The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหมาย
สาเหตุ
อาการ
วิธีการรักษา
การป้องกัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nipaporn Mongkonket, 2022-09-04 08:02:42

โรคไต

ความหมาย
สาเหตุ
อาการ
วิธีการรักษา
การป้องกัน

โรคไต

“เสี่ยงทุกวัย เ

ป็นได้ทุกคน”

คำนำ

แผนการสอนทางสุขภาพฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ แนวทางในการสอนและ
ให้คำแนะนำแก่ผู้ที่มารับการสอนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าตาล อำเภอเมือง จังหวัด
ลพบุรี เพื่อให้ผู้ มารับบริการมีความรู้เรื่อง ความหมาย สาเหตุ อาการ วิธีการรักษา การปฏิบัติตัว
การป้องกัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขและสร้าง
เสริมให้มี คุณภาพชีวิตที่ดี เมื่อเป็นโรคไตได้อย่างถูกต้อง

ผู้จัดทำขอบพระคุณ อาจราย์ ดร.สาริณีย์ จินดาวุฒิพันธ์ ผู้ให้ความรู้และแนวทางในการ
ศึกษา ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำแผนการสอนฉบับนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ต่อผู้ที่สนใจศึกษาแผนการสอนเป็นอย่างดี

สารบัญ เรื่อง หน้า

ความหมายของการเกิดโรคไต 6

สาเหตุของการเกิดโรคไต 7

อาการของผู้ที่เป็นโรคไต 9

วิธีการรักษาโรคไต 10

วิธีการปฏิบัติตัวและการป้องกันการเกิดโรคไต 15

ส่วนนำ

เรื่อง โรคไต “เสี่ยงทุกวัย เป็นได้ทุกคน”

ผู้สอน นางสาวนิภาพร มงคลเกตุ

กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพโรคไต จำนวน 20 คน

วันเวลา วันอาทิตย์ ที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 9.00-9.20

สถานที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าตาล อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

แนวคิด โรคไตเกิดจากการเสื่อมของไตและการถูกทำลายของหน่วยไต ส่งผลต่อ ระบบต่างๆ ภายในร่างกาย เช่น ระบบทางเดิน

แแแแแแแแแแแแแแแแแอาหารจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เยื่อบุช่องปากและเหงือกอักเสบ ระบบหายใจจะมีอาการน้ำท่วมปอด หายใจ

ดดดดดดดดดดดดดดดดหอบ ระบบหัวใจและหลอดเลือดหลอดเลือด จะมีอาการ ความดันโลหิตสูงการ ทำงานของหัวใจผิดปกติ ระบบขับถ่าย

ระบบดดดดดดดดดดดดดปัสสาวะ ปัสสาวะ ออกน้อย ระบบประสาท จะมีอาการชาที่แขน ขา ปลายมือปลายเท้า ง่วงซึม สับสน ขาดสมาธิ

เป็นต้นดดดดดดดดดดดดดดดดต้นจึงมีผลให้อัตราการกรองทั้งหมดลดลง และการขับถ่ายของ เสียลดลง ดังนั้นหน่วยไตที่เหลืออยู่ จะเจริญมาก

ผิดปกติ ดดดดดดดดดดดด ปกติเพื่อจะกรองของเสียที่มีมากขึ้นผลที่เกิดทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นปัสสาวะปัสสาวะถูก

ขับดดดดดดดออกไป อออกไปอย่างต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆได้ ทำให้สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย

วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ผู้ฟังมีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย สาเหตุ อาการ วิธีการรักษาและการปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคไตได้อย่างถูก
ดดดดดดดดดดดดด ดดต้อง

หัวข้อการสอน
1. ความหมายของโรคไต
2. สาเหตุของการเกิดโรคไต
3. อาการของผู้ที่เป็นโรคไต
4. วิธีการรักษาโรคไต
5. การปฏิบัติตัวและการป้องกันเมื่อเป็นโรคไต

ในปัจจุบันโรคไตเป็นปัญหาสาธารณะสุขระดับโลก รวมทั้งประเทศไทยซึ่งเป็นปัจจัย
เสี่ยงสำคัญของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดซึ่งทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรและมี
การดำเนินโรคไปสู่โรคไตวายการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่ามีความซุกและอุบัติ
การณ์ของโรคเพิ่มขึ้น โดยพบได้มากกว่า ร้อยละ 13.0 ของประชากร ล่าสุดในประเทศไทย
โดยสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยในปี 2560 พิจารณาถึงความชุกของโรคไตในระยะเริ่ม
ต้น พบว่ามากกว่าในระยะที่เป็น ถึง100 เท่า

ความหมายของการเกิดโรคไต

โรคไตคือ ภาวะที่ไตทำงานได้น้อยลงหรือผิดปกติ ซึ่งหน้าที่ของไตคือการกำจัด
ของเสียและสารพิษต่างๆ ออกจากร่างกาย การหลั่งฮอร์โมน การควบคุมน้ำและแร่ธาตุ
ในร่างกาย ฯลฯ เมื่อไตทำงานได้น้อยลงจึงไม่สามารถกำจัดของเสียหรือสารพิษออกจาก
ร่างกายได้ ระดับฮอร์โมนผิดปกติ รวมไปถึงความผิดปกติต่างๆ ของร่างกาย

สาเหตุของการ โรคเบาหวาน โรคความดัน
เกิดโรคไต โลหิตสูง
ผู้ป่วยโรคเบาหวานมักจะ
มีความเสี่ยงโรคไต โรคความดันโลหิตสูงอาจ
มากกว่าคนอื่นๆ และจัด ทำให้เส้นเลือดที่ไตเสื่อม
เป็นสาเหตุหลักของภาวะ ทำให้โปรตีนจากเลือดรั่ว
ไตวายเรื้อรัง เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะซึ่ง
ในที่สุดจะทำให้ไตเสื่อมลง
และขับของเสียได้น้อยลง

สาเหตุของการ โรคระบบหัวใจ
เกิดโรคไต และหลอดเลือด

ความดันโลหิตต่ำ มีผลต่อปริมาณเลือดที่ ออก
จเลาือกดหัวมใีจผแลลตะ่อระกบาบรทไํหาหลนเ้วีายที่น่
ภาวะช็อคจากหัวใจและ ของไต ทําใหไตลด การขับน้ำ
หลอดเลือดหรือความดัน และโซเดียม การคั่งของของ
โลหิตต่ำมีผลต่อการทํา น้ำในหลอดเลือด ทําให้เกิด
หน้าที่ของไตทำให้หลอด อาการบวม
เลือดที่ไตหดตัวเลือดไป
เลี้ยงที่ไตลดลง

มักเริ่มจากมีอาการ มักมีอาการปวดบวม
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ซึ่งส่วนใหญ่จะเริ่มจาก
ดูอิดโรย ใบหน้าและจะไปบวมที่
ขาและเท้า

อาการของผู้ที่ มีอาการปัสสาวะผิด
เป็นโรคไต ปกติ เช่น ปัสสาวะเป็น
เลือด ปัสสาวะบ่อยขึ้น
มีอาการปวดหลังหรือปวด ในช่วงกลางคืน หรือ
สะบั้นเอว บริเวณชายโครง บางคนอาจจะปัสสาวะ
ด้านหลังซึ่งอาจจะร้าวไป ได้น้อยลง
ถึงท้องน้อย หรือปวดร้าว
กระดูกและข้อ

อาการของผู้ที่เป็นโรคไต

มีอาการผิวซีดและมี คลำพบก้อนเนื้อบริเวณไต ซึ่งอาจ ความดันโลหิตสูง (อาจจะตรวจ
อาการคัน มีจ้ำเลือด จะพบด้านใดด้านหนึ่งของร่างกาย พบเมื่อไปโรงพยาบาลหรือตรวจ
เกิดขึ้นง่าย ผิวแตก
ที่บริเวณขอบล่างของซี่โครง สุขภาพประจำปี)

วิธีการรักษา การควบคุมอาหาร
โรคไต
โปรตีน เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการ ผู้ป่วยโรคไตก็ยังต้องรับประทาน
อาหารที่ให้โปรตีน แต่ควรจำกัดปริมาณอาหารที่มีโปรตีนสูงทั้งจากพืชและ
เนื้อสัตว์ไม่ให้มากเกินไป เพื่อเป็นการลดการทำงานของไต ได้แก่ เนื้อสัตว์ที่
มีไขมันและคอเลสเตอรอลมาก เป็นต้น เช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์ หมูสาม
ชั้น หมูกรอบ เป็นต้น

วิธีการรักษาโรคไต (ต่อ)

โซเดียม อาหารที่มีโซเดียมสูง เช่น อาหารรสจืดแต่มีโซเดียมเป็นส่วนประกอบ เช่น
ขนมปัง เนื่องจากมีการใช้ผงฟู เมื่อเป็น โรคไตร่างกายจะไม่สามารถกำจัดโซเดียมส่วน
เกินออกไปได้ ทำ ให้เกิดมีนํ้าคั่งและเกิดอาการบวม มีนํ้าท่วมปอด และอาจเกิดภาวะ
หัวใจล้มเหลวได้

วิธีการรักษาโรคไต (ต่อ)

โพแทสเซียม อาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ผลไม้แห้งทุกชนิดทุเรียน มะขามน
เมื่อไตทำงานลดลงจะลด การขับโพแทสเซียมทางปัสสาวะ ทำให้เกิดการสะสม
ของโพแทสเซียม ถ้ามีสูงจะเริ่มมีอาการกล้ามเนื้อ อ่อนแรง เป็นตะคริว หรือหัวใจ
เต้นผิดปกติได้

วิธีการรักษาโรคไต (ต่อ)



ฟอสฟอรัส อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง ได้แก่ ข้าว 
นมและผลิตภัณฑ์จากนม นมข้นหวาน ไข่ปลา ไข่แดง กุ้ง ปู ปลาขนาดเล็กที่กินทั้ง
กระดูก ถั่วเมล็ดแห้ง ชากาแฟ และนํ้าอัดลมสีดำ เป็นต้น

วิธีการรักษาโรคไต (ต่อ)

  การจํากัดน้ำดื่ม

ผู้ป่วยไตระยะต่างๆการจำกัดน้ำไม่เท่ากันในผู้ป่วยยังสามารถขับปัสสาวะออกมา
ได้มากก็สามารถดื่มน้ำได้ตามปกติไม่จำเป็นต้องกำจัดดื่มน้ำ โดยทั่วไปควรดื่มน้ำ
ประมาณ 2 ลิตร ต่อวัน แต่ถ้าผู้ป่วยมีอาการบวมตามตัว ปัสสาวะออกลดลง ต้อง
จํากัดปริมาณน้ำดื่ม

วิธีการปฏิบัติตัวและการป้องกันการเกิดโรคไต

1. การเลือกรับประทานอาหารที่ครบ 5 หมู่
- เลือกรับประทานผักหรือผลไม้ให้มากขึ้น โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่วหรือผัก เต้าหู้ เป็นต้น
- รับประทานพืชจำพวกแป้งและข้าวให้มากกว่าการับประทานเนื้อสัตว์
- จำกัดการรับประทานเกลือหรืออาหารที่มีรสเค็ม
- จำกัดอาหารมันโดยเฉพาะไขมันจากสัตว์ ไข่แดง เป็นต้น

2. ดื่มน้ำ วันละ 6-8 แก้ว หรือ 2 ลิตรต่อวัน
3. ออกกำลังกายอย่างน้อยวันละ 30 นาที อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์

เช่น เดินเร็ว ปั่ นจักรยาน ว่ายน้ำ แอโรบิค เป็นต้น
4. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ เนื่องจากการสูบบุหรี่ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลง
5. ตรวจวัดความดัน อย่างสม่ำเสมอ พยายามหลีกเลี่ยงความเครียดและผ่อนคลายอารมณ์
6. ตรวจสุขภาพประจำทุกปี

สรุปเนื้อหา

โรคไต คือกลุ่มโรคและอาการที่เกิดจากภาวะไตเสื่อมหรือทำงานได้น้อยลงส่งผลให้มี
ความผิดปกติในการกำจัดสารพิษหรือของเสียต่างๆ ออกจากร่างกาย
สาเหตุ

เป็นโรคเบาหวาน
เป็นโรคความดันโลหิตสูง
เป็นโรคความดันโลหิตต่ำ
เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
อาการ
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ดูอิดโรย
ปวดบวมจะเริ่มจากใบหน้า และไปบวมที่ขาและเท้า
ปวดหลังหรือปวดสะบั้นเอวบริเวณชายโครงด้านหลัง
มีอาการปัสสาวะผิดปกติ
ความดันโลหิตสูง

สรุปเนื้อหา

การรักษา
1. การควบคุมอาหาร
- โปรตีน
- โซเดียม
- โคแลตเตอรอล
- โพแทสเชียม
2 . การจำกัดน้ำ
ผู้ป่วยไตระยะต่างๆการจำกัดน้ำไม่เท่ากันในผู้ป่วยยังสามารถขับ ปัสสาวะออกมา

ได้มากก็สามารถดื่มน้ำได้ตามปกติ
การปฏิบัติตน

- ดื่มน้ำให้เพียงพอ
- รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
- ตรวจเช็คความดันโลหิตให้อยู่ในค่าปกติ
- หลีกเลี่ยงการกินยาแก้ปวดและแก้อักเสบเกินความจำเป็น
- การออกกำลังกายและควบคุมน้ำหนักให้เหมาะสม

บรรณานุกรม

พิสุทธิ์ กตเวทนิ, กฤษณพงค์มโนธรรมและสมชาย เอี่ยมอ่อง, (2550). กลไกและพยาธิสรีรวิทยา ของโรค
คดดดด ไตเรื้อรัง. ใน สมชายเอี่ยมอ่องเกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์, เกรียง ตั้งสง่าและ เถลิงศักดิ์กาญ
กาญด จนบุษย์ (บรรณาธิการ), Clinical Dialysis (หน้า 1-22). กรุงเทพฯ: เท็กซ์แอนด์ เจอร์ นับพับลิเคชั่น
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์,จันทนารณฤทธิชัย, วิไลวรรณ ทองเจริญ, วีนัส ลีฬหกุลและพัสมณฑ์ คุ้มทวีพร. (2543).

ดดดด พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล (พิมพ์ครั้งกกกกกกกกกที่4). กรงเทพฯ ุ : บุญศิริการพิมพ์.
วนิดา คู่เคียงบุญุ . (2551). การจัดการกับภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง.วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตร์

มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุกัญญาจ้อยกล่า. (2550). การศึกษาอาการที่ พบบ่อยการประเมินอาการและการจัดการกับอาการ ของผู้ป่วย

กกกกกก โรคไตเรื้อรังที่รักษาโดยกาฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตร์
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย บูรพา.

ดดดดดดดดสุภาภรณ์ด้วงแพง.(2551).อาการและกลุ่มอาการ:ความแตกตางการวิจัยและการนําไปใช้
ดดดดดดดด. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา อ อออออออ,16(1), 63 -74.

Thank You!


Click to View FlipBook Version