The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สารคดีท่องเที่ยว มิวเซียมลำปาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kuankaw Jumkammoon, 2023-12-14 10:44:46

มิวเซียม สืบหาอดีต "เมืองลำปาง"

สารคดีท่องเที่ยว มิวเซียมลำปาง

ในวันพฤหัสที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ หลังจากที่คนในกลุ่มได้ตัดสินใจเลือกสถานที่ เพื่อศึกษาและนำ มาเขียนสารคดีอย่างไม่ทันได้วางแผนมาก่อน พวกผมไม่รอช้าที่จะนัดกันใน เย็นวันนั้นเลย เพราะว่าว่างตรงกันพอดี เมื่อเลิกเรียน พวกผมก็ได้ขี่รถจักรยานยนต์ไปยัง มิวเซียมลำ ปาง มิวเซียมลำ ปางตั้งอยู่บริเวณศาลากลางเดิมของจังหวัดลำ ปาง ซึ่งใกล้กับ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย โรงเรียนของพวกเราเอง พวกเรามากันทั้งหมด ๖ คน มีสมาชิกใน กลุ่ม ๕ คน และเพื่อนอีกคนเป็นตากล้องถ่ายรูปให้พวกเรา พวกผมถ่ายรูปตรงหน้ามิวเซียม แต่ด้วย ณ เวลานั้นเป็นตอนเย็นแสงแดดเลยแยงตาเข้า จึงถ่ายรูปได้ไม่นาน เข้าไปข้างในก็จะเป็นล็อบบี้ต้อนรับ เจ้าหน้าที่ให้กรอกข้อมูลการเข้า และพวกผมไม่ลืม ที่จะหยิบแผนพับข้อมูลของมิวเซียมลำ ปางมาด้วย เพื่อนำ มาเป็นข้อมูลในการเขียนสารคดี ข้อมูลเบื้องต้นและความเป็นมาของมิวเซียมลำ ปาง ที่ผมหาเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ต ได้ ความว่า มิวเซียมลำ ปาง สร้างขึ้นจากความร่วมมือระหว่างเทศบาลนครลำ ปาง กับสถาบัน พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) โดยความร่วมมือของ นักวิชาการและประชาคมชาว ลำ ปางหลายภาคส่วน เพื่อเป็นพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบแห่งแรกนอก กรุงเทพมหานคร นำ เสนอเรื่องราวรอบด้านของความเป็นลำ ปางจากประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ในสถานที่ ที่เคยเป็นหัวใจทางการปกครองของจังหวัดเก่าแก่แห่งนี้ มิวเซียมลำ ปาง เป็น พิพิธภัณฑ์ประเภทพิพิธภัณฑ์เมืองในระดับจังหวัดลำ ปาง ซึ่งจะเป็นจุดเริ่มต้นสำ คัญของการ สร้างโครงข่ายพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ในภูมิภาค และยังมีความสำ คัญอย่างยิ่งต่อการเป็น ศูนย์กลางในการเชื่อมโยงกับเครือข่ายพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ประเภทอื่นๆ ที่มีอยู่ทั้งใน


จังหวัดลำ ปางและจังหวัดอื่นๆ ที่อยู่ใกล้เคียง แม้ว่าผมจะอยู่จังหวัดลำ ปางผมก็ไม่เคยรู้ถึงที่มา ของมิวเซียมลำ ปางเลย การมาศึกษาที่นี่ก็ดูจะเป็นผลดีกับผมมาก โดยมิวเซียมลำ ปาง จะจัดแสดงนิทรรศการชุด “คน-เมือง-ลำ ปาง” โดยนำ เสนอผ่าน หัวข้อหลักๆ ๓ หัวข้อ หัวข้อแรก ว่าด้วยเรื่อง “คน” ที่มีบทบาทสำ คัญปรากฎอยู่ในเรื่องราวของจังหวัด ลำ ปาง โดยเฉพาะผู้มีส่วนสำ คัญต่อประวัติศาสตร์ โบราณคดี เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม หัวข้อที่ ๒ ว่าด้วยเรื่องของ “เมือง” ลำ ปาง ที่จะพาทุกคนไปทำ ความรู้จักกับนคร ลำ ปางตั้งแต่อดีตจนถึงลำ ปางในปัจจุบัน การเปลี่ยนผ่าน และเหตุการณ์สำ คัญในอดีตส่งผล อย่างไรมาถึงภาพของลำ ปางในยุคปัจจุบัน สุดท้ายในหัวข้อ “ลำ ปาง” ที่มิวเซียมได้สำ รวจและเก็บรวบรวมทั้งความเหมือนและ แตกต่างทุกๆ ด้าน จากทั้ง ๑๓ อำ เภอในจังหวัดลำ ปาง นำ มาจัดแสดงด้วยรูปแบบที่ทันสมัย ผสมผสานเทคโนโลโนยีแบบอินเตอร์แอ๊กทีฟ หรือก็เป็นสถานที่ที่พวกเรากำ ลังจะไปศึกษา และเยี่ยมชมกันอยู่ ดูจากข้อมูลข้างต้นก็ทำ ให้ผมเริ่มสนใจ และพร้อมที่จะศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัด ลำ ปางของเราแล้ว พวกเราขึ้นบันไดไปแล้วเลี้ยวขวา เนื่องจากเป็นวันธรรมดา นักท่องเที่ยว เลยค่อนข้างน้อย กลุ่มของพวกผมจึงดูเสียงดังเป็นพิเศษ กลุ่มที่ลงมาในทางตรงข้ามของพวก เราเป็นคนมาเลเซีย ทำ ให้ผมดีใจและรู้สึกว่าลำ ปางเมืองเล็กๆของเรา ก็ยังมีนักท่องเที่ยวต่าง ชาติมาเยี่ยมชม จากที่ทุกคนในกลุ่มผมเคยมามิวเซียมนี้อยู่แล้ว เลยพอจะมีความรู้มาว่าห้องที่ จัดนิทรรศการด้านบน มีอยู่ทั้งหมด ๑๖ ห้องนิทรรศการ ดังนี้ ห้องที่ ๑ ก่อร่างสร้างลำ ปาง (Building Lampang City) เป็นห้องแรกที่เข้าไป ภายในห้องนั้นค่อนข้างมืด เมื่อเข้ามาจะมีปุ่มให้กดเพื่อดูวิดีทัศน์ เมื่อวิดีทัศน์เริ่มฉายก็พอจะมีแสงสว่างอยู่บ้าง พวกผมจึงเลือกที่จะถ่ายรูปด้วยกันกับรูปปั้นหุ่น จำ ลอง ดูไปดูมาผมรู้สึกขนลุกและรู้สึกขลังมาก ที่หุ่นปั้นนั้นดูสมจริงทั้งหน้าตาและส่วนสูง ใน ขณะที่วิดีทัศน์พูดถึงหุ่นจำ ลองตัวไหน หุ่นตัวนั้นจะเรืองแสง วิดีทัศน์เล่าถึงเส้นเวลา ตั้งแต่ ๕๐๐,๐๐๐ ปีที่แล้ว จนถึงปัจจุบัน ใครบ้างที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเมืองลำ ปาง กลุ่มคน เหล่านั้นทำ ให้เมืองลำ ปางแต่ละยุคเป็นอย่างไร


โดยแรกเริ่มจากมนุษย์เกาะคา หรือ โฮโมอิเรคตัส ใน ๕๐๐,๐๐๐ ปีที่แล้ว เป็น บรรพบุรุษของมนุษย์ปัจจุบัน ซึ่งก็มีถิ่นอาศัยอยู่ใน อำ เภอเกาะคา จังหวัดลำ ปางเหมือนกัน มนุษย์ประตูผา เป็นคนดั้งเดิมของลำ ปาง อาศัยอยู่บริเวณชุมชนประตูผา ในสมัยก่อน ประวัติศาสตร์เมื่อ ๓,๐๐๐ ปีที่แล้ว คนลัวะ คนดั้งเดิมกลุ่มใหญ่ของลำ ปางและล้านนา อาศัย อยู่ที่ชุมชนประตูผา ใน ๓,๐๐๐ ปีที่แล้ว เช่นกัน และกลุ่มคนนอก ได้แก่ คนละโว้ เมื่อ ๑,๓๐๐ ปีที่แล้ว ในยุคทวารวดี ได้ทำ การเปลี่ยนลำ ปางจากชุมชนเป็นรัฐ คนเชียงใหม่ ใน ๗๐๐ ปีที่แล้ว ได้ปกครองลำ ปาง คนไทยวน เมื่อ ๒๐๐ ปีที่แล้ว เป็นเมืองหลากชาติพันธุ์ เป็น คนนอกกลุ่มใหญ่ ที่มาตั้งถิ่นฐานในลำ ปาง ยุคหลังเรียกตนเองว่า “คนเมือง” และเหล่า ชาติพันธุ์ที่เข้ามาเมื่อ ๑๒๐ ปีก่อน ได้แก่ คนพม่า ไทใหญ่ เข้ามาทำ การค้าต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมค้าไม้ การค้าทางน้ำ และเป็นลูกจ้างนายห้างฝรั่ง คนอังกฤษ เข้ามาขับเคลื่อน เศรษกิจยุคการค้าไม้ คนจีน เมืองการค้าทางน้ำ นานาชาติ และแหล่งอุตสาหกรรม และคน บางกอกที่เข้ามาเมื่อ ๑๐๐ ปีที่แล้ว เป็นข้าราชการจากกรุงเทพที่มาพัฒนาเมืองลำ ปาง เส้นเวลาและกลุ่มคนเหล่านนี้เป็นการเริ่มต้นที่จะปูไปสู่ประวัติความเป็นมาและการ พัฒนาของเมืองลำ ปาง ในห้องต่อๆไป ห้องที่ ๒ เปิดตำ นาน อ่านลำ ปาง (Legends of Lampang) หลังจากที่พวกผมชมห้องแรกเสร็จก็เดินตามทางมายังห้องที่ ๒ ที่ผนังเขียนบอกว่า ลำ ปางเป็นเมืองอุดมด้วยตำ นาน ตำ นานไม่ใช่ประวัติศาสตร์เป็นเพียงแค่เรื่องเล่าที่สืบทอดต่อ กันมา ทั้งตำ นานเมือง ย่าน วัด วีรบุรุษ ในแต่ละตำ นาน ล้วนมีความหมาย และยังทิ้งเบาะแส ไว้ให้ตีความ ในห้องนี้จะนำ เสนอตำ นานออกมาอยู่ในรูปแบบของการ์ตูนที่เล่าถึงตำ นานของ เมืองลำ ปาง มีทั้งแบบ E-book และสื่อในรูปแบบคล้ายหนังสือที่ ติดอยู่ที่ผนัง มันทำ ให้ผม รู้สึกสนใจที่จะอ่านมัน มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เมื่ออ่านทำ ให้ผมนั้นรู้สึกสนุก เพลิดเพลิน ได้ความรู้และได้ข้อคิดตามไปด้วย โดยนิทานตำ นานนั้นมีหลายเรื่องให้อ่าน เช่น ตำ นานของพระธาตุปางม่วง วัดกู่คำ ม่อนทรายนอนและเมืองงาว วัดศรีล้อม พระแก้วดอน เต้า พระบรมธาตุดอนเต้า เมืองเกิน พระธาตุวัดม่อนพญาแช่ พระธาตุเสด็จ วัดอักโขชัยคีรี ม่อนปู่ยักษ์ วัดพระเจ้าทันใจ วิหารจามเทวี วัดปงยางคก ม่อน กระทิง วัดม่อนเขาน้อย และ ผมยังได้รู้ชื่อที่เคยใช้เรียกของนครลำ ปางในสมัยก่อน ได้แก่ อาลัมพางค์นคร เขลางค์นคร


ห้องที่ ๓ ผ่อผาหาอดีต (Back to the Past) หลังจากที่พวกผมได้ดูห้องที่ ๒ จบนั้นได้เดินต่อมาที่ห้องถัดไป เป็นห้องที่ต่อมาจะ เป็นแท่นโชว์ ภาพเขียนสีโบราณและบอกถึงความหมายและที่มาของภาพ พวกผมได้เห็นภาพ ต่างๆมากมายมีภาพเขียนในห้องโชว์ ดังนี้ ภาพเขียนสี “วัวและกลุ่มบุคคล” จากผาวัว แสดง ให้เห็นถึงว่า วัว เป็นแรงงาน พาหนะ เครื่องเซ่นสังเวยที่มนุษย์เลี้ยงมาเมื่อ ๓,๐๐๐ ปีก่อน ภาพการล่าสัตว์ จากผาล่า สัตว์ การจับและฝึกฝนสัตว์ ทำ ให้พวกผมได้รับรู้ได้ถึงการมีอยู่และ วิถีการดำ รงชีวิตของคนในเมืองประตูผาในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และยังมีภาพฝ่ามือมากมาย จากผานกยูง มีฝ่ามือที่ประทับบนหน้าผา เป็นสัญลักษณ์สื่อถึงการครอบครอง แสดงความ เป็นเจ้าของ ของสิ่งของ สถานที่นั้น ภาพเขียนสี “นางระบำ ” จากผาเต้นระบำ ทำ ให้พวกผม ได้รู้ว่าคน จากประตูผารู้จักการทอผ้าไว้นุ่งห่ม กลุ่มภาพเขียนสี “เลียงผา” จากผาเลียงผา ภาพเขียนสี “นกยูง” จาก ผานกยูง ที่ที่ค้นเจอเป็นบริเวณป่าโปร่งริมน้ำ ใกล้ถิ่นอาศัยของนก ยูง ภาพเขียนสี “คล้ายหินตั้ง และคนนอน” จากผาหินตั้ง คาดว่าเป็นพิธีเผาศพ ที่คล้ายกับ การเผาศพของคนลัวะที่แม่ฮ่องสอน ทำ ให้นักโบราณคดีเชื่อว่า คนประตูผาคือคนลัวะ คนที่ อยู่มาแต่ดั้งเดิมของล้านนา โดยแหล่งภาพเขียนสี อายุ กว่า ๓,๐๐๐ ปี มาจากช่องประตูผา เป็นช่องต่อแดน กุกกุฏนคร ลัมพกัปปะนคร ศรีดอนชัย ศิรินคร เมืองนคร เวียงละกอน เวียงลคอร เมืองลำ พาง จนมาเป็นชื่อนครลำ ปางเหมือนอย่างทุกวันนี้ อ่านแล้วแต่ละชื่อมีความงาม ไพเราะ และมีคำ ที่ดูคล้ายกับชื่อของนครลำ ปางในปัจจุบัน พวกผมอ่านตำ นานกันคนละเรื่องสองเรื่องแล้วค่อยเดินไปยังห้องต่อไป


ระหว่างที่ราบลุ่มพะเยา เป็นแหล่งที่มีภาพเขียนสีจานวนมากที่สุดในประเทศไทย เป็นร่อง รอยของการดำ รงชีวิต เทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมในสมัยนั้น นอกจากภาพเขียนสีแล้วยัง พบหลุมศพ ซากสัตว์ ลูกปัด เมล็ดข้าว และ ฟอสซิลมนุษย์เกาะคา (โฮโม อิเรคตัส) อายุอย่าง น้อย ๕๐๐,๐๐๐ ปี เป็นข้อบ่งชี้ว่า พื้นที่ในจังหวัดลำ ปางนี้เหมาะสมสำ หรับการตั้งถิ่นฐาน ของมนุษย์มาตั้งแต่บรรพกาล เมื่อได้รู้ข้อมูล ผมไม่นึกเลยว่าลำ ปางจะมีโบราณวัตถุมากมายและสำ คัญแบบนี้ เหมาะ แก่การนำ มาศึกษาประวัติศาสตร์ของลำ ปางที่มีอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ห้องที่ ๔ ประตูโขงโยงรากเหง้า (Pratu Khong, Roots of Lampang) พอจบห้องที่ ๓ นั้นพวกผมได้เดินไปต่อยังห้องที่ ๔ ก่อนจะเข้าสู่ห้องพวกผมได้เดินลอด ซุ้มประตูโขง วัดพระแก้วดอนเต้าเข้าสู่ “เขลางค์นคร” เมืองลำ ปางรุ่นแรก ซึ่งเป็นเมืองใน วัฒนธรรมทวารวดีอายุกว่า ๑,๓๐๐ ปี บ้านพี่เมืองน้องกับเมือง “หริภุญชัย” ของพระนาง จามเทวี ธิดาแห่งรัฐละโว้ พวกผมรู้สึกอึ้งและประทับใจมากในความสวยงาม เมื่อเข้ามาก็จะมี เกมเลื่อนภาพให้เล่น เป็นรูปที่เกี่ยวกับศิลปะ สถาปัตยกรรม แผนที่เมืองและประวัติศาสตร์ ของเขลางค์นคร เช่น ภาพรัฐ ๑,๓๐๐ ปี ภาพการแผ่ขยายอิทธิพลมายังเมืองลำ ปาง ตำ นาน พื้นถิ่น ในสมัยอาลัมภางค์นคร ภาพพัฒนาการเมือง ภาพภูมิหลังหริภุญชัย ภาพเสาขอม ภาพมกรคายพญานาค ภาพร่องรอยจากตำ นาน ประตูโขง ศิลปะจากพุกาม พิมพาพิลาป ซุ้ม เรือนแก้ว ผังเมืองเขลางค์นคร พระนางจามเทวี เมืองพุทธศาสนา ชาวลัวะ ตอนเล่นกันทำ ให้ พวกผมมีความสุขและได้เห็นภาพต่างๆที่น่าจดจำ เป็นอย่างมาก


ห้องที่ ๕ สี่สหายฉายประวัติ (Fantastic Four of Lampang's History) หลังจากพวกผมดูห้องที่ ๔ จบนั้นก็ได้เดินผ่านประตูม้า ใจกลางห้องมีวิดีโอ ๓ มิติ โดย มาฟังสี่สหายแห่งวัดปงสนุก ช้าง นาค สิงห์ อินทรี บอกเล่า พวกผมตะลึงกับความอัศจรรย์ ของมันมาก มีทั้งเรื่องราวการผจญภัย และการย้ายจากเขลางค์นคร มาสร้างเมืองลำ ปางรุ่นที่ สองเรียกว่า “เวียงลคอร” (เวียงละกอน) ภายใต้อำ นาจของล้านนา พม่า และอยุธยา ได้ ความว่า การย้ายเมืองจากเขลางค์นคร ในยุคพระยามังรายครองเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ได้ ยึดหริภุญชัยและเขลางค์นคร และให้ขุนชัยเสนามาเป็นเจ้าเมืองเขลางค์ โดยเขลางค์นครเป็น เมืองเก่ารุ่นแรกของลำ ปาง หริภุญชัยที่เป็นเมืองใหญ่กว่าก็ปกครองเขลางค์นครอีกที ขุนชัย เสนาได้สร้างเมืองใหม่มีศูนย์กลางเมืองอยู่ที่“วัดเชียงภูมิ” หรือ“วัดปงสนุก”ที่รู้จักในปัจจุบัน และได้สร้างกำ แพงจากเมืองเก่ารุ่นแรกมายังเมืองเก่ารุ่นสอง ด้วยทำ เลที่ตั้งของลำ ปาง จึงมัก จะมีทัพเชียงใหม่มาตั้งทัพที่วัดปงสนุก เพื่อเตรียมทำ การศึกกับอยุธยา โดยมีลำ ปางเป็นเมือง หน้าด่าน ในคราที่พม่าได้ยึดครองเมืองลำ ปาง หนานทิพย์ช้าง วีรบุรุษคนสำ คัญได้กู้เมือง ลำ ปางจากท้าวมหายศ และได้ขึ้นครองเมืองลำ ปาง ในยุคพระยากาวิละ ได้ขอความช่วยเหลือ จากพระเจ้าตากสิน จนไล่พม่าออกได้ เมื่อเสร็จสงครามพระยากาวิละได้ กวาดต้อนชาวยนก หรือชาวเชียงแสน มาอยู่ที่ลำ ปาง โดยเรียกว่า “เก็บผักใส่ช้า เก็บข้าใส่เมือง” หมายความว่า พอรบชนะก็กวาดต้อน คนเมืองนั้นเข้ามาอยู่ในเมืองของตัวเอง เมื่อคนเชียงแสนได้ เข้ามาอยู่ เมืองลำ ปางก็ได้นำ พาอิทธิพลทางศิลปะ ความเชื่อพระพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวด้วย จึงเห็นได้ ดังวัดในลำ ปางที่มักมีศิลปะของเชียงแสนผสมอยู่ด้วย ผมรู้สึกประทับใจในประวัติความเป็น มาของการก่อตั้งเมืองลำ ปางเป็นอย่างมาก


ห้องที่ ๖ แง้มป่องส่องเวียง (A Look into Lampang) ณ ห้องถัดไปของโถงทางเดินในตึกทึบ ก็ได้พบกับห้องประหลาด เร้นความมหัศจรรย์ เนื่องด้วย ๔ มุมที่เป็นห้องทึบ ตั้งอยู่ ณ ใจกลางตึก แต่กลับได้พบ “หน้าต่าง” นับหลายบาน โดยในแต่ละบานนั้นจะแง้มไปสู่ภาพวิวทิวทัศน์ของเมืองลำ ปางในช่วงเวลาของอดีต ผ่าน หน้าต่างของ “เรือนขนมปังขิง” ส่องดูความเป็นไปของ “นครลำ ปาง” โดย ณ เวลานั้นเรียก ว่าเมืองลำ ปางรุ่นที่สาม ซึ่งอยู่ในยุครัตนโกสินทร์ ถึงแม้ลำ ปางจะอยู่ห่างไกลเมืองหลวงในช่วง เวลานั้น แต่การค้ากลับเฟื่องฟู นักท่องเที่ยวพรั่งพรู คลาคล่ำ ไปด้วยพ่อค้าต่างชาติ ประชาชน ชาวพม่า, ไทใหญ่, จีน และฝรั่ง โดยก่อนหน้านั้นลำ ปางทำ การค้าขายกับชาวพ่อค้าชาวพม่าเป็นส่วนมาก และมีชาวไท ใหญ่เป็นผู้ควบคุมการค้าในรลำ ปาง ต่อมาทางรถไฟจากปากน้ำ โพได้ก่อสร้างสำ เร็จ ชาวจีนที่ เห็นโอกาสได้เข้ามาค้าขายในเมืองใหญ่ของสยาม รวมถึงลำ ปาง เวลาผ่านไปนานเข้า เศรษฐกิจการค้าของลำ ปางได้เปลี่ยนมือจากชาวพม่าสู่ชาวจีน ลำ ปางจึงได้เจริญเติบโตจาก เมืองเล็กเป็นเมืองใหญ่ ภายหลังได้มีชาวอังกฤษเข้ามาค้าขาย ชนพื้นที่ และชาวไทใหญ่ได้เลียนแบบการทำ ธุรกิจของฝรั่งจนเมืองลำ ปางจึงได้ถูกขนานนามเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าไม้ที่ใหญ่ที่สุดของ ภาคเหนือ ห้องที่ ๗ ไก่ขาวเล่าวันวาน (Chicken Stories) ในห้องนี้จะมีข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับพัฒนาการในด้านต่างๆ และ “ไก่ขาว” สัญลักษณ์ของเมืองลำ ปาง และใจกลางห้องจะได้พบกับ อัศจรรย์ที่ ๗ นั่นคือเสาหลักลักษณะ เตี้ยตัน สูงระยะหัวคนซึ่งบนเสาจะมี “ถ้วยก๋าไก่” วางอยู่ โดยข้างในเสานั้นมีวงรีตั้งอยู่


ใจกลางของเสามีข้อมูลต่าง ๆ เขียนบนวงรี โดยผู้เข้าชมสามารถหมุนถ้วยก๋าไก่เพื่อดูข้อมูลได้ มีเนื้อความว่าด้วยชามตราไก่เป็นสินค้าส่งออก มีวัตถุคือแร่ดินขาวใต้ดินลำ ปาง ในอำ เภอ แจ้ห่ม เป็นวัตถุดิบที่มีองค์ประกอบทางเคมีที่ดี จึงมีคุณภาพสูง ทำ ให้ถ้วยก๋าไก่เป็นสินค้าส่ง ออกระดับสูง สร้างรายได้เข้าประเทศปีละหลายพันล้านบาท อุตสาหกรรมเซรามิคจึงรุ่งเรือง มาตั้งแต่อดีต และมีมากกว่า ๒๐๐ โรงงาน ข้างเสานั้นจะพบกับเสาเช่นกันแต่มีลักษณะคล้ายเสาของสะพานรัษฎาภิเศกที่มีรูปไก่ ขาวเป็นสัญลักษณ์ มีเนื้อหากล่าวว่า การเสด็จมาเยือนของกษัตริย์ไทย รัชกาลที่ ๗ พระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗, สมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่ที่ขณะนั้นยัง ดำ รงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ได้เสด็จประพาสในปี พ.ศ.๒๔๔๘ และ ท่านได้ทรงบันทึกเหตุการณ์ไว้ในพระราชนิพนธ์ “ลิลิตพายัพ” , พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยี่ยมราษฎรภาคเหนือ รวมถึงการปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่ลำ ปางนับ ๒๑ ครั้ง ห้องที่ ๘ จุดเปลี่ยนเมืองลำ ปาง (Turning Points of Lampang) เมื่อตามโถงทางเดินมานั้นจะเข้าสู่ห้องที่ ๘ มีลักษณะเป็นโถงทางเดินยาว โดยจะมีโครง กำ แพงที่สามารถเดินผ่านได้เป็นรูปร่างคล้าย “ม่านเวลา” แบ่งแยกยุคและจุดเปลี่ยนของ เมืองลำ ปาง ผ่านทางกำ แพงด้านซ้าย โดยจะมีโทรทัศน์ติดกำ แพงฉายวิดีทัศน์ภาพเล่าเรื่อง อดีตถึงปัจจุบันของ ”คน” หลากหลายกลุ่มที่ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาแสดงบทบาทในการ เปลี่ยน “เมือง” ในแต่ละยุค มีเนื้อเรื่องดังนี้ ย้อนไปเมื่อ ๓,๐๐๐ ปีที่แล้ว อารยธรรมอินเดียแผ่เข้ามาสู่ทางแม่น้ำ เจ้าพระยา นำ ซึ่ง


ตำ นาน และศาสนามาด้วย นั่นคือศาสนาพุทธนิกายหินยาน ศูนย์กลางของเมืองอยู่ที่วัดพระ แก้วดอนเต้า และรูปแบบการสร้างเมืองเปลี่ยนจากชุมชนเป็นเมือง มีถนน ระบบชลประทาน กำ หนดเขตเมือง เมื่อประมาณ ๗๐๐ ที่แล้วในยุคที่หงสาวดีเป็นมหาอำ นาจเศรษฐกิจทางเหนือ และ อยุธยามหาอำ นาจทางใต้ พระยามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ และขยายอิทธิพลมายังเมือง รอบข้าง เกิดเป็นอาณาจักรล้านนา ทรงแต่งตัวเจ้าเมืองลำ ปางให้สร้างเมืองลำ ปางใหม่เป็น “เมืองลำ ปางรุ่นสอง” โดยย้ายมาจากทางใต้เมืองเดิม ลำ ปางเป็นยุทธศาสตร์เนื่องจากเป็น เมืองที่มีปราการธรรมชาติเป็นเทือกเขาขุนตาน มีการสร้างกำ แพงเมือง และป้อมเพื่อการศึก แต่ถึงกระใด ด้านศาสนาของยุคนี้ได้มีการสร้างวัดปงสนุกเป็นศูนย์กลางเมือง และวัดชัยภูมิ เนื่องจากอิทธิพลของศาสนาพุทธเถรวาท นิกายลังกาวงศ์ของชาวล้านนาได้มาเผยแผ่ และใน เมื่อพม่าได้แผ่อำ นาจมายังล้านนา ลำ ปางจึงเป็นเมืองยุทธศาสตร์ที่มีอิทธิพล, ความมั่นคง และอำ นาจในการต่อรองสูงกว่าเมืองอื่น ๆ ณ เวลานั้น เมื่อ ๑๐๐ กว่าปีที่แล้วลำ ปางเคยมีเส้นทางการค้าทางบก มีการติดต่อหลายชาติพันธุ์ ต่อมาพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของ บริติชราช (British-India) เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ดังนั้น อังกฤษจึงได้แผ่อิทธิพลการค้าต่อมาถึงลำ ปาง ถือเป็นยุคเริ่มต้นของเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ในสมัยรัชกาลที่ ๕ รัฐบาลสมัยนั้นพยายามอย่างมากเพื่อที่จะสร้างสยามเป็นรัฐสมัย ใหม่ เพื่อรับมือการคุกคามของชาติตะวันตก สิ่งหนึ่งในการปฏิรูปการปกครองคือการกำ หนด พรมแดนของประเทศ และคุมหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อรวมอำ นาจสู่ศูนย์กลาง โดยเริ่มเปลี่ยนจาก ระบบเจ้าเมืองเป็นระบบเทศาภิบาล เจ้าบุญวาทย์ วงษ์มานิตจึงเป็นผู้ครองนครลำ ปางคน สุดท้าย สร้างความเปลี่ยนแปลงมากมายให้กับเมืองลำ ปาง มีโรงทหาร โรงพยาบาลทหาร ที่ทำ การไปรษณีย์ ศาล เรือนจำ โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย และวัดบุญวาทย์วิหาร ทำ ให้ ลำ ปางในยุคนั้นเป็นศูนย์กลางการค้า และคมนาคมของภาคเหนือยิ่งกว่าเชียงใหม่ ชาว คริสเตียนอเมริกัน (Christian-American) ได้มาเผยแผ่ศาสนาในลำ ปาง ทำ การสร้างโบสถ์ โรงเรียน โรงพยาบาล และทำ งานสงเคราะห์ จึงทำ ให้ลำ ปางยุคนั้นเป็นเมืองใหญ่ทันสมัย และ เป็นเมืองสำ คัญในภาคเหนือของรัฐบาลสยาม


ด้านขวานั้นเป็นภาพวาดกำ แพงแสดงถึงอาณาเขตของเมือง และสภาพภูมิศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับยุคนั้นของเมืองรอบ ๆ เมืองลำ ปาง รวมถึงเมืองลำ ปางด้วยเช่นกัน หองที่ ๙ รางเหล็กขามเวลา (Railway Story) หลังจากที่เดินดูห้องที่ ๘ เสร็จพวกผมก็เดินมาเจอกับรางรถไฟที่ไมใชรางเหล็ก ธรรมดาแต่เป็นรางเหล็กที่ได  นำ พาสิ่งใหมๆ เขามามากมายสรางความเปลี่ยนแปลงให  กับ เมืองลำ ปาง โดยรอบๆหองนี้จะการจำ ลองสถานีรถไฟของลำ ปางในสมัยกอน มีรางรถไฟ เหล็ก ระฆัง ไว  สั่นเมื่อรถไฟมาและที่นั่งรอรถไฟไม  ที่สวยงาม ในหองนี้ผมคิดวาเหมาะ จะเปนจุดที่เหมาะแกการถายรูปมากที่สุด ในอดีตไมใชแครถไฟเปนสิ่งใหมและทันสมัย ของลำ ปาง จากเดิมที่เปนลำ ปางกับพมา มาเปนลำ ปางกับกรุงเทพ เกิดชองทางในการ ขนสงดวยรถไฟ ทำ ใหการคาทางเรือและคาราวานวัว และเกิดการจัดตั้งคลังออมสิน สาขาลำ ปางเมื่อ ปี พ.ศ.๒๔๖๒ พวกผมได้อ่านไทมไลนประวัติศาสตรของรถไฟที่อยู่บนรางรถไฟตั้งแต ป พ.ศ.๒๔๔๘ ที่ทางรถไฟสายเหนือถูกสรางขึ้นและยาวไปจนถึงปากน้ำ โพ ปี พ.ศ.๒๔๔๙ การคาของลำ ปางและกรุงเทพฯเพิ่มขึ้น โดยการ ขนสงทางแม  น้ำ วังจากกองตา สูปากน้ำ โพที่เชื่อมตอกับรถไฟ ปี พ.ศ.๒๔๕๐ เริ่มเจาะอุโมงขุนตาน เปนสวนที่ยากที่สุดบน เสนทางรถไฟสายเหนือ เพื่อสรางทางรถไฟมาสู  ลำ ปาง พ.ศ.๒๔๕๘ เริ่มสรางทางรถ ยนตเชื่อมระหวางเมืองลำ ปาง พะเยา เชียงราย พ.ศ.๒๔๕๙ ในวันที่ ๑ เมษายน วันขึ้น ปใหมไทย รถไฟขบวนแรกมาถึงนครลำ ปาง พรอมเปดเสนทางหลวง เชื่อมจากสถานี รถไฟลำ ปาง ไป เชียงราย และเชียงแสน พ.ศ.๒๔๖๐ เริ่มสรางสะพานรัษฎาภิเศกขึ้น


พ.ศ.๒๔๖๔ คนพบถ่านหินลิกไนต  ที่แมเมาะ เป็นจุดเริ่มต้นสูการทำ เหมืองถานหิน นำ มาใชเปนเชื้อเพลิงสำ หรับเดินรถไฟ เมื่อรถไฟสายเหนือสรางเสร็จ เดินทางไดจนถึงปลายทาง เมืองเชียงใหม ทำ ใหความเจริญทันสมัยในลำ ปาง เริ่มเคลื่อนผานสูเมืองเชียงใหม เมืองลำ ปาง จึงไมใชเมืองทีคึกคักเทาเมื่อกอนอีก หองที่ 10 รถมาพามวน (Lampang on a Carriage) หลังจากที่พวกผมชมห้องที่ ๙ จบพวกผมก็ได้เดินมาเจอกับห้องจำ ลองการนั่งรถม้าพา เที่ยวรอบเมืองลำ ปางที่อยู่ฝั่งขวามือของเรา ซึ่งเป็นการจำ ลองว่าเราได้นั่งรถม้าจริงๆ โดยจะมี ผู้บรรยายเล่นความเป็นมาของสถานที่นั้นๆตลอดทาง โดยจะมีเส้นทางทั้งหมด ๓ เส้น เส้นที่ ๑ มวนเมืองพันป มีเกามีงาม เส้นทางนี้จะเลาเรื่องเมื่อสมัย ๑,๐๐๐ กวาปกอน ลำ ปางเปนเมืองสำ คัญ ทีแรกรถมาขับผานสะพานรัษฎาภิเศก ตอมาเปนวัดปงสนุกหรือวัด เชียงภูมิ ซึ่งยูเนสโกยกยองใหเปนมรดกโลกทางวัฒนธรรมและวัดพระแกวดอนเตา ที่เมื่อกอน เคยมีพระแกวมรกตมาประทับอยู  ที่นี่ ในสวนของกำ แพงเมือง ประตูมาเปนกำ แพงเมือง ลำ ปางรุนแรกและกำ แพงเมืองรุน ๒ ของลำ ปางน้ัน ผุพังจนแทบมองไมเห็นเหลือแคฐานเพียง เล็กนอยเทานั้น เนื่องจากถูกสรางมากวา ๑,๐๐๐ กวาป หออะม็อกในภาษาพมา แปลวา หอปน ศาลากลางจังหวัดลำ ปาง เคยเปนคุมเจาหลวงเกา ปจจุบันเปนมิวเซียมลำ ปางอยางที่ เห็นทุกวันนี้ เสนที่ ๒ มวนเมืองนานาชาติ ยุคตลาดไม เมื่อ ๑๐๐ กวาปกอน มีชาวตางชาติเขามา อยูมากมาย ลำ ปางมีวัดศิลปะพมามากที่สุดในเมืองไทย ชาวพมาที่มา รับจางคาไม  ท่ีลำ ปาง ได  นำ ชางจากมันฑะเลยมาสรางวัดและวัดศรีชุม ฝ มือการแกะสลักไมมาจาก ฝ มือชาวพมา


สวนสาธารณะเขลางคนคร เมื่อกอนเรียกวา“ขวงโปโล”ที่ฝรั่งใชเลนโปโลกัน อีกดาน ฝงแม  น้ำ วังเปนยานฝรั่งอเมริกัน หรือยานมิชชันนารีจากอเมริกา มาเปดโรงเรียนสอนศาสนาค ริสต และมีโบสถ  ที่เปนโรงพยาบาลฝรั่ง ริมแม  น้ำ วัง เมื่อกอนมีไม  สักเยอะจึงกลายเปนยานบริ ษัทคาไม ของนายหางฝรั่ง เสนที่ ๓ มวนอดีตเมืองทา ยานคาตางยุค เริ่มแรก รถมาขับผานตลาดจีนหรือตลาด กองตา มีอาคารหมองโงยซิน เปนศิลปะแบบเรือนขนมปงขิง เลาวาการคาของกองตาซบเซา ลงเมื่อมีรถไฟมา ทำ ให้ผูคนเริ่มไมคาขายทางน้ำ และพาไปชมพิพิธภัณฑธนาคารไทย ตอมาก็ ไปที่สถานีรถไฟนครลำ ปางที่มีอายุกว่า ๑๐๐ ปี เมื่อคนมาใชรถไฟมากขึ้น ก็เกิดกาดเกาจาว แทนตลาดกองตา ตอมาก็ไปสถานีรถไฟลำ ปางในปจจุบันบริเวณสถานทีรถไฟก็ไดเจริญขึ้น เปนตลาดเปนยานตลาดใหมของลำ ปางแทนกองตา หรือเรียกวากาดกองตา หองที่ ๑๑ วัดพมาหนาตาอินเตอร (Myanmar Temples, International Style) เมื่อพวกผมเดินมาในห้องถัดมาจะพบกับแทนหมุนทรงปริซึมสามเหลี่ยม ที่มีรูปศิลปะ และสถาป ตั้งยกรรมพมาติดอยูในแตละดาน วิธีเลนคือการหมุนแทนใหภาพตรงกันทั้งหมด จนเปนลวดลายเดียวกัน ในสวนสาระความรูในยุคอาณานิคม พมาเปนเมืองขึ้นของอังกฤษ ชาวอังกฤษ พมา-ไทยใหญ เขา มาทำ กิจการคาไมในลำ ปาง ครั้งนั้น คหบดีชาวพมาตางสราง วัดไว  ที่นี่ จนลำ ปางมีวัดพมามากที่สุดในประเทศไทย และไมใชแค  วัดพมาแตเปน “วัดพมา ผสมฝรั่ง” ซึ่งมีเฉพาะที่ลำ ปาง ตนพุทธศตวรรษที่ 24 รัฐบาลอังกฤษขยาย อิทธิพลจากอิน เดียและพมาแผมาในลานนา ผานกิจการคาไม โดยใช  ลำ ปางเปนศูนยกลาง อุตสาหกรรมปาไมเพื่อการสงออกไมไปในที่ตางๆ


หองท่ี ๑๒ พอดีพองาม อารามลำ ปาง (Simple Temple of Lampang) เมื่อพวกผมเดินลอดประตูมา เปนการจำ ลองภูมิจักรวาลตามความเชื่อทางพุทธศาสนา ลงบนโลกมนุษย และใหความรูเกี่ยวกับวิธีการสรางวัดในแบบตางๆของลำ ปางในสมัยกอน คนลำ ปางสร้างวัดโดยยึดหลักความพอประมาณ เหมาะกับสภาพแวดล้อม การสร้างวัดวา อารามแต่เดิมยึดความเหมาะสมกับภูมิประเทศ ภาพแวดล้อม การใช้สอย หลักคิดข้างต้นอา จะเปลี่ยนบ้างตามยุคสมัย แต่ยังคงเห็นคติการสร้างวัดแบบเดิม การสร้างวัดตามคติพุทธ ศาสนาส่วนใหญ่ สื่อสัญลักษณ์ตามภูมิจักรวาลหรือไตรภูมิ เมื่อเวลาเปลี่ยนไปภาพภูมิจักรวาล อาจถูกลดทอนลด แต่ลำ ปางคงมีการรักษาเอาไว้อยู่ ภูมิจักรวาลตามคติไตรภูมิกล่าวถึง ลักษณะทางกายภาพของจักรวาล ความเชื่อเรื่องจักรวาลคือแรงบันดาลใจให้ช่างไทย สร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา หองที่ ๑๓ คมปญญา (Wisdoms of Lampang) หลังจากที่พวกผมเดินชมห้องที่ ๑๒ จบพวกผมเดินสู่ห้องถัดไป เมื่อพวกผมเข้าสู่ห้องที่ ๑๓ พวกผมได้พบกับทิวทัศน์ของหองที่เต็มไปดวยโคมยักษ ที่เรียง รายติดกัน มีลักษณะ คล้ายกับโคมลอยที่ลอยอยู่ เมื่อพวกผมเขาไปในโคมพวกผมได้พบกับความรู้ที่ให  ศึกษาเกี่ยว กับ ภูมิปญญาทั้งศาสตรและศิลปของชาว ลําปาง และ ชาว ล้านนา เชน ธรรมาสนขยายเสียง ได มณฑปสลักนิรภัย พระบฏลานนา วิหารโถงลําปาง คาวพญา พรหมโวหาร วรรณกรรมชั้น เอกของลานนา ซุมประตูอันเปนพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ประตูโขงสู  วิมานแหง เขาพระสุเมรุ


หองที่ ๑๔ ซับปะเสียงสําเนียงลําปาง (Dialects of Lampang) หลังจากที่พวกผมชมห้องที่ ๑๓ จบพวกผมได้ทำ การรเดินมาจนถึงห้องที่ ๑๔ พวกพบเดินมา พบว่าภายในหองจะมีลําโพงหลากสีติดอยู  กับกําแพง แต  ลําอันจะเปนสําเนียงของ แตละอําเภอใน ลําปาง เมื่อกดปุมดานลางจะมีเสียงออกมา เปนคําวา“กิ๋นหื้อปอคาบ หาบหื้อ ปอแฮง แปงหื้อปอใจ ไข  หื้อปอนอน” แปลวา “กินใหพอม้ือ หาบใหพอแรง ทําใหพอใจ ไขใหพอนอน” ภาษาลําปางมีเอกลักษณเฉพาะตน คนลําปางไมได “อู  กําเมืองลานนา” แต “อู  กําเมือง ลําปาง” แมแต  กําเมืองลําปางเอง ในแตละอําเภอก็มีสําเนียงและศัพทบางคําที่แตกตางกัน ภาษา ถ่ินยอยของคําเมืองลําปาง แบงออกเปน ๒ สําเนียง สําเนียงตอนเหนือ คือสําเนียง ในอําเภอวังเหนือ แจหม เมืองปาน หางฉัตร เมืองแมเมาะ งาว แมทะ เสริมงาม เกาะคา และ สบปราบ สําเนียงตอนใต คือสําเนียงในอําเภอเถิน และแมพริก นอกจากนี้ยังมีภาษาของชาติพันธ  อื่นที่อยูในลําปางอีก ดังนี้ ภาษามง ในอําเภอ วังเหนือ เมืองปาน แจหม งาว ภาษาจีน ในอําเภอเมืองลําปาง ภาษากะเหรี่ยงสะกอ ในอําเภอเมืองปาน แจ หม งาว เสริมงาม แมเมาะ ภาษาเยา ในอําเภอวังเหนือ เมืองปาน แจหม งาว เมืองลําปา ภาษา มูเซอ ในอําเภอเมืองปาน แจหม งาว ภาษาขมุ ในอําเภอแจหม งาว ภาษาลีซอ ในอําเภอวังเหนือ ภาษาลัวะ ในอําเภอวังเหนือ ภาษาอาขา ในอําเภองาว แมเมาะ และภาษาไทลื้อ ในอําเภอเมือง ลําปาง แมทะ


หองที่ ๑๕ ลำ ปางมีดีเมืองนี้หามพลาด (Tourism in Lampang) เมื่อพวกผมเข้ามาภายในหองจะมีบุษบกยอมุมไม ๑๒ ที่มีพระพุทธรูปสวยงามวางตั้ง อยูตรงกลาง ภายในหองเปนโถงทางเดินยาวรวบรวมของดีและสถานที่ทองเที่ยวในลําปางทั้ง ที่พวกผมทั้งเคยและไม่เคยไปชมมาก่อน และ มีการรวบรวมสถานที่อันหลากหลาย พิเศษ ไมเหมือน ใครของนครลำ ปาง สะทอนออกมาในรูปแบบของของที่ระลึกและสินคานานาประ เภทใหเลือกซื้อหา ทั้งเปนงานฝีมือของคนพื้นเมือง หรือของคนท้องถิ่น เป็นงานฝ มือแสดงถึง ภูมิปญญาของคนพื้นเมือง เชน พานสาน พานพุมฝาย หมากสาย ขันแกวทั้งสาม หมากสุม ตนดอกหรือพุมดอก ตนเทียน หมากเบ็ง สัตตภัณฑ สุมพลูหรือพลูเบ็ง ขันดอก ขันตอ กอม ขันเลี่ยม เครื่องสักการะลานนา และงานฝีมือต่างๆมากมาย ที่ทำ ให้พวกผมเกิดความประทับ ใจใน ภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดลำ ปาง ที่นำ สิ่งของต่างๆ มาประดิษฐ์ดัดแปลงจนเกิดเป็น ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ลำ เลิศให้กลุ่มคนอื่นๆได้นำ ภูมิปัญญาเหล่านี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และ พวกผมก็ได้รับรู้วิธีการที่ทำ หรือประดิษฐ์ภูมิปัญญาเหล่านั้น หองที่ ๑๖ เนี๊ยะ...ลําปาง (This is Lampagn) หลังจากที่พวกผมชมห้องที่ ๑๕ จบพวกผมก็ได้เดินเข้าสู่ห้องที่ ๑๖ ซึ่งเป็นห้องอันเป็น บทสรุปทิ้งทายของการเยี่ยมชม รวมแสดงความคิดเห็น เมื่อรู  จักลําปางแลวบอกไดไหม “คุณ ชอบอะไรในลําปาง” รถมาลําปาง สัญลักษณ  คูเมือง วัดโบราณ ที่อนุรักษ  สืบสานคุณคา ยาน เมืองเกา สงบสวยงาม ยานเมืองใหม ทันสมัยสะดวกสบาย ประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น ตอ ยอดสูเศรษฐกิจสรางสรรค ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดีๆ ตําหรับอาหารประจํา ถิ่น งาน เซรามิก สรางรายไดมหาศาล ภาษาถิ่นแตกตาง แบบบานเรา หรือศิลปะรวมสมัย


จากราก วัฒนธรรม แตนาเสียดายที่เครื่องโหวตพัง พวกผมเลยไมไดเลือกขอไหน กอนออกจากหองยังมีรถ ๓ ลอ และกําแพงมีรูปวาดของสถานทองเที่ยวที่สําคัญของ เมือง ลำ ปาง ไมวาจะเปน สะพานรัษฎาภิเศก บานหลุยส วิหารพระเจาพันองค  ในห้องสุดท้ายนี่นั้นทำ ให้พวกผมได้รับสิ่งดีๆ ต่างๆ มากมาย จากการเยี่ยมชมที่ผ่านมา ทำ ให้พวกผมได้รู้ซึ้งถึงเมืองลำ ปางในแง่มุมใหม่ๆที่มากขึ้น ทั้งทางภูมิปัญญาพื้นเมืองลำ ปาง และสถานที่ท่องเที่ยวภายในจังหวัดลำ ปาง


Click to View FlipBook Version