The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maturos, 2021-06-01 23:11:55

Annual-report-63_Neat

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 99









Uganda, Uzbekistan, Iraq, Azerbaijan, Syria และ Turkmenistan นอกจากนยงมการเสนอในการทาการลงทะเบยนบคลากร

ทางวิศวกรรมส่วนบุคคล เพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายของบุคคลากรทางวิศวกรรมในประเทศสมาชิกมากขึ้นต่อไป
สรุปผลการประชุม และความคืบหน้าคณะท�างานทั้งหมด 5 กลุ่ม
1. Standing Committee on Environmental Engineering ประธานกลุ่มจากสิงคโปร์ มีการพัฒนาคู่มือ FEIAP Infrastructure
Sustainably Guidebook
2. Standing Committee on Engineering Education ประธานกลุ่มจากสิงคโปร์เป็นพี่เลี้ยงให้ประเทศที่ต้องการการรับรอง
(Accreditation) ด้านการศึกษาจาก FEIAP

3. Standing Committee on Information and Communication Technologies ประธานกลุ่มประเทศอินเดียมีการจัดทา
Free Webinar ในหลากหลายหัวข้อ


4. Standing Committee on Natural Disaster and Preparedness ประธานกลมประเทศเกาหลใต มการจดทาคมอ Flood








Disaster Manual และการจัดท�า Free Webinar ให้ประเทศสมาชิก โดยมีผู้เข้าร่วมฟังสัมมนาเป็นจ�านวนมาก
5. Young Engineer Development Committee ประธานกลุ่มประเทศมาเลเซีย แจ้งมีการจัดอบรม Free Webinar Series
และได้ท�าช่องทางการติดต่อและรวมกลุ่มกัน นอกจากนี้ กลุ่มนี้เป็นคณะกรรมการที่มีความพยายามด�าเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ในอนาคต
6. เพิ่มเติม NPU-FEIAP B & R Engineering Education Training Centre ศูนย์ฝึกนี้จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัย NPU ในการ
th
ประชุม 27 General Assembly (GA) ที่ NPU (Northwestern Polytechnical University) เมืองซีอาน ประเทศจีน
โดยมีจุดประสงค์ในการอบรมความรู้ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านการศึกษาวิศวกรรม
7. FEIAP Foundation มีแนวความคิดเบื้องต้นในการตั้งมูลนิธิเพื่อระดมทุน
8. Financial Matters ผู้ตรวจสอบบัญชีภายใน (Internal Auditor) จากประเทศปากีสถาน
9. FEIAP Engineer of the Year Award 2021 เชิญชวนองค์กรสมาชิกให้เสนอชื่อผู้สมัครเพื่อคัดเลือกให้ได้รับรางวัล 2021













FEIAP Award โดยสงไดภายในวนท 31 มนาคม 2564 โดยจะมคณะกรรมการใหคะแนนและตดสนจากประเทศพมา ไตหวน
ออสเตรเลีย และไนจีเรีย
10. การจัดการประชุม General Assembly (GA) ครั้งที่ 29 มีแผนจะจัดที่เมือง Cebu ประเทศฟิลิปปินส์ ระหว่างวันที่ 24-28
กรกฎาคม 2564 การประชุมครั้งที่ 30 General Assembly (GA) ในปี 2022 มีความเป็นไปได้ที่จะจัดที่ประเทศเกาหลี
th
st
nd
และ FEIAP เปิดรับการสมัครเป็นเจ้าภาพการประชุมครั้งที่ 31 (GA-2023) และ 32 (GA-2024)
5. วันที่ 17-27 สิงหาคม 2563 การประชุมสมาพันธ์วิศวกรอาเซียนกลางปี (AFEO Midterm Meeting 2020) จากสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 ที่มีการระบาดในภูมิภาคอาเซียน ส่งผลกระทบให้ส�านักเลขาธิการ AFEO แจ้งให้
มีการประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom application เพื่อเป็นการลดโอกาศและลดความเสี่ยงในการติดและรับเชื้อดังกล่าวกับ



ผแทนของแตละหนวยงานทจะเขารวมประชมดวย สาหรบผแทนจากวศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ ทเขารวมประชมออนไลน ์


















มีดังต่อไปนี้
1. ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
2. นายจีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ เลขาธิการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
3. ศ.ดร.พานิช วุฒิพฤกษ์ ประธานคณะกรรมการต่างประเทศ วสท.
4. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ ประธานคณะกรรมการ AEI – Building of AFEO
5. รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วสท.
6. รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วสท. และ
Chairman of Disaster Preparedness,
Mitigation and Management, AFEO
7. ผศ.วงกต วงศ์อภัย กรรมการต่างประเทศ วสท.
8. รศ.ดร.จารุวัตร เจริญสุข กรรมการต่างประเทศ วสท.
ประธานคณะกรรมการ AEI Boiler of EIT

100 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



กรรมการและเลขานุการคณะอนุกรรมการระบบไอน�้า หม้อน�้า และภาชนะ
รับความดัน วสท.
9. พันตรี.ดร.ต้องการ แก้วเฉลิมทอง กรรมการต่างประเทศ วสท.
และ Chairman of Transportation & Logistic of AFEO


10. รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หลอทองค�า กรรมการสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี วสท.
11. นางสาววรรณิษา จักภิละ ประธานคณะกรรมการวิศวกรหญิง วสท.
12. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร วสท.
13. นายเกชา ธีระโกเมน กรรมการ CAFEO วสท.
14. รศ.สฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ์ กรรมการ CAFEO วสท.
15. ผศ.ดร.ศิริกุล จันทร์สว่าง กรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วสท.

16. ผศ.พิพัฒน์ ภูริปัญญาคุณ กรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วสท.
17. ผศ.ดร.สุชัญญา โปษยะนันทน์ กรรมการและเลขานุการต่างประเทศ วสท.


โดยมีกลุ่มการท�างานดังต่อไปนี้
1) Midterm Meeting 2020 17-27 สิงหาคม 2563

2) Environmental Engineering Work Group
3) Energy Working Group
4) Education and Capacity Building
5) Disaster Preparedness
6) Sustainable Cities
7) Transportation and Logistic
8) Mobility of Engineers AdHoc Committee

9) AEI - Electrical Installation Steering Comm
10) AEI - Building Steering Comm
11) AEI - Boiler Steering Comm
12) AEI - Manufacturing Steering Committee
13) WE - AFEO

14) YEAFEO


6. วันท 15 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00 น. จัดสัมมนาออนไลน์ระหว่างประเทศในเร่อง BOILER WEBINAR หัวข้อ: Boilers

Inspection Guidelines and Standards โดยมี นายช�านิ โมสกุล ต�าแหน่ง Lloyd’s Register International (Thailand)
Ltd. (LRIT), Senior Surveyor, ASME AI/AIS, Senior Surveyor Lloyd’s Register Group, Inspection Services, Business
Assurance and Inspection Services (BA&IS) Businesses เป็นผู้แทนจาก วสท. เข้าร่วมน�าเสนอบทความ






7. วนท 28 ตลาคม 2563 เวลา 08.30-13.00 น. จดสมมนาออนไลน์ระหว่างประเทศในเร่อง ENVIRONMENTAL WEBINAR หวขอ:



Mining Monitoring with Sustainable Development โดยมี ดร.กฤตยา ศักดิ์อมรสงวน ต�าแหน่ง Mining engineer at the
Department of Primary Industries and Mines (DPIM), Ministry of Industry, Bangkok, Thailand. เป็นผู้แทน วสท.
เข้าร่วมน�าเสนอบทความ
8. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ร่วมประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Application ในการประชุมสมาพันวิศวกร
อาเซียนครั้งที่ 38 หรือ 38 Conference of the ASEAN Federation of Engineering Organizations (CAFEO 38) ภาย
th
ใต้หัวข้อ “Fostering Initiatives and Actions by AFEO to Build a Sustainable and Prosperous ASEAN Community”
ู้


วันท 18-26 พฤศจิกายน 2563 ณ เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เพ่อแลกเปล่ยนองค์ความร ประสบการณ์ในด้านงานวิศวกรรม


ระหว่างภูมิภาคอาเซียน ผู้แทนจากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ที่เข้าร่วมประชุมออนไลน์ ดังนี้

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 101



1. ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
2. นายจีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ เลขาธิการวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ
3. ศ.ดร.พานิช วุฒิพฤกษ์ ประธานคณะกรรมการต่างประเทศ วสท.
4. นายพิชญะ จันทรานุวัฒน์ ประธานคณะกรรมการ AEI – Building of AFEO

5. รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วสท.
6. รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ประธานคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วสท.
และ Chairman of Disaster Preparedness,
Mitigation and Management, AFEO
7. ผศ.วงกต วงศ์อภัย กรรมการต่างประเทศ วสท.
8. รศ.ดร.จารุวัตร เจริญสุข กรรมการต่างประเทศ วสท.

ประธานคณะกรรมการ AEI Boiler
กรรมการและเลขานุการคณะอนุกรรมการระบบไอน�้า หม้อน�้า
และภาชนะรับความดัน
9. พันตรี.ดร.ต้องการ แก้วเฉลิมทอง กรรมการต่างประเทศ วสท.
และ Chairman of Transportation & Logistic of AFEO


10. รศ.ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หลอทองค�า กรรมการสาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี
11. นางสาววรรณิษา จักภิละ ประธานคณะกรรมการวิศวกรหญิง วสท.
12. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร วสท.
13. นายเกชา ธีระโกเมน กรรมการ CAFEO วสท.
14. รศ.สฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ์ กรรมการ CAFEO วสท.
15. ผศ.ดร.ศิริกุล จันทร์สว่าง กรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วสท.
16. ผศ.พิพัฒน์ ภูริปัญญาคุณ กรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วสท.

17. ผศ.ดร.สุชัญญา โปษยะนันทน์ กรรมการและเลขานุการต่างประเทศ วสท.

































8 8 8
8 8 8
8 8

102 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



9. กิจกรรมอื่น ๆ
9.1 AFEO Awards and Fellowship 2020 เป็นรางวัลส�าหรับบุคคลที่มีส่วนร่วมอย่างโดดเด่น ทั้งการอุทิศตนให้กับงานด้าน

วิศวกรรมโดยไม่หวังผลตอบแทน การมีส่วนช่วยพัฒนาวิศวกรรมด้านต่าง ๆ เพ่อก่อให้เกิดความก้าวหน้าด้านวิชาชีพ
วิศวกรรมทั้งต่อสมาคม สังคม และประเทศชาติ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึงขอมอบรางวัลแก่บุคคลดังรายนาม

ต่อไปนี้เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป
1. รางวัล AFEO Honorary Membership Award
1.1 Distinguished Honorary Fellow Award
ไม่มี
1.2 AFEO Honorary Fellow Award
1. ศ.ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ

2. นายเกชา ธีระโกเมน
1.3 AFEO Honorary Member Award
1. นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย
2. นายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข
3. ผศ.ดร.อุทัย ไชยวงค์วิลาน

4. รศ.ดรกิจพัฒน์ ภู่วรวรรณ
5. นางสาวบุษกร แสนสุข
2. รางวัล ASEAN Outstanding Engineering Achievement Award
2.1 ASEAN Outstanding Engineering Achievement Project Award
ไม่มี 9 9 9
2.2 ASEAN Outstanding Engineering Contribution Award 9 9 9
ไม่มี 9 9 9

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 103



9.2 โครงการประกวด ASEAN Building Fire Safety Awards 2020
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ร่วมกับกลุ่มสมาพันธ์วิศวกรอาเซียน หรือ ASEAN Federation of Engineering
Organization (AFEO) ซ่งมีประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกได้แก่ ไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวกัมพูชา ฟิลิปปินส์

อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม และสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ รวมทั้งประเทศอื่น ๆ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี


ออสเตรเลีย จีน ฯลฯ ท้งน้ได้จัดทามาตรฐานกลางสาหรับอาเซียนในเร่อง มาตรฐานการตรวจสอบหม้อนา (ASEAN Inspector






in Boiler: AEI-Boiler) มาตรฐานการตรวจสอบอาคาร (ASEAN Inspector in Building: AEI-Building) การตรวจการทวน
สอบทางไฟฟ้า (ASEAN Inspector in Electricle: AEI-Electrical) และก�าลังด�าเนินการจัดตั้ง The ASEAN Engineering




Inspectorate (AEI) Steering Committee on Manufacturing (AEIM) ชุดใหม่เพ่อดาเนินการจัดทาต่อไป สาหรับ

มาตรฐานกลางการตรวจสอบอาคาร (ASEAN Engineering Inspector in Building: AEI-Building) ได้ดาเนินการเก่ยวกับ

การตรวจโดยใช้ Building Fire Safety Inspection Checklist Version 3 (BFSIC_V3) ส�าหรับโครงการประกวด ASEAN
Building Fire Safety Awards 2020 ซ่งมีการปรับปรุงและผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกลางของ AFEO และมีเกณฑ์

การตัดสินคือต้องมีคะแนนรวมท่ผ่านเกณฑ์ 80 % ซ่งโครงการน้จัดทาข้นเพ่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยควบคุมอาคาร







ของประเทศในแถบอาเซียน เป็นการสร้างมาตรฐานเพ่อให้ทุกองค์กร และทุกหน่วยงานปฏิบัติตามกฎของเจ้าของอาคาร

หรือเพ่อให้ผู้ประกอบการได้ตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนต่าง ๆ ดังน้นวิศวกรรมสถาน

แห่งประเทศไทยฯ จึงจัดประกวดอาคารท่มีความโดดเด่นด้านความปลอดภัยด้านอัคคีภัยข้นกล่าวคือ มีการออกแบบท่ด ี




มีอุปกรณ์ประกอบอาคารตามกฎหมาย มีการตรวจสอบ การบารุงรักษาและทดสอบสมรรถนะอุปกรณ์ ด้านความปลอดภัย
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นตัวอย่างให้อาคารอื่น ๆ ด�าเนินการตามแบบอย่างที่มีมาตรฐานและปฏิบัติตามกฎหมาย
รายชื่ออาคารที่ผ่านการตรวจในปี 2563 มีดังนี้
1. อาคาร RATCH GROUP โดย บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ากัด (มหาชน)
2. อาคาร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ส�านักงานใหญ่) โดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
3. อาคาร ศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต โดย เซ็นทรัลพัฒนา จ�ากัด (มหาชน)
9.3 สมาชิกวิศวกรอาเซียน หรือ ASEAN Engineering Register (AER)
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่ม สภาวิศวกรรมอาเซียน The ASEAN Federation
of Engineering Organisations (AFEO) มีสมาชิกคือ ไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กัมพูชา ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม และสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับวิศวกรรม
ในด้านต่าง ๆ ให้กับประเทศสมาชิก นอกจากนี้ยังจัดตั้ง ASEAN Engineering Register (AER) ขึ้นเพื่อเป็นการเก็บรวบรวม



จัดระเบียบประเภท พร้อมท้งเผยแพร่ข้อมูลวิศวกรจากประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซียน เพ่อเป็นการจัดทาฐานข้อมูล


วิศวกรท่มีความรู้ความสามารถ ความเช่ยวชาญ ในแต่ละแขนง ของแต่ละประเทศ ให้ง่ายต่อการสืบค้นข้อมูล ต่อกลุ่ม
ประเทศสมาชิกอาเซียนด้วยกัน
วัตถุประสงค์
- ส่งเสริมให้เกิดการยอมรับคุณภาพของวิศวกรของกลุ่มประเทศอาเซียน ในและนอกภูมิภาคอาเซียน
- ปกป้องและส่งเสริม สิทธิและผลประโยชน์ทางวิชาชีพ ของวิศวกร นักเทคโนโลยี ช่างเทคนิคด้านวิศวกรรม
- ส่งเสริมและก่อให้เกิด มาตรฐานขั้นสูง ส�าหรับการปฏิบัติวิชาชีพ และมีการทบทวนมาตรฐานอย่างสม�่าเสมอ

- ส่งเสริมการเชื่อมสัมพันธ์ทางวิชาชีพและวัฒนธรรมของวิศวกร ในกลุ่มประเทศสมาชิกในอาเซียน
- เพิ่มพูนความมั่งคั่ง ของประเทศในกลุ่มอาเซียน
- เป็นแหล่งข้อมูลที่ครบถ้วน ของวิศวกร นักเทคโนโลยี และช่างเทคนิค ด้านวิศวกรรม เพื่อประโยชน์แด่ ผู้สนใจว่าจ้าง
ในการค้นหา
- ส่งเสริมการปรับปรุงเพ่มพูนคุณภาพของวิศวกร นักเทคโนโลยีวิศวกรรมและช่างเทคนิคอย่างต่อเน่อง โดยจัดให้ม ี


มาตรฐานส�าหรับการตรวจสอบและประเมินขึ้น
- ในด้านการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ดังกล่าว AFEO จะทาหน้าท่เป็น นายทะเบียน ในการตรวจสอบและ



จดทะเบียนบุคคล ที่มีคุณสมบัติ ผ่านตามเกณฑ์คุณภาพขั้นต�่าที่ก�าหนดไว้

104 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563




- จัดต้งฐานข้อมูล ด้าน คุณสมบัติความสามารถ ประสบการณ์ของวิศวกร นักเทคโนโลย และช่างเทคนิค ด้านวิศวกรรม,

ช่างเทคนิค และผู้ร่วมงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์แก่ ผู้สนใจว่าจ้างนายจ้างในหมู่ประเทศสมาชิก ได้ค้นหา
ประเภทของสมาชิก AER
— ASEAN Engineers Register

— ASEAN Engineers (AE) วิศวกร
— Associate ASEAN Engineers (AAE) ภาคีวิศวกร
— ASEAN Engineering Technologists Register
— ASEAN Engineering Technologists (AET)
— Associate ASEAN Engineering Technologists (AAET)
— ASEAN Technicians Register

— ASEAN Technicians (AT)
— Associate ASEAN Technicians (AAT)
ปี 2563 มีวิศวกรของประเทศไทยเข้าร่วมขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิก AER เพิ่มเติมดังนี้
1. นายสุนทร ภิรมย์ศาสตร์กุล Civil Engineers
2. นายอลงกต ส�าลวญหรรษ์ Electrical Engineers

3. นายวิเชียร สงวนทรัพยากร Civil Engineers
4. นายธีระยุทธ โสวรรณะ Electrical Engineers
5. นายมนู ศักดิ์ประเสริฐ Civil Engineers
6. นายเขมชาติ อินทร์แก้ว Civil Engineers
7. นายฉัตรชัย มงคลหมู่ Civil Engineers
8. นางสาวชนิกา วงศ์ไพฑูรย์ Electrical Engineers
9. นายชัชวาล ตันศิริ Civil Engineers

10. นางสาวชาริณี ยิงไพฑูรย์ Mechanical Engineering
11. นางสาวโชคดี ยี่แพร่ Civil Engineers
12. นายณปภัช เกิดใหม่ Electrical Engineers
13. นายณัฐวุฒิ สระบัว Civil Engineers
14. นายดิเรก ศรีเจิมทอง Civil Engineers

15. นายทรงศักดิ์ ธ�ารงสิริวรานนท์ Civil Engineers
16. นายนิสิต ด�ารัสสิริรัตน์ Mechanical Engineering
17. นายพิฆเนศ วิวัชรโกเศศ Civil Engineers
18. นายมนัส เหมือนโพธิ์ Civil Engineers
19. นายยิ่งศักดิ์ อ่อนสร้อย Civil Engineers
20. นายวิวัฒน์ วงษ์ยอด Electrical Engineers

21. นายศิลปชัย คงกระพันธ์ Electrical Engineers
22. นายเสน่ห์ เล็กสูงเนิน Civil Engineers
23. นายองอาจ เจนจิตศิริ Civil Engineers
24. นางสาวอรฉัตร มาลีหอม Civil Engineers
25. นายอาทิตย์ สูภางคะรัตน์ Civil Engineers

26. นายอ�านาจ สุทธาเนตร Electrical Engineers
รวมแล้วประเทศไทยมีผู้ขึ้นทะเบียนสมัครเป็นสมาชิก AER แล้ว 69 คน และสมาชิกทั้งหมด AER ทั้งหมด 5,111 คน

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 105



9.4 EIT Golf 2020 ในที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ณ สนามสมาคมกรุงเทพกรีฑา
วัตถุประสงค์ เพื่อหารายได้สมทบทุนกิจการ วสท. ในการพัฒนางานด้านต่างประเทศ วสท. และเปิดโอกาสให้หน่วยงาน


องค์กร หรือบุคคลท่เก่ยวข้องทางด้านวิศวกรรมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุน พัฒนาสมาคม พร้อมกับยังเป็นการ
ส่งเสริมสุขภาพให้กับสมาชิก และประชาชนทั่วไป โดยมีบริษัทและหน่วยงานสนับสนุน 25 รายดังนี้
1. บริษัท แซทเทล (ประเทศไทย) จ�ากัด 14. การเคหะแห่งชาติ
2. บริษัท ฤทธา จ�ากัด 15. กรมทางหลวงชนบท
3. มูลนิธิวิศวกรรมโยธาลาดกระบัง 16. บริษัท คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จ�ากัด (มหาชน)

4. บริษัท ติยะ มาสเตอร์ ซิสเต็มส์ จ�ากัด 17. บริษัท นิปปอนเพนต์ เดคโคเรทีฟ โคทต้ง (ประเทศไทย) จากัด

5. บริษัท ซีฟโก้ จ�ากัด (มหาชน) 18. บริษัท แสงมิตรอีเลคตริค จ�ากัด
6. บริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จ�ากัด 19. บริษัท ภัทรไพล์ลิ่ง จ�ากัด


7. บริษัท แอร์โรว์ ซินดิเคท จากัด (มหาชน) (ARROWPIPE) 20. ห้างหุ่นส่วนจ�ากัด แพร่วิศวกรรม
8. บริษัท เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแต้นส์ จ�ากัด 21. บริษัท วีอี โซลูชั่น จ�ากัด (ส�านักงานใหญ่)
9. บริษัท ทริโอ ไบรท์ จ�ากัด 22. บริษัท เอ.เอส.แอสโซซิเอท เอนยิเนียริ่ง (1964) จ�ากัด
10. บริษัท ทูเก็ตเตอร์ แอสโซซิเอทส์ จ�ากัด 23. บริษัท เนาวรัตน์พัฒนาการ จ�ากัด (มหาชน)

11. บริษัท เอ็นแอล ดีเวลลอปเมนต์ จ�ากัด (มหาชน) 24. บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จากัด
12. บริษัท มิตซูบิชิ เอลเลเวเตอร์ จ�ากัด (ประเทศไทย) 25. บริษัท แพรคติก้า จ�ากัด



13. บริษัท ไซท์ เพรพพาเรช่น แมเนจเมนท์ จากัด (สานักงานใหญ่)



คณะกรรมการวิศวกรอาวุโส

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา ประธานฯ จัดการประชุมคณะกรรมการเป็นครั้งแรกเพื่อก�าหนดนโยบาย และกิจกรรมที่จะจัดขึ้นในปีนี้
โดยได้แนะน�าที่ปรึกษา คณะกรรมการ ซึ่งเป็นผู้ใหญ่ในวงการวิศวกรรมจากหลากหลายสาขาเข้ามาร่วมในกรรมการชุดนี้ นับว่า
เป็นเกียรติแก่วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ อย่างยิ่ง เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.





























1 1 1
1

106 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



2. ประชุมคณะกรรมการวิศวกรอาวุโส ประจ�าปี พ.ศ. 2563 จ�านวน 4 ครั้ง
3. การศึกษาดูงานสถาบันวิทยสิริเมธี (Vistec) วันที่ 15 กันยายน 2563 ณ สถาบันวิทยสิริเมธี จังหวัดระยอง ผู้เข้าร่วม 19 คน





































2 2 2
2 3 3
3 3







คณะกรรมการวิศวกรหญิง

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


1. คณะกรรมการวิศวกรหญิงประชุม 4 ครั้ง

2. ร่วมประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Application ในการประชุมสมาพันวิศวกรอาเซียนครั้งที่ 38 หรือ 38 Conference
th
of the ASEAN Federation of Engineering Organizations (CAFEO 38) ภายใต้หัวข้อ “Fostering Initiatives and Actions
by AFEO to Build a Sustainable and Prosperous ASEAN Community” วันที่ 18-26 พฤศจิกายน 2563 ณ เมืองฮานอย
ประเทศเวียดนาม
3. วันที่ 23 มิถุนายน 2563 วันวิศวกรหญิงโลก คณะกรรมการวิศวกรหญิงจึงจัดกิจกรรมร่วมท�าบุญตักบาตรที่โรงพยาบาลสงฆ์













3 3

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 107



4. จัดท�ารายการ “คุ้ยหาสาระกับวิศวกร วิศวกรรมสถานฯ”
ครั้งที่ 1 แนะน�ากิจกรรมที่น่าสนใจของ วสท. ครั้งที่ 2 เรื่องมาตรฐานบันไดเลื่อนและทางเลื่อนอัตโนมัติ
ครั้งที่ 3 เรื่องแนวทางของอัตราการระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติและวิธีทางไกลให้ปลอดภัยต่อสุขอนามัย และการด�ารงชีวิต


5. ร่วมกับคณะกรรมการวิศวกรอาวุโส วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) นาโดย นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา ประธาน นากรรมการฯ
เข้าเยี่ยมชม และศึกษาดูงานสถาบันวิทยสิริเมธี (Vidyasirimedhi Institute of Science and Technology: VISTEC) ที่จังหวัด
ระยอง โดย ศ.ดร.รัตติกร ยิ้มนิรัญ คณบดี ส�านักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิริเมธี ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายถึง
ความเป็นมา วิสัยทัศน์ พร้อมน�าชมสถาบันฯ และนวัตกรรมต่าง ๆ วันที่ 15 กันยายน 2563 สถาบันวิทยสิริเมธี จังหวัดระยอง

4 5 5





















คณะกรรมการยุววิศวกร

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


1. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) เป็นวิทยากรบรรยาย หัวข้อ

“ก้าวแรกสู่การเป็นวิศวกร” วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงเรียนวัดน้อยนพคุณ

2. วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ร่วมสนับสนุนกิจกรรมของกรมทรัพยากรธรณ โดยส่งทีมแข่งขันโบว์ลิ่งการกุศล


เพ่อหารายได้สนับสนุนกิจกรรมของสวัสดิการกรมทรัพยากรธรณ มีนายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานยุววิศวกร และกรรมการ
ยุววิศวกร วสท. เป็นผู้แทนฯ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563
3. การประชุมออนไลน์ The 3 FEIAP working group on youth talent development meeting โดยมีผู้แทนจาก วสท. ได้แก่
rd

รศ.ดร.กิจพัฒน์ ภู่วรวรรณ ท่ปรึกษาคณะกรรมการยุววิศวกร นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร นายกรวัฒน์

ศักด์พันธ์พนม กรรมการยุววิศวกร และนายณัฐกิตต ดารงอุตสาหกิจ กรรมการยุววิศวกร เข้าร่วมประชุม วันท 20 กรกฎาคม 2563





1 1 2
2 3 3

108 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563




4. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร และนายกรวัฒน์ ศักด์พันธ์พนม กรรมการ ยุววิศวกร ร่วมประชุม
สมาพันธ์วิศวกรอาเซียนกลางปี (AFEO Midterm Meeting 2020) โดยประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom application เพื่อ
เป็นการลดโอกาสและลดความเสี่ยงในการติดและรับเชื้อดังกล่าว วันที่ 17-27 สิงหาคม 2563
5. คณะกรรมการวิศวกรอาวุโส วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) น�าโดย นายสุวัฒน์ เชาว์ปรีชา ประธานฯ น�ากรรมการ

ร่วมด้วยนางสาววรรณิษา จักภิละ ประธานวิศวกรหญิง และรองประธานฯ นายณัฐกิตติ์ ด�ารงอุตสาหกิจ รองประธานยุววิศวกร
นายวัชร ศิริกุลยานนท์ กรรมการยุววิศวกร เข้าเยี่ยมชม และศึกษาดูงานสถาบันวิทยสิริเมธี (Vidyasirimedhi Institute of
Science and Technology: VISTEC) ที่จังหวัดระยอง โดย ศ.ดร.รัตติกร ยิ้มนิรัญ คณบดี ส�านักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบัน


วิทยสิริเมธ ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายถึงความเป็นมา วิสัยทัศน์ พร้อมนาชมสถาบันฯ และนวัตกรรมต่าง ๆ วันท 15 กันยายน


2563 สถาบันวิทยสิริเมธี จังหวัดระยอง



6. นายปกรณ์ การณวงษ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร วศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) เป็นวทยากร บรรยายร่วมกบ



นายประสงค์ ธาราไชย ท่ปรึกษาคณะกรรมการยุววิศวกร ในหัวข้อ “ก้าวแรกสู่การเป็นวิศวกร” ผ่านระบบ Zoom application
วันที่ 15 ตุลาคม 2563 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
7. คณะกรรมการยุววิศวกร ร่วมกับ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคตะวันตก จัดกิจกรรม “โครงการศกษาดูงาน

การก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดินสายสีส้ม (ช่วงหัวหมาก – คลองบ้านม้า)” โดยวิทยากรจาก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์
จ�ากัด (มหาชน) วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563
8. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานคณะกรรมการยุววิศวกร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) นายกรวัฒน์ ศักดิ์พันธ์พนม
กรรมการยุววิศวกร และนายณัฐกิตติ์ ด�ารงอุตสาหกิจ กรรมการยุววิศวกร ร่วมประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Application
ในการประชุมสมาพันวิศวกรอาเซียนคร้งท 38 หรือ 38th Conference of the ASEAN Federation of Engineering



Organizations (CAFEO 38) ภายใต้หัวข้อ “Fostering Initiatives and Actions by AFEO to Build a Sustainable and
Prosperous ASEAN Community” วันท 18-26 พฤศจิกายน 2563 ณ เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เพ่อแลกเปล่ยน




องค์ความรู้ ประสบการณ์ในด้านงานวิศวกรรมระหว่างภูมิภาคอาเซียน
4 4 5
5 6 6
7 8 8

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 109



คณะกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ



ภารกิจ
1. ทบทวนและปรับปรุงข้อบังคับ วสท.
2. จัดท�าโครงการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมจรรยาบรรณวิศวกร

3. ส่งเสริมให้สมาชิกประกอบวิชาชีพตามจรรยาบรรณเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของสังคมทั่วไป
4. ประชุมคณะกรรมการปี พ.ศ. 2563 จ�านวน 7 ครั้ง


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


จัดโครงการประกวดหนังส้น (Short film) หัวข้อ “วิศวกรดีมีจรรยาบรรณ” สาหรับนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมโครงการ


โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อส่งเสริมให้วิศวกรรุ่นใหม่ได้ให้ความสาคัญกับหลักจรรยาบรรณวิศวกร เสริมสร้างความร ความเข้าใจ เก่ยวกับ
ู้



จรรยาบรรณของวิชาชีพ มาบอกเล่าในรูปแบบของหนังส้นท่ให้ท้งความรู้และความเพลิดเพลิน และเพ่อเสริมสร้างความตระหนัก


ในการประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพด้วยจิตวิญญาณของความเป็นวิศวกรให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางด้านวิศวกรรม

และผู้เตรียมเข้าสู่วิชาชีพทางด้านวิศวกรรม เพ่อเปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการนาเสนอมุมมองแนวคิดใหม่ ๆ

ต่อหลักจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรม และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของวิศวกรไทยในอนาคต แบ่งรางวัลเป็น 3 ระดับ ได้แก่
1. รางวัลสุดยอดผลงานแห่งปี จ�านวน 1 รางวัล รางวัลละ 20,000 บาท พร้อมโล่รางวัล และเกียรติบัตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชื่อทีม Amateur ชื่อผลงาน กว่าจะถึงฝัน














2. รางวัลชนะเลิศ 4 รางวัล รางวัลละ 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
2.1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ชื่อทีม Cubic Film ชื่อผลงาน ถ้า คุณ ท�า
2.2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ชื่อทีม โยธาบางมด ชื่อผลงาน ENGINEER ETHICS







2.3 มหาวทยาลยเทคโนโลยพระจอมเกลาพระนครเหนอ ชอทม หวานเจยบ ชอผลงาน Civil Eng Survival Fight for the future






2.4 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชื่อทีม EGN BLOOD ชื่อผลงาน เม็ดเลือดเกียร์

110 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



3. รางวัลขวัญใจมวลชน มูลค่า 5,000 บาท
ขอบคุณผู้สนับสนุนโครงการจ�านวน 8 ราย ได้แก่
1. บริษัท กรณิศ ก่อสร้าง จ�ากัด 5. บริษัท เมก้า แพลนเน็ต จ�ากัด
2. การประปานครหลวง 6. บริษัท เอ็ม เอ เอ คอนซัลแตนท์ จ�ากัด

3. บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จ�ากัด 7. บริษัท ไมนฮาร์ท (ประเทศไทย) จ�ากัด
4. บริษัท ซีฟโก้ จ�ากัด (มหาชน) 8. บริษัท เมตริก วิศวกรที่ปรึกษาและสถาปนิก จ�ากัด






คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



การประชุม
1. ประชุมคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 13 มีนาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 24 คน
2. ประชุมคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา ครั้งที่ 2/2563 วันที่ 20 สิงหาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 21 คน


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน

1. อบรมและศึกษาดูงาน (ออนไลน์) หลักสูตร “การจัดการ การเท การบ่ม และการถอดแบบ ฐานรากคอนกรีตขนาดใหญ่”
จัดร่วมกับสถาบันวิศวพัฒน์ วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 43 คน
2. ประชุมวิชาการ “วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25” (ออนไลน์) จัดร่วมกับมหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเกษตรศรีราชา
และมหาวิทลัยราชภัฏร�าไพพรรณี วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 400 คน
3. ศึกษาดูงาน “การก่อสร้างโครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

โซน ซี วันที่ 26 สิงหาคม 2563 ณ ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ ผู้เข้าร่วม 12 คน
4. การอบรม เรื่อง “การออกแบบพื้นคอนกรีตอัดแรงไร้คาน รุ่นที่ 6” วันที่ 11-12 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 37 คน


























3 3
4 4

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 111



5. การอบรมเรื่อง “การออกแบบจุดต่อและการสร้างชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กส�าเร็จรูป รุ่นที่ 14” วันที่ 7-8 พฤศจิกายน 2563
ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 27 คน
6. ศึกษาดูงาน “โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายตะวันออกเฉียงเหนือมาบกะเบา-ชุมทางจิระ” วันที่ 4 ธันวาคม 2563 จังหวัด
สระบุรี ผู้เข้าร่วม 24 คน 5 6 6

























คณะอนุกรรมการสาขาโครงสร้างเหล็ก
กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน

การประชุม
1. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 16 คน
2. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 2/2563 วันที่ 11 มิถุนายน 2563 ณ อาคาร วสท. เข้าร่วมประชุม 11 คน
3. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 3/2563 วันที่ 9 กรกฎาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 13 คน
4. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 4/2563 วันที่ 6 สิงหาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 17 คน

5. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 5/2563 วันที่ 3 กันยายน 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน
6. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 6/2563 วันที่ 8 ตุลาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 10 คน


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน
1. สัมมนาและศึกษาดูงาน “Advance Steel Fabrication Technology” วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ณ บริษัท เอ็ม.ซี.เอส.สตีล
จ�ากัด (มหาชน) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้เข้าร่วม 25 คน




2. สัมมนาเร่อง “แนวปฏิบัติเพ่อการออกแบบอาคารเหล็กสาเร็จรูปสาหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า” วันท 13


พฤศจิกายน 2563 ณ อิมแพคฟอรัม เมืองทองธานี ผู้เข้าร่วม 40 คน


3. การอบรมเร่อง “การออกแบบโครงสร้างเหล็กขนรูปเย็นและการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในการช่วยออกแบบ รุ่นท 1” วันที่




2-4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 31 คน
1 1 3

112 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563








4. การอบรมเร่อง “การออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีกาลังท่ยอมให้ (ASD) และวิธีตัวคูณความต้านทาน และนาหนักบรรทุก
(LRFD)” วันที่19-20 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 35 คน
หนังสือ/มาตรฐาน
1. แนวปฏิบัติเพื่อการออกแบบอาคารเหล็กส�าเร็จรุปส�าหรับอาคารโรงงานอุตสาหกรรมและคลังสินค้า อยู่ระหว่างด�าเนินการ
2. มาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารเหล็กรูปพรรณ (ANSI/AISC 360-16) อยู่ระหว่างด�าเนินการ
3. คู่มือการปฏิบัติงานส�าหรับการก่อสร้างอาคารเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น (AISI S202-15) อยู่ระหว่างด�าเนินการ
4. มาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น (AISI S100-16) อยู่ระหว่างด�าเนินการ
5. Simulation Analysis เพื่อศึกษาความเหมาะสมของอัตราการทนไฟส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็ก ในประเทศไทย อยู่ระหว่าง
ด�าเนินการ







คณะอนุกรรมการสาขาบริหารงานก่อสร้าง

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง (Construction Site Safety) หลักสูตร “การวางแผนการยกอุปกรณ์หนักโดยปั้นจ่น”
(Lifting Plan) วันที่ 12-13 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 19 คน










2. อบรมและฝึกปฏิบัติการ เร่อง “การพฒนาบคลากร เพอเปนผตรวจสอบปนจน (Crane)” วันท 1-4 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม




อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 28 คน
3. โครงการแข่งขันประมาณราคาด้วยการจาลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling: BIM) วันท 12



พฤศจิกายน 2563 ณ อาคาร 40 ปี (อาคาร 11 zone C) มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน และวันที่ 13 พฤศจิกายน
2563 ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี จ�านวนผู้แข่งขัน 22 ทีม







4. อบรมเชงวิชาการเรอง “การบริหารสัญญาจ้างก่อสร้าง : มุมมองของวิศวกรและนักกฎหมาย รุ่นท่ 3” วนท 28-29 พฤศจกายน

2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 41 คน
การจัดท�าหนังสือ/มาตรฐาน
1. มาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่มที่ 3 : ความปลอดภัยในขั้นตอนการปฏิบัติงานต่าง ๆ


2. มาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่มท 4 : ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษต่าง ๆ 2 2 3
3. การปรับปรุงหนังสือเงื่อนไขสัญญาจ้างก่อสร้าง 3 3 3 2

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 113



4. การร่างแนวทางการการว่าจ้างและสัญญาจ้าง Design-Build ตามแนวทางสัญญา Fidic
5. คู่มือแนวทางความรู้ในงานสาธารณูปโภคบ้านจัดสรร
6. คู่มือการตรวจรับงานก่อสร้างอาคารคอนโดมิเนียม
7. หนังสือ “แนวทางการควบคุมงานเสาเข็มเจาะ”


8. การยกร่างแนวทางวิธีการบารุงรักษาอาคารและอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายหลังจากการรับมอบอาคาร (งานวิศวกรรมควบคุม :
คู่มืออ�านวยการใช้)
9. การทบทวนบทบาทและหน้าที่ของวิศวกรให้สอดคล้องกับกฎหมายที่ออกมาใหม ่
10. มาตรฐานการออกแบบก่อสร้างที่พักอาศัยชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง อยู่ระหว่างด�าเนินการ
11. คู่มือการบริหารความปลอดภัยงานปั้นจั่นชนิดเคลื่อนที่ได้
12. การจัดท�าสื่อออนไลน์ เพื่อให้ความรู้ทางด้านการควบคุมงานก่อสร้าง







คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน





1. อบรมเชิงวิชาการเร่อง “องค์ความรู้ในงานวิศวกรรมปฐพีและการนาไปประยุกต์ใช้” วันท 27-29 สิงหาคม 2563

ณ ห้อง Galleria ชั้น 2 โรงแรมเอสรัชดา ผู้เข้าร่วม 43 คน


2. “การแข่งขันแก้ปัญหาทางวิศวกรรมปฐพี คร้งท่ 5” วันท 12 กันยายน 2563 ณ ช้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม จานวน 10 ทีม ดังน ี ้




รางวัลเหรียญทอง
ทีม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. นายปิติพัฒน์ วงศ์สิทธิกานต์
2. นายพงศภัค กาญจนธนาเลิศ
3. นายไชยชาญ ทองธนาวัฒน์
ทีม มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. นายไชยวัฒน์ ค�าแสน
2. นายภานุพงศ์ สมค�าศรี
3. นายพงศ์พิวัชร์ จันทร์วงษา



รางวัลเหรียญเงิน
ทีม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
1. นายธิบดี เปรียงกระโทก
2. นางสาวชวิศา สอนสกุล

3. นายชัยศิริ อกอุ่น
ทีม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. นายกิตติพันธ์ อยู่นิรันดร
2. นางสาวธนพร สิทธิกรวนิช
3. นายณนน ศลณัฏฐนน

114 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



รางวัลเหรียญทองแดง
ทีม มหาวิทยาลัยบูรพา
1. นายกฤตภาส ค�าศรี
2. นางสาวเปรมฤทัย เพียรวิมังสา
3. นายคณิน จ�าเนียรกุล

ทีม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
1. นายณัฐพงค์ รัตนสุวรรณ
2. นายวุฒิชัย แก้วแจ่ม
3. นางสาวตอยยีบะห์ ซาและ


รางวัลชมเชย
ทีม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
1. นางสาวกุลนิษฐ์ ชมภูพล
2. นายพัชรพล สีหานาม

3. นายนิชฌาน รุ่งโรจน์ศรีบุญ
ทีม มหาวิทยาลัยพะเยา
1. นางสาวสุนันทา การะเกตุ
2. นายณัฐพงษ์ ทองไพรวัลย์
3. นายวุฒิชัย เกิดแก้ว
ทีม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (วศ.โยธา)
1. นางสาวกาญจน์รพี ศิวาพรเสถียร

2. นางสาวธรพร ยันตะกนก
3. นางสาวปภาวี รัตนแจ่มเจริญ
ทีม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ครุศาสตร์)
1. นายณัฐวุฒิ พิมพิพัฒน์
2. นางสาวธมนันท์ สิริจันทรานาถ
3. นางสาวนุจรี ศูนย์กลาง
หนังสือ/มาตรฐาน
1. มาตรฐานเข็มตอก อยู่ระหว่างด�าเนินการ

























1 1 2
2

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 115



คณะกรรมการงานก่อสร้างใต้ดิน และอุโมงค์

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. บรรยายพิเศษเรื่อง “Tunnel Construction in Urban Area and Tight Curve Tunnelling” วันที่ 11 มีนาคม 2563
ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 151 คน
2. เข้าร่วมประชุมออนไลน์ “งานประชุมอุโมงค์โลก 2020 (WTC2020): ITA-AITES World Tunnel Congress
th
(WTC) 2020 and 45 General Assembly” วันที่ 11-17 กันยายน 2563 ณ Kuala Lumpur
1 1 1
Convention Centre, Malaysia 1 2 2
































คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมสำารวจ

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 1/2563 วันที่ 25 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 17 คน
2. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ 2/2563 วันที่ 7 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน
3. ประชุมคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมส�ารวจ ครั้งที่ 3/2563 วันที่ 3 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม
ประชุม 13 คน






คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน





1. อบรมเร่อง “การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคารเพ่อการบารุงรักษา



ความปลอดภัย(ทฤษฎีและปฏิบัติ) รุ่นท่ 54” วนท 1 กุมภาพันธ์ 2563


ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 29 คน

116 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



2. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�าหรับประเทศไทย รุ่นที่ 1/2563” วันที่ 21-23 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม
ชั้น 6 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 138 คน
3. อบรมเรื่อง “การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ รุ่นที่ 1” วันที่ 28-29 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม
ชั้น 6 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 92 คน
4. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า (ภายนอกและภายใน) รุ่นที่ 1” วันที่ 6-7 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4

อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 34 คน
5. อบรมเรื่อง “การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ ระดับ 1 รุ่นที่ 25” วันที่ 17-20 มิถุนายน 2563
ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 20 คน
6. อบรมเรื่อง “การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคารเพื่อการบ�ารุงรักษาความปลอดภัย(ทฤษฎีและปฏิบัติ) รุ่นที่ 55”
วันที่ 9 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 22 คน
7. อบรมเรื่อง “การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ รุ่นที่ 2” วันที่ 31 กรกฎาคม, และ 1 สิงหาคม 2563
ณ ห้องประชุมชั้น 6 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 39 คน
8. อบรมเรื่อง “การตรวจสอบและการบ�ารุงรักษาระบบไฟฟ้า” วันที่ 18-19 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 38 คน

9. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าส�าหรับประเทศไทย รุ่นที่ 2/2563” วันที่ 21-23 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรม ทาวน์
อิน ทาวน์ ผู้เข้าร่วม 174 คน
10. อบรมเรื่อง “การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่าและการป้องกันเสิร์จ” วันที่ 26-27 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4
อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 57 คน




11. อบรมเร่อง “การเลือก การใช้งานและการทดสอบแผงสวิตช์แรงดันปานกลาง-แรงตา ตามมาตรฐาน IEC” วันท 28-29

สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 56 คน




































2 2 4
4 5 5
6 6 10
10

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 117



12. อบรมเรื่อง “แนวทางการออกแบบ ติดตั้ง และการบ�ารุงรักษาระบบ Solar Rooftop อย่างปลอดภัยและคุ้มค่า รุ่นที่ 1”
วันที่ 18-19 กันยายน 2563 ณ โรงแรม รามาดา บาย วินแดม แบงคอก เจ้าพระยาปาร์ค ผู้เข้าร่วม 97 คน
13. การศึกษาและดูงาน บริษัท บางบอนพลาสติค กรุ๊ป จ�ากัด วันจันทร์ที่ 21 กันยายน 2563 ผู้เข้าร่วม 19 คน



14. อบรมเร่อง “การออกแบบ และติดต้งระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน” วันท 23-24 กันยายน

2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 13 คน
15. อบรมเรื่อง “การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ ระดับ 1 รุ่นที่ 26” วันที่ 30 กันยายน, และ 1-2
ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 12 คน
16. อบรมเรื่อง “การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ รุ่นที่ 3” วันที่ 2-3 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 6
อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 32 คน
17. อบรมเรื่อง “การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคารเพื่อการบ�ารุงรักษาความปลอดภัย(ทฤษฎีและปฏิบัติ) รุ่นที่ 56”
วันที่ 20 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 27 คน






18. อบรมเร่อง “มาตรฐานการตดต้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย ร่นท 3/2563” วันท 6-8 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงแรม



เอส รัชดา เลเซอร์ (S Ratchada Leisure Hotel) ผู้เข้าร่วม 85 คน
19. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า (ภายนอกและภายใน) รุ่นที่ 1” วันที่ 28-29 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม 2
ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 21 คน
20. อบรมเรื่อง “การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟ้าอาคารเพื่อการบ�ารุงรักษาความปลอดภัย(ทฤษฎีและปฏิบัติ)” จัดอบรม



In-House Training ให้กับบริษัท สยามยีเอสแบตเตอร จากัด วันท 20 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม บริษัท สยามยีเอสแบตเตอร ี ่


ผู้เข้าร่วม 29 คน
21. อบรมเรื่อง “แนวทางการออกแบบ ติดตั้ง และการบ�ารุงรักษาระบบ Solar Rooftop อย่างปลอดภัยและคุ้มค่า รุ่นที่ 2”
วันที่ 18-19 ธันวาคม 2563 ณ โรงแรม รามาดา บาย วินแดม แบงคอก เจ้าพระยาปาร์ค ผู้เข้าร่วม 114 คน
- ประชุมคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า รวม 9 ครั้ง


































12 12 12
12 13 13
21 21 21
21

118 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


- ประชุมคณะกรรมการประชุมทั้งหมด 9 ครั้ง
1. อบรมเรื่อง “การออกแบบก๊าซเชื้อเพลิงรุ่นที่ 9” วันที่ 25 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 41 คน



2. อบรมเร่อง “ระบบท่อในโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial piping system) รุ่นท่ 22” วันท 8-9 กุมภาพันธ์ 2563

ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 30 คน



3. อบรมเร่อง “การออกแบบระบบท่อภายในอาคาร รุ่นท่ 38” วันท 15-16 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม 1 ช้น 4 อาคาร วสท.


ผู้เข้าร่วม 61 คน
4. อบรมเรื่อง “การบริหารงานซ่อมบ�ารุงแบบมืออาชีพ รุ่นที่ 33” วันที่ 7-9 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 37 คน
5. ศึกษาดูงาน “การประกอบ และการทดสอบรถตู้โบกี้ flat wagon บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ากัด (มหาชน)”
วันที่ 24 มิถุนายน 2563 ผู้เข้าดูงาน 14 คน
6. อบรมเรื่อง “การบริหารงานซ่อมบ�ารุงแบบมืออาชีพ รุ่นที่ 34” วันที่ 14-16 สิงหาคม 2563
1 1 3
ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 20 คน 3 4 4
7. อบรมเรื่อง “ระบบท่อในโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial piping system) รุ่นที่ 23” 5 5 5
วันที่ 22-23 สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 46 คน 5 7 7

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 119





8. การเย่ยมชมดูโรงงาน บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จากัด นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังอาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุร ี

วันที่ 28 สิงหาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 8 คน



9. อบรมเร่อง “การเลือกและการค�านวณระบบควบคุมความช้นในงานปรับอากาศ รุ่นท่ 15” วันท 19-22 กันยายน 2563


ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 28 คน













10. อบรมเรอง “ระบบปรับอากาศ ปั๊มนา และระบบท่อนาดับเพลิงรุ่นท่ 8” วนท 3-4 ตลาคม 2563 ชน 4 อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 18 คน






11. อบรมเร่อง “การบริหารงานซ่อมบารุงแบบมืออาชีพ รุ่นท่ 34” วันท 27-29 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม ช้น 4
อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 14 คน




12. อบรมเร่อง “การออกแบบระบบท่อภายในอาคาร รุ่นท่ 39” วันท 28-29 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม ช้น 4

อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 41 คน
13. อบรมเรื่อง “การออกแบบก๊าซเชื้อเพลิง รุ่นที่ 10” วันที่ 19 ธันวาคม 2563 ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 25 คน
11 11


คณะอนุกรรมการระบบไอนาหม้อนา และภาชนะรับความดัน


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน

1. อบรมเรื่อง “วิธีการและเทคนิคการตรวจทดสอบหม้อน�้า รุ่นที่ 22” วันที่ 12-14 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 25 คน
2. อบรมเรื่อง “วิธีการและเทคนิคการตรวจทดสอบหม้อน�้า รุ่นที่ 22” วันที่ 9-11 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 28 คน



3. อบรมเร่อง “Welding Control ตาม ASME IX รุ่นท่ 15” วันท 17-18 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.

ผู้เข้าร่วม 23 คน



















3 3 3

120 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



4. อบรมเรื่อง “การเลือก การใช้งาน และการตรวจสอบ Safety valve ส�าหรับหม้อน�้า ตาม ASME และ API (Safety Valve
for Boiler Safety) รุ่นที่ 6” วันที่ 26 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 31 คน





5. อบรมเร่อง “การตรวจสอบภาชนะรับความดันหลังจากเร่มใช้งาน รุ่นท่ 2” วันท 2-4 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม
อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 24 คน









4 4







คณะอนุกรรมการวิศวกรรมพลังงาน

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


ประชุมคณะอนุกรรมการสาขา 4 ครั้ง

1. วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
2. วันที่ 16 กันยายน 2563
3. วันที่ 19 ตุลาคม 2563
4. วันที่ 18 พฤศจิกายน 2563






คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้ว และปั้นจั่น


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน

1. ส�านักการโยธา กรุงเทพฯ ได้ส่งหนังสือขอเชิญเป็นวิทยากร บรรยายเรื่อง “การตรวจสอบการใช้งานปั้นจั่นและลิฟต์ เพื่อลด







ความเสยงจากอุบัติเหตุในระหว่างปฏิบติงาน” ให้กับเจ้าของโครงการและผู้รับจ้างก่อสร้างในโครงการ วนท 27 กมภาพนธ์

2563 เวลา 08.00-15.00 น. โดยมีผู้แทน นายวุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์ นายสายัณต์ ฉิมประดิษฐ นายหฤษฏ์ ศรีนุกูล เข้าร่วมเป็น
วิทยากรบรรยายในหัวข้อดังกล่าว โดยมีผู้เข้าร่วมจากไซต์งานก่อสร้างทั่ว กรุงเทพฯ ประมาณ 200 คน
2. ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมชี้แจงกับทางคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องร่างกฎกระทรวง ความปลอดภัยฯ เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน�้า
ฉบับใหม่ ของกระทรวงแรงงาน
วันที่ 14 กันยายน 2563 มีผู้แทน นายวุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์ และ ผศ.ดร.ธีรศักดิ์ ศรีมิตรรุ่งโรจน์
วันที่ 17 กันยายน 2563 มีผู้แทน นายวุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์ และ นายหฤษฏ์ ศรีนุกูล
3. ส่งผู้แทนร่วมกับประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเคร่องกล ให้ความเห็นกรมสืบสวนคดีพิเศษ (DSI) ในกรณีร้องเรียน

การเสนอราคาโครงการจัดหาโบกี้ปั้นจั่นกล ของการรถไฟแห่งประเทศไทย วันที่ 29 กันยายน 2563 โดยมีผู้แทน นายวุฒินันทน์
ปัทมวิสุทธิ์ และ นายหฤษฏ์ ศรีนุกูล

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 121



4. อบรมเรื่อง “พัฒนาผู้ช�านาญการติดตั้ง เพิ่ม-ลด ความสูง ทาวเวอร์เครน (Tower Crane) ระดับ 1 รุ่นที่ 1” วันที่ 5-7
กุมภาพันธ์ 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. และ บริษัท ซันจูปิเตอร์ จ�ากัด ผู้เข้าร่วม จ�านวน 44 คน
5. อบรมเรื่อง “เทคนิคการตรวจสอบสลิงและอุปกรณ์ช่วยยก”
รุ่นที่ 11 วันที่ 14-15 มีนาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 23 คน

รุ่นที่ 12 วันที่ 26 มิถุนายน 2563 ผู้เข้าร่วม 18 คน (ออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM)
รุ่นที่ 13 วันที่ 2-3 ตุลาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 22 คน


6. อบรมเร่องออนไลน์ผ่านโปรแกรม ZOOM “เทคนิคการจัดทารายงานตรวจสอบและทดสอบปั้นจ่น ตามแบบ ปจ.1 และ

ปจ.2 รุ่นที่ 1”
Module 1 – รถปั้นจั่นและปั้นจั่นติดตั้งบนรถบรรทุก (ปจ.2) วันที่ 16 มิถุนายน 2563 ผู้เข้าร่วม 27 คน
Module 2 – ปั้นจั่นเหนือศีรษะและปั้นจั่นขาสูง (ปจ.1) วันที่ 19 มิถุนายน 2563 ผู้เข้าร่วม 26 คน

Module 3 – ปั้นจั่นหอสูงและปั้นจั่นเดอร์ริก (ปจ.1) วันที่ 23 มิถุนายน 2563 ผู้เข้าร่วม 25 คน
7. อบรมเรื่อง “เทคนิคการออกแบบอุปกรณ์ช่วยยกขั้นพื้นฐาน ตามมาตรฐานสากล” วันที่ 25 กรกฎาคม 2563 จัดโดย สถาบัน
วิศวพัฒน์ ร่วมกับ คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปั้นจั่น วสท. ผู้เข้าร่วม 30 คน
8. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ผู้ตรวจสอบเครนชนิดติดตั้งบนรถบรรทุก รุ่นที่ 5” วันที่ 21-22 สิงหาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 22 คน


9. ศึกษาดูงานเร่อง “กระบวนการผลิตแผ่นพรีคาสท์” วันท 6 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ โรงงานพรีคาสท์

กลุ่มพฤกษา ย่านนวนคร ผู้เข้าร่วม 12 คน
10. เข้าร่วมการศึกษาดูงานเรื่อง “รถขุดตัก” วันที่ 22 ตุลาคม 2563 ณ บริษัท อริยะอีควิปเม้นท์ จ�ากัด บางนา ผู้เข้าร่วม 15 คน
11. ศึกษาดูงานและสาธิตเรื่อง “การตรวจสอบและทดสอบส�าหรับสลิงและอุปกรณ์ช่วยยก รุ่นที่ 10” วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563
ณ บริษัท ไทยมุ้ย คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด (มหาชน) สาขาสมุทรปราการ ผู้เข้าร่วม 18 คน
12. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เทคนิคการออกแบบส�าหรับลิฟต์ขนส่งวัสดุที่ใช้รอกไฟฟ้าเป็นต้นก�าลัง รุ่นที่ 3” 4 4 7
วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. และ ณ บริษัท แม็กเทค เอลลิเวเตอร์ แอนด์ 7 8 8 8
8 12
เซอร์วิส จ�ากัด ซ.ลาดปลาเค้า 72 ผู้เข้าร่วม 19 คน 12 12 12

122 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



13. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ผู้ตรวจสอบรอกไฟฟ้าและปั้นจั่นเหนือศีรษะ รุ่นที่ 8” วันที่ 9-10 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม
อาคาร วสท. และศูนย์ฝึกอบรมปั้นจั่นเหนือศีรษะ บริษัท โททัล เมคคานิค จ�ากัด อ�าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ผู้เข้าร่วม 45 คน
14. ศึกษาดูงานเรื่อง “เรือสันดอนและเรือวางทุ่น” วันที่ 18 ธันวาคม 2563 ณ การท่าเรือแห่งประเทศไทย 13 13 13
จังหวัดสมุทรปราการ ผู้เข้าร่วม 30 คน
13 14 14
































คณะอนุกรรมการลิฟต์ บันไดเลื่อน และทางเลื่อนอัตโนมัติ


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน
3
1. ประชุมคณะอนุกรรมการฯ จ�านวน 6 ครั้ง


2. อบรมเชิงปฏิบัติการและทดสอบความรู้ตามมาตรฐานเร่อง “ผู้ชานาญการลฟต์

ด้านพื้นฐานทั่วไป (Lift Competent Person : General Fundamental)
รุ่นที่ ๔ (ภาคทฤษฎี ๑วัน)” วันที่ 6 สิงหาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 44 คน
3. งานวิศวกรรมแห่งชาติ 13-15 พฤศจิกายน 2563 สาขาส่งหัวข้อเสวนา ดังนี้



- ความปลอดภัยบันไดเล่อนและทางเล่อนอัตโนมัติทางด้านวิศวกรรมและด้าน
สุขอนามัย




คณะอนุกรรมการสาขาปรับอากาศ และระบายอากาศ


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน 1 1


1. สัมมนาในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563
เร่อง “การระบายอากาศ การกรองอากาศ

เพ่อให้ปลอดภัยต่อ COVID-19 และ


เพ่อให้สุขภาพดี” วันท 12 พฤศจิกายน



2563 ณ อิมแพค ฟอร่ม เมืองทอง
ผู้เข้าร่วม 40 คน

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 123









2. สัมมนาในงานวิศวกรรมแห่งชาต 2563 เร่อง “นวัตกรรมใหม่ในการลดปริมาณแอมโมเนียท่ใช้ในเคร่องทาความเย็น” วันท 13

พฤศจิกายน 2563 ณ อิมแพค ฟอรั่ม เมืองทอง ผู้เข้าร่วม 30 คน
คณะอนุกรรมการเครื่องทำาความเย็น


การประชุม








1. ประชุมคณะอนุกรรมการเคร่องทาความเย็น คร้งท่1/2563 วันท 16 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 11 คน



2. ประชุมคณะอนุกรรมการเคร่องทาความเย็น คร้งท่1/2563 วันท 14 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 13 คน



กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน
1. ศึกษาดูงานบริษัท สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จ�ากัด นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบังอ�าเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันที่ 28
สิงหาคม 2563 ผู้เข้าร่วม 15 คน
2. อบรมเรื่อง “ระบบท�าความเย็นที่ใช้สารแอมโมเนีย” วันที่ 2 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 52 คน




คณะอนุกรรมการวิศวกรรมเครื่องจักรกลหนักและเครื่องจักรที่ใช้ในงานก่อสร้าง


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน












1. อบรมเชิงปฏิบัติการเร่อง “ระบบไฮดรอลกพนฐานสาหรับรถปันจนและเครองจกรกลหนก รุนที 5” วันท 18-19 สิงหาคม 2563






ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. และ ณ ศูนย์ฝึกระบบไฮดรอลิก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระนคร (พระนครเหนือ) ผู้เข้าร่วม 11 คน
2. อบรมเรื่อง “เทคนิคการผูกรัดวัสดุ ส�าหรับรถขนส่ง รุ่นที่ 4” วันที่ 5 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม
21 คน

3. อบรมเชิงปฏิบัติการเร่อง “เทคนิคการตรวจสอบและบารุงรักษารถแบคโฮ รุ่นท่ 1” วันท 10-11 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม




อาคาร วสท. และ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จ�ากัด (มหาชน) อ�าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ผู้เข้าร่วม 20 คน









2 2 3
3

124 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



4. เข้าร่วมศึกษาดูงานเรื่อง “กระบวนการผลิตแผ่นพรีคาสท์” วันที่ 6 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00 - 16.00 น. โรงงานพรีคาสท์
กลุ่มพฤกษา ย่านนวนคร ผู้เข้าร่วม 12 คน
5. ศึกษาดูงานเรื่อง “รถขุดตัก” วันที่ 22 ตุลาคม 2563 ณ บริษัท อริยะอีควิปเม้นท์ จ�ากัด บางนา ผู้เข้าร่วม จ�านวน 15 คน


6. เข้าร่วมศึกษาดูงานเร่อง “เรือสันดอนและเรือวางทุ่น” วันท 18 ธันวาคม 2563 ณ การท่าเรือแห่งประเทศไทย จังหวัด

สมุทรปราการ ผู้เข้าร่วม 30 คน













6 6







คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน












1. อบรมเร่อง “มาตรฐานการบรหารความปลอดภย และประเมนความเสยงในโรงงานอตสาหกรรม รนท 3” วันท 21 กุมภาพันธ์




2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 24 คน
2. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการออกแบบแผนผังโรงงานอุตสาหกรรม รุ่นที่ 3” วันที่ 6 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 34 คน



3. อบรมเร่อง “มาตรฐานการตรวจสอบโรงงาน รุ่นท่ 1” วันท 17 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 133 คน

4. รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) เข้าพบคุณปนัดดา
เย็นตระกูล ผู้อ�านวยการฝ่ายบริการผู้ประกอบการ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อแนะน�ากิจกรรม และมาตรฐาน
การตรวจสอบโรงงานที่จัดท�าโดยสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ วสท. พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์งานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 วันที่ 6
สิงหาคม 2563 ณ ห้องประชุม การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

5. อบรมเร่อง “มาตรฐานการออกแบบแผนผงโรงงานอุตสาหกรรม รนท่ 4” วันท 25 กันยายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.

ุ่



ผู้เข้าร่วม 16 คน
6. อบรมเรื่อง “มาตรฐานการบริหารความปลอดภัย และประเมินความเสี่ยงในโรงงานอุตสาหกรรม รุ่นที่ 4” วันที่ 16 ตุลาคม
2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 20 คน
7. อบรมเรื่อง “การบ�ารุงรักษาเครื่องจักรด้วย TPM รุ่นที่ 1/2563” วันที่ 15-16 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
ผู้เข้าร่วม 14 คน 2 2 4

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 125







8. อบรมเร่อง “มาตรฐานการตรวจสอบโรงงาน รุ่นท่ 2” วันท 27 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 43 คน









8 8






คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหะการ และปิโตรเลียม


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน





1. ประชุมคณะกรรมการสาขาเหมืองแร่ โลหะการ และปิโตรเลียม คร้งท 1/2563 วันท 10 เมษายน 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 8 คน




2. ประชุมคณะกรรมการสาขาเหมืองแร่ โลหะการ และปิโตรเลียม คร้งท 2/2563 วันท 10 สิงหาคม 2563 ณ อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม



11 คน
3. คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่โลหะการและปิโตรเลียม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
โดย รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ ประธานฯ น�าคณะกรรมการ เข้าพบนายวิษณุ ทับเที่ยง อธิบดี กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ
เหมืองแร่ (กพร.) เพื่อรายงานกิจกรรมของ วสท. และหารือเรื่องความร่วมมือระหว่าง วสท. กับ กพร. ได้แก่
1) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ ความปลอดภัยในการท�างานในเหมืองแร่ คู่มือการท�างานของวิศวกร
2) การฝึกอบรม พัฒนาหลักสูตรอบรมของ วสท. “การเจาะและระเบิดในงานวิศวกรรม ส�าหรับวิศวกร”
3) เรื่องอื่น ๆ เช่น การพัฒนามาตรฐานและการฝึกอบรมในอุตสาหกรรมรีไซเคิล และโลหกรรม

4) การพัฒนาขีดความสามารถของวิศวกรของ กพร. ในการสอบเลื่อนระดับ เป็นต้น
วันที่ 21 ตุลาคม 2563 ณ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่



หนังสือ/มาตรฐาน
1. มาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ งานขุด ตัก ขน ด้วยเครื่องจักรกลหนักในพื้นที่หน้าเหมือง
ผิวดิน อยู่ระหว่างด�าเนินการเสนอจัดพิมพ์

2. มาตรฐานความปลอดภัยในงานเจาะระเบิดอุโมงค์ในหินแข็ง อยู่ระหว่างด�าเนินการตรวจสอบก่อนเสนอจัดพิมพ์
3. มาตรฐานปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ หลักปฏิบัติการท�าเหมืองหิน อยู่ระหว่างด�าเนินการ
4. มาตรฐานความปลอดภัยในการท�างานกับโลหะเหลว อยู่ระหว่างด�าเนินการ

5. มาตรฐานเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด อยู่ระหว่างหารือความร่วมมือกับ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ












3 3

126 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโลหะการ

การประชุม





1. ประชุมคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโลหะการ คร้งท 1/2563 วันท 17 เมษายน 2563 ผ่านระบบ ZOOM ผู้เข้าร่วม จานวน 9 คน


2. ประชุมคณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมโลหะการ ครั้งที่ 2/2563 วันที่ 15 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบ ZOOM ผู้เข้าร่วม
จ�านวน 7 คน
หนังสือ/มาตรฐาน
มาตรฐานความปลอดภัยในการท�างานกับโลหะเหลว อยู่ระหว่างด�าเนินการ






คณะอนุกรรมการวิศวกรรมเหมืองแร่

หนังสือ/มาตรฐาน

1. มาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ งานขุด ตัก ขน ด้วยเคร่องจักรกลหนักในพ้นท่หน้าเหมืองผิวดิน


อยู่ระหว่างด�าเนินการเสนอจัดพิมพ์
2. มาตรฐานปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ หลักปฏิบัติการท�าเหมืองหิน อยู่ระหว่างด�าเนินการ






คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเคมี และปิโตรเคมี


นายสันทาน จินันทุยา เป็นผู้แทนเข้าประชุมหารือ เร่อง การสร้างความร่วมมือในการจัดทามาตรฐการประกอบกิจการพลังงาน

ของส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (ส�านักงาน กกพ.)





คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


1. คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) ร่วมกับคณะอนุกรรมการประสานงานด้าน

ภัยพิบัติและความปลอดภัยสาธารณะ สภาวิศวกรจัดการประชุมโต๊ะกลม หัวข้อ “ฝุ่น PM 2.5 แก้ไขได้อย่างไร” เพ่อระดมสมอง

และขอความคิดเห็นในเร่องปัญหาฝน PM 2.5 ท่เป็นปัญหาอากาศต่อเน่องอยู่ในขณะน โดยมีผแทนจากหน่วยงานต่าง ๆ จากหลาย
ู้
ุ่




หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน อาท กรมควบคุมมลพิษ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช มหาวิทยาลัยมหิดล สภาวิศวกร มหาวิทยาลัย

1 1 1

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 127














ศิลปากร มหาวทยาลยเทคโนโลยพระจอมเกล้าธนบร สภาทนายความ และบรษทเอกชนอน ๆ ร่วมพดถงปัญหา และเสนอ
แนวทางแก้ไขต่าง ๆ ผู้เข้าร่วม 33 คน
โดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จะสรุปปัญหา และข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพื่อน�าเสนอต่อรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ต่อไป วันที่ 16 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
2. บรรยายและดูงาน หัวข้อ “ปัญหา และแนวทางแก้ไขฝุ่นพิษ pm 2.5” และสาธิตการจับฝุ่น pm2.5 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2563
ผู้เข้าร่วม 10 คน

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. อบรมเรื่อง “พื้นฐานการบริหารโครงการ (Project Management Fundamentals) รุ่นที่ 7” วันที่ 25 มกราคม 2563
ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 36 คน


2. อบรมเร่อง “การบริหารโครงการสาหรับผู้ปฏิบัติงานบริหารโครงการ (Project Management for Practitioners)
รุ่นที่ 4” วันที่ 6-8 กุมภาพันธ์ 2563 ผู้เข้าร่วม 15 คน
3. อบรมเรื่อง “พื้นฐานการบริหารโครงการ (Project Management Fundamentals) รุ่นที่ 8” วันที่ 7 พฤศจิกายน 2563
ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคาร วสท. ผู้เข้าร่วม 30 คน

4. ส่งหัวข้อเสวนาในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 วันที่ 13-15 พฤศจิกายน 2563 ดังนี้
- เสวนา “5G และ AI เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก! เปลี่ยนอาชีพ!”
- เสวนา: 5G สถานภาพวันนี้ในประเทศไทย และผลกระทบคนไทย
- เสวนา: IOT (INTERNET OF THING) ใช้อย่างไรกับ 5G
- เสวนา: BIG DATA และ AI (ARTIFICIAL INTELLIGENCE)

5. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านวิชาการ ระหว่าง วสท. กับ CompTIA วันที่ 22 ธันวาคม 2563 ณ ห้องประชุม
อาคาร วสท.
6. ประชุมคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จ�านวน 8 ครั้ง

























2 2 4
5 5

128 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



คณะกรรมการ และกองบรรณาธิการจัดทำาวิศวกรรมสาร


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


1. จัดท�าวิศวกรรมสาร ฉบับออนไลน์ 4 ฉบับ



2. จัดเสวนาเร่อง “วิศวกรไทยกับการปรับตัวในยุคปกติใหม่” ในงานวิศวกรรมแห่งชาต 2563 วันท 12 พฤศจิกายน 2563

ณ อิมแพ็คฟอรัม เมืองทองธานี วิทยากร ได้แก่
- ศ.ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย ผู้อ�านวยการ สถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- รศ.ดร.สมยศ เกียรติวานิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- ผศ.ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ รองผู้อ�านวยการ ส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และ
อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้ด�าเนินรายการ ผศ.ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา บรรณาธิการวิศวกรรมสาร และผู้อ�านวยการสถานวิจัย
1 1 1 2 2
เพื่อความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมถนนและระบบราง มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 2 2 2

































คณะอนุกรรมการโครงมอบรางวัลวิศวกรผู้ปิดทองหลังพระ


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน


จัดกิจกรรม นายช่างผู้ปิดทองหลังพระ ประจ�าปี 2563 (The Altruism Engineering Awards 2020) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ยกย่องและเชิดชูเกียรติวิศวกรผู้สร้างคุณประโยชน์ต่อวงการวิศวกรรมและประเทศชาต ส่งเสริมความก้าวหน้าของวิศวกรไทยให้

ทัดเทียมนานาประเทศ โดยมีการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ได้รับรางวัล ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 วันที่ 12 พฤศจิกายน

2563 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 129



รายชื่อผู้ได้รับรางวัล นายช่าง ผู้ปิดทองหลังพระ ประจ�าปี พ.ศ. 2563 (The Altruism Engineer Award 2021) ได้แก่
1. นายลอย ชุนพงษ์ทอง ผลงาน ปฏิมากรรมแสงในหลวง ร.๙
2. นายชุมนุม พันธ์แก้ว ผลงาน การแก้ปัญหาผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
3. นายเลิศชาย พาชีรัตน์ ผลงาน การติดตั้งงานช่างสะดวก รวดเร็ว ประหยัด ปลอดภัย

4. รศ.ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ และอาจารย์ ดร.สุรัฐ ขวัญเมือง ผลงานโครงการ CU-ROBOCOVID เพื่อสร้างและ
พัฒนาระบบหุ่นยนต์ส่งของ (ปิ่นโต)





















คณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์
ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร


กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน



1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ นายเกษม วัฒนชัย
องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ ออกรับคณะกรรมการอ�านวยการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ และคณะกรรมการบริหาร
กองทุนเพ่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

และมอบเหรียญรางวัลเรียนดี แก่นิสิต นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่มีผลการเรียนดี จ�านวน 44 คน และผู้ได้รับรางวัลการ
ประกวดต�าราดีเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ ประจ�าปี 2563 รับโล่ประกาศเกียรติคุณ จ�านวน 1 คน ในวันอังคารที่ 22 ธันวาคม
2563 เวลา 14.00 น. ณ ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง


คะแนน
นักศึกษา
ที่ ชื่อ-สกุล เฉลี่ย สาขาวิชาวิศวกรรม สถาบัน/มหาวิทยาลัย
ชั้นปีที่
สะสม

อิเล็กทรอนิกส์และการ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
1 นายเมธัส ทนนวงษ์ 4 4.00
สื่อสาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การจัดการธุรกิจ
2 นางสาววรดา ชนะสิทธิ์ 4 4.00 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
เกี่ยวเนื่องกับระบบราง
3 นายรวิชญ์ แก้วประเสริฐ 4 4.00 คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

4 นางสาววายูน ธงชัย 4 3.99 คอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น

5 Mr.Sunchhorng Roun 4 3.99 โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

6 นายชิณวัฒน์ วิชลิน 4 3.99 โยธา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

7 นายภิวัต จงเจริญ 4 3.98 ไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

130 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



คะแนน
นักศึกษา
ที่ ชื่อ-สกุล เฉลี่ย สาขาวิชาวิศวกรรม สถาบัน/มหาวิทยาลัย
ชั้นปีที่
สะสม

8 นายนราวิชญ์ ชุติศิลป์ 4 3.98 คอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9 นางสาววรดา ชาวน่าน 4 3.98 ไฟฟ้าและพลังงาน มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

10 นายณัฐชนน สุวิทวัส 4 3.97 อากาศยาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

11 นางสาวปณิดา เซ็น 4 3.97 ชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

12 นายภาณุพงษ์ สันคม 4 3.95 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
13 นายสิทธิ ประสิทธิกุลวัฒน 4 3.94 โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี

14 นายพิรชัช ผ่องใส 4 3.94 ไฟฟ้าก�าลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

15 นายธนพล ถาวร 4 3.93 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

16 นางสาวกุลนันท์ สหายสุข 4 3.92 เมคาทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

17 นายกิตติณัฐ เสนจาง 4 3.91 โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
18 นางสาวภัคจิรา กิ่งทอง 4 3.91 ปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

19 นางสาวนราวัลย์ เอี่ยมสอาด 4 3.91 คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�าแพงแสน

20 นายปกรณ์ รอบุญ 4 3.90 เคมี มหาวิทยาลัยนเรศวร

21 นายสรสิช เกษสุวรรณ 4 3.90 โยธา มหาวิทยาลัยรังสิต

22 นนร.ภิเศก ภักดีบุรีกุล 4 3.88 ไฟฟ้า โรงเรียนนายเรือ
23 Mr.Dalim Leang 4 3.88 เครื่องกล มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
24 นางสาวณัฐวดี เขียวโสภา 4 3.88 อุตสาหการ
วิทยาเขตขอนแก่น

25 นายนันทกร เดิมศรีภูมิ 4 3.88 เครื่องกลและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
26 นางสาวธัญพิชชา ไร่ประเสริฐ 4 3.87 คอมพิวเตอร์
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

27 นนอ.ธนกฤต เจริญจักร 4 3.86 อากาศยาน โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช
28 นายสุรศักดิ์ แสงกลม 4 3.86 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยศรีปทุม

29 นายพิธา หนังสือ 4 3.85 ยานยนต์ มหาวิทยาลัยสยาม

30 นางสาวชนิกานต์ แก้วทอง 4 3.85 คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

31 นายพงศ์ภัค บุญกว้าง 4 3.84 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

32 นนร.จิรายุทธ แก้วยอด 4 3.84 โยธา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
33 นายยรรยง อิสริยอาภรณ์ 4 3.82 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก

34 นายวรินทร อมตเวทย์ 4 3.80 โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

35 นายนิติธร เฮ้งภักดี 4 3.80 อุตสาหการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 131



คะแนน
นักศึกษา
ที่ ชื่อ-สกุล เฉลี่ย สาขาวิชาวิศวกรรม สถาบัน/มหาวิทยาลัย
ชั้นปีที่
สะสม

36 นายนรินทร ปรีชารัตน์ 4 3.78 เครื่องกล มหาวิทยาลัยธนบุรี

37 นางสาวสุนิสา จุปะมะนัย 4 3.77 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

38 นายณรรฐวรรต จันทรสมบัติ 4 3.76 คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
39 นายภัทรชัย โรจนนาค 4 3.75 ไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

40 นายเมธา เมืองประเสริฐ 4 3.74 เครื่องกล มหาวิทยาลัยบูรพา
41 Mr.Paolong Lim 4 3.73 ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
42 นายอภินันท์ ฟักพันธ์ 4 3.72 เครื่องกลและการผลิต
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

43 นายชยมงคล คะตา 4 3.71 อุตสาหการ มหาวิทยาลัยนครพนม

44 นางสาวชัญญานุช สุทธนะ 4 3.63 โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่








คณะอนุกรรมการตัดสินตำาราดีเด่น

กิจกรรมการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน





จัดการประกวดตาราดีเด่นด้านวิศวกรรมศาสตร์ ของกองทุนเพ่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประจาปี พ.ศ. 2563 เพ่อส่งเสริมให้มีการแต่งตาราด้านวิศวกรรมศาสตร์



ด้วยภาษาไทย ท่มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล และเป็นประโยชน์ต่อวงการวิศวกรรมศาสตร์ และประเทศชาต ผู้ได้รับรางวัล

ตาราดีเด่น จะได้เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานโล่ประกาศเกียรติคุณจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และมีผู้สนใจส่งตารา


เข้ารับการพิจารณาจ�านวน 4 เล่ม ประกอบด้วย
สาขาวิศวกรรมโยธา 1 เล่ม
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1 เล่ม
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 1 เล่ม
สาขาวิศวกรรมเคมีและปิโตรเคมี 1 เล่ม


ผลการพิจารณาตาราท่ส่งเข้าประกวดผ่านเกณฑ์การพิจารณาให้เป็น
ต�าราดีเด่นประจ�าปี พ.ศ. 2563 คือ ต�าราเรื่อง “เรซินอิพ็อกซีส�าหรับ
ชุดประกอบไมโครอิเล็กทรอนิกส์บนแผงวงจรยืดหยุ่น” ประพันธ์โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ ภาควิชาวิศวกรรม
เคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

132 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



คณะกรรมการนโยบายมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม



ภารกจ : กากับดูแลภาพรวมด้านนโยบายการกาหนดมาตรฐานของ วสท. และประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

ด้านมาตรฐาน
นโยบาย กลยุทธ์และแผนงานของ วสท. เรื่องมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม
นโยบาย - พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมทางวิศวกรรมให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
กลยุทธ์ - ปรับปรุงและจัดท�ามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม

- ปรับปรุงมาตรฐานเดิม
- จัดท�ามาตรฐานใหม่
- สร้างการยอมรับ
แผนงาน - แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม
- ตรวจสอบความทันสมัยต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของมาตรฐานเดิม
- ส�ารวจความต้องการของมาตรฐานใหม่
- จัดท�ามาตรฐานให้เป็นภาษาอังกฤษ



ภารกิจและยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการนโยบายมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม
• ภารกิจ
1. ก�ากับนโยบายว่าด้วยมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ (Code of Practice) ของ วสท.
2. ก�ากับคณะกรรมการประจ�ามาตรฐานและคณะกรรมการร่างมาตรฐาน

3. ก�าหนดการท�าเทคนิคพิจารณ์เพื่อการอนุมัติจากคณะกรรมการอ�านวยการ วสท.
4. ก�าหนดเกณฑ์การจัดท�าและการจัดพิมพ์มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพของ วสท.
5. ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการใช้และอ้างอิงในสถาบันการศึกษา และสถาบันทางวิชาชีพ
6. ก�าหนดวาระการปรับปรุงหรือทบทวนมาตรฐาน เพื่อให้ทันกับวิทยาการสมัยใหม่อยู่เสมอ
7. ผลักดันให้มีการรับรองจากสภาวิศวกรหรือภาครัฐให้เป็นมาตรฐานชาติ



กิจกรรมคณะกรรมการนโยบายมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2563




• จัดทา “เกณฑ์กาหนดการจัดทามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรม” เพ่อเป็นหลักปฏิบัติสาหรับคณะกรรมการร่างมาตรฐาน




คณะต่างๆ ของ วสท. เน้อหาครอบคลุมต้งแต่การเสนอจัดทาจนประกาศใช้ เพ่อให้มาตรฐานของ วสท. มีคุณภาพ ทันต่อยุคสมัย

และมีรูปแบบเป็นสากล โดยเป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างยั่งยืน


• ส่งเสริมการจัดทามาตรฐานให้เป็นภาษาอังกฤษ เพ่อการอ้างอิงกรณีมีวิศวกรต่างชาติเข้ามาทางานในประเทศไทย หรือโครงการ

Joint Venture ระดับชาติต่างๆ หรือเป็นการเริ่มให้มาตรฐานของไทยได้ถูกอ้างอิงในเวทีอาเซียน
• เสนอมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพตามโครงการสนับสนุนของสภาวิศวกร ปี 2563 จ�านวน 4 เรื่อง คือ
• สาขาวิศวกรรมโยธา จ�านวน 2 เรื่อง
(1) มาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
(2) มาตรฐานการออกแบบอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น
• สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหะการ และปิโตรเลียม จ�านวน 2 เรื่อง
(1) มาตรฐานปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ หลักปฏิบัติการท�าเหมืองหิน
(2) มาตรฐานความปลอดภัยในการท�างานกับโลหะเหลว
• ประชุมคณะกรรมการ ปี 2563 จ�านวน 9 ครั้ง
ผลการด�าเนินการมาตรฐาน พ.ศ. 2563
• มาตรฐานแล้วเสร็จพิมพ์จ�าหน่าย ปี 2563 จ�านวน 4 เรื่อง อยู่โรงพิมพ์จ�านวน 2 เรื่อง

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 133



• มาตรฐานใกล้แล้วเสร็จ จ�านวน 15 เรื่อง แบ่งเป็น ใกล้แล้วเสร็จ 9 เรื่อง รอเสนอพิมพ์ 6 เรื่อง
• มาตรฐานระหว่างด�าเนินการ 36 เรื่อง (มาตรฐานภาษาไทยจ�านวน 35 เรื่อง ภาษาอังกฤษ จ�านวน 1 เรื่อง)






มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมโยธา

คณะอนุกรรมการมาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างงานอาคาร

(เริ่มเดือนมกราคม พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน)


1. ปรับปรุง “มาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างงานอาคาร Elemental Code” จากฉบับ พ.ศ. 2555 เป็น ฉบับ พ.ศ. 2563
2. ความคืบหน้า ปรับแก้ไขรหัสมาตรฐานฉบับ พ.ศ. 2563 แล้วเสร็จ มาตรฐานได้น�าเนื้อหาของ International Construction

Measurement Standards มาร่วมพิจารณาในการปรับปรุงมาตรฐานครั้งนี้ด้วย มาตรฐานมีการปรับปรุงเนื้อหามากในบทที่ 4
ทั้งหมวดที่ 1, 3, 4 และ 5 และบทที่ 5 ปรับตามรหัสที่แก้ไขในบทที่ 4
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 3 ครั้ง
4. กิจกรรมเทคนิคพิจารณ์มาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างงานอาคาร วันที่ 21 ตุลาคม 2563
มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 108 คน




























กิจกรรมเทคนิคพิจารณ์มาตรฐาน วันที่ 21 ตุลาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 108 คน



คณะทำางานมาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างงานถนน สะพาน
และท่อเหลี่ยม
(เริ่มเดือนมกราคม พ.ศ. 2557-2562)




1. ภารกิจ : จัดทาร่างมาตรฐาน “รหัสต้นทุนก่อสร้างสาหรับงานถนน สะพาน และท่อเหล่ยม”


ซึ่งเป็นมาตรฐานใหม่
2. ความคืบหน้า : พิมพ์จ�าหน่ายเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563

134 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563


คณะทำางานมาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างงานชลประทาน
(เริ่มเดือน มกราคม พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน)



1. ภารกิจ : จัดท�าร่าง “มาตรฐานรหัสต้นทุนก่อสร้างส�าหรับงานชลประทาน” ซึ่งเป็นมาตรฐานใหม่
3. ความคืบหน้า : ขออนุมัติจัดพิมพ์มาตรฐานแล้ว แต่ยังมีแก้ไขเพิ่มเติมและรอข้อมูลจากรมโยธาธิการและผังเมือง
4. ประชุมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง พ.ศ. 2563 จ�านวน 3 ครั้ง




คณะอนุกรรมการคู่มือและข้อควรรู้ในงานระบบสาธารณูปโภคสำาหรับหมู่บ้านจัดสรร

(เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ :



• รวบรวมข้อกฎหมาย ข้อกาหนดและมาตรฐานต่าง ๆ ท่เก่ยวกับข้องระบบสาธารณูปโภคสาหรับหมู่บ้านจัดสรร และจัดให้เป็น

หมวดหมู่เพื่อให้สะดวกต่อการอ้างอิงและน�าไปใช้งาน
• บ่งชี้ความแตกต่าง ระหว่างข้อก�าหนดเกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภคส�าหรับหมู่บ้านจัดสรร ทั้ง 77 จังหวัด และข้อแตกต่างของ
กฎหมาย รวมทั้งมาตรฐานต่าง ๆ ที่บังคับใช้ หรือใช้อ้างอิงในปัจจุบัน ของประเทศไทย
• กรณีกฎหมายท่เก่ยวข้องมิได้ระบุมาตรฐานไว้ให้ชัดเจน คณะอนุกรรมการคู่มือ และข้อควรรู้ในงานระบบสาธารณูปโภคสาหรับ



หมู่บ้านจัดสรร และคอนโดมิเนียม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท.) จะแนะน�ามาตรฐานต่าง ๆ เพื่อเป็นกฎเกณฑ์



ในการออกแบบ และตรวจสอบคุณภาพของระบบสาธารณูปโภคสาหรับหมู่บ้านจัดสรร เพ่อประโยชน์ท้งผู้ประกอบการ
ผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน และผู้ที่จะซื้อบ้านจัดสรร
2. ความคืบหน้า : ก�าหนดจัดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2564



คณะกรรมการจัดทำามาตรฐานการใช้แบบจำาลองสารสนเทศอาคาร
(Building Information Modeling /BIM) ตามแนวทางสภาวิชาชีพ

(เริ่มเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ
(1) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการยกร่างมาตรฐานการใช้แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร

(Building Information Modeling /BIM) ตามแนวทางสภาวิชาชีพ
(2) จัดพิมพ์มาตรฐานการใช้แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร (BUILDING INFORMATION

MODELING STANDARD) ตามแนวทางสภาวิชาชีพ (วสท. 012037-20) พิมพ์คร้งท 1


(3) น�าเสนอผลงานมาตรฐานครั้งแรกในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563
(4) จัดหลักสูตรพัฒนาการใช้แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร (Building Information
Modeling/BIM) ตามแนวทางสภาวิชาชีพ
(5) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน

การใช้แบบจ�าลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling/BIM)
ตามแนวทางสภาวิชาชีพ

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 135



2. จัดท�าแผนการด�าเนินงานในการพัฒนาการใช้แบบจ�าลองสารสนเทศในระดับประเทศ เพื่อน�าเสนอต่อรัฐบาล
3. การผลักดันการจัดตั้ง BIM Working Group เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน BIM ในภูมิภาคอาเซียน

4. ลงนามความร่วมมือระหว่างวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) กับ บริษัท แอพพลิแคด จากัด
(มหาชน) และ บริษัททริมเบิล โซลูชั่นส์ เอสอีเอ พีทีอี ลิมิเต็ด เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้การใช้เทคโนโลยี BIM และสนับสนุน



กิจกรรมอ่น ๆ ของ วสท. ท่เก่ยวข้องกับการใช้ซอฟต์แวร์ในกระบวนการก่อสร้าง และเพ่อจัดอบรมให้ความรู้แก่สมาชิกของ วสท.


และบุคคลทั่วไป เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.
5. สร้าง Facebook Page: BIM LAB by EIT
6. จัด Facebook Live ทาง Page: BIM LAB by EIT ทุกวันเสาร์ เวลา 20.00 น.
7. ปรับปรุงห้องประชุมเป็นห้องปฏิบัติการ BIM LAB ที่ ชั้น 3 อาคาร วสท.
8. ห้องปฏิบัติการสถาบัน BIM เพ่อการออกแบบและก่อสร้าง (INSTITUTE OF BIM FOR DESIGN AND CONSTRUCTION)

เปิดตัวครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2563 โดยได้รับเกียรติจาก ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม กรรมการอ�านวยการ วิศวกรรมสถาน
แห่งประเทศไทยฯ กล่าวถึงที่มาของห้องปฏิบัติการนี้ และมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

136 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



















1. ห้องปฏิบัติการฯ มีอุปกรณ์ท่เหมาะสม รองรับการอบรมข้นสูงของการอบรมหลักสูตรแบบจาลองสารสนเทศ (Building
Information Modelling) ในงานด้านวิศวกรรม ก่อสร้างและอุตสาหกรรม รวมถึงหลักสูตรอื่น ๆ ของวิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทยฯ ที่ต้องใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในการอบรมด้วย
2. เพื่อให้ผู้อบรมได้เกิดความสะดวก สนใจเข้าอบรมแบบปฏิบัติการจริง (Workshop) เพราะเมื่อจบหลักสูตรไปจะสามารถน�า

เอาความรู้ตามหลักสูตรไปสร้างสรรค์ผลงานท�างานตามวิชาชีพได้จริง



3. สร้างความสะดวกในการอบรมท่ผู้เข้าอบรมไม่จาเป็นต้องนาคอมพิวเตอร์มาเอง หรือต้องจัดหาโปรแกรมท่เก่ยวข้องลงใน


เรื่องคอมพิวเตอร์ผู้อบรม รวมถึงปัญหาค่าใช้จ่ายในเรื่องลิขสิทธิ์ที่ต้องใช้โปรแกรมจ�านวนมาก ห้องปฏิบัติการฯ รองรับผู้เข้า
อบรม จ�านวน 30 คน ตั้งอยู่ที่ชั้น 3 อาคาร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ซอยรามค�าแหง 39





























มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมโยธา-คณะอนุกรรมการสาขาโครงสร้างเหล็ก

คณะทำางานมาตรฐานการออกแบบสำาหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)



1. ภารกิจ : ปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ
2. ความคืบหน้า : การตั้งชื่อใหม่ “มาตรฐานการออกแบบส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ”
คณะท�างานมีประเด็นในการพิจารณาดังนี้
การออกแบบ คณะท�างานเห็นควรน�าออก เนื่องจาก 1. มีเนื้อหาบทแรกเกี่ยวกับวัสดุ 2. มีเนื้อหาบทหลังเกี่ยวกับการติดตั้งบ้าง

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 137



3. ตามชื่อ AISC






รูปพรรณ หาข้อมูลเพ่มเติม เบ้องต้นน่าจะคงไว้ เน่องจาก 1. มีคาน้ในกฎกระทรวง 2. คานิยามกฎกระทรวงไม่ได้กล่าวถึง
กระบวนการผลิต (ดังนั้น built-up ถือว่ารวมอยู่ในค�าว่า เหล็กรูปพรรณ)
ชื่อที่พิจารณาไว้เบื้องต้นคือ “มาตรฐานส�าหรับอาคารโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ”



ขอบเขตของมาตรฐานครอบคลุมการพิจารณาเกณฑ์ต่าง ๆ เพ่อความปลอดภัยในการออกแบบ และการดาเนินการเพ่อความ
ปลอดภัยของอาคารโครงสร้างเหล็ก และข้อกาหนดในการออกแบบโครงสร้างของอาคารโครงสร้างเหล็ก หลักการการออกแบบ

การออกแบบเพื่อเสถียรภาพของโครงสร้าง การออกแบบองค์อาคารส�าหรับแรงดึง แรงอัด แรงดัด แรงเฉือน และแรงกระท�าร่วมกัน



การออกแบบองค์อาคารวัสดุผสม การออกแบบข้อต่อรอยต่อและอุปกรณ์ยึด การออกแบบสาหรับการใช้งานได้ด ข้อแนะนาเบ้องต้น

ในการผลิตและการติดตั้ง รวมถึงข้อแนะน�าเบื้องต้นในการควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ
มาตรฐานนี้ไม่ครอบคลุมถึงรายละเอียดดังต่อไปนี้
ก. การก่อสร้างอาคาร
ข. การควบคุมการก่อสร้างในรายละเอียด
ค. ข้อก�าหนดเกี่ยวกับกฎหมายควบคุมอาคาร
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2563
4. ประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 จ�านวน 2 ครั้ง





คณะทำางานมาตรฐานการออกแบบอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : ปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น ฉบับพิมพ์ พ.ศ. 2553 ซึ่งจัดพิมพ์มากว่า 10 ปี เพื่อให้ทันสมัย



ตามมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาท่ตีพิมพ์ล่าสุด ปี ค.ศ. 2016 เน่องจากปัจจุบันเหล็กข้นรูปเย็นได้รับความสนใจมากข้น ด้วย

คุณประโยชน์หลากหลายของเหล็กขึ้นรูปเย็น เช่น น�้าหนักเบา ประหยัดวัสดุ ระบบการติดตั้งแบบโบล์ท สกรู ท�าให้งานก่อสร้าง


รวดเร็ว เหล็กไม่เกิดสนิมจากการเคลือบด้วยโลหะ มีความปลอดภัยในการทางาน การควบคุมคุณภาพของงานท่ง่าย รวมถึง

สะดวกและประหยัดต้นทุนในการขนส่ง เหล็กข้นรูปเย็นจึงถูกนาไปใช้ในการออกแบบงานก่อสร้างมากมาย ด้วยคุณลักษณะ



หลายอย่างท่ต่างจากเหล็กรีดร้อน โดยเฉพาะในปัจจุบันเหล็กข้นรูปเย็นท่ใช้อยู่ในประเทศไทยมีกาลังท่จุดคราก (Yield Strength)



ที่สูงกว่าของเหล็กรีดร้อนตามท้องตลาด ท�าให้เหล็กขึ้นรูปเย็นที่ออกแบบมามีน�้าหนักน้อยกว่าเหล็กรีดร้อนท�าให้ได้โครงอาคาร
ที่มีน�้าหนักเบากว่า ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น การออกแบบของเหล็กขึ้นรูปเย็นจึงแตกต่างจากเหล็กรีดร้อนในบางกรณี โดย



เฉพาะเหล็กท่มีอัตราส่วนความกว้างต่อความหนามาก หากผู้ออกแบบไม่เข้าใจและนามาคานวณผิดวิธ อาจเกิดความเสียหาย

ให้กับงานก่อสร้างได้ การมีมาตรฐานการออกแบบเหล็กขึ้นรูปเย็นโดยเฉพาะจึงมีความจ�าเป็นและจะลดความเสี่ยงที่จะเกิดการ
วิบัติเนื่องจากการออกแบบที่ผิดพลาดได้


2. ความคืบหน้า : ส่งมอบรายงานเบ้องต้น งวดท 1 แก่สภาวิศวกรแล้ว ซ่งงานปรับปรุงตามสัญญาสนับสนุนมีกาหนดส่งมอบ



ฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2563
4. ยังไม่มีการประชุมคณะท�างานในปี 2563 แต่ใช้วิธีหารือทางกลุ่มไลน์

138 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563



มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมโยธา-คณะอนุกรรมการสาขาบริหารงานก่อสร้าง

คณะทำางานมาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่ม 3 ความปลอดภัยในขั้นตอน
การปฏิบัติงานต่างๆ

(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่ม 3 ความปลอดภัยในขั้นตอนการปฏิบัติงานต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์


เพ่อกาหนดส่งที่ต้องทา และส่งท่ควรปฏิบัต โดยเล่ม 3 น จะเป็นการพิจารณาถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงานในข้นตอนหลัก









ในงานก่อสร้าง คืองานผสมคอนกรีต งานเสาเข็ม งานขุดดินลึก งานยกหรือเคลื่อนย้ายอาคาร งานรื้อถอนท�าลาย งานเชื่อมและ





















งานตด งานระเบด งานจราจรและขนสง และงานตดตงลฟตถาวร เนอหามาตรฐานจะอธบายเครองมอเครองจกรทใช การเตรยม







การก่อนเข้าทางาน และการปฏิบัติขณะทางานท้งน้เพ่อให้เกิดความปลอดภัยในการทางานข้น ซ่งมาตรฐานน้จะเก่ยวข้อง



ทั้งฝ่ายผู้ประกอบการ ผู้ควบคุมงาน และผู้ปฏิบัติงานในงานก่อสร้าง ทั้งนี้ข้อก�าหนดต่าง ๆ ที่มาตรฐานก�าหนดเพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานก่อสร้าง
2. ความคืบหน้า : เนื้อหาใกล้แล้วเสร็จ มีการสรุปเทคนิคพิจารณ์เมื่อต้นปี 2563 ยังอยู่ระหว่างปรับเนื้อหาหัวข้อ 3.5 งานยกหรือ
เคลื่อนย้ายอาคาร มีก�าหนดเสร็จภายในกลางปี 2564
3. ประชุมคณะท�างาน ปี 2563 จ�านวน 1 ครั้ง
กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน
คณะทำางานมาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่ม 4 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษต่าง ๆ
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : จัดทามาตรฐานความปลอดภัยในงานก่อสร้าง เล่ม 4 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษต่าง ๆ



มีวัตถุประสงค์เพ่อกาหนดให้การทางานภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษต่าง ๆ เช่น การปฏิบัติงานภายใต้ความกดอากาศสูง

การท�างานบนที่สูง การท�างานในที่มีฝุ่นละอองขนาดเล็ก การท�างานในที่เสียงดัง การท�างานในที่มีความสั่นสะเทือน การท�างาน







ในท่มีแสงน้อยหรือในท่มืด การทางานในพ้นท่คอนไฟนด์สเปซ การทางานในท่อุณหภูมิสูง การทางานในท่อุณหภูมิตา การทางาน







ก่อสร้างในลานาและทะเล โดยเน้อหาครอบคลุมการเตรียมการและการทางานภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษ และอุปกรณ์ป้องกัน










ความปลอดภัยท่เก่ยวข้อง รวมถึงกฎหมาย มาตรฐาน และเอกสารอ้างอิงท่เก่ยวข้องในเร่องดังกล่าว ท้งน้ข้อกาหนดต่าง ๆ








ท่มาตรฐานกาหนดเพ่อให้เกิดความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานก่อสร้างภายใต้สภาวะแวดล้อมพิเศษท่กล่าวถึงข้างต้น ท้งน้เน้อหา

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 139





ในแต่ละข้ออาจมีเพ่มเติมจากท่กาหนด โดยพิจารณาตามความเหมาะสม โดยมาตรฐานได้รับความร่วมมือจากผู้เช่ยวชาญท่ทางาน




เกี่ยวข้องเฉพาะด้านมาร่วมให้ข้อมูลและเสนอความเห็นเพื่อให้เนื้อหามาตรฐานสามารถก�าหนดและน�าไปปฏิบัติได้
2. ความคืบหน้า : เนื้อหาแล้วเสร็จ เมื่อปลายปี 2563 ปัจจุบันอยู่ระหว่างเตรียมต้นฉบับส่งโรงพิมพ์
3. ประชุมคณะท�างาน ปี 2563 จ�านวน 5 ครั้ง























กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน




มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมโยธา-คณะอนุกรรมการสาขาคอนกรีตและวัสดุ



คณะอนุกรรมการมาตรฐานสำาหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกำาลัง (ฉบับปรับปรุงคร้งท่ 2)
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน)










1. ภารกิจ : ปรับปรุง “มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาลัง” โดยคร้งน้นับเป็นการปรับปรุงคร้งท 2 เน่องจาก
มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกาลัง (มาตรฐาน วสท.1008-38) ฉบับเดิม ได้มีการใช้อย่างแพร่หลาย


มาเป็นเวลากว่า 20 ปี โดยไม่มีการแก้ไขปรับปรุง คณะกรรมการสาขาวิศวกรรม ได้ตระหนักถึงความสาคัญของมาตรฐานน ี ้

เห็นควรให้มีการปรับปรุงใหม่เพื่อให้ทันกับความก้าวหน้าของวิทยาการ

2. ความคืบหน้า : คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานได้พิจารณาปรับปรุงแล้วเสร็จ มาตรฐานอยู่ระหว่างนาเสนอคณะอนุกรรมการ
สาขาคอนกรีตและวัสดุ ในคณะกรรมการวิศวกรรมโยธา พิจารณาตรวจทานเนื้อหา และเสนอพิมพ์ต่อไป
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2558

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 ไม่มีการประชุม แต่ใช้วิธีมอบหมายกรรมการผู้รับผิดชอบดาเนินการแก้ไขและส่งเวียนทางอีเมล

มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมโยธา-คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมสำารวจ


มาตรฐานการสำารวจด้วยอากาศยานไร้คนขับเพื่องานวิศวกรรม
(เริ่มเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561-เดือนตุลาคม พ.ศ. 2563)


1. มาตรฐานใหม่ จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของอากาศยานไร้คน คุณภาพของกล้องดิจิทัล และการสร้างแบบจาลองสามมิต ิ


ด้วยคอมพิวเตอร์วิช่น มาตรฐานน้มีวัตถุประสงค์เพ่อผลักดันให้เกิดการพัฒนาระบบการสารวจด้วยภาพถ่ายจากอากาศยานไร้คน




140 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563








ช่วยให้การทางานสะดวกและมีความคล่องตัวมากข้น เม่อเทียบกับวิธีการสารวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศแบบเดิม อีกท้งให้ผลลัพธ์
หลายลักษณะที่มีรายละเอียดและความถูกต้องแม่นย�าสูง
2. ความคืบหน้า : ด�าเนินการแล้วเสร็จเมื่อเดือนตุลาคม 2563
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2560
4. ประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 จ�านวน 3 ครั้ง















กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน




มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

คณะกรรมการเทคนิคจัดทำามาตรฐานดาตาเซนเตอร์สำาหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1

(เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : ปรับปรุง “มาตรฐานดาตาเซนเตอร์” ซึ่งการปรับปรุงนี้นับเป็นการปรับปรุงครั้งที่ 1 เนื่องจากยังคงมีเนื้อหาบางส่วน
ในมาตรฐานยังขาดและเห็นควรเพิ่มในบางส่วนของมาตรฐานมีดังนี้
1.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาในครั้งที่ 1 ดังนี้

บทที่ 5 ท�าเลที่ตั้งและพื้นที่
บทที่ 7 การจัดพื้นที่ส�าหรับดาตาเซนเตอร์
บทที่ 9 ข้อก�าหนดงานวิศวกรรมไฟฟ้า
บทที่ 10 ข้อก�าหนดงานวิศวกรรมเครื่องกล
บทที่ 11 ข้อก�าหนดงานระบบป้องกันอัคคีภัย
บทที่ 12 ข้อก�าหนดระบบความมั่นคง
บทที่ 13 ระบบอัตโนมัติและควบคุม

ภาคผนวก ค การท�าป้ายและเครื่องหมาย
1.2 มีโครงการพลักดันให้มีการรับรองดาตาเซนเตอร์โดยความร่วมมือกับ NETTEC
1.3 จัดหลักสูตรอบรมมาตรฐานดาตาเซนเตอร์ส�าหรับประเทศไทย
2. ความคืบหน้า อยู่ระหว่างด�าเนินการพิจารณาปรับปรุงเพิ่มเติม
3. ประชุมคณะกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 11 ครั้ง





คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำาหรับประเทศไทย
(เริ่มเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)






1. ภารกิจ: ปรับปรุงมาตรฐานการติดต้งทางไฟฟ้า สาหรับประเทศไทย เน่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีท่เก่ยวข้องได้พัฒนาให้ม ี

ประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นและมีความปลอดภัยมากขึ้น จึงจ�าเป็นต้องปรับปรุงเนื้อหามาตรฐานฯ นี้

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 141





2. ความคืบหน้า: ดาเนินการปรับปรุงโดยประมาณ 80% วางแผนดาเนินการปรับปรุงแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564 โดยแบ่ง
คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ ออกเป็น 6 กลุ่ม ดังนี้
2.1 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 1, 2, 6 และ 10
ความคืบหน้า: ด�าเนินการปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ ประชุมคณะท�างานในปี 2563 จ�านวน 4 ครั้ง

2.2 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 3, และ 5
ความคืบหน้า: ด�าเนินการปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ ประชุมคณะท�างานในปี 2563 จ�านวน 3 ครั้ง
2.3 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 4
ความคืบหน้า: ด�าเนินการปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ ประชุมคณะท�างานในปี 2563 จ�านวน 1 ครั้ง
2.4 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 7
ความคืบหน้า: ด�าเนินการปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ ประชุมคณะท�างานในปี 2563 จ�านวน 17 ครั้ง

2.5 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 8 และ 9
ความคืบหน้า: ด�าเนินการปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ แล้วเสร็จ ประชุมคณะท�างานในปี 2563 จ�านวน 1 ครั้ง
2.6 คณะท�างานปรับปรุงมาตรฐานฯ บทที่ 11, 12, 13 และ 14
ความคืบหน้า: รอพิจารณาปรับปรุงร่างมาตรฐานฯ
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 6 ครั้ง















กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน



คณะอนุกรรมการจัดทำามาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า สำาหรับประเทศไทย (ฉบับภาษาอังกฤษ)
(เริ่มเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)



1. ภารกิจ: จัดท�ามาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ส�าหรับประเทศไทย ฉบับภาษาอังกฤษ เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู้สากล





ASIAN และมีประเทศเพ่อนบ้านให้ความสนใจและนามาตรฐานการติดต้งทางไฟฟ้า สาหรับประเทศไทยไปใช้ จึงจัดทามาตรฐานฯ น ้ ี
เป็นฉบับภาษาอังกฤษ เพื่อให้ประเทศเพื่อนบ้านได้ใช้งานและเป็นผู้น�าในด้านทางด้านวิศวกรรมใน ASIAN
2. ความคืบหน้า: ด�าเนินการโดยประมาณ 70% วางแผนแล้วเสร็จในช่วงปลายปี 2564
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 12 ครั้ง












กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน

142 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563


คณะอนุกรรมการมาตรฐาน Data Center Infrastructure Management (DCIM)

(เริ่มเดือนตุลาคม พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน)





1. ภารกิจ : จัดทาร่าง “มาตรฐาน Data Center Infrastructure Management (DCIM)” ซ่งเป็นมาตรฐานใหม่ เน่องมาจากการ
เข้าหารือกับท่านปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และได้นโยบายจากท่านปลัดเกี่ยวกับการจัดท�าเรื่อง DCIM
2. ความคืบหน้า : มาตรฐานฉบับร่างใกล้แล้วเสร็จ และรอจัดเทคนิคพิจารณ์
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 14 ครั้ง




คณะอนุกรรมการมาตรฐานบริหารจัดการ การทำางานและการบำารุงรักษาในดาตาเซนเตอร์

(เริ่มเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)

1. ภารกิจ: จัดท�ามาตรฐานใหม่ มาตรฐานบริหารจัดการ การท�างานและการบ�ารุงรักษาในดาตาเซนเตอร์ เนื่องจากปัจจุบันมีผู้ที่
สนใจในด้านดาตาเซนเตอร์กันแพร่หลาย และจะพัฒนาไปสู่อนาคต จึงจ�าเป็นต้องจัดท�ามาตรฐานฯ นี้
2. ความคืบหน้า: ด�าเนินการโดยประมาณ 90% วางแผนแล้วเสร็จในช่วงกลางปี พ.ศ. 2564





เทคนิคพิจารณ์มาตรฐานบริหารจัดการ การทางานและการบารุงรักษาในดาตาเซนเตอร์ ในวันจันทร์ท 21 ธันวาคม 2563 จานวน

ผู้เข้าร่วม 150 คน โดยผ่านทางระบบ ZOOM 79 คน Live facebook 30 คน เข้าร่วมที่ วสท. 41 คน
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 10 ครั้ง










กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน


คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า: ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา

(เริ่มเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)




1. ภารกิจ: ปรับปรุงมาตรฐานการติดต้งทางไฟฟ้า: ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ติดต้งบนหลังคา เน่องจากปัจจุบัน


เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้พัฒนาให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้นและมีความปลอดภัยมากขึ้น รวมถึงมีผู้ที่สนใจในด้านนี้กันแพร่หลาย
และจะพัฒนาไปสู่อนาคต จึงจ�าเป็นต้องปรับปรุงเนื้อหามาตรฐานฯ นี้
2. ความคืบหน้า: ด�าเนินการโดยประมาณ 85% วางแผนแล้วเสร็จในช่วงปี พ.ศ. 2564
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 10 ครั้ง












กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 143



คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานที่ทำางาน
(เริ่มเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)







1. ภารกิจ: ปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้าในสถานท่ทางาน เน่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีท่เก่ยวข้องได้พัฒนาให้ม ี





ประสิทธิภาพท่ดีย่งข้นและมีความปลอดภัยมากข้น รวมถึงมาตรฐานอ้างอิงได้มีการปรับปรุงเป็นฉบับใหม่ จึงจาเป็นต้องปรับปรุง
เนื้อหามาตรฐานฯ นี้
2. ความคืบหน้า: ด�าเนินการโดยประมาณ 10% วางแผนแล้วเสร็จในช่วงปลายปี พ.ศ. 2564
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 3 ครั้ง








กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน


คณะอนุกรรมการจัดทำามาตรฐานป้องกันฟ้าผ่า

(เริ่มเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)








1. ภารกิจ: ปรับปรุงมาตรฐานป้องกันฟ้าผ่า เน่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีท่เก่ยวข้องได้พัฒนาให้มีประสิทธิภาพท่ดีย่งข้นและมีความ
ปลอดภัยมากขึ้น รวมถึงมาตรฐานอ้างอิงได้มีการปรับปรุงเป็นฉบับใหม่ จึงจ�าเป็นต้องปรับปรุงเนื้อหามาตรฐานฯ นี้
2. ความคืบหน้า: ด�าเนินการโดยประมาณ 40% วางแผนแล้วเสร็จในช่วงปลายปี 2564
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 10 ครั้ง











กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน


คณะอนุกรรมการศึกษาความต้องการใช้ไฟฟ้า สำาหรับหม้อแปลงไฟฟ้า
(เริ่มเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)



1. ภารกิจ: ศึกษาความต้องการใช้ไฟฟ้า ส�าหรับหม้อแปลงไฟฟ้า โดยเน้นที่อาคารชุด การวิเคราะห์จะแบ่งเป็นเฟส โดยการศึกษา





เฟสท 1 จะเป็นการศึกษาจากใบเสร็จการใช้ไฟฟ้าในอาคารชุด และทาการวิเคราะห์แนวโน้มการใช้ไฟฟ้า เพ่อนามาปรับปรุง
เนื้อหามาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า ส�าหรับประเทศไทยในบทที่ 9 เนื่องจากการใช้ไฟฟ้าและเทคโนโลยีปัจจุบันได้ถูกพัฒนาให้
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงศึกษาเนื้อหาฯ นี้
2. ความคืบหน้า: ดาเนินการโดยประมาณ 100% ในเฟสท 1 กิจกรรมการศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มการใช้ไฟฟ้าจากใบเสร็จ



ส�าหรับอาคารชุด เฟสที่ 1 เสร็จเรียบร้อยแล้ว รอพิจารณาการศึกษาต่อไปในเฟสที่ 2
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 2 ครั้ง

144 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563


คณะอนุกรรมการมาตรฐานการตรวจสอบและทดสอบการติดตั้งทางไฟฟ้า

(เริ่มเดือนกันยายน พ.ศ. 2557-ปัจจุบัน)

1. ภารกิจ : จัดท�าร่าง “มาตรฐานการตรวจสอบและทดสอบการติดตั้งทางไฟฟ้า (Inspection & Testing Standard)” เพื่อ





เป็นมาตรฐานอ้างอิงสาหรับวิศวกร และผู้เก่ยวข้อง ใช้อ้างอิงในงานตรวจสอบการติดต้งระบบไฟฟ้า เพ่อให้การติดต้งเป็นไปตาม




มาตรฐานการติดต้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย เพ่อความม่นใจในความปลอดภัยต่อบุคคล และทรัพย์สินท่เกิดจากการใช้ไฟฟ้า


หลังการติดตั้งแล้วเสร็จ
2. ความคืบหน้า : มาตรฐานฉบับร่างใกล้แล้วเสร็จมีการปรับเกี่ยวกับตารางการตรวจสอบเพื่อให้ตรงตามสากล และรอจัดเทคนิค
พิจารณ์
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 ไม่มีการประชุมเนื่องจากมาตรฐานอ้างอิงมีการปรับปรุง
คณะอนุกรรมการมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและระบบไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน
(ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 5)
(เริ่มเดือนมกราคม พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน)



1. ภารกิจ : ปรับปรุงมาตรฐานครั้งที่ 5 ในหัวข้อต่อไปนี้
- วงจร AC, การใช้เคร่องกาเนิดไฟฟ้า, ระยะห่างโคมและป้ายทางออกฉุกเฉิน, แบตเตอร่, การทดสอบและเฝ้าตรวจ





(รวม Computerize), ระบบนาทางแบบใช้ไฟฟ้า, ระบบนาทางแบบเรืองแสง, ระบบนาทางแบบไฟเบอร์ออปติกโดยเสนอ

โครงร่างมาตรฐานใหม่ (เบื้องต้น) ดังนี้
ภาคที่ 1 นิยาม ภาคที่ 2 ระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน
ภาคที่ 3 ระบบไฟฟ้าป้ายทางออกฉุกเฉิน ภาคที่ 4 การจ่ายก�าลังไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า
ภาคที่ 5 ระบบแบตเตอรี่ ภาคที่ 6 การตรวจสอบและบ�ารุงรักษา
ภาคผนวก.
3. ความคืบหน้า : มาตรฐานฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 5 เป็นการปรับปรุงต่อเนื่อง เพื่อประกาศใช้มาตรฐานในปี พ.ศ. 2565
4. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 8 ครั้ง






มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานระบบบันไดเลื่อนและทางเลื่อนอัตโนมัติ

(เริ่มเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : จัดท�า “มาตรฐานระบบบันไดเลื่อนและทางเลื่อนอัตโนมัติ” เพื่อจัดท�ามาตรฐานความปลอดภัยของระบบบันไดเลื่อน

และทางเลื่อนอัตโนมัติ (Safety of Escalators and Moving Walks) วสท.032013-21 ปี พ.ศ. 2563-2565 เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยทันสมัย และเพิ่มเติมเทคโนโลยี ให้สอดคล้อง กับมาตรฐานสากล เป็นข้อก�าหนดอ้างอิงส�าหรับวิศวกร หน่วยงาน และ
ผู้เกี่ยวข้องระบบลิฟต์และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงการตรวจสอบ และทดสอบที่ติดตั้ง การบ�ารุงรักษาลิฟต์ระหว่างใช้งาน


2. ความคืบหน้า : คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานฯ ได้ดาเนินการพิจารณามาตรฐานโดยการปรับเน้อหาให้เขากับประเทศไทย
โดยการเรียบเรียงใหม่ทั้งหมดตั้งแต่สารบัญ หัวข้อ เนื้อหา
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 5 ครั้ง

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 145


คณะทำางานจัดทำาคู่มือด้านการอนุรักษ์พลังงาน

(เริ่มเดือนกันยายน พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : จัดท�าคู่มือ 3 เล่ม ได้แก่

เล่มที่ 1 ข้อมูลอ้างอิงด้านการอนุรักษ์พลังงาน (Quick Reference)
เล่มที่ 2 ศัพท์วิทยาการพลังงาน (แก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 1)
เล่มที่ 3 คู่มือการตรวจวัดและวิเคราะห์ด้านการอนุรักษ์พลังงาน



2. ความคืบหน้า : เล่มท 1 ข้อมูลอ้างอิงด้านการอนุรักษ์พลังงาน (Quick Reference) และ เล่มท 2 ศัพท์วิทยาการพลังงาน



(แก้ไขปรับปรุงคร้งท 1) ร่างข้อมูลเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่ยังมีแก้ไขเพ่มเติมจากการพิจารณาของคณะอนุกรรมการวิศวกรรม


พลังงาน ส่วนเล่มที่ 3 คู่มือการตรวจวัดและวิเคราะห์ด้านการอนุรักษ์พลังงาน อยู่ระหว่างการด�าเนินร่างและเรียบเรียงเนื้อหา
3. ประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 จ�านวน 7 ครั้ง


















คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานทดสอบประสิทธิภาพท่อสูบนาพญานาค

(เริ่มเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)


1. ภารกิจ : เพื่อรวบรวม มาตรฐานการทดสอบท่อสูบน�้า หรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ที่มีเอกสาร
อ้างอิงเชื่อถือได้
- พิจารณากลั่นกรองมาตรฐาน และปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาวะการทดสอบท่อสูบน�้าพญานาค

- ยกร่างมาตรฐานการทดสอบท่อสูบน�้าพญานาค ทั้งระดับห้องปฏิบัติการ และระดับภาคสนาม






2. ความคบหนา : อยระหวางการดาเนนการพจารณาตรวจรบงานแปลมาตรฐานตางประเทศ JIS B 8301:2018 และ JIS B 8302:1990




เพื่อเรียบเรียงเอกสารแปลเนื้อหามาตรฐาน และจัดเรียงข้อมูลร่วมกันต่อไป
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 4 ครั้ง และประชุมหารือย่อย จ�านวน 2 ครั้ง








กิจกรรมประชุมพิจารณาในการจัดท�าร่างมาตรฐาน (ออนไลน์)

146 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563




มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ โลหะการ และปิโตรเลียม
มาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ งานขุด ตัก ขน ด้วยเครื่องจักร
กลหนักในพื้นที่หน้าเหมืองผิวดิน

(เริ่มเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561-แล้วเสร็จเดือนกันยายน พ.ศ. 2563)


1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ งานขุด ตัก ขน ด้วยเครื่องจักรกลหนักในพื้นที่



หน้าเหมืองผิวดิน เน้อหามาตรฐานครอบคลุมความรู้พ้นฐานความปลอดภัยโดยท่วไป แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยในงานเหมือง
ในแต่ละลักษณะงานที่มีการใช้เครื่องจักรกลหนักหลากหลายชนิด ในเรื่องของการบริหารจัดการความปลอดภัย การบ�ารุงรักษา
และตรวจสภาพด้านความปลอดภยของเคร่องจักรกลหนัก การใช้งานเครองจักรกลหนกทถูกต้อง การใช้กฎจราจรและป้ายต่างๆ







การออกแบบถนน ท่จอดรถ พ้นท่ปฏิบัติงานขุด ตัก ขน ให้มีความม่นคงปลอดภัย ตลอดจนการส่อสารและการเตรียมความ











พร้อมในภาวะฉุกเฉิน ซ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์เพ่อช้แจงแก่ผู้ท่เก่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัต การอบรมพนักงานใหม่

เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท�างาน และเป็นความรู้ด้านความปลอดภัยแก่ผู้สนใจโดยทั่วไป การท�างานของวิศวกรเหมืองแร่





ท่เก่ยวข้องกับการทาเหมืองผิวดิน หรือเหมืองเปิด ซ่งใช้เคร่องจักรหลากหลายชนิดในการทางาน จึงเป็นเหตุให้เกิดความเส่ยง


ในด้านความปลอดภัยในการท�างานสูง

2. ความคืบหน้า : ส่งมอบฉบับสมบูรณ์แก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจการจ้างสภาวิศวกรเม่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563
สภาวิศวกรแจ้งตอบรับยืนยันมาตรฐานไม่มีแก้ไขกลางปี พ.ศ. 2563 และจัดต้นฉบับส่งโรงพิมพ์เดือนกันยายน พ.ศ. 2563
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2561
4. ไม่มีการประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 แต่ใช้วิธีหารือทางกลุ่มไลน์
มาตรฐานความปลอดภัยในงานเจาะระเบิดอุโมงค์ในหินแข็ง
(เริ่มเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561-แล้วเสร็จเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564)
1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานความปลอดภัยในงานเจาะระเบิดอุโมงค์ในหินแข็ง โดยวัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้จัดท�าเพื่อเป็นแนว












ปฏบติแก่ผู้เกยวข้องทงวิศวกรวิชาชพเหมองแร่และงานโยธาในเรองการจัดการความปลอดภยในงานเจาะอุโมงค์ในหนแขง


เน้อหามาตรฐานครอบคลุมแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยในงานการเจาะอุโมงค์ในหินแข็ง ได้แก่ การกาหนดคุณสมบัติของผู้

ที่จะเข้าไปท�างานในการเจาะอุโมงค์ การฝึกอบรมคนงานให้สามารถระบุ ประเมินความเสี่ยงและจัดการกับความเสี่ยงเหล่านั้น


ในทุกข้นตอนของการทางาน การเจาะรูระเบิด การอัดและการจุดระเบิด ระบายอากาศในอุโมงค์และปล่อง การให้แสงสว่าง
ในการทางาน การขุดตักและการขนส่งหินท่ได้จากการระเบิด การคายันอุโมงค์ การเตรียมความพร้อมในภาวะฉุกเฉิน การใช้




อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
2. ความคืบหน้า : ส่งมอบฉบับสมบูรณ์แก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจการจ้างสภาวิศวกรเม่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2563

สภาวิศวกรแจ้งตอบรับยืนยันมาตรฐานไม่มีแก้ไขกลางปี พ.ศ. 2563 และจัดต้นฉบับส่งโรงพิมพ์เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2561
4. ไม่มีการประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 แต่ใช้วิธีหารือทางกลุ่มไลน์
คณะทำางานมาตรฐานปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ หลักปฏิบัติการทำาเหมืองหิน
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)





1. ภารกิจ : จัดทามาตรฐานปฏิบัติวิชาชีพวิศวกรรมเหมืองแร่ หลักปฏิบัติการทาเหมืองหิน เพ่อเป็นข้อกาหนดอ้างอิงสาหรับวิศวกร







วิชาชีพเหมืองแร่ หน่วยงาน และผู้ท่เก่ยวข้องกับการทาเหมืองหิน ในเร่องการจัดการเหมืองหิน ต้งแต่ข้นตอนการสารวจและการ

Annual Report 2020 The Engineering Institute of Thailand Under H.M. The King’s Patronage (EIT) 147







วางแผนทางธรณีวิทยา การออกแบบและวางแผนการทาเหมืองหิน การออกแบบโครงสร้างดิน หิน และนา การวางแผน การติดต้ง



และการควบคุมการผลิต การจัดการธรณีวัสดุท้ง เพ่อลดผลกระทบด้านส่งแวดล้อมและสุขภาพ รวมถึงการฟื้นฟูเหมือง
การวางแผนปิดเหมือง และการส่งมอบการใช้ประโยชน์ต่อ






2. ความคืบหน้า : ส่งมอบรายงานเบ้องต้น งวดท 1 แก่สภาวิศวกรแล้ว ซ่งงานจัดทามาตรฐานตามสัญญาสนับสนุนมีกาหนดส่งมอบ
ฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 30 กันยายน 2564
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2563
4. ไม่มีการประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 แต่ใช้วิธีหารือทางกลุ่มไลน์
คณะทำางานจัดทำามาตรฐานความปลอดภัยในการทำางานกับโลหะเหลว
(เริ่มเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)




1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานความปลอดภัยในการทางานกับโลหะเหลว ดาเนินกิจกรรมทางวิชาการวิศวกรรมโลหะการ และพัฒนา

มาตรฐานการประกอบวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมโลหะการ


2. ความคืบหน้า : ส่งมอบรายงานเบ้องต้น งวดท 1 แก่สภาวิศวกรแล้ว ซ่งงานจัดทามาตรฐานตามสัญญาสนับสนุนมีกาหนดส่งมอบ




ฉบับสมบูรณ์ภายในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2564
3. มาตรฐานนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกรปีงบประมาณ 2563
4. ไม่มีการประชุมคณะท�างาน พ.ศ. 2563 แต่ใช้วิธีหารือทางกลุ่มไลน์




มาตรฐานภายใต้สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

คณะอนุกรรมการมาตรฐานปฏิบัติการบริหารโครงการในระดับองค์กร
(เริ่ม พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน)

1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานปฏิบัติการบริหารโครงการในระดับองค์กร เพื่อเป็นแนวทางให้วิศวกรไทยรวมทั้งผู้บริหารองค์กรทั้งใน

ภาครัฐและภาคเอกชน สามารถนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติในการบริหารงานโครงการขององค์กร รวมถึงการกากับดูแลงานโครงการ






ในองค์กรภาครฐ ให้เป็นไปตามยทธศาสตร์ชาตในลกษณะมออาชพให้ได้ผลอย่างรวดเรวและสงสด ซงสาหรบภาครฐแล้วจะ









เป็นการช่วยให้การใช้จ่ายงบประมาณของรัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ช่วยประหยัดงบประมาณของรัฐใน







ส่วนของโครงการท่มีความซาซ้อนหรือโครงการท่มีวัตถุประสงค์ใกล้เคียงกัน สาหรับภาคเอกชนน้น มาตรฐานปฏิบัติฉบับน้ได้
กาหนดข้นตอนปฏิบัติงานบริหารโครงการขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์


และกลยุทธ์ของบริษัทนั้น ๆ ได้เป็นอย่างดี มาตรฐานนี้มีตัวอย่างTemplates ส�าหรับการบริหารพอร์ตโฟลิโอ และโปรแกรม
เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้ใช้งานมาตรฐาน

2. ความคืบหน้า : อยู่ระหว่างตรวจทานร่างเน้อหาโดยคณะกรรมการประจามาตรฐาน ซ่งเห็นว่ายังต้องทาการเพ่มเติมเน้อหา





ในภาคผนวก และส่งร่างกลับให้คณะอนุกรรมการร่างมาตรฐานพิจารณาเพิ่มเนื้อหาตามข้อเสนอแนะ
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ ปี 2563 จ�านวน 2 ครั้ง
คณะอนุกรรมการแนวปฏิบัติการบริหารโครงการในระดับองค์กร
(เริ่มเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)
1. ภารกิจ : จัดท�าแนวปฏิบัติการบริหารโครงการในระดับองค์กร เพื่อเป็นคู่มืออธิบายประกอบการใช้มาตรฐานแนวปฏิบัติการ

148 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) รายงานประจำาปี 2563




บริหารโครงการในระดับองค์กร ให้ข้าราชการใช้ในการขับเคล่อนยุทธศาสตร์ชาติให้เกิดผลสัมฤทธ์ท้งระยะส้นและระยะยาว และ



เพ่อให้เอกชนใช้ในการปรับเปล่ยนระบบบริหารงานภายในองค์กรควบคู่กับระบบบริหารโครงการ ซ่งรวมถึงหน่วยงานนอกเหนือ




จากหน่วยงานท่มีส่วนร่วมโดยตรงกับการบริหารโครงการเพ่อประโยชน์สูงสุดในการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และนโยบายองค์กร

2. ความคืบหน้า : อยู่ระหว่างการด�าเนินการพิจารณาร่างบทที่ 5
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 จ�านวน 2 ครั้ง

















คณะอนุกรรมการจัดทำามาตรฐานปฏิบัติด้านโทรทัศน์วงจรปิด

(เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน)




1. ภารกิจ : จัดทา “มาตรฐานปฏิบัติด้านโทรทัศน์วงจรปิด” สืบเน่องจากปัจจุบันการใช้งานกล้องวงจรปิดมีการนิยมใช้อย่างแพร่หลาย



ซ่งพบว่างานด้านเทคนิคและบริหารในเมืองไทยเป็นแบบต่างคนต่างทา ทาให้มีปัญหาต่างๆ ตามมา วสท.จึงเห็นควรท่จะกาหนด






















มาตรฐานขนเพอเป็นแนวทางอ้างองแก่ผ้เกยวข้อง ซงในโลกแห่งดิจทลนน Data เป็นสงท่สาคญทสด เพราะ Data ใช้ในการ


บริหารราชการแผ่นดิน และบริหารความม่นคงปลอดภัยของประเทศชาต การใช้ชีวิตประจาวัน และการศึกษา การใช้ Data ใด ๆ






ก็ตามต้องมีการใส่รหัส ไม่ว่าจะเป็นภาพ แสง ส เสียง การแชร์ Data ร่วมกันจาเป็นต้องได้รับอนุมัต ปัจจุบันผู้ใช้งาน Data
มีการสูญเสียความเป็นส่วนตัวของข้อมูลโดยท่ไม่รู้ตัว จึงจาเป็นอย่างย่งท่ต้องมีการกาหนดมาตรฐานท่จาเป็นไว้เป็นแนวปฏิบัต ิ










วัตถุประสงค์เพ่อกาหนดมาตรฐานปฏิบัติเบ้องต้นของระบบกล้องโทรทศน์วงจรปิด (CCTV System) ของระบบเครือข่าย





(Network System) กล้องโทรทัศน์วงจรปิด กาหนดองค์ประกอบมาตรฐานจาเป็นเบ้องต้นของระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด เพ่อ
การออกแบบ การติดตั้ง การทดสอบ การบ�ารุงรักษาระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดและระบบเครือข่าย และเพื่อเป็นคู่มือปฏิบัติ



สาหรบผ้ใช้งานระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ระบบเครอข่ายและการเช่อมต่อ มาตรฐานนไม่ครอบคลุมการนากล้องโทรทัศน์





วงจรปิดไปใช้ในอุตสาหกรรมต่อไปน เช่น Smart City - Smart Technology, Digital Technology and Analysis, Innovative


Technology, ความเป็นส่วนตัว และการก�ากับดูแลข้อมูล (ภาพ)
2. ความคืบหน้า : อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะตรวจสอบตรวจความถูกต้องเนื้อหามาตรฐาน
3. ประชุมคณะอนุกรรมการ พ.ศ. 2563 ไม่มีการประชุม
คณะอนกรรมการมาตรฐานปฏิบตด้านเทคโนโลยบลอกเชน (Blockchain Standard of Practice)





(เริ่มเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน)
1. ภารกิจ : จัดท�ามาตรฐานปฏิบัติด้านเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain Standard of Practice) น�าไปใช้งานส�าหรับผู้ที่มีหน้าที่

และรับผิดชอบในระดับการอานวยการ การปฏิบัต ด้านเทคโนโลยีบล็อกเชน และเป็นแนวทางการปฏิบัติขององค์การรัฐและ

เอกชน ในการปฏิบัติตามให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประเทศชาติและบ้านเมืองรวมถึงผลักดันให้ประเทศไทยไปสู่เศรษฐกิจและ
สังคมดิจิทัลต่อไป


Click to View FlipBook Version