The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เเพร่ภาพเสียง เกษราภรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ketsarapornareky, 2021-12-01 04:28:21

เเพร่ภาพเสียง เกษราภรณ์

เเพร่ภาพเสียง เกษราภรณ์

เทคโนโลยกี ารแพร่ภาพและเสียง
(Broadcast and Motion Technology)

เทคโนโลยแี ละมารฐานของการเเพร่ภาพโทรทศั น์ดิจิทลั

(Digital Television : DTV)
การแพร่ภาพโทรทศั น์ (Television Broadcasting) เป็นการรับขอ้ มูลข่าวสาร ท้งั ขอ้ มูลภาพและเสียง โดยแบ่ง
การทางานเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ การแพร่ภาพโทรทศั นแ์ บบแอนะลอ็ ก (Analog) และแบบดิจิทลั โดยหลกั การแพร่ภาพ
เบ้ืองตน้ เกิดจากเคร่ืองจส่งสญั ญาณและเสียงพร้อมกบั ผสมสญั ญาณรวมกบั คลื่นวทิ ยแุ ลว้ กระจายสู่อากาศในรูปของคลื่น
แม่เหลก็ ไฟฟ้า จากน้นั เครื่องจะทาการรับแยกสญั ญาณทาใหเ้ ป็นภาพปรากฎที่หนา้ จอเคร่ืองรับ โดยหลกั การของการแพร่
ภาพประกอบดว้ ย การแพร่ภาพ การส่งสญั ญาณโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กในระบบตา่ ง ๆ เช่น ระบบเอน็ ทีเอสซี ระบบพลั และ
ระบบซีแคม เป็นตน้ ในการแพร่ภาพแต่ละประเภทน้ี สามารถรับและส่งขอ้ มูลไดใ้ นหลายช่องทาง เช่น การส่งสญั ญาณ
ผา่ นสายเคเบิลการส่งสญั ญาณผา่ นดาวเทียม และการส่งสญั ญาณแพร่ ่ภาพพ้นื ดิน ดว้ ยคลื่นความถ่ีวิทยุ ซ่ึงอาจจะมาจาก
การถา่ ยทอดสดหรือการบนั ทึกเทปไวโ้ ทรทศั นแ์ อนะลอ็ ก เป็นโทรทศั นท์ ี่มีการส่งสญั ญาณภาพและเสียงในรูปแบบ
สญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก แบบเอเอม็ และเอฟเอม็ โดยส่งสญั ญาณเป็นแม่เหลก็ ไฟฟ้าโทรทศั นช์ นิดน้ีมีการใชง้ านทว่ั ไปอยู่
ในระบบ เช่น โทรทศั น์ เอน็ ทีเอสซี ระบบพลั และระบบซีแคม

โทรทศั นด์ ิจิทลั เป็นโทรทศั นอ์ ีกรูปแบบมาตรฐานท่ีพฒั นามาจากโทรทศั นแ์ บบแอนะลอ็ ก มีการส่งสญั ญาณ
ภาพและเสียงแบบดิจิทลั คือส่งขอ้ มูลเป็นบิตการส่งขอ้ มูลแบบน้ีสามารถส่งขอ้ มูลไดม้ ากกวา่ แบบแอนะลอ็ กในหน่ึง
ช่องสญั ญาณจึงเรียกวา่ ไดอ้ ีกอยา่ งวา่ มลั ติแคสติง้ การส่งสญั ญาณแบบดิจิทลั จึงทาใหไ้ ดค้ ุณภาพของภาพและเสียงดีกวา่
เช่นโทรทศั นร์ ะบบความชดั คมสูง

เทคโนโลยโี ทรทศั น์แอนะลอ็ ก
ในยคุ เริ่มตน้ ของ กิจการ วทิ ยกุ ระจายเสียงและแพร่ภาพ โทรทศั นน์ ้นั การใหบ้ ริการโทรทศั น์ ใชเ้ ทคโนโลยที ่ี
เป็น ระบบแอนะลอ็ ก แบบขาว-ดา ในเวลาตอ่ มามีการพฒั นา โทรทศั นส์ ีข้ึน ซ่ึงเป็นการตอ่ ยอดทางเทคโนโลยีจาก
โทรทศั น์ ขาว-ดา โดยการแพร่สญั ญาณภาพส่วนที่เป็นภาพสีฝากไปกบั แถบความถ่ีภายในช่องความถี่ที่กาหนด เพื่อให้
เคร่ืองรับโทรทศั นข์ าว-ดา ยงั คงรับสญั ญาณจากการส่งโทรทศั นส์ ีได้ ปัจจุบนั มีระบบโทรทศั นส์ ีอยู่ 3 ระบบ ไดแ้ ก่ NTSC

(National Television System Committee), PAL (Phase Alternating Line) และ SECAM (Séquentiel couleur avec
mémoire หรือ Sequential Color with Memory) ท้งั 3 ระบบอิงอยบู่ นหลกั การพ้นื ฐานเดียว กนั คือ ภาพที่ปรากฏบน
จอโทรทศั นเ์ กิดจากการสแกน (scan) ในแนวนอน จานวนหลายเสน้ สแกนจนครบเฟรมภาพ (Frame) หน่ึงเฟรม ในทาง
ทฤษฎีเสน้ สแกนในแนวนอนจะต่อเนื่องกนั นนั่ คือ ความชดั เจนของภาพทางแนวนอนไมม่ ีขีดจากดั แตใ่ นทางปฏิบตั ิ
ความชดั เจนของภาพทางแนวนอน จะถูกจากดั ดว้ ยความกวา้ งของแถบความถ่ีของช่องสญั ญาณโทรทศั น์

โทรทศั นส์ ีแอนะลอ็ กใชว้ ธิ ีสแกนภาพแบบ อินเทอร์เลซ (Interlaced) กล่าวคือ ภาพแต่ละเฟรมจะถูกแบ่ง
ออกเป็น 2 ส่วนที่เรียกวา่ ฟี ลดค์ ่ี และฟี ลดค์ ู่ ท้งั สอง ฟี ลดจ์ ะถูกนามาแสดงสลบั กนั ดว้ ยอตั ราจานวนเฟรมต่อวนิ าที (หรือ
จานวนภาพต่อวนิ าที ) โดยท่ีอิงกบั มาตรฐานภาพยนตร์ (ซ่ึงมีคา่ เท่ากบั 24 เฟรมตอ่ วินาที) การเลือกอตั ราจานวนเฟรมตอ่
วินาทีสาหรับระบบโทรทศั นย์ งั คานึงถึงความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่ใชใ้ นประเทศน้นั ๆ ดว้ ย กล่าวคือ ในประเทศท่ีใช้
กระแสไฟฟ้า 50 Hz จะเลือกใช้ 25 เฟรมตอ่ วนิ าที ในขณะท่ีประเทศที่ใชก้ ระแสไฟฟ้า 60 Hz จะใช้ 30 เฟรมตอ่ วินาที
เหตุผลของการเลือกตวั เลขดงั กลา่ วน้ีกเ็ พ่อื หลีกเลี่ยงการวูบวาบ (Flicker) ของภาพท่ีเกิดข้ึนจากการรบกวนเม่ือจงั หวะใน
การสแกนภาพโทรทศั นไ์ ม่สมั พนั ธก์ บั แสงสวา่ งจากหลอดไฟฟ้าในหอ้ งท่ีรับชมโทรทศั นอ์ ยู่

เทคโนโลยโี ทรทศั น์ดิจทิ ลั Digital television (DTV)

เป็นเวลาหลายสิบปี ท่ีกิจการโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กใหบ้ ริการสู่ผูช้ มท้งั ที่ผา่ นดาวเทียม เคเบิลทีวี และจาก
สถานีโทรทศั นภ์ าคพ้นื ดิน มีความพยายามลดจานวนมาตรฐานการส่งโทรทศั น์ ต้งั แตย่ คุ โทรทศั น์ ขาว- ดา ที่มีจานวนเสน้
สแกน ตา่ งถึง 4 ระบบคือ 405, 525, 625 และ 819 เสน้ เหลือเพยี ง 2 ระบบคือ 525 และ 625 เสน้ แตม่ ีระบบโทรทศั นส์ ี 3

ระบบ คือ NTSC, PAL และ SECAM คือระบบ NTSC 525 เสน้ PAL มีท้งั 525/625 เสน้ และ SECAM 625 เสน้ เม่ือ
เทคโนโลยีไดร้ ับการพฒั นาไปสู่โทรทศั นย์ ุคดิจิทลั จึงคาดหวงั กนั วา่ น่าจะมมี าตรฐานโทรทศั นด์ ิจิทลั เพยี งมาตรฐานเดียว
อยา่ งไรกด็ ี ในทางปฏิบตั ิประเทศหรือกลุม่ ประเทศท่ีเป็นผนู้ าทางเทคโนโลยตี า่ งกพ็ ฒั นามาตรฐานระบบโทรทศั นด์ ิจิทลั ท่ี
เป็นของตนเองข้ึนมาใชง้ าน แต่กระน้นั มีขอ้ สงั เกตวา่ โดยพ้นื ฐานแลว้ มาตรฐานของแต่ละระบบ ต่างกใ็ ชส้ ญั ญาณภาพท่ี
เป็น ดิจิทลั และใชก้ ารบีบอดั แบบ MPEG-2 เหมือนกนั

โทรทศั นด์ ิจิทลั (Digital television หรือ DTV) คือระบบการแพร่สญั ญาณภาพเคลื่อนไหวและสญั ญาณเสียง

ไปสู่เครื่องรับโทรทศั นด์ ว้ ยสญั ญาณดิจิทลั ซ่ึงแตกต่างกบั การใชส้ ญั ญาณแอนะลอ็ กใน ระบบโทรทศั นแ์ อนะลอ็ ก

โดยทวั่ ไป DTV ใชส้ ญั ญาณดิจิทลั ที่ถูกบีบอดั และ เขา้ รหสั MPEG-2 การรับชมจึงจาเป็นตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ถอดรหสั ซ่ึงอาจมี
มาพร้อมกบั ตวั เครื่องรับโทรทศั นเ์ ลยหากเป็นโทรทศั นร์ ุ่นใหม่ที่ผลิตข้ึนมาเพอื่ รองรับระบบดิจิทลั หรือจะเป็นอุปกรณ์
ถอดรหสั ท่ีแยกอยโู่ ดด ๆ ในอุปกรณ์เคร่ืองรับสญั ญาณท่ีเรียกวา่ STB (Set Top Box) ซ่ึงใชถ้ อดรหสั สญั ญาณและป้อน
ใหก้ บั เครื่องรับโทรทศั นแ์ อนะลอ็ กท่ีมีใชง้ านทว่ั ไป หากเป็นการ รับชมดว้ ยเครื่องคอมพวิ เตอร์ PC กม็ ีการ์ดรับสญั ญาณที่
สามารถถอดรหสั ได้ ในระบบโทรทศั นด์ ิจิทลั สญั ญาณภาพและเสียงที่รับไดม้ ีคุณภาพสูงกวา่

มาตรฐาน ATSC
ระบบโทรทศั นด์ ิจิทลั ATSC ไดร้ ับการ พฒั นาข้ึนในประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1998 เพือ่ ใชแ้ ทนที่ระบบ
โทรทศั นส์ ีแอนะลอ็ ก NTSC 525 เสน้ 60 Hz โดยคณะกรรมการ ATSC (Advance Television System Committee) สาหรับ
ประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ขอ้ กาหนดในการพฒั นาระบบใหมน่ ้ีคือ ตอ้ งสามารถครอบคลุมพ้นื ท่ี เขตบริการ ท้งั
ขนาดพ้นื ท่ีทางภูมิศาสตร์และจานวนประชากร เท่ากบั การใหบ้ ริการโทรทศั นส์ ี NTSC แบบด้งั เดิม โดยตอ้ งไม่มีการ
รบกวนกนั กบั การใหบ้ ริการโทรทศั นส์ ี NTSC ท่ีมีอยเู่ ดิม ท้งั น้ีไดม้ ีการทดสอบการใหบ้ ริการโทรทศั นด์ ิจิทลั ATSC แลว้
ผลท่ีไดจ้ ากการทดสอบพบวา่ เป็นท่ีน่าพอใจ อยา่ งยิ่ง เนื่องจากมีการรบกวนระหวา่ งช่องสญั ญาณความถี่เดียวกนั ต่า จึง
สามารถเพิ่มจานวนช่องสญั ญาณไดม้ ากข้ึนถึง 1600 ช่อง และผูช้ มทางบา้ นสามารถรับชมไดอ้ ยา่ งสะดวกเพราะใชเ้ พยี ง
สายอากาศ ที่ติดต้งั บนหลงั คา (roof-top) หรือสายอากาศแบบพกพาเคล่ือนยา้ ยได้ (Portable) กจ็ ะรับสญั ญาณไดด้ ี และ
ระบบ ATSC ยงั ไดอ้ อกแบบเพ่ือใหม้ ีความทนทานต่อสภาพการรับสญั ญาณซ้าซอ้ นกนั จากคล่ืนวทิ ยุที่สะทอ้ นจากภูเขา
อาคารหรือส่ิงกอ่ สร้างแบบ Multipath ที่ช่วงเวลาที่คล่ืนวทิ ยุเหลา่ น้นั มาถึงตา่ งกนั ไมม่ ากนกั รวมท้งั มีประสิทธิภาพในการ
ใชแ้ ถบความถี่และสะดวกในการจดั สรรช่องสญั ญาณความถี่

มาตรฐาน DVB-T
ระบบโทรทศั นด์ ิจิทลั DVB-T ถูกพฒั นาข้ึนในทวปี ยโุ รป ในปี ค.ศ. 1998 เพือ่ ทดแทนระบบ PAL & SECAM
625 เสน้ 50 Hz โดยองคก์ าร Digital Video Broadcasting Project (DVB) ซ่ึงเป็นความร่วมมือกนั ระหวา่ ง สถานีวิทยุ
โทรทศั น์ และบริษทั ผผู้ ลิตอุปกรณ์ในอุตสาหกรรมวิทยุโทรทศั น์ มาตรฐาน DVB ถูกกากบั ดูแลโดยคณะกรรมการร่วม

(JTC) ของ European Telecommunication Standards Institute (ETSI), European Committee for Electrotechnical

Standardization (CENELEC) และ European Broadcasting Union (EBU)

โทรทศั นด์ ิจิทลั ภาคพ้นื ดิน DVB-T ถูกออกแบบเพื่อใหส้ ามารถครอบคลุมพ้ืนท่ีเขตบริการไดด้ ีท้งั ในบริเวณที่
ไมม่ ีคล่ืนวทิ ยุรบกวน และในบริเวณท่ีมีคลื่นวิทยุรบกวน โดยเครื่องรับสามารถรับสญั ญาณไดด้ ีไมว่ า่ เคร่ืองรับสญั ญาณ จะ
อยูก่ บั ที่หรือกาลงั เคลื่อนที่อยูก่ ต็ าม หากรับสญั ญาณ ในเขตบริการที่ ไมม่ ีคลื่นรบกวน จะสามารถรับสญั ญาณไดด้ ีแมข้ ณะ
เคลื่อนท่ีดว้ ยความเร็ว ท่ีสูงถึง 170 กิโลเมตรต่อชวั่ โมงกต็ าม ระบบถูกออกแบบใหม้ ีความทนทานต่อสภาพการรับสญั ญาณ
ซ้าซอ้ นจากคลื่นวิทยุท่ีสะทอ้ นจากภูเขาอาคารหรือส่ิงก่อสร้าง และสามารถรับ สญั ญาณเดียวกนั ที่ส่งออกมาจากสถานีส่ง
หลาย ๆ สถานีพร้อมกนั ได้ ซ่ึงโครงขา่ ยแบบน้ีเรียกวา่ โครงขา่ ยความถ่ีเดียว (SFN หรือ Single Frequency Network)
นอกจากน้ีระบบ โทรทศั นด์ ิจิทลั DVB-T ยงั สามารถใชแ้ ถบคล่ืนความถี่ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพและสะดวกในการจดั สรร
ช่องสญั ญาณความถ่ี

มาตรฐาน ISDB-T

ISDB : Integrated Service Digital Broadcasting ถูกพฒั นาในประเทศญ่ีปุ่น ในปี ค.ศ. 1999 เพื่อทดแทน
ระบบ NTSC 525 เสน้ 60 Hz โดยกลุม่ ผูพ้ ฒั นาไดแ้ ก่ ARIB (Association of Radio Industries and Business) และมี
องคก์ าร Digital Broadcasting Expert Group (DiBEG) เป็นหน่วยงานส่งเสริมและสนบั สนุนระบบใหแ้ พร่หลายทว่ั โลก
และแก่บริษทั ผูผ้ ลิตในอุตสาหกรรมวิทยโุ ทรทศั น์ มาตรฐาน ISDB ครอบคลุมการใหบ้ ริการโทรทศั นผ์ า่ นดาวเทียม
(ISDB-S) เคเบิลทีวี (ISDB-C) และโทรทศั นภ์ าคพ้นื ดิน (ISDB-T) ทุกมาตรฐานอยบู่ นฐานการบีบอดั สญั ญาณมาตรฐาน
MPEG-2 ท้งั สญั ญาณภาพและสญั ญาณเสียงรวมกนั ในกระแสสญั ญาณ MPEG-2 ทรานสปอร์ตสตรีม โทรทศั นภ์ าคพ้นื ดิน
ระบบ ISDB-T มีความยดื หยนุ่ สูง สามารถใหบ้ ริการไม่เฉพาะสญั ญาณภาพและเสียงเทา่ น้นั แต่สามารถใหบ้ ริการสื่อ
ประสม (Multimedia) อ่ืน ๆ เช่น การกระจายขอ้ มูล (Data Broadcasting) ไดพ้ ร้อมกนั โดยทว่ั ไปจะส่งสญั ญาณโทรทศั น์
ความชดั เจนสูง (HDTV) พร้อมดว้ ยส่งสญั ญาณ ISDB-Tsb ท่ีเรียกวา่ แบบ One-Segโดยใชว้ ธิ ี BST-OFDM (Band

Segmented Transmission) สาหรับโทรทศั นม์ ือถือ คอมพิวเตอร์วางตกั (Laptop) และเคร่ืองรับในยานพาหนะ

เทคโนโลยกี ารพมิ พ์
(Print and Publishing Technology)

การส่ือสาร

การสื่อสาร หรือ การสื่อความหมาย (Communication) เป็นคาที่รากศพั ทม์ าจากภาษาลาตินวา่ "communius"
หมายถึง "พร้อมกนั " หรือ "ร่วมกนั " (common) หมายความวา่ เมื่อมีการส่ือสารระหวา่ งกนั เกิดข้ึน คนเราพยายามท่ีจะสร้าง
"ความพร้อมกนั หรือความร่วมกนั " ทางดา้ นความคิดเร่ืองราวเหตุการณ์ ทศั นคติ ฯลฯ กบั บุคคลที่เรากาลงั ส่ือสารดว้ ยน้นั
ดงั น้นั การส่ือสารจึงหมายถึง การถา่ ยทอดเร่ืองราว การแลกเปล่ียนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรู้สึก
ตลอดรวมไปถึง "ระบบ" (เช่น ระบบโทรศพั ท)์ เพอ่ื การติดต่อสื่อสารขอ้ มูลซ่ึงกนั และกนั (Webster's Dictionary 1978 :
98) นอกจากน้ี การสื่อสารยงั เป็นการที่บุคคลในสงั คมมีปฏิสมั พนั ธ์โตต้ อบกนั โดยผา่ นทางขอ้ มูลขา่ วสาร สญั ลกั ษณ์
ตลอดจนเคร่ืองหมายต่าง ๆ ดว้ ย

เทคโนโลยี
เทคโนโลยี มีความหมายคอ่ นขา้ งกวา้ ง โดยทวั่ ไปหมายถึง สิ่งที่มนุษยพ์ ฒั นาข้ึน เพ่ือช่วยในการทางานหรือ
แกป้ ัญหาตา่ ง เช่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เคร่ืองจกั ร, วสั ดุ หรือ แมก้ ระทงั่ ที่ไม่ไดเ้ ป็นสิ่งของที่จบั ตอ้ งได้เช่น กระบวนการ
ต่าง ๆ เทคโนโลยี เป็นการประยุกตใ์ ชว้ ิทยาศาสตร์ใหเ้ กิดประโยชน์ ในทางเศรษฐศาสตร์ มองเทคโนโลยวี า่ เป็นความรู้

ของมนุษย์ ณ ปัจจุบนั ในการนาเอาทรัพยากรมาผลิตเป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีตอ้ งการ (รวมถึงความรู้วา่ เราสามารถผลิตอะไรได้
บา้ ง) ดงั น้นั การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี จะเกิดข้ึนเมื่อความรู้ทางเทคนิคของเราเพมิ่ ข้ึน
คาวา่ “เทคโนโลยี” มีความสมั พนั ธ์กบั การดารงชีวติ ของมนุษยม์ าเป็นเวลานาน เป็นส่ิงท่ีมนุษยใ์ ชแ้ กป้ ัญหาพ้นื ฐาน ในการ
ดารงชีวติ เช่น การเพาะปลูก ท่ีอยอู่ าศยั เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นามาใช้ เป็น เทคโนโลยี

พ้นื ฐานไม่สลบั ซบั ซอ้ น เหมือนดงั ปัจจุบนั การเพม่ิ ของประชากร และขอ้ จากดั ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ รวมท้งั มีการ
พฒั นาความสมั พนั ธ์กบั ตา่ งประเทศเป็นปัจจยั ดา้ นเหตุสาคญั ในการนาและพฒั นาเทคโนโลยมี าใชม้ ากข้ึน เทคโนโลยกี บั
วทิ ยาศาสตร์วทิ ยาศาสตร์กบั เทคโนโลยมี ีความสมั พนั ธก์ นั มาก เทคโนโลยีเกิดจากพ้ืนฐานทางวทิ ยาศาสตร์รองรับประเทศ
ตะวนั ตก ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์มาอยา่ งต่อเน่ือง ทาใหก้ ารพฒั นาเทคโนโลยีเจริญกา้ วหนา้ ความสมั พนั ธ์

ระหวา่ งวิทยาศาสตร์กบั เทคโนโลยี ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยหลกั
สาคญั คือ ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์คือการพยายามท่ีอธิบายวา่ ทาไมจึงเกิดอยา่ งน้นั (Why) เช่น นกั ฟิ สิกส์ อธิบายวา่ เมื่อ
ขดลวดตดั สนามแมเ่ หลก็ จะไดก้ ระแสไฟฟ้า และน้าเกิดจากไฮโดรเจนผสมกบั ออกซิเจนเป็นตน้

เทคโนโลยกี ารส่ือสาร (Communication Technology)

เทคโนโลยกี ารส่ือสาร (Communication Technology) คือเทคโนโลยีดิจิตลั (Digital Technology)ประเภท
หน่ึงซ่ึงไดพ้ ฒั นาตวั เพอ่ื เอ้ือต่อการจดั การ “การสื่อสาร(Communication)” หรือ “การขนส่งข่าวสาร(Transfer of
Information)” เทคโนโลยกี ารส่ือสาร ไม่วา่ จะเป็นทางดา้ นภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือ ทางดา้ นขอ้ มูล (Data) ไดร้ ับ
การพฒั นาจนมนุษย์ สามารถเชื่อมโยงติดตอ่ กนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว และเป็นเครือขา่ ยที่ติดต่อส่ือสารกนั ไดท้ ว่ั
โลก เป็นยคุ ของสารสนเทศ (Information Age) และเป็นสงั คมสาร- สนเทศ (Information Society) ที่นบั วนั จะมีอตั ราการ
เติบโตข้ึนทุกท่ีท้งั ในดา้ นขนาดและปริมาณข่าวสารท่ีไหลเวียนอยูใ่ นสงั คม

เทคโนโลยกี ารแพร่ภาพและเสียง (Broadcast and Motion Picture

Technology)

เทคโนโลยกี บั การใช้ชีวติ ในประจาวนั เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษยพ์ ฒั นาข้ึน เพอื่ ช่วยในการทางานหรือ
แกป้ ัญหาต่าง ๆ เขน่ อุปกรณ์, เคร่ืองมือ, เครื่องจกั ร, วสั ดุ หรือ แมก้ ระทงั่ ท่ีไม่ไดเ้ ป็นสิ่งของที่จบั ตอ้ งได้ ส่วนที่เป็นขอ้
แตกตา่ งอยา่ งหน่ึงของเทคโนโลยี กบั วิทยาศาสตร์ คือเทคโนโลยจี ะข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั UFABET ทางเศรษฐกิจเป็นสินคา้ มี
การซ้ือขาย ส่วนความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นสมบตั ิส่วนรวมของ ชาวโลกมีการเผยแพร่โดยไมม่ ีการซ้ือขายแต่อยา่ งใด
กล่าวโดยสรุปคือ เทคโนโลยีสมยั ใหม่เกิดข้ึนโดยมีความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์เป็นฐานรองรับ

เทคโนโลยกี ารพมิ พ์ (Print and Publishing Technology)

1. พมิ พ์ดจิ ิตอล (Digital Printing)
เป็นการพมิ พท์ ่ีใชเ้ คร่ืองพมิ พ์ หรือพริ้นเตอร์ต่อพว่ งกบั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ โดยสามารถสงั่ พิมพไ์ ดโ้ ดยตรงจากเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงงานพิมพป์ ระเภทน้ี เป็นงานพิมพท์ ่ีมีปริมาณไมม่ าก พิมพค์ ร้ังละจานวนนอ้ ย ๆ นอกจากน้ียงั สามารถ
เปลี่ยนภาพ หรือแกไ้ ขขอ้ ความไดบ้ อ่ ย ๆ

2. พมิ พ์ออฟเซ็ท (Offset Printing)

พมิ พ์แบบออฟเซ็ท เป็นการพิมพพ์ ้นื ราบ ท่ีสามารถพิมพล์ งบนกระดาษหรือวสั ดุอ่ืน ๆ ไดห้ ลากหลาย เหมาะสาหรับ
การพิมพค์ ร้ังละมาก ๆ วธิ ีการ คือใชร้ ะบบและหลกั การน้ากบั น้ามนั ไมร่ วมตวั กนั โดยสร้างเยื่อน้าไปเกาะอยบู่ น
บริเวณไร้ภาพของแผน่ แมพ่ มิ พ์ เม่ือรับหมึก หมึกจะไม่เกาะน้าแต่จะไปเกาะบริเวณที่เป็นภาพแลว้ ถูกถา่ ยลงบนผา้ ยาง
และกระดาษพมิ พต์ ่อไป ซ่ึงเป็นการพิมพท์ ี่เนน้ รายละเอียดการพิมพส์ ูงมาก มีเครื่องพิมพห์ ลายขนาด

3. พมิ พ์องิ ค์เจท็ (Inkjet)
เป็นงานพมิ พท์ ี่ใชเ้ คร่ืองพมิ พแ์ บบพน่ หมึก โดยการพน่ หมึกออกมาเป็นหยดเลก็ ๆ ลงบนกระดาษ เมื่อสงั่ พมิ พ์
ตวั เคร่ืองจะคานวณตาแหน่งจุดของภาพรวม และพน่ สีหมึกที่ประมวลผลไวอ้ ยา่ งแมน่ ยาตามรูปแบบไฟลง์ านท่ีใส่เขา้
ไป ทาใหภ้ าพออกมาชดั เจ่นและคมชดั ซ่ึงงานพมิ พป์ ระเภทน้ีสามารถสงั่ พมิ พไ์ ดท้ ้งั งานขนาดเลก็ และงานขนาดใหญ่
ไมจ่ ากดั ขนาดบนกระดาษ เหมาะสาหรับนามาใชท้ ้งั งานภายในและงานภายนอกอาคาร

4. พมิ พ์ซิลค์สกรีน (Silkscreen Printing)

เป็นการพมิ พพ์ ้นื ฉลุท่ีใชห้ ลกั การพมิ พ์ โดยใหห้ มึกซึมทะลุผา่ นผา้ ที่ขึงตึงไว้ และใหท้ ะลุผา่ นเฉพาะบริเวณที่เป็นภาพ
สามารถพิมพง์ านสอดสีไดแ้ ละสามารถพิมพล์ งบนวสั ดุไดห้ ลากหลายชนิด ท้งั กระดาษ ผา้ ไม้ พลาสติก รวมไปถึง
พมิ พบ์ นวสั ดุที่มีผวิ โคง้ ได้ เช่น แกว้ ขวด จานชาม เป็นตน้ นอกจากน้ีความละเอียดของภาพพิมพข์ ้ึนอยูก่ บั ความถี่ของ
เสน้ ใยผา้ อีกดว้ ย

เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (Computer Technology)

เป็นเทคโนโลยีสาหรับการจดั การสารสนเทศ ไดแ้ ก่ การรวบรวมและการตรวจสอบขอ้ มูล การ
ประมวลผล และการดูแลรักษาขอ้ มูลเพ่อื ใหไ้ ดส้ ารสนเทศตามที่ตอ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ดงั น้นั การจดั การสารสนเทศตอ้ งอาศยั เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ไดแ้ ก่ ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ในการรับขอ้ มูล การ
ประมวลผล การแสดงผล และการจดั เกบ็ ขอ้ มูล

เทคโนโลยสี ่ือสารโทรคมนาคม (Telecommunication Technology)

เป็นเทคโนโลยสี าหรับการกระจายและเผยแพร่สารสนเทศไปยงั ผใู้ ชท้ ่ีอยูห่ ่างไกลไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว
ถูกตอ้ ง ครบถว้ น ทนั ต่อเหตุการณ์ ซ่ึงเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ไดแ้ ก่ เทคโนโลยที ่ีใชใ้ นระบบโทรคมนาคม เช่น
ระบบโทรศพั ท์ โทรเลข วิทยุกระจายเสียง วทิ ยุโทรทศั น์ รวมถึงเทคโนโลยรี ะบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดว้ ย

ประเภทของเทคโนโลยกี ารสื่อสาร

รูปแบบของการสื่อสาร แบง่ ไดเ้ ป็น 2 รูปแบบ คือ
2.1 การสื่อสารทางเดยี ว (One - Way Communication) เป็นการส่งข่าวสารหรือการสื่อความหมายไปยงั ผรู้ ับ

แตเ่ พยี งฝ่ายเดียว โดยท่ีผรู้ ับไมส่ ามารถมีการตอบสนองในทนั ที (immediate response) ใหผ้ สู้ ่งทราบได้ แตอ่ าจจะมี
ปฏิกิริยาสนองกลบั (feedback) ไปยงั ผูส้ ่งภายหลงั ได้ การส่ือสารในรูปแบบน้ีจึงเป็นการท่ีผรู้ ับไมส่ ามารถมี
ปฏิสมั พนั ธต์ อ่ กนั ไดท้ นั ที จึงมกั เป็นการส่ือสารโดยอาศยั สื่อมวลชน เช่น การฟังวทิ ยุ หรือการชมโทรทศั น์ เหลา่ น้ี
เป็ นตน้
2.2 การส่ือสารสองทาง (Two-Way Communication) เป็นการสื่อสารหรือการส่ือความหมายที่ผรู้ ับมีโอกาส
ตอบสนองมายงั ผสู้ ่งไดใ้ นทนั ที โดยที่ผสู้ ่งและผรู้ ับอาจจะอยตู่ อ่ หนา้ กนั หรืออาจอยคู่ นละสถานท่ีกไ็ ด้ แต่ท้งั สอง
ฝ่ายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโตต้ อบกนั ไปมา โดยที่ต่างฝ่ายต่างผลดั กนั ทาหนา้ ที่เป็นท้งั ผูส้ ่งและผรู้ ับในเวลา
เดียวกนั เช่น การพดู โทรศพั ท์ การประชุม เป็นตน้

การส่ือสารทางเดียว การสื่อสารสองทาง

เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
(Computer Technology)

ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการ ดงั น้ี

1. การสื่อสารถือเป็ นส่ิงจาเป็ นในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ
2. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารประกอบดว้ ยผลิตภณั ฑห์ ลกั ที่มากกวา่ โทรศพั ทแ์ ละ

คอมพวิ เตอร์
3. มีผลใหก้ ารใชง้ านดา้ นต่างๆ มีราคาถูกลง
4. เครือขา่ ยส่ือสารไดร้ ับประโยชนจ์ ากเครือข่ายภายนอก
5. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารทาให้ฮาร์ดแวร์คอมพวิ เตอร์และตน้ ทุนการใช้ ICT มีราคา

ถูกลงมาก

เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีที่ถูกนามาใชเ้ พือ่ การบนั ทึก จดั เกบ็ ประมวลผล และคน้ คืน
สารสนเทศ ซ่ึงแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของคอมพวิ เตอร์ รวมถึงสื่อท่ีใชใ้ นการบนั ทึกขอ้ มูล
ไดแ้ ก่ อุปกรณ์รับขอ้ มูล (Input Devices) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยความจาหลกั
(Main Memory Unit) หน่วยเกบ็ ขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage) และอุปกรณ์แสดงผล (Output Devices)

เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (ต่อ)

2. ซอฟท์แวร์ หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นชุดคาสง่ั ที่ควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์สามารถ
แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดงั น้ี

เครื่องคอมพวิ เตอร์

เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพ้ืนฐาน 4 อยา่ ง (IPOS cycle) คือ
รับข้อมลู (Input) เครื่องคอมพวิ เตอร์จะทาการรับขอ้ มูลจากหน่วยรับขอ้ มูล(input unit) เช่น คีบอร์ด หรือ

เมาส์
ประมวลผล (Processing) เครื่องคอมพวิ เตอร์จะทาการประมวลผลกบั ขอ้ มูล เพื่อแปลงใหอ้ ยใู่ นรูปอ่ืน

ตามท่ีตอ้ งการ
แสดงผล (Output) เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะใหผ้ ลลพั ธจ์ ากการประมวลผลออกมายงั หน่วยแสดงผลลพั ธ์

(output unit) เช่น เคร่ืองพิมพ์ หรือจอภาพ
เกบ็ ข้อมลู (Storage) เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะทาการเกบ็ ผลลพั ธ์จากการประมวลผลไวใ้ นหน่วยเกบ็ ขอ้ มูล

เพื่อใหส้ ามารถนามาใชใ้ หม่ไดใ้ นอนาคต

(data)

ขอ้ มูล (data) กลุม่ ตวั อกั ษรอกั ขระท่ีเมื่อนามารวมกนั แลว้ มีความหมายอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงและสาคญั ควรคา่
แก่การจดั เกบ็ เพือ่ นาไปใชใ้ นโอกาศต่างๆ ขอ้ มูลมกั เป็นขอ้ ความที่อธิบายถึงส่ิงใดส่ิงหน่ึง อาจเป็นตวั อกั ษร
ตวั เลข หรือสญั ลกั ษณ์ใดๆ ท่ีสามารถนาไปประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์
สารสนเทศ ขอ้ มูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ท่ีไดร้ ับการสรุป คานวณ จดั เรียงหรือประมวลแลว้ จากขอ้ มูลต่างๆ ท่ี
เก่ียวขอ้ งอยา่ งเป็นระบบตามหลกั วิชาการจนไดเ้ ป็นความรู้เพอ่ื นามาเผยแพร่และใชป้ ระโยชนใ์ นงานดา้ นตา่ งๆ
ขอ้ มูลและสารสนเทศนบั วา่ เป็นประโยชนต์ อ่ การนาไปใชบ้ ริหารงานดา้ นต่างๆ มากมายอาทิเช่น

– ดา้ นการวางแผน

– ดา้ นการตดั สินใจ

– ดา้ นการดาเนินงาน

เทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม
(Techcommunication)

เทคโนโลยสี ื่อสารโทรคมนาคม

ใชใ้ นการติดตอ่ ส่ือสารรับ/ส่งขอ้ มูลจากที่ไกล ๆ เป็นการส่งของขอ้ มูลระหวา่ งคอมพิวเตอร์หรือเครื่องมือท่ีอยู่

ห่างไกลกนั ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารเผยแพร่ขอ้ มูลหรือสารสนเทศไปยงั ผใู้ ชใ้ นแหล่งต่าง ๆ เป็นไปอยา่ งสะดวก รวดเร็ว

ถูกตอ้ ง ครบถว้ น และทนั การณ์ ซ่ึงรูปแบบของขอ้ มูลท่ีรับ/ส่งอาจเป็นตวั เลข (Numeric Data) ตวั อกั ษร (Text) ภาพ
(Image) และเสียง (Voice)เทคโนโลยีท่ีใชใ้ นการส่ือสารหรือเผยแพร่สารสนเทศ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีที่ใชใ้ นระบบ

โทรคมนาคมท้งั ชนิดมีสายและไร้สาย เช่น ระบบโทรศพั ท,์ โมเด็ม, แฟกซ,์ โทรเลข, วทิ ยกุ ระจายเสียง, วทิ ยุโทรทศั น์
เคเบิล้ ใยแกว้ นาแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เป็นตน้ สาหรับกลไกหลกั ของการส่ือสารโทรคมนาคมมี
องคป์ ระกอบพ้ืนฐาน 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ตน้ แหล่งของขอ้ ความ (Source/Sender), ส่ือกลางสาหรับการรับ/ส่งขอ้ ความ
(Medium), และส่วนรับขอ้ ความ (Sink/Decoder) ดงั แผนภาพต่อไปน้ี คือ แผนภาพแสดงกลไกหลกั ของการสื่อสาร

เทคโนโลยที ใี่ ช้ในการเกบ็ ข้อมูล เช่น ดาวเทยี มถ่ายภาพทางอากาศ
, กล้องดิจทิ ลั , กล้องถ่ายวดี ที ศั น์, เคร่ืองเอกซเรย์ ฯลฯ

เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการบันทกึ ข้อมูล จะเป็ นส่ือบนั ทกึ ข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทป
แม่เหลก็ , จานแม่เหลก็ , จานแสงหรือจานเลเซอร์, บัตรเอทเี อม็ ฯลฯ

เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
ท้งั ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์

เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพมิ พ์, จอภาพ
, พลอตเตอร์ ฯลฯ

เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เคร่ืองถ่ายเอกสาร
, เคร่ืองถ่ายไมโครฟิ ล์ม

เทคโนโลยสี าหรับถ่ายทอดหรือส่ือสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคม
ต่าง ๆ เช่น โทรทศั น์, วทิ ยกุ ระจายเสียง, โทรเลข, เทเลก็ ซ์ และระบบ
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ท้งั ระยะใกล้และไกล

องค์ประกอบทส่ี าคญั ของเทคโนโลยโี ทรคมนาคม

ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบทส่ี าคญั

เครื่องส่งสัญญาณ (Transmitter)
ทาหนา้ ท่ีในการแปลงหรือเปล่ียนสญั ญาณไฟฟ้าท่ีใชแ้ ทนขา่ วสารจากตน้ กาเนิดข่าวสารใหเ้ ป็นสญั ญาณหรือ

คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ีเหมาะสมในการส่งตอ่ ไปยงั ปลายทางเช่นระบบโทรศพั ท์ ตวั เครื่องโทรศพั ทจ์ ะแปลง
สญั ญาณไฟฟ้าที่ใชแ้ ทนเสียงพูด ใหเ้ ป็นสญั ญาณแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าที่เหมาะสมและส่งตอ่ ไปยงั ปลายทางสาหรับใน
ระบบการส่ือสารขอ้ มูล ส่วนน้ีจะเป็น MODEM หรืออุปกรณ์อื่นท่ีเหมาะสมในการเปลี่ยนสญั ญาณไฟฟ้าที่มาจาก
คอมพวิ เตอร์เพอื่ ใหเ้ ป็นสญั ญาณแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าท่ีเหมาะสมในการผา่ นระบบส่ือสญั ญาณไปยงั ปลายทาง

ระบบการส่งผ่านสัญญาณ (Transmission System)
เคร่ืองส่งไดเ้ ปล่ียน หรือแปลงสญั ญาณไฟฟ้าที่ใชแ้ ทนข่าวสารต่าง ๆ ใหเ้ ป็นสญั ญาณหรือคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าท่ี
เหมาะสม สญั ญาณกจ็ ะถูกส่งผา่ นระบบระบบการส่งผา่ นสญั ญาณ เพอื่ ส่งตอ่ ไปยงั เคร่ืองรับและผรู้ ับที่ปลายทาง
ดงั น้นั ระบบการส่งผา่ นสญั ญาณจึงถือไดว้ า่ นบั เป็นส่วนท่ีสาคญั และจาเป็นมากในระบบการส่ือสารโทรคมนาคม

เคร่ืองรับสัญญาณ (Receiver)

เคร่ืองรับสญั ญาณ เป็นส่วนท่ีทาการเปล่ียนสญั ญาณ หรือคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า ที่ถูกส่งผา่ นระบบการส่งผา่ น

สญั ญาณจากตน้ ทาง เพอื่ ใหก้ ลบั มาเป็นสญั ญาณไฟฟ้าท่ีใชแ้ ทนข่าวสารที่ถูกส่งมาจากตน้ ทาง ท้งั น้ีเพ่ือส่งใหอ้ ุปกรณ์
ปลายทางทาการแปลง หรือเปล่ียนสญั ญาณไฟฟ้าน้นั ใหก้ ลบั มาเป็นขา่ วสารที่ผรู้ ับสามารถเขา้ ใจความหมายได้
สาหรับระบบการสื่อสารขอ้ มูลส่วนน้ีจะเป็น MODEM หรืออุปกรณท์ ี่เหมาะสมในการเปลี่ยนสญั ญาณแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
ใหเ้ ป็นสญั ญาณไฟฟ้าที่ใชข้ อ้ มูลในรูปแบบท่ีถูกตอ้ ง และเหมาะสมสาหรับการส่งต่อใหเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ ดงั น้นั
อุปกรณบ์ างชนิด เช่น MODEM อาจเป็นไดท้ ้งั อุปกรณ์ในการส่ง และรับสญั ญาณ ในอุปกรณ์ชนิดเดียวกนั

ผู้รับสัญญาณ (Destination)
ผูร้ ับสญั ญาณ เป็นส่วนสุดทา้ ยในระบบการส่ือสารโทรคมนาคม ซ่ึงทาหนา้ ที่รับขอ้ มูลข่าวสารที่ส่งมาจากตน้ กาเนิด

ข่าวสารดงั น้นั อุปกรณ์รับสญั ญาณ และอุปกรณส์ ่งสญั ญาณ อาจเป็นอุปกรณช์ นิดเดียวกนั กไ็ ดเ้ ช่นคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้

ต้นกาเนดิ ข่าวสาร (Source of Information) เป็นส่วนแรกในระบบการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นแหล่งท่ีมาของข่าวสาร

ต่าง ๆ ที่ผสู้ ่งตอ้ งการท่ีจะส่งไปยงั ผูร้ ับที่ปลายทางตวั อยา่ งในระบบโทรศพั ท์ หรือระบบวิทยกุ ระจายเสียง ส่วนน้ีกค็ ือ
เสียงพูดของผูพ้ ดู ที่ตน้ ทาง ซ่ึงจะถูกไมโครโฟนเปล่ียนใหเ้ ป็นสญั ญาณไฟฟ้าที่เหมาะสม และส่งเขา้ ไปในระบบ หรือใน

กรณีระบบการส่ือสารขอ้ มูล (Data Communication) ส่วนน้ีอาจจะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือ Data Terminal ประเภท
ต่าง ๆ

อ้างอิง

ทำควำมรูจ้ กั กบั 7 เทคโนโลยีกำรพมิ พใ์ นปัจจบุ นั – Riccoprint

เทคโนโลยีสื่อสำรโทรคมนำคม - Woraphan ja (google.com)

ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์นี้ เป็ นส่วนหนึ่งของ
รหสั วชิ า 30203-2002 เทคโนโลยสี ารสนเทศในงานเลขานุการ

ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564

เสนอ
ครูปรียา ปันธยิ ะ

จดั ทาโดย
นางสาว เกษราภรณ์ เชียงพนั ธ์
เลขที่1 สาขาวชิ าการเลขานุการ

วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาลาปาง


Click to View FlipBook Version