หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์
เรือ่ ง อาณาจักรรัตนโกสินทร์
คานา
สารบัญ หน้า
1
เรือ่ ง 2
รายนามพระมหากษตั รยิ ์ 3
การสถาปนาอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร์ 6
พัฒนาการรตั นโกสินทรต์ อนตน้ 8
พัฒนาการรัตนโกสินทร์ยุคปฏิรปู ประเทศ 9
พัฒนาการรตั นโกสินทร์ยุคประชาธปิ ไตย
ภูมิปัญญาไทยสมัยรตั นโกสนิ ทร์
10 พระมหากษตั รยิ ์แห่งราชวงศจ์ ักรี
พระบาทสมเดจ็ พระพุ ทธยอดฟา้ จุฬาโลก พระบาทสมเด็จพระพุ ทธเลศิ หล้านภาลัย พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอยูห่ วั
รัชกาลท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) รชั กาลท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๑) รัชกาลท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๗๔)
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว
รชั กาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑) รัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓) รชั กาลท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘)
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
เจ้าอย่หู วั รัชกาลท่ี ๗ มหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลง
กรณ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั
(พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๘) (พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๙) (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๕๕๙)
รชั กาลที่ ๑o
(พ.ศ. ๒๕๕๙ - ปัจจุบัน)
การสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสนิ ทร์
ต้งั อยู่ท่ี ตาบล บางกอก ฝ่ ังทิศตะวันออกของแมน่ า้ เจ้าพระยาอยู่ตรงกบั
กรงุ ธนบรุ ี ทรงสร้างวัดพระศรรี ัตนศาสดารามและได้อัญเชญิ พระพุ ทธรูปสาคญั
มาประดษิ ฐานคือ พระแก้วมรกต สร้างมาคู่กบั ราชธานีใหม่
ทรงพระราชทานนามราชธานใี หมว่ า่ กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสนิ ทร์
มหนิ ทราอยธุ ยา มหาดลิ กภพนพรตั น์ ราชธานีบุรรี มย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน
อมรพิมานอวตารสถติ สักกทตั ตยิ วษิ ณุกรรมประสทิ ธิ์
1. ทต่ี ง้ั กรงุ ธนบุรีมีนา้ กัดเซาะตลิง่ พังทลาย ตลอดเวลา
2. กรุงธนบุรมี ีแมน่ ้าเจ้าพระยาผา่ กลาง หรอื เมอื งอกแตกมแี ม่นา้ ไหลผา่ กลาง
ยากทีจ่ ะปอ้ งกนั ข้าศกึ เข้าโจมตีทางเรือ
3. พระราชวงั เดมิ คับแคบเพราะมีวัดขนาบทง้ั 2 ขา้ ง
4. กรุงรัตนโกสินทรม์ จี ุกยุทธศาสตร์เหมาะสม คือมี
เส้นทางออกสู่ทะเลและมี
แม่น้าเป็นกาแพงกน้ั ทาให้สะดวกตอ่ การคมนาคม
และการค้าขายกับชาวต่างชาติ
พัฒนาการรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๑ — ๓
มีรูปแบบการปกครองแบบ สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ ผมู้ ีอานาจ
สูงสดุ คอื พระมหากษตั ริย์มเี สนาบดี 6 ตาแหน่ง คือ
1. สมหุ กลาโหม เป็นหัวหนา้ ฝา่ ย ทหาร มีหน้าท่ี ดูแลทงั้ การทหาร
และพลเรือนพลเรือนฝา่ ยใต้
2. สมหุ นายก เป็นหวั หนา้ ฝ่ายพลเรือน มีหน้าท่ี ดูแลทง้ั การทหาร
และพลเรอื นพลเรือนฝ่ายเหนอื ตาแหนง่ จตุสดมภ์ มี 4 ตาแหนง่
ได้แก่
1) กรมเวียง มหี นา้ ทีด่ ูแลภายในพระนคร
2) กรมวงั มีหน้าที่ ดูแลพระราชวงั และตัดสนิ คดี
3) กรมคลงั มีหน้าท่ี ดแู ลพระราชทรัพย์ ตดิ ต่อการค้ากบั
ต่างประเทศ
4) กรมนา มีหน้าท่ี ดแู ลนาหลวง เกบ็ ภาษีขา้ ว
1) หวั เมอื งชน้ั ใน คือ เมอื งท่ีอยใู่ กลร้ าชธานี ผ้ปู กครอง
2) เรียกว่า ผูร้ ั้ง
3) หัวเมืองชั้นนอก คือ เมอื งที่พระมหากษตั ริย์ทรงแตง่ ตั้ง
พระราชวงศ์หรือขุนนางผใู้ หญไ่ ปปกครอง
4) หวั เมอื งประเทศราช คือ เมืองที่ตกอยูภ่ ายใต้การปกครอง
ในสมัยรัชกาลที่ ๑ มกี ารชาระกฎหมายท่ใี ช้มาตัง้ แต่สมัยอยุธยา
เรยี กวา่ กฎหมายตราสามดวง
ความสัมพันธ์กบั พมา่ ในลกั ษณะ ประเทศคสู่ งคราม ความสมั พันธ์
กับลาว เขมร มลายู ในฐานะประเทศราช ในสมัยรัชกาลที่ ๓
มีการคา้ ขายกับประเทศ จนี ญ่ปี ุ่น ชวา และอนิ เดีย
เศรษฐกิจยุคนี้ เป็นแบบยังชีพ อาชีพหลักประชากร
คือ เกษตรกรรม และหัตถกรรม (เครื่องป้ นั ดนิ เผา)
พืชสาคัญ ไดแ้ ก่ ข้าว ฝ้าย ยาสบู ออ้ ย ผัก ผลไม้
การค้ากบั ตา่ งประเทศอยูใ่ นการดูแลของ พระคลังสินค้า
รายได้เก็บจากภาษีอากร
• จงั กอบ คือ เก็บจากสินค้าผ่านดา่ น อัตรา 1 ต่อ 10
• อากร คอื เกบ็ เงิน/สิง่ ของจากอาชีพนอกเหนือจากค้าขาย
• สว่ ย คือ เกบ็ เงิน/สงิ่ ของจากไพรท่ ่ีจ่ายแทนการเข้าเวร
• ฤชา คือ ค่าธรรมเนยี มจากการออกโฉนดที่ดิน
โครงสร้างสังคมเป็นระบบศักดินา แบ่งชนช้ัน ออกเปน็ 5 ชนชั้น
ไดแ้ ก่
1) ชนชน้ั พระมหากษัตริย์
2) ชนชน้ั พระบรมวงศานวุ งศ์
3) ชนชน้ั ขุนนาง
4) ชนชั้นไพร่
5) ชนชน้ั ทาส
พัฒนาการรัตนโกสินทร์ยุคปฏิรปู ประเทศ
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทรงจดั การปกครองเปน็
กระทรวงข้นึ เป็นครงั้ แรก โดยมีผ้รู ับผดิ ชอบ
คือ เสนาบดี ในสมัยรชั กาลที่ ๖ ทรงสรา้ ง
เมอื งจาลอง ประชาธปิ ไตยขึ้น
เรียกว่า ดสุ ติ ธานี
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เอเชยี ถูกชาติตะวันตก คกุ คามทาให้ไทยตอ้
ยอมทาสนธิสญั ญากบั ประเทศ อังกฤษ คือ สนธิสัญญา เบาร์ริง
และยอมให้คนในบังคับของอังกฤษท่ีทาความผิดไม่ตอ้ งขนึ้ ศาลไทย
ทาให้ไทยเสยี เปรียบเรยี กวา่ สิทธิสภาพนอกอาณาเขต และตอ่ มา
ไทยเสีย ดนิ แดนบางส่วนใหก้ ับประเทศอังกฤษและฝร่งั เศส
ในสมัยรชั กาลที่ ๕ ไทยยงั คงเสยี ดินแดน
ใหก้ บั ประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส
อีกหลายคร้ัง เพ่ือแลกดนิ แดนส่วน
ใหญ่เอาไว้ ในสมยั รัชกาลที่ ๖ ไทยเข้ารว่ ม
สงครามโลกคร้ังท่ี ๑ ทาให้ไทยไดป้ ระโยชน์
เรื่องการแก้ไขสนธิสญั ญาทที่ าให้ไทย
เสียเปรยี บทีผ่ ่านมาในอดตี
ในสมยั รชั กาลที่ ๔ ได้มกี ารยกเลิกภาษีปากเรือ มาเปน็ การเกบ็
ภาษขี าเขา้ โดยเกบ็ อัตราร้อยละ 3 มกี ารผลิตเหรียญกษาปณข์ น้ึ มา
ใช้แทนเงนิ พดด้วงและมผี ูท้ ม่ี ีหนา้ ที่เกบ็ ภาษีอากรในรชั กาลท่ี ๕
เรยี กว่า หอรัษฎากรพิพัฒน์ มีการจดั ตงั้ ธนาคารพาณชิ ย์แหง่ แรก
ทต่ี ้งั ในขน้ึ ในสมัย รชั กาลท่ี ๕
เรียกวา่ แบงกส์ ยามกัมมาจล
ปจั จุบนั คอื ธนาคารไทยพาณชิ ย์
ต่อมาในสมยั รชั การท่ี ๖ มีการ
จัดตัง้ คลัง ออมสินขนึ้ อีกปจั จบุ ัน
คือ ธนาคารออมสิน
ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ มกี ารปฏิรปู ทางสังคม โดยพระองคไ์ ด้
ประกาศเลิกทาสทาใหเ้ กิดการยกเลิกระบบไพรแ่ ละทาส กาหนดใหม้ ี
ทหารโดยวิธี การเกณฑ์ทหาร แทนการเกณฑไ์ พร่ จึงทาใหเ้ กิดอาชพี
ทหารเป็นคร้ังแรก รชั กาลที่ ๕ ทรงยกเลิกการ หมอบคลานเขา้ เฝา้
เพ่ือให้ทนั สมัยแบบตะวันตก ทรงกาหนดใหใ้ ชป้ ฏิทนิ ทางสรุ ยิ คติ
แทนปฏทิ ินทางจนั ทรคติ การตราพระราชบญั ญตั กิ ารประถมศกึ ษา
เกิดข้นึ คร้ังแรกในรชั กาลท่ี ๖
พัฒนาการรัตนโกสินทร์สมยั ประชาธปิ ไตย
ในสมยั รชั กาลท่ี ๗ ประเทศไทยไดเ้ ปลี่ยนแปลงการปกครองจาก
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็น ระบอบประชาธปิ ไตย อันมี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ และได้มรี ัฐธรรมนญู เกิดข้นึ เป็นครั้งแรก
ในรัชกาลที่ ๗ ทรงพระราชทานให้เมื่อวนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๔๗๕
ผูท้ ี่เรยี กร้องและทาการเปล่ยี นแปลงการปกครองประเทศ
คือ กลมุ่ คณะราษฎร์ นายกรัฐมนตรี คนแรกของไทยมีชือ่ วา่
พระยามโนปกรณน์ ติ ิธาดา ในเวลาต่อมาประเทศไทยได้มกี ารประกาศใช้
แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑
ในสมยั จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ในสมยั จอมพล ป. พิบูลสงคราม
มีการเปลย่ี นชอ่ื จาก สยาม มาเป็น ไทย มกี ารยกเลกิ การกินหมาก
และ มีการสร้างระเบยี บการแตง่ กาย การนงุ่ กางเกง น่งุ กระโปรง
สวมรองเทา้ ใชช้ อ้ นสอ้ มในการรบั ประทานอาหาร
และในสมยั จอมพล ป พิบลู สงคราม ยังมีการรณรงค์ให้คนไทย
พึ่งตนเองไม่พึ่งอิทธิพลของเศรษฐกิจต่างชาติ และมีการรณรงค์ให้ค
ไทยใชส้ ินคา้ ไทยนยิ มสินคา้ ไทย จึงมีคาขวัญว่า
“ไทยทา ไทยใช้ ไทยเจริญ”
ภูมิปญั ญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์
ภูมิปัญญา คือ ความรู้ ความคดิ จากการปฏบิ ตั ิของ พ่ อแม่
ปูย่ า่ ตายาย และบรรพบุรษุ ท่ีใช้แก้ปัญหาเพ่ื อให้มีชีวติ รอด
และดารงชวี ติ ได้อย่างเป็นสขุ
ภมู ิปัญญาไทยแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้
1. สิ่งท่จี บั ตอ้ งได้ เช่น ทอ่ี ยอู่ าศัย อาหาร เคร่อื งน่งุ ห่ม เคร่ืองมอื
เครื่องใช้ในชวี ติ ประจาวนั เช่น มดื เรือ เกวยี น
2. ส่ิงทีจ่ บั ตอ้ งไม่ได้ เชน่ ความมีนา้ ใจ ความกตัญญูกตเวที
ความสามคั คี ความเอื้อเฟ้ อื เผอ่ื แผ่
คนไทยถา้ ได้เรยี นรู้และรจู้ กั นาภูมปิ ญั ญามาใช้ กจ็ ะทาให้มีทางเลอื ก
หลายทางในการแก้ปัญหา ทัง้ การแก้ปัญหาให้กับตนเอง สงั คมและ
ประเทศชาตใิ นทน่ี ้จี ะยกตวั อย่างภูมิปัญญาไทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร์
ซง่ึ เป็นส่งิ ทีส่ ะท้อนให้เหน็ ถงึ ความเจริญในดา้ นต่างๆ ดงั นี้
ภมู ปิ ัญญาไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์
การแพทยแ์ ผนไทยเป็นภมู ปิ ัญญาไทยทีช่ ่วยในการปอ้ งกัน
และดแู ลรกั ษาโรคในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หวั
(รัชกาลท่ี ๓)
พระองคท์ รงโปรดให้นกั ปราชญช์ ่วยกนั ชาระคน้ ควา้
วชิ าแพทยแ์ ผนโบราณ ยาแกโ้ รคตา่ ง ๆ ตาราการนวด
เผยแพรเ่ ปน็ ความรสู้ าธารณะ โดยทรงโปรดใหจ้ ารึกไวบ้ นแผ่นศลิ า
ภายในบรเิ วณวดั พระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวหิ าร
(วัดโพธิ์) รวมทั้งรูปป้ นั ฤาษีดัดตน
ปัจจบุ นั การนวดแผนไทยแบบวดั โพธ์ิไดร้ ับความนิยมทง้ั
จากชาวไทยและชาวต่างชาติ ทง้ั นเี้ พราะการนวดทาใหเ้ ลือดไหลเวยี น
ไปเลย้ี งร่างกายได้ดี ชว่ ยลดอาการ ปวดเมอ่ื ย คนไทยจึงควร
อนุรักษ์และสืบทอดภมู ิปัญญาด้านการรักษาสุขภาพสืบต่อไป
ภูมิปญั ญาไทยดา้ นศิลปกรรม
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เปน็ ยุคแห่งการฟ้ นื ฟูศลิ ปวฒั นธรรม
รูปแบบศลิ ปกรรมในช่วงน้ีรับอทิ ธิพลมาจากพระพุ ทธศาสนา และมลี กั ษณะ
คลา้ ยคลงึ กับศิลปกรรมสมัยอยุธยา
เชน่ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ซ่งึ สรา้ งข้นึ ในสมยั รัชกาลที่ ๑ ท่มี ี
รูปแบบมาจากวัดพระศรีสรรเพซญ์ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยารวมถงึ ประตมิ ากรรม
พระพุ ทธรปู ปางต่าง ๆ ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ทีถ่ ่ายทอดเร่ืองราวเกย่ี วกบั
พุ ทธประวัติ ชาดก วรรณกรรม และวิถชี วี ติ ของคนในสมยั นนั้
วดั พระศรรี ตั ศาสดาราม (วดั พระแก้ว) สรา้ งขน้ึ โดยถอดแบบมาจากวัด
พระศรสี รรเพชญใ์ นสมยั กรุงศรีอยธุ ยาการฟ้ นื ฟู
ศลิ ปวฒั นธรรมในยุคนีเ้ ปน็ การฟ้ นื ฟูภูมปิ ัญญาไทยในดา้ นการก่อสรา้ ง
และช่างฝมี ือในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ช่างไม้ ชา่ งแกะสลัก ชา่ งป้ นั ชา่ งหล่อ
ดว้ ยภูมิปญั ญาเหลา่ นคี้ นไทยจงึ สามารถสรา้ งพระราชวัง และวดั ได้อย่าง
งดงาม อีกท้ังยังเปน็ พื้นฐานทท่ี าใหส้ ามารถภาพ จิตรกรรมฝาผนัง
วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ประยกุ ต์ความรู้และเทคโนโลยจี ากภายนอก
มาใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม เช่น ในสมยั รัชกาลท่ี 3 วฒั นธรรมจีนเริ่มเขา้ มามี
อทิ ธิพลในประเทศไทย ก่อให้เกิดสถาปตั ยกรรมผสมระหวา่ งไทยกบั จีน
เช่น วัดยานนาวา(วัดราชโอรส)
นับตั้งแต่สมยั รชั กาลท่ี 4 เปน็ ตน้ มา ไดเ้ กดิ การผสมผสานระหว่าง
ศลิ ปกรรมไทยกบั ศลิ ปกรรมตะวันตกในด้านสถาปัตยกรรมจติ รกรรม
การนิยมป้ ันรปู มนษุ ย์เหมอื นจริง เช่น พระทนี่ ั่งจกั รีมหาปราสาท
วัดเบญจมบพิตร พระที่น่ังอนนั ตสมาคม อนสุ าวรยี ์รูปป้ นั พระมหากษัตรยิ ์
และบคุ คลสาคญั
ภมู ิปัญญาไทยดา้ นวรรณกรรม
วรรณกรรมในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ เป็นภูมิปญั ญาไทยทส่ี ะท้อน
พัฒนาการทางสังคมและวฒั นธรรม สมัยรัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น
พระบาทสมเดจ็ พระพุ ทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราชทรงโปรดเกล้าฯ
ให้พื้นฟูวรรณกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง จนถงึ สมัยพระบาทสมเดจ็
พระพุ ทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งถอื เป็นยคุ ทองของวรรณกรรม
ผลงานวรรณกรรมในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนต้นทีโ่ ดดเด่น
เช่น บทละครเรือ่ ง รามเกยี รติ์ สามก๊ก อเิ หนา สงั ขท์ อง
กาพย์เห่ชมเครือ่ งคาวหวานพระอภยั มณี
รปู แบบวรรณกรรมในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ ส่วนใหญ่เปน็
เรื่องราวเก่ียวกับพระพุ ทธศาสนา คาสอน วถิ ีชวี ติ ของชุมชน
มีลักษณะการเขียนเป็นเอกลกั ษณท์ ง้ั การเขียนโคลงฉนั ท์ กาพย์
กลอน วรรณกรรมดังกล่าวเปน็ ภมู ปิ ัญญาที่ทาให้เกดิ ผลดแี กส่ งั คม
และวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น เป็นการสบื สานภาษาไทย
และวิถีชีวิตของคนไทยในรปู แบบต่าง ๆ ทที่ าให้ผู้อา่ นมีความ
เพลดิ เพลนิ
อกี ทัง้ ยังช่วยกลอ่ มเกลาจิตใจคนไทยใหม้ ีความออ่ นโยน
และนาคณุ ธรรมหรือขอ้ คิดทีไ่ ด้จากวรรณกรรมมาใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
ตอ่ มาเมือ่ ชาติไทยเริ่มรับอิทธิพลจากชาตติ ะวนั ตกมากขึ้น
วรรณกรรมไทยต้งั แต่รชั กาลที่ ๔ เป็นตน้ มาจึงมลี กั ษณะคลา้ ยกับ
ชาตติ ะวนั ตก วรรณกรรมประเภทรอ้ ยแก้วท้ังนวนยิ าย เรื่องสั้น
งานแปลต่าง ๆ เร่ิมไดร้ บั ความนิยม เชน่ นทิ านอสี ป เงาะปา่
พระราชนิพนธไ์ กลบา้ น เวนิสวานชิ
ภูมปิ ญั ญาไทยดา้ นศิลปกรรม
จะเหน็ ว่าในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ประเทศไทยเป็นประเทศทเี่ ปิดรบั
วฒั นธรรมตะวันตกมาใชอ้ ยา่ งแพร่หลาย ภูมปิ ัญญาไทยในสมัย
รัตนโกสินทรจ์ ึงมลี กั ษณะผสมผสานระหวา่ งภมู ปิ ญั ญาไทยที่เปน็
เอกลกั ษณ์ของชาตกิ บั วฒั นธรรมตะวนั ตกไดอ้ ย่างลงตวั
สรุปรตั นโกสินทรเ์ ปน็ อาณาจกั รของไทยท่ีมีพัฒนาการมายาวนาน
แบ่งเป็นยคุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ ซงึ่ เปน็ ชว่ งเวลาแห่งการปอ้ งกัน
และฟ้ นื ฟูบา้ นเมอื งยุคปฏริ ปู ประเทศให้เปน็ แบบสมยั ใหม่เพื่อให้พ้นจาก
การคุกคามจากชาติตะวันตก
ยคุ ปฏริ ูปการปกครองเป็นระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์
ทรงเป็นประมุข พัฒนาการของชาตไิ ทยในยคุ สมยั ตา่ งๆ สง่ ผลให้ชาติ
ไทยมีความเจรญิ ก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบัน