รายงาน
เรื่อง การเพาะเลยี้ งปลาหมอไทย
เสนอ
คุณครู อาวธุ จมุ ปา
จัดทาโดย
นางสาว ฐติ พิ ักตร์ ไชยศรี
เลขที่ 1 รหสั ประจาตัว 643060010001
ระดับช้นั ปวส.1/5สาขาวิชา เพาะเลีย้ งสัตว์น้า
รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การจัการอาชพี
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา
คานา
รายงานฉบบั น้เี ป็นเรอื่ งเก่ยี วกบั การเลี้ยงปลาหมอไทยซึ่งเป็นเน้ือหาต่าง ๆ ท่ีจะให้ความรู้กับ
ผู้ท่ีต้องการศึกษา ประกอบด้วย แหล่งท่ีอยู่อาศัย ลักษณะภายนอก การเลือกสถานที่ การเตรียมบ่อ
เล้ียง การปล่อยปลาลงเล้ียง อาหารแล้วการให้อาหาร การเปล่ียนถ่ายน้า ระยะเวลาเล้ียงและการจับ
การปอ้ งกันและกาจดั โรค วิธปี ฏบิ ตั ิและข้อควรระวังในการใชย้ าและสารเคมี ข้อควรระวังในการใชย้ า
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานฉบับน้ีคงจะเป็นประโยชน์กับผู้ท่ีสนใจที่ต้องการจะศึกษา
ไม่มากกน็ อ้ ย
สารบญั หน้า
1
การเพาะปลาหมอไทย 2
รปู ร่างลักษณะภายนอก 3
การเลือกสถานที่ 4
การเตรยี มบ่อเล้ยี ง 5
การปลอ่ ยปลาลงเลีย้ ง 6
อาหารและการให้อาหาร 7
การเปล่ยี นถา่ ยน้า 8
ระยะเวลาการเลยี้ งและการจับ 9
การปอ้ งกนั และกาจดั โรค 10
ขอ้ ควรระวังในการใชย้ า
1
การเพาะเลยี้ งปลาหมอไทย
คานา
ปลาหมอไทย (Climbing perch) มีชื่อวทิ ยาศาสตร์ว่า Anabas testudineus (Bloch) เป็น
ปลาที่รูจักและนิยมบริโภคกันอย่างแพร่ หลายท่ัวทุกภาคของประเทศไทย เน่ืองจากเป็นปลาท่ีมี
รสชาติดีเป็นท่ีต้องการของตลาดท้ังภายในและต่างประเทศ ในขณะท่ีผลผลิตของปลาหมอไทยส่วน
ใหญ่ได้มาจากการท้าประมงจากแหล่งน้าธรรมชาติและผลพลอยได้จากการวิดบ่อจับปลาสลิดหรือ
ปลาชนิดอ่ืนๆ อยา่ งไรก็ตาม ในปจั จุบันมเี กษตรกรเล้ียงปลา หมอไทยเป็นอาชีพกันมากขึ้นโดยเฉพาะ
ในพน้ื ที่ลุ่มน้าปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะคลองกระบือ อ้าเภอปากพนัง ในช่วงท่ีกุ้ง
กุลาด้าประสบ กับปัญหาโรคระบาดเกษตรกรบางส่วนหันมาเล้ียงปลาหมอไทยและประสบ
ความส้าเร็จ จนกระทั่งเกษตรกรขยายพื้นท่ีการเล้ียงปลาหมอไทยทั้งในสภาพบ่อ ปกติและบ่อนากุ้ง
กลุ าดา้ กนั อยา่ งมากมาย
แหลง่ ทอ่ี ย่อู าศยั
ปลาหมอไทย อาศัยอยู่ในแหล่งน้าจืดทั่วๆไป ในพ้ืนท่ีลุ่มน้าปากพนัง ปลาหมอไทย สามารถ
ปรับตัวเจริญเติบโตเข้ากับสภาพแวดล้อมที่เป็นน้า กร่อย ที่มีความเค็มไม่เกิน 7 ส่วนในพันได้ เป็น
ปลาทมี่ คี วามทนทานต่อสภาพแวดล้อม เน่ืองจากมีอวัยวะพิเศษช่วยในการหายใจ ปลาหมอไทยมีชื่อ
เรียกแตก ต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นเช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า ปลาสะเด็ด ภาคเหนือ
เรียกว่า ปลาแข็ง และภาคใต้ เรียกช่ือเป็นภาษายาวีว่า อีแกปูยู ชาวบ้าน ทั่วไปเรียกว่า ปลาหม อ
น.ส ฐติ พิ ักตร์ ไชยศรี เลขท่ี 1ชัน้ ปวส. 1/5 เร่อื ง การเลยี้ งปลาหมอไทย
2
รปู รา่ งลกั ษณะภายนอก
ปลาหมอไทยมีล้าตัวค่อนข้างแบนล้าตัวมีสีน้าตาลด้า หรือคล้า ส่วนท้องมีสีขาวหรือเหลือง
อ่อนส่วนล้าตัวมีเกล็ดแข็ง กระพุ้งแก้มมีลักษณะ เป็นหนามหยัก แหลมคม ใช้ในการปีนป่าย บริเวณ
โคนหางมีจดุ กลมสีด้า
ลักษณะแตกต่างระหว่างเพศ
ปลาหมอไทยเพศเมียจะมีขนาดใหญ่และน้าหนักมากกว่า เพศผู้ เพศผู้มีลักษณะล้าตัวเรียว
ยาว ในระยะฤดวู างไขส่ ว่ นทอ้ งของปลาเพศเมีย จะอมู เปง่
น.ส ฐติ พิ ักตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ชัน้ ปวส. 1/5 เร่ือง การเลี้ยงปลาหมอไทย
3
การเลือกสถานที่
การเลือกสถานที่เลี้ยง เป็นปัจจัยหน่ึงที่ส่งผลให้การเล้ียงปลาหมอไทยประสบความส้าเร็จ
หรือไม่ ดังนั้นการเลือกสถานท่ีเลี้ยงและการออก แบบบ่อเลี้ยงปลา ควรท้าด้วยความรอบคอบโดย
ค้านึงถึงปัจจยั ตา่ งๆ ดงั นี้
1. ลกั ษณะดิน ควรเปน็ ดินเหนียว หรือดินเหนยี วปนทราย น้าไมร่ ่วั ซึม สามารถเก็บกักน้าได้
4-6 เดอื น ไม่ควรเลือกพื้นที่ทเ่ี ปน็ ดินทราย หรือ ดนิ ปนกรวด
2. ลักษณะน้า พื้นที่เลี้ยงควรอยู่ใกล้แหล่งน้าธรรมชาติ เช่น แม่น้า ล้าคลอง ที่มีน้าตลอดปี
หรืออยู่ในเขตชลประทาน หากเป็นพ้ืนท่ีที่อาศัย น้าฝนเพียงอย่างเดียว ควรพิจารณาปริมาณน้าฝนที่
ตกในรอบปีด้วย
3. แหลง่ พันธ์ุปลา เพือ่ ความสะดวกในการลา้ เลยี งปลามาเล้ียง พื้นที่เล้ียงไม่ควรอยู่ห่างไกล
จากแหล่งพันธปุ์ ลา
4. ตลาด แม้ว่าหลังจากจับปลาขายจะมีพ่อค้ามารับซ้ือถึงปากบ่อ แต่หากพ้ืนท่ีเลี้ยงอยู่ใกล้
ตลาด จะท้าให้ได้เปรียบในการขนส่งผลผลิต เพ่ือการจ้าหน่าย อย่างไรก็ตาม บ่อเล้ียงกุ้งกุลาด้าท่ีอยู่
ในเขตพน้ื ที่น้าจดื สามารถน้ามาใชเ้ ปน็ บอ่ เลย้ี งปลาหมอไทยได้
น.ส ฐติ พิ ักตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ช้ัน ปวส. 1/5 เร่ือง การเล้ียงปลาหมอไทย
4
การเตรียมบอ่ เล้ียง
การเตรยี มบ่อเลี้ยงเป็นขั้นตอนท่ีส้าคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อผลิตที่จะได้รับ ขั้นตอนการเตรียมบ่อ
ก่อนปลอ่ ยปลาลงเลย้ี งสามารถทา้ ได้ ดงั น้ี
สูบน้าออกจากบ่อให้แห้ง การสูบน้าจากบ่อให้แห้งจะช่วยก้าจัดศัตรูปลาที่มีอยู่ในบ่อ
หลังจากการสูบบ่อแห้งแล้วหว่านปูนขาวในขณะ ที่ดินยังเปียก ในอัตรา 60-100 กิโลกรัมต่อไร่เพ่ือ
ปรับสภาพความเปน็ กรด-ดา่ งของดนิ
กาจัดวัชพืชและพันธุ์ไม้น้า วัชพืชและพันธ์ุไม้น้าที่มีอยู่ในบ่อ จะเป็นแหล่งหลบซ่อนตัวของ
ศัตรูปลาหมอไทยเช่น ปลาช่อน กบ และงู เป็นต้น และท้าให้ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายน้าลดลง
เนอ่ื งจากวัชพืชน้าใช้ออกซิเจนในการหายใจเช่นเดียวกับปลา นอกจากนี้ การที่มีพืชอยู่ในบ่อมาก จะ
เปน็ อุปสรรคต่อการใหอ้ าหาร และการวดิ จับปลา
การตากบ่อ การตากบ่อจะท้าให้แก๊สพิษในดินบางชนิดสลายตัวไป เมื่อถูกความร้อนและ
แสงแดด ทง้ั ยังเปน็ การฆา่ เชือ้ โรค และศตั รู ปลาท่ฝี ังตวั อยูใ่ นดนิ ใชเ้ วลาในการตากบ่อ 2-3 สปั ดาห์
สูบน้าเข้าบ่อ สูบน้าใส่บ่อให้ได้ระดับ 60-100 เซนติเมตร ท้ิงไว้ 2-3 วัน ก่อนปล่อยปลาลง
เลีย้ ง แต่ก่อนที่เราจะปลอ่ ยปลาลงเลี้ยง ต้อง ใช้อวนไนล่อนสีฟ้ากั้นรอบบ่อให้สูงจากพื้นประมาณ 90
เซนติเมตร เพอื่ ป้องกันปลาหลบหนอี อกจากบอ่ เนื่องจากปลาหมอไทยมีนิสัยชอบปีนป่าย โดยเฉพาะ
ในช่วงทฝ่ี นตก
น.ส ฐติ ิพักตร์ ไชยศรี เลขท่ี 1ชนั้ ปวส. 1/5 เรอื่ ง การเล้ยี งปลาหมอไทย
5
ก า ร ป ล่ อ ย ป ล า ล ง เ ลี้ ย ง
การปล่อยปลาปลาหมอไทยลงเลย้ี งท้าได้ 2 วธิ ี คือ
- การปล่อยปลาน้ิว ปล่อยปลาขนาด 2-3 เซนติเมตร ในอัตราความหนาแน่น 50 ตัวต่อ
ตารางเมตร ควรปล่อยลูกปลาลงบ่อในช่วงเช้า หรือเย็นระดับน้าในบ่อไม่ควรต่้ากว่า 60 เซนติเมตร
โดยก่อนปล่อยลูกปลาออกจากถุงที่บรรจุ ควรปรับอุณหภูมิของน้าในถุงให้ใกล้เคียงกับน้าในบ่อ เพื่อ
ป้องกันปลาตายเนื่องจากการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิกระทันหัน ท้าได้โดยการแช่ถุงปลาไว้ในบ่อ
ประมาณ 20 นาที แล้วเปิดปากถุงวักน้าในบ่อเล้ียงผสมกับน้าในถุง แล้วค่อยๆ เทลูกปลาออกจากถุง
หลังจากปล่อยลกู ปลาลงเล้ยี งประมาณ 1 เดือน จงึ เพิม่ น้าในบอ่ ให้ไดร้ ะดบั 1-1.50 เมตร
- การปลอ่ ยพ่อแม่พนั ธุใ์ ห้วางไข่ในบ่อ วิธนี ้ีจะชว่ ยลดปัญหาเรื่องลูกปลาตายในระหว่างการ
ล้าเลียงไดท้ ้าโดย การคัดเลือกพ่อแม่ พันธุ์ท่ีมีไข่และน้าเช้ือสมบูรณ์ พร้อมที่จะผสมพันธ์ุวางไข่ คือตัว
เมียจะมีส่วนท้องท่ีอูมเม่ือใช้มือบีบเบาๆ จะมีไข่สีเหลืองออกมา ส่วนตัวผู้เม่ือใช้มือบีบที่ท้อง จะมี
น้าเชื้อสีขาว คล้ายน้านมออกมา เมื่อคัดพ่อแม่พันธุ์ปลาได้แล้ว จะฉีดฮอร์โมนเร่งการวางไข่ให้กับตัว
เมียในอัตราความเข้มข้น ฮอร์โมนสังเคราะห์ 10 ไมโครกรัม และยาเสริมฤทธ์ิ 5 มิลลิกรัม ต่อปลา 1
กโิ ลกรมั จ้านวน 1คร้งั แลว้ จงึ ปลอ่ ยให้ผสมพันธุ์วางไข่ในกระชังตาห่างซึ่งแขวรอยู่ในบ่อที่ระดับน้าไม่
น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ในอัตราปลาเพศเมียต่อปลาเพศผุ้เท่ากับ 1:1 ปริมาณน้าหนักพ่อแม่ปลา 8-
10 กิโลกรัม/ไร่ หรือประมาณ 40-75 คู่/ไร่วันรุ่งข้ึนเม่ือ ปลาวางไข่หมดแล้วจึงน้ากระชังพ่อแม่พันธ์ุ
ข้ึนปล่อยให้ไข่ฟักเป็นตัว หลังจากลูกปลาฟักออกเป็นตัวประมาณ 4 วัน จึงเริ่มให้อาหารส้าเร็จรูป
ชนดิ ผงหรอื อาหารพวกร้าละเอียดผสมปลาป่น อัรา1:1 เป็นระยะเวลา 3-4 สัปดาห์หลังจากนั้นจึงให้
อาหารเมด็ ปลาดกุ ใหญเ่ มือ่ ปลามขี นาดใหญจ่ นได้ขนาดตลาด
อย่างไรก็ตาม สามารถปล่อยพ่อแม่พันธ์ุปลาที่มีน้าเช้ือและไข่สมบูรณ์ลงในบ่อที่เตรียมไว้
แล้วได้เช่นกัน โดยให้มีระดับน้าในบ่อ 30-50 เซนติดมตร พร้อมท้ังใช้ทางมะพร้าวปักคลุมท้าเป็นท่ี
หลบซ่อนและอนุบาลลูกปลาวยั ออ่ ย
น.ส ฐติ ิพกั ตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ชน้ั ปวส. 1/5 เรอ่ื ง การเล้ยี งปลาหมอไทย
6
อาหารและการใหอ้ าหาร
ปลาหมอไทยเป็นปลาที่กินอาหารจ้าพวกเนื้อสัตว์ ในการเล้ียงจึงให้อาหารเม็ดปลาดุก ใน
อตั รา 3-5 % ของน้าหนักตัว วนั ละ 2 ครัง้ เชา้ -เยน็ โดยในช่วงแรกของการเล้ียงจะใช้อาหารเม็ดปลา
ดุกขนาดเล็กหรือปาสดสับละเอียด เป็นเวลา 2 เดือน และถัดมาเปลี่ยนเป็นอาหารเม็ดปลาดุกขนาด
ใหญ่ เมื่อ ปลามีขนาดใหญ่ขึ้น การให้อาหารต้องหว่านให้ทั่วบ่อ และต้องสังเกตการกินอาหารของ
ปลาด้วย ถ้ามีอาหารเหลือมากเกินไป ควรลดอาหารในมื้อถัดไปให้ น้อยลง เพราะอาจท้าให้น้าในบ่อ
เนา่ เสยี อีกดว้ ย
น.ส ฐติ ิพกั ตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ชัน้ ปวส. 1/5 เร่อื ง การเลี้ยงปลาหมอไทย
7
การเปล่ยี นถ่ายนา้
ถึงแม้ว่าปลาหมอเป็นปลาที่มีความอดทนทนทาน และสามารถอาศัยอยู่ได้ในน้าที่มีคุณภาพ
ต่้ากว่าปกติกต็ าม แตก่ ็จา้ เป็นต้องมีการเปลีย่ นถ่ายน้า เพราะการเปลีย่ นถา่ ยนา้ ใหม่จะท้าให้ปลามีการ
กนิ อาหารดีขึน้ สง่ ผลใหป้ ลาเจริญเติบโตดี ทั้งนี้ก่อนเปล่ียนถ่ายน้าทุกครั้งต้องแน่ใจว่าคุณภาพน้าท่ีสูบ
เข้ามาใหม่ ไม่แตกต่างจากคุณภาพน้าในบ่อมากนัก และสะอาดเพียงพอที่จะไม่ท้าให้ปลาในบ่อเป็น
โรคได้ ในช่วงเดือนแรกไม่จ้าเป็นต้องมีการเปลี่ยนถ่ายน้า แต่จะใช้วิธีเพิ่ม ระดับน้าทุกสัปดาห์
หลังจากเดือนแรกแล้วจึงเปลี่ยนถ่ายน้าเดือนละ 2-3 ครั้งโดยเปลี่ยนถายน้าคร้ังละ 1ใน3 ของน้าใน
บ่อหรอื ขน้ึ อย่กุ บั สภาพคุณภาพน้าในบ่อ ดว้ ย
น.ส ฐติ พิ ักตร์ ไชยศรี เลขท่ี 1ชน้ั ปวส. 1/5 เรอื่ ง การเลี้ยงปลาหมอไทย
8
ระยะเวลาการเลีย้ งและการจบั
ระยะเวลาการเล้ียงขึ้นอยู่กับขนาดปลาของปลาท่ีตลาดต้องการ แต่โดยทั่วไป จะใช้เวลา
เลย้ี งประมาณ 4-5 เดอื น การจับปลาหมอไทย โดย ท่ัวไปจะใช้วิธีการจับแบบวิดบ่อแห้ง โดยก่อนจับ
ปลาจะต้องสูบน้าออกจากบ่อให้เหลือน้อยแล้วจึงตีอวนจับปลา โดยลากอวนจากขอบบ่อด้านหน่ึงไป
ยังอีกดา้ น หน่งึ แลว้ จึงยกอวนขึ้นใช้สวิงจบั ใส่ตะกร้าเพ่ือคัดขนาด จนกระทั่งเหลือปลาจ้านวนน้อยจึง
สูบน้าออกจากบ่อให้หมด หลังจากนั้นจึงตากบ่อให้แห้งเพื่อเตรียม บ่อใช้เลี้ยงปลาในรุ่นต่อไป ท้ังน้ี
การเล้ียงปลาหมอไทยในพน้ื ทลี่ มุ่ น้าปากพนงั มีการเจรญิ เติบโตและผลผลิต ดังนี้
ตารางที่ 1 การเจริญเตบิ โตและผลผลิตการเลี้ยงปลาหมอไทยในบ่อดินของเกษตรกร อ้าเภอ
ปากพนงั และอ้าเภอเชยี รใหญ่ จงั หวัดนครศรธี รรมราช
- จา้ นวนพอ่ แม่พนั ธ์ุทีป่ ลอ่ ย (ค่/ู ไร)่ 40
- ปรมิ าณลูกปลาขนาด 1 นวิ้ (ตวั /ไร)่ 40,000
- ระยะเวลาเลี้ยง (วัน) 130
- อตั ราการเจรญิ เติบโตจา้ เพาะ(%กรมั /วัน) 3.95
- ผลผลติ (กโิ ลกรัม/ไร่) 1,200
- อตั รารอดรอดตาย(%) 40
ตารางท่ี 2 ตน้ ทุน รายได้ และผลตอบแทนการเล้ียงปลาหมอไทยในบอ่ ดินขนาด 1 ไร่
- ค่าพ่อแม่พันธุ์ปลา (บาท) 1,000
- ค่าอาหารปลา(บาท) 36,000
- ค่าปูนขาวและยารักษาโรค (บาท) 3,500
- ค่าแรงงานและอื่นๆ(บาท) 3,000
- ราคาขายปลา(บาท/กก.) 50
- รายได้ทั้งหมด (บาท/ไร่) 60,000
- กา้ ไรเบอ้ื งต้น(บาท) 16,,500
ในการจ้าหน่ายปลาหมอไทยจะมีการคัดขนาดปลาหมอไทย ซึ่งแบ่งออกเป็น 3
ขนาด มีราคาแตกต่างกนั ดังนี้
1. ปลาขนาดใหญ่ ขนาด 6-10 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 55-60 บาท
2. ปลาขนาดกลาง ขนาด 7-20 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 25-30 บาท
3. ปลาขนาดเลก็ ขนาดมากกว่า 20 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 15-20 บาท
น.ส ฐติ พิ กั ตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ช้นั ปวส. 1/5 เร่อื ง การเลี้ยงปลาหมอไทย
9
การปอ้ งกันและกาจดั โรค
ในการเลี้ยงสัตว์น้าไม่ว่าจะเป็นสัตว์น้าจืดหรือสัตว์น้ากร่อย ปัญหาที่ผู้เลี้ยงประสบอยู่เสมอ
คอื ปัญหาการเกดิ โรค ดังนั้น การจัดการบ่อท่ถี ูก ต้องเป็นวิธีท่ีดีที่สุดในการป้องกันมิให้เกิดโรคกับสัตว์
นา้ ทีเ่ ลี้ยง เพราะการปล่อยสตั วน์ ้าเกิดโรคจะเป็นการเพิ่มตน้ ทนุ การผลิต แตก่ ารตายของปลาท่ีเล้ียงไม่
จ้า เป็นเสมอไปว่าจะเกิดจากการเป็นโรค เพราะบางครั้งอาจเกิดจากสภาพต่างๆ ในบ่อเล้ียงไม่
เหมาะสม เชายคุณสมบัติของน้า ความหนาแน่นของปลาท่ีเลี้ยง ชนิด และคุณภาพของอาหารท่ีใช้
เลี้ยง ฯลฯ ดังนั้นเกษตรกรเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์จะสามารถแยกได้ว่า สาเหตุการตายของปลาเกิด
จากสาเหตุใด โดยท่วั ไปโรคปลา หมอไทยมกั แพรร่ ะบาดในฤดฝู น ในทางปฏิบัติ เกษตรกรควรใช้เกลือ
เมด็ หวา่ นลงในบอ่ อัตรา 80 กโิ ลกรมั ต่อไร่ รว่ มกับการใชป้ นู ขาว อตั รา 20 กโิ ลกรัมต่อไร่ ละลายน้าใน
ภาชนะแล้วสาดให้ท่ัวบ่อ อย่างไรก็ตาม โรคที่เกิดข้ึนในบ่อเล้ียงปลาหมอไทยมักเกิดจากปรสิต
ภายนอก เชื้อรา และแบคทเี รยี ต่อไปนี้
โรคจุดขาว
อาการ ปลาจะมีจุดสขี าวข่นุ ขนาดเท่าหวั เข็มหมุด กระจายอยตู่ ามล้าตัวและครีบ
สาเหตุ เกิดจากเชอ้ื โปรโตซัว ท่ีกินเซลลผ์ วิ หนงั เปน็ อาหาร
การป้องกันและรักษา เน่ืองจากปรสิตชนิดนี้จะฝังตัวอยู่ใต้ผิวหนัง การก้าจัดได้ผลไม่เต็มที่
วิธีท่ีดีที่สุด คือการท้าลายตัวอ่อนในน้า หรือท้าลายตัวแก่ขณะว่ายน้าอิสระ โดยการใช้ฟอร์มาลิน
150-200 ซีซีต่อน้า 1000 ลิตร แช่ไว้ 1 ชั่วโมง ส้าหรับปลาขนาดใหญ่ หรือ 25-50 ซีซี ต่อน้า 1,000
ลติ ร แช่ 24 ชวั่ โมงและแยกปลาทเี่ ป็นโรคออกจากบ่อ
โรคจากเห็บระฆงั
อาการ ปลาจะเป็นแผลตามผวิ หนงั และเหงือก
สาเหตุ เกิดจากเห็บระฆังเขา้ ไปเกาะตามลา้ ตวั และเหงือก
การป้องกันและรักษา ปรสิตชนิดนี้จะแพร่ได้รวดเร็ว และท้าให้ปลาตายได้ในระยะเวลาอัน
ส้ัน และมีการติดต่อระหว่างบ่อที่ใช้อุปกรณ์ ร่วมกัน การก้าจัดท้าได้โดยใช้ฟอร์มาลิน 150-200 ซีซี
ต่อน้า 1000 ลติ ร แชไ่ ว้ 1 ชว่ั โมง
โรคตกเลอื ดตามซอกเกลด็
อาการ ปลาจะมีแผลสีแดงเป็นจ้าๆ ตามล้าตัวโดยเฉพาะที่ครีบและซอกเกล็ด ถ้าเป็นแผล
เร้ือรังอาจมีอาการเกล็ดหลุด บริเวณรอบๆ และด้าน บนของแผลจะมีส่วนคล้ายส้าลีสีน้าตาลปน
เหลอื งติดอยู่
สาเหตุ เกดิ จากปรสติ เซลล์เดยี วทอี่ ย่รู ่วมกันเปน็ กล่มุ หรอื กระจุก
น.ส ฐติ ิพักตร์ ไชยศรี เลขท่ี 1ช้ัน ปวส. 1/5 เรื่อง การเลยี้ งปลาหมอไทย
10
วิธีปฏิบตั ิและข้อควรระวังในการใช้ยาและสารเคมี
การใชย้ าและสารเคมีทุกชนิดควรใช้ด้วยความระมัดระวงั และมีสิง่ ควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1. ก่อนใช้ยาและสารเคมีทุกชนิด ควรอ่านวิธีใช้ให้ละเอียด เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่
อาจเกิดขึ้น
2. เปิดภาชนะท่บี รรจุยาดว้ ยความระมดั ระวัง
3 . ควรสวมถุงมอื และใสห่ น้ากากกนั ฝุ่นขณะใชย้ า
4. เมื่อใช้ยาและสารเคมีแล้ว ควรช้าระร่างกายให้สะอาดด้วยสบู่และล้างภาชนะท่ีใช้ให้
สะอาด
5. กรณีที่ใช้ยาผิดขนากกับสัตว์น้าโดยใช้วิธีแช่ ควรถ่ายน้าทันที ส่วนวิธีผสมอาหารควร
ตรวจสอบให้รอบคอบกอ่ นใช้
ขอ้ ควรระวังในการใชย้ า
ฟอรม์ าลิน ควรใช้ในบ่อน้าที่ไม่เขียวจัด และควรใส่ในตอนเช้าแต่ถ้าจ้าเป็นต้องใช้ฟอร์มาลีน
ในบ่อน้าทีม่ สี ีเขยี วจัดควรถ่ายน้าออกจากบ่อ ประมาณหน่งึ ในสาม แล้วเติมน้าใหม่ก่อนใส่ยาเน่ืองจาก
ฟอร์มาลินจะท้าให้พืชน้าสีเขียวขนาดเล็กตาย และอาจท้าให้เกิดภาวะขาดออกซิเจน ท้าให้ปลาตาย
ได้
เกลือ การใช้เกลือจะตอ้ งระวังเกี่ยวกับความเค็มท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างทันที ปลาอาจปรับตัวไม่ทัน
โดยให้แบ่งเกลือท่ีค้านวณได้แล้วออกเป็น 3 ส่วน และใส่ส่วนแรกลงไป เพ่ือรอดูอาการปลาประมาณ
1 ชั่วโมง จึงใส่ส่วนท่ี 2 และ 3 ตอ่ ไป
น.ส ฐติ พิ กั ตร์ ไชยศรี เลขที่ 1ช้ัน ปวส. 1/5 เรื่อง การเลยี้ งปลาหมอไทย