หน้า หรือ อักษรนำ ออกเสียงสระ อะ กึ่ง
มาตรา พยางค์หลัง หรือ อักษรตาม ออกเสียงตาม สระที่ประสมอยู่ เช่น
สนุก ( สะ – หนุก ) ขนม ( ขะ – หนม ) ไฉน ( ฉะ – ไหน )
ตลาด ( ตะ – หลาด ) จรัส (จะ-หรัด)
ข้อสังเกต อักษรนำ – อักษรตามที่มีอักษรสูง ( ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ) หรืออักษรกลาง
( ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ) นำอักษรต่ำเดี่ยว ( ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ ) จะอ่านออกเสียงพยางค์ที่
๒ เหมือนมี ห นำ ข้อยกเว้น
๑. อ นำ ย เช่น อย่า อยู่ อย่าง อยาก
๒. ห นำ ย ญ เช่น หย่า ใหญ่ หญ้า
๓. ห นำ ร ล ว เช่น หรูหรา หลาย แหวน ให้อ่านออกเสียงพยางค์เดียว

๒. ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะท้ายพยางค์ ( ตัวสะกด ) พยัญชนะ ๔๔ รูป ใช้เป็นตัวสะกดได้
เป็นส่วนมาก ( ที่ไม่ใช้เป็นตัวสะกดได้แก่ ฉ ฌ ผ ฝ ห อ ฮ ) ที่ทำหน้าที่เป็นตัวสะกด มี ๘
มาตราหรือ ๘ แม่คือ

๑. เสียง ง หรือ แม่กง ใช้ ง เป็น ตัวสะกด เช่น จริง ซุง คลอง
๒. เสียง ม หรือ แม่กม ใช้ ม เป็นตัวสะกด เช่น ชม คลุม โดม
๓. เสียง ย หรือ แม่เกย ใช้ ย เป็นตัวสะดก เช่น สวย เลย กาย
๔. เสียง ว หรือ แม่เกอว ใช้ ว เป็นตัวสะกด เช่น หิว ขาว เขย
๕. เสียง ก หรือ แม่ กก ใช้ ก กร ข ค คร ฆ เป็นตัวสะกด เช่น ปาก จักร เลข
๖. เสียง บ หรือ แม่ กบ ใช้ บ ป ปร ฟ พ ภ เป็นตัวสะกด เช่น เก็บ กราฟ โลภ ภพ
๗. เสียง ด หรือ แม่กด ใช้ ด จ ช ชร ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ฒิ ต ตร ตุ ติ ถ ท ทร ธ ธิ ศ ศร
ษ ส เช่น โดด เพชร วุฒิ ครุฑ กบฎ
๘. เสียง น หรือ แม่กน ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ เช่น กิน หาญ นคร กาฬ
ข้อสังเกต พยัญชนะที่ประสมด้วยสระแล้วไม่มีตัวสะกด เช่น ปลา ไป ที่ สระ น้ำ คำ
เหล่านี้ เรียกว่า แม่ ก.กา
๓. ทำหน้าที่เป็นตัวการันต์ ตัวการันต์ คือพยัญชนะท้ายพยางค์ที่มีเครื่องหมาย
ทัณฑฆาต กำกับ ไม่ต้องอ่านออกเสียง เช่น บัลลังก์ จันทร์ สิทธิ์ พันธ์ พระลักษณ์ ฯลฯ

เสียงพยัญชนะ

ลักษณะและหน้าที่ของเสียงแปร หรือเสียงพยัญชนะ
ลักษณะของและหน้าที่ของเสียงแปร หรือ เสียงพยัญชนะ มีดังนี้

๑. เป็นเสียงที่เกิดจากลมบริเวณเส้นเสียงผ่านออกมาทางช่องว่าง
ระหว่างเส้นเสียง แล้วกระทบกับอวัยวะต่างๆ ในช่องปากที่เรียกว่า "ฐานกรณ์"
เช่น ริมฝีปากกับฟัน ฟันกับปุ่มเหงือก เป็นต้น

๒. มีทั้งเสียงก้องและเสียงไม่ก้อง
๓. พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลำพังได้ต้องอาศัยเสียงสระช่วย
จึงจะสามารถออกเสียงได้ เช่น ใช้สระออช่วยออกเสียง ได้แก่ กอ ขอ คอ งอ
เป็นต้น
๔. เสียงพยัญชนะสามารถปรากฎที่ต้นคำ โดยนำหน้าเสียงสระเรียกว่า
"พยัญชนะต้น" และ ปรากฎหลังคำ โดยอยู่หลังเสียงสระเรียกว่า "พยัญชนะ
สะกด" หรือ "พยัญชนะท้าย"

พยัญชนะไทยแบ่งตามที่มา มี ๓ ชนิดคือ
๑. พยัญชนะกลาง คือ พยัญชนะที่ใช้ได้ทั้งในภาษาไทย บาลี และ

สันสกฤต มี ๒๑ ตัว ได้แก่ ก ข ค ง จ ฉ ช ต ถ ท น ป ผ พ ม ย ร ล ว ส ห
๒. พยัญชนะเดิม คือ พยัญชนะที่ใช้เฉพาะในภาษาบาลี และสันสกฤต มี

๑๓ ตัว ได้แก่ ฆ ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ
๓. พยัญชนะเติม คือ พยัญชนะที่คนไทยคิดเพิ่มเติมขึ้นมาใช้ มี ๑๐ ตัว

ได้แก่ ฃ ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ อ ฮ

แบบทดสอบก่อนเรียน

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำข้อเดียว

๑. รูปสระในภาษาไทยมีกี่รูป ๖. เสียงสระในคำใดประกอบด้วยรูปสระ
ก. ๒๕ รูป มากที่สุด
ข. ๒๑ รูป ก. เรือ
ค. ๓๒ รูป ข. ผัวะ
ง. ๔๔ รูป ค. แป้ ง
ง. เผียะ
๒. คำ วำ่ “เปี๊ยะ” ประกอบด้วยสระกี่รูป
ก. ๒ รูป ๗. คำ ในข้อใดมีรูปสระอยู่ นำและเหนือ
ข. ๓ รูป พยัญชนะต้น
ค. ๔ รูป ก. รุก
ง. ๕ รูป ข. เร้ำ
ค. เล็ก
๓. รูป สระ มีชื่อเรียกวำอะไร ง. เดือน
ก. น คห ต
ข. พ นทุอ ๘. รูปสระตัวใดใช้เป็นพยัญชนะได้ด้วย
ค. ฝนทอง ก. อ ย ล
ง. ว สรรชนีย์ ข. อ ว ย
ค. ร ล ว
๔. ค ำในข้อใดประกอบด้วยรูปสระ ๓ รูป ง. ฤ ร อ
ก. นะ
ข. ร่วง ๙. ข้อใดคือกลุ่มพยัญชนะที่มีเสียงเดียวกัน
ค. แล้ว ก. ข ฃ ค ต
ง. เงำะ ข. ท ธ ฒ ฎ
ค. ซ ศ ส ษ
๕. “เพลีย” ประกอบด้วยรูปสระอะไรบ้าง ง. ด ต ฒ ฏ
ก. ไม้หน้ำ พ นทุอ ตัวยอ
ข. ไม้หน้ำ พ นทุอ ฟันหนู ๑๐. “เปรมปรีด์ ” พยัญชนะที่ขีดเส้นใต้ทำ หน้าที่
ค. ไม้หน้ำ ฝนทอง พ นทุอ อะไร
ง. ไม้หน้ำ ฝนทอง พ นทุอ ตัวยอ ก. อักษรนำ
ข. ตัวสะกด
ค. อักษรควบ
ง. พยัญชนะต้น

เฉลย


Click to View FlipBook Version