The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1แผนปฏิบัติการ-Master-รวมปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ppza777, 2019-12-09 01:38:40

แผนปฏิบัติการ 2560

1แผนปฏิบัติการ-Master-รวมปก

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2560

สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

เอกสารลำดบั ที่ 1/2560
งานนโยบายและแผน
กลุ่มนโยบายและแผน
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 123

คำนำ

สำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำตรัง เขต 1 ได้จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ำร ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ.2560 เพื่อใช้เปน็ กรอบกำรดำเนินงำนโครงกำรและขับเคลื่อนกำรบริหำรจดั กำรศึกษำ ของสำนกั งำนเขต
พืน้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำตรงั เขต 1 โดยมีสำระสำคัญ ประกอบด้วย สภำพท่ัวไปกำรจัดกำรศึกษำ ทิศทำง
กำรพัฒนำกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน นโยบำย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ กลยุทธ์ ค่ำนิยมองค์กร ของ
สำนกั งำนเขตพ้นื ที่กำรศึกษำประถมศึกษำตรัง เขต 1 รวมทั้งรำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร และกำรบริหำร
แผนสู่กำรปฏิบัติ แผนปฏิบัติกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2560 ได้ผ่ำนควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำร
เขตพน้ื ทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำตรงั เขต 1 ในครำวประชุม คร้ังที่ 1/2560 เมอ่ื วันที่ 24 กมุ ภำพนั ธ์ 2560

หวังเปน็ อยำ่ งยงิ่ ว่ำแผนปฏิบตั ิกำร ประจำปีงบประมำณพ.ศ.2560 ฉบบั น้ี จะเป็นเคร่อื งมอื สำคญั ใน
กำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำในสังกัด ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
สำมำรถนำนโยบำยทุกระดับสู่กำรปฏิบัติได้อย่ำงเป็นรูปธรรม และขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมในกำรจัดทำ
แผนปฏิบตั กิ ำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2560 จนสำเร็จด้วยดี

สำนกั งำนเขตพื้นท่กี ำรศึกษำประถมศกึ ษำตรัง เขต 1

สำรบญัสำรบญั แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 125

สำรบญั สำรบญั หนำ้ หนำ้
สว่ นท่ี 1ส่วสนภทำ่ีพ1ทว่ั สไภปำแพลทะวั่สไภปำแพลกะำสรภจำัดพกกำรำศรจึกัดษกำำรศึกษำ
หน้ำ ห1น้ำ 1

ำพท่วั ไปและสภำพสกว่ ำนรทจ่ีดั 1ก-ำสรภศึำกพษทำ- ัว่ สไภปำแพลทะ่ัวสไภปำพกำรจดั กำรศึกษำ 1 11

ำพทัว่ ไป - สภำพทก-ำวั่ สรไภปจำดั พกกำรำศรจึกัดษกำำสรำศนึกักษงำสนำเขนตักพงำ้ืนนทเ่ีกขำตรพศนื้ ึกทษ่ีกำำปรรศะึกถษมำศปึกรษะ1ำถตมรศงั ึกเษขำตต1รัง เขต 1 12 2

ำพกำรจัดกำรศึกษำสำนักง-ำนสโคเภขรำตงพสพกร-ื้นำ้ โทงรคสจ่ีกรำดั งนรกสศักำรรึกำ้งำศงษสนึกำำเษปขนำรตกั สะพงำถำ้ืนมนทักศเ่ีกขงึกำตษนรพำศเตืน้ขึกรตทษังพีก่ ำเ้ืนำปขรทรตศะี่กึกถ1ำษมรำศปึกรษะำถปตมรศะงั ึกถเษมขำตศตึก1รษงั 2ำเตขรตงั 1เขต 1 20 20
รงสรำ้ งสำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ -ำรโคศำรยึกงชษส่อื ำร-อป้ำรงงรำคสะย์คำถชณนมื่อกัศะองึกบงำษคุ นำ์คเตขลณรตะงัพบเนื้ ุคขทตค่กี ล1ำรศึกษำประถมศึกษำตรงั เขต 1 20
ยชอื่ องค์คณะบุคคลสว่ นที่ 2ส-ว่ รทนำศิ ทยทชี่ ำ2่ืองอกทงำคศิร์คพทณฒัำงะนกบำุคกรคำพรลัฒศนึกำษกำำขร้ันศพึกน้ื ษฐำำขนนั้ พ้นื ฐำน 20 20
202 22
20

ทำงกำรพัฒนำกำรสศ่วกึ นษทำี่ ข2นั้ -พทนนื้ โศิ ยฐทบำำนำง-ยกนรำัฐโรยบพบำัฒลำนยรำัฐกบำรำศลึกษำขน้ั พ้นื ฐำน 22 232 22

ยบำยรัฐบำล - นโยบำ-ยนรขัฐอโยบงบนำลำยขกอรฐังนมำนยตกรรี (ัฐพมลนเตอรกี (ปพรละเยอทุกธป์ จรันะยทุทรโ์ธอ์ จชนัำ)ทรโ์ อช2ำ2) 232 22

ยบำยของนำยกรัฐมนตรี (พ-ลนยเอทุโกยธบศปำ-รยสะยขตยุทอรทุ งธป์ ธนศฏ์ ำจริ ยสันูปกตทกรำรฐั์ปร์โมฏอศนชริกึ ตูปำษร)กำี ำข(พร้นั ศลพึกเอืน้ ษกฐำำขปน้ันรพ(ะพย้นื .ทุศฐำธ.2น์ 5จ5ัน(พ8ท.-ศร2์โ.52อ65ช35ำ)8) -256232) 2325 25
ธศำสตรป์ ฏริ ปู กำรศึกษำข้นั -พยแ้นื ทุนฐวธำคศนดิำ-สใ(แนพตนกร.ศว์ปำ.คร2ฏทิด5ริ ำใ5ูปนง8กำก-ำน2ำรข5รศท6อึก3ำงษสง)ำ่วนข้ันขรอำพชงื้นสกฐว่ำำนรนรำ(พช.กศำ.ร2558-2563) 25 23652 32
วคิดในกำรทำงำนของสว่ นร-ำแนชนโกยวำบครำดิ -ยในกรโกยะำบทรำทรยวำกงศำรนะกึ ทษขอรำวธงงสิกศว่ำึกนรษรำชธิกำร 23726 26
32

ยบำยกระทรวงศกึ ษำธิกำร - นโยบำ-ยนกสำรโยนะบทกั ำรงยำวนสงศำคนึกณษกั ะงำกำธรนิกรคำมรณกะำกรกรรำรมศกกึำษรกำำขร้ันศพกึ ้นื ษฐำำขน้ันพน้ื ฐำน 26 2876 27
ยบำยสำนกั งำนคณะกรรมก-ำทนรกโิศยำทบรำศำง-ยึกทสษำำิศรนจขทดัก้นำกงพำกืน้ รำฐศครำจกึณนดัษะกำกำรสรรศำมนกึ กักษำงำรำกนสำำเรขนศตกั ึกพงษำน้ื นำทขเี่กข้นั ำตพรพ้นืศน้ื ึกฐทำษนี่กำำปรรศะึกถษมำศปกึ 2รษ7ะำถตมรศังึกเษขตำต1รงั เขต 1 32217 31
ทำงกำรจดั กำรศึกษำ สำนัก-งวทำสิศนัยทเขทำตศัง-กพนวำ้ืน์ สิพรทัยจันี่กทดั ธำกศักรำนจิศร์ ึกศพเปษกึันำ้ษธปกำริจะสสำถเปนงมค้ำักศป์งกึ ำรษลนะำยสเตขุทงรตคธังพ์ กเนื้ ขลทตย่ีกทุ 1ำธร์ ศึกษำประถมศกึ 3ษ1ำตรงั เขต 1 321 31
ยทศั น์ พนั ธกจิ เปำ้ ประสงค-์ กควสิลำ่ นยั ทยิุ มศัธ-์อนคง์ ำ่พคน์กนั ยิรธมกอจิ งคเป์กำ้ รประสงค์ กลยทุ ธ์ 3321 32
31

นิยมองค์กร สว่ นท่ี 3ส-ว่ รคนำ่ ยทนล่ียิ 3ะมเอรงยี ำคดยก์ แลรผะนเองียำดนแ/โผคนรงงำกนำ/รโครงกำร 32 3762 36

ยละเอยี ดแผนงำน/สโว่คนรงทก่ี ำ3ร- กรำรยอลบะว-เงอกเยีงรนิดองแบบผวปนงรเงงะำนิ มนงำ/บโณคปรรปงะกรมำะำรจณำปปงี บระปจรำะปมีงำบณปรพะ.ศม.ำ2ณ56พ0.ศ.256306 3876 37
อบวงเงินงบประมำณ ประ-จำกปรงีอบบปว-รงกเะงรมินอำงบณบวปงพรเ.งะศินม.2งำบ5ณ6ป0รปะรมะำจณำปปงี บระปจรำะปมีงำบณปรพะ.ศม.ำ2ณ56พ0.ศ.(2ค5ร6ัง้30ท7ี่ 1()ครง้ั ท่ี 1) 3987 38
อบวงเงินงบประมำณ ประ-จำกปรีงอบบปว-รงกเะงรมินอำงบณบวปงพรเ.งะศนิ ม.2งำบ5ณ6ป0รปะรม(ะำคจณรำงั้ ปทปงี ี่ บร1ะป) จรำะปมงีำบณปรพะ.ศม.ำ2ณ56พ0.ศ.(2ค5ร6้งั30ท8่ี 21()คร้ังท่ี 2) 43098 39
อบวงเงินงบประมำณ ประ-จำกปรีงอบบปว-รงกเะงรมนิ อำงบณบวปงพรเ.งะศินม.2งำบ5ณ6ป0รปะรม(ะำคจณรำง้ั ปทปงี ี่ บร2ะป) จรำะปมีงำบณปรพะ.ศม.ำ2ณ56พ0.ศ.(2ค5ร6งั้30ท9่ี 32()ครงั้ ที่ 3) 43109 40
อบวงเงินงบประมำณ ประ-จำสกปรีงุปอบบโคปว-รงงสเะงกรมนิ ำุปำงรณโบ/คกปรพจิ รงก.ะศรำม.ร2ำม/5ณก6งิจ0ำปกนรปร(ะครมจะรำั้งจปทำงีนี่ บ(3ปตป)รำระมะจภมำำำร(ณตะำงพำมน.ภศ)ำ.2ร5ะง6ำ0น) (ครั้ง4ท0ี่ 3) 4210 41
ปโครงกำร/กจิ กรรโมครงงำกนำปรโร-คะงสรจำรงำนุปกป(โำตครำะรมงจภำกำนำ(ตรป/ะำรกงมะำจิ ภจนกำ)ร(รรตะมำงมำงนภำน)ำประรงะำจนำ)(ตำมภำระงำน)
41 41

นประจำ(ตำมภำระโคงำรนงก)ำร- งโำคนรงปกรำ-ะรจโปคำร(ะตงชกำมุำรสภปมั ำรมระะนชงำุมำพสนัฒัม)นมนำรำปพรัฒะนสิทำรธปภิ รำะพสกิทำธริภดำพเนกนิ ำงรำดนำตเนำินมงนำโนยตบำมยนโยบำย
รงกำรประชมุ สัมมนำพัฒนำ-รขโปคอรรงะงกสกริทำะรธทขปภิ อรรำวงะพกงชศกรุมำึกะสรทษดัมรำำมวธเงนิกศำนิ ึกรพงษัฒำำนนธตำิกำรำมปรนรโะยสบิทำธยิภำพกำรดำเนินงำนตำมนโยบำย 423 42
งกระทรวงศึกษำธิกำร - โขคอรงงกกรำ-ะรทโกครำรวรงงพกศฒัำึกรนษกำำรธระิกพบำัฒรบนบำรรหิ ะำบรบจบัดรกิหำรำขรจ้อดัมกลู ำสรำขร้อสมนลูเทสศำรทสำนงกเทำ4รศ2ศทกึ ำษงกำำรศึกษำ 45209 49
รงกำรกำรพัฒนำระบบบริห-ำรโคจรัดงกกำำ-รรขโปกค้อำรมระงลูพชกสัฒุมำำรกนรปำสำรรนะจะเชดั ทบมุทศบกำทบแำำรผงหิจนกดัำปำรทรฏจำศบิดัแกึ กัตผษำิกนำรำปขรฏ้อปบิมรตัลู ะกิสจำำรปสปงี นบรเะปทจรศำะทปมำีงำงบณกปำร4พะศ9.ศมึก.ำษ2ณ5ำ6พ0.ศ.2560 54329 52
รงกำรประชุมกำรจัดทำแผน-ปโคฏรบิ งตั กกิ ำ-ำรโรพปครัฒปะงรนชกะำมุำจรรกำะพปำบฒัรงี บจบนงัดปำบทรปำะรแมบะผำบมนณงำปบณพฏปแ.ิบรศละตั.ะ2มกิ ท5ำ6รณรัพ0แปยลรำะกทจรำรเพปั ื่องียบกำปำกรศเะพกึม่ือษำกณำำร5พศ2.กึศษ.2ำ560 5872 57
รงกำรพฒั นำระบบงบประม-ำโณคแรลงกะำท-รรโสพคัพง่ฒัรยเงสำนกรกำมิ รรโเะสพรบ่ง่ือเบสรกงยีรำบิมนรปศโตรึกน้ งะษแเมรำบำยี บณนนตแกัน้ลเแะรทบียรนบัพไนทยักยำเรกสียรุขนเภพไำ่ืทอพกยดำสีรุขมศภีคกึ ำุณษพธำดรีร5มม7ีคณุ ธรรม 65327 62
รงกำรสง่ เสริมโรงเรยี นต้นแบ- บโคนรกั งเกรำ-ียรนโยสคไกง่ รทเยงสยกอ่ รสำงมิ ุขเรโชภยรดิ ำกงชพเยรูเ่อดยีกงีนยมเรชตีคติด้นุณิชแธเูบลกรบะรยี คมนรัดตกเิ ลรแียือลนกะนคไทัดกยเลรสยีือขุ นกภนำสพักถเดำรีนยมนศีคึกณุสษถธำำรนเร6พมศ2ื่อึกรษับำรำเพงวอ่ื ลั รพับระำรงวำชลั พทำรนะรำชทำ6น2
รงกำรยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ แ-ลปโะคครระดั งจเกลำำอืปรปกียนรำกะรักยศจเ่อรำึกงยีปษเนชีกำดิำสรช2ถศูเ5ำกึก6นยี ษ0ศรำตึกิษ2แำ5ล6ะเพ0คือ่ดั รเลบั ือรกำงนวกั ัลเพรียรนะรสำถชำทนำศนึกษำ เพอื่ รบั รำงวัลพระรำชทำน 665 65
ะจำปกี ำรศึกษำ 2560 ประจำปกี ำรศึกษำ 2560 65 65

126 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

หน้ำ

- โครงกำรส่งเสรมิ กำรพฒั นำกจิ กรรมสภำนักเรียนในสถำนศึกษำ 7609

- โครงกำรประชมุ สัมมนำผู้บริหำร สพป.ตรงั เขต 1 และ ผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ 7732

- โครงกำรประชมุ ผบู้ รหิ ำร รอง ผอ.สพป./ ผอ.กล่มุ สพป.ตรัง เขต 1 7776

- โครงกำรประชำสัมพันธ์ 8709

- โครงกำรเสริมสรำ้ งศกั ยภำพกำรบริหำรกำรเงินและพสั ดุ 8843

- พัฒนำประสทิ ธภิ ำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำด้วยกำรตรวจสอบภำยใน 8898

- โครงกำรประชมุ สัมมนำผู้บริหำรโรงเรียนเอกชนสัญจร 9932

- โครงกำรพฒั นำระบบกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศกำรศึกษำ (ก.ต.ป.น.) 9965

- โครงกำรแข่งขันทกั ษะงำนศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดบั ภำคใต้ ครงั้ ที่ 66 ปกี ำรศึกษำ 2559 19090

- โครงกำรจดั งำนวันครปู ระจำปี พ.ศ.2560 110043

ส่วนที่ 4 กำรบริหำรแผนสูก่ ำรปฏิบัติ 11019

ภำคผนวก

- คำสงั่

- คณะทำงำน

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 1
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 1

ส่วนท่ี 1
สภาพท่ัวไปและสภาพการจัดการศึกษา

1. สภาพทั่วไป

สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ตั้งอยู่เลขท่ี 193 หมู่ท่ี 12 ถนนตรัง-ปะเหลยี น
ตาบลโคกหล่อ อาเภอเมอื งตรัง จังหวัดตรัง โทรศัพท์ 075- 572030 โทรสาร 075- 224947
Website : http://www.trang1.go.th / E-mail : [email protected]

2. พืน้ ที่บริการ
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ตัง้ อยูภ่ าคใต้ของประเทศไทย อยู่หา่ งจาก

กรุงเทพมหานคร 828 กิโลเมตร พ้ืนท่คี วามรับผิดชอบ 5 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมืองตรงั อาเภอปะเหลียน
อาเภอย่านตาขาว อาเภอนาโยง อาเภอหาดสาราญ
3. อาณาเขตตดิ ต่อ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีอาณาเขตตดิ ต่อ ดงั นี้

ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับอาเภอห้วยยอด จงั หวัดตรงั
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอทุ่งหว้า จงั หวดั สตลู
ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั อาเภอศรีนครนิ ทร์ จังหวัดพทั ลุง
ทิศตะวันตก ติดตอ่ กับอาเภอกนั ตัง จงั หวดั ตรัง

แผนทีแ่ สดงเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

2 แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 2

4. สภาพการจดั การศึกษาสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

4.1 ด้านปรมิ าณ

ตารางที่ 1 จานวนโรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

จาแนกตามประเภท และขนาดทีเ่ ปิดสอน ปกี ารศึกษา 2560

ประเภท จานวนโรงเรยี น ร้อยละ

จานวนโรงเรียนทง้ั สิ้น 136 100.00

จาแนกตามประเภทที่เปิดสอน

ประถมศึกษา 117 85.40

ขยายโอกาส 19 13.87

จาแนกตามขนาดจานวนนักเรียน

ขนาดที่ 1 (นร. 1-120 คน) 68 49.64

ขนาดท่ี 2 (นร. 121-200 คน) 42 30.66

ขนาดท่ี 3 (นร. 201-300 คน) 13 9.49

ขนาดท่ี 4 (นร. 301-499 คน) 10 7.30

ขนาดท่ี 5 (นร. 500-1499คน) 1 0.73

ขนาดที่ 6 (นร. 1500-2499 คน) 2 1.46

ขนาดท่ี 7 (นร.2500 คน)ขึ้นไป 0 0.00

ทมี่ าของข้อมลู : DMC 10 มิถุนายน 2560

จากตารางท่ี 1 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
มีจานวนทั้งส้ิน 136 โรง เป็นโรงเรียนที่เปิดสอนระดับประถมศึกษา 117 โรง คิดเป็นร้อยละ 86.02
และโรงเรียนขยายโอกาส 19 โรง คดิ เป็นร้อยละ 13.97 เมือ่ จาแนกตามขนาดจานวนนกั เรยี น พบว่า โรงเรียน
ขนาดที่ 1 (นร. 1-120 คน) มีจานวนโรงเรียนมากท่ีสุด จานวน 68 โรง คิดเป็นร้อยละ 50 และโรงเรียน
ขนาดท่ี 5 (นร. 500-1,499 คน) มีจานวนโรงเรยี นนอ้ ยท่ีสดุ จานวน 1 โรง คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.73

แผนภมู ิที่ 1 แสดงจานวนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
จาแนกตามขนาดท่ีเปิดสอน ปีการศึกษา 2560

0 ขนาดที่ 7 (นร.2500 คน)ขน้ึ ไป
ขนาดท่ี 5 (นร. 500-1499คน)
2 ขนาดท่ี 3 (นร. 201-300 คน)
1 ขนาดที่ 1 (นร. 1-120 คน)

10
13

42
68

แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 3
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 3

ตารางที่ 2 จานวนโรงเรียน นกั เรยี น ห้องเรยี น โรงเรยี นขนาดเลก็ สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 จาแนกตามขนาด รายอาเภอ ปีการศึกษา 2560

ท่ี อาเภอ โรงเรยี น นักเรียน ห้องเรยี น 0-20 ขนาดสถานศึกษา (มีจานวนนกั เรียน) 101-120
21-40 41-60 61-80 81-100 15
รวม 68 4,985 725 4
5 13 18 17 5
1 เมอื ง 18 1,254 209 2 4
2 3 53 3
2 ย่านตาขาว 23 1,659 254 1 2 5 66 0
1 5 64 3
3 ปะเหลียน 19 1,317 178 1 0 0 12
0 0 02
4 นาโยง 3 243 28 0

5 หาดสาราญ 5 512 56 0

ท่มี าของข้อมูล : DMC 10 มถิ ุนายน 2560

จากตารางที่ 2 โรงเรียนขนาดเลก็ ในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
จานวน 68 โรง เมื่อจาแนกตามอาเภอท่ีต้ัง พบว่าตั้งอยู่ในเขตอาเภอย่านตาขาว มากท่ีสุด จานวน 23 โรง
รองลงมาเป็นอาเภอปะเหลียน จานวน 19 โรง อาเภอเมือง จานวน 18 โรง อาเภอหาดสาราญ 5 โรง และ
อาเภอนาโยง น้อยทีส่ ุด 3 โรง เมื่อจาแนกตามขนาดพบว่า มีโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีนักเรียน61-80 คนมากท่ีสุด
จานวน 18 โรง รองลงมาเปน็ โรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมีนักเรียน 81-100 คน จานวน 17 โรง และมีโรงเรียนขนาด
เล็กท่มี ีนกั เรยี น 0-20 คน น้อยทสี่ ุด จานวน 4 โรง

แผนภมู ทิ ่ี 2 แสดงจานวนโรงเรียนโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
ตรัง เขต 1 จาแนกตามขนาดจานวนนักเรียน

18 21-40 41-60 61-80 81-100 101-120
16
14
12
10

8
6
4
2
0

0-20

4 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 4

ตารางที่ 3 จานวนโรงเรียน หอ้ งเรียน นกั เรียน โรงเรยี นขยายโอกาส สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 จาแนกรายอาเภอ ปกี ารศึกษา 2560

ท่ี อาเภอ โรงเรียน ห้องเรยี น รวม จานวนนกั เรียน
กอ่ นประถม ประถม มธั ยมตน้

รวม 19 326 4,382 826 2,575 981

1 เมอื ง 6 95 1,477 280 791 406

2 ปะเหลียน 5 88 1,067 191 731 145

3 ยา่ นตาขาว 3 50 333 88 166 79

4 นาโยง 4 79 1,159 206 675 278

5 หาดสาราญ 1 14 346 61 212 73

ทีม่ าของข้อมูล : DMC 10 มิถุนายน 2560

จากตารางท่ี 3 โรงเรียนในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จานวน
136 โรง เปน็ โรงเรยี นขยายโอกาส จานวน 19 โรง ต้ังอยู่ในเขตอาเภอเมืองมากท่ีสุด จานวน 6 โรง รองลงมา
ต้ังอยู่ในเขตอาเภอปะเหลียน จานวน 5 โรง อาเภอนาโยง จานวน 4 โรง อาเภอย่านตาขาว จานวน 3 โรง
และตัง้ อยใู่ นเขตอาเภอหาดสาราญ นอ้ ยทีส่ ดุ จานวน 1 โรง

แผนภมู ิท่ี 3 จานวนโรงเรียนโรงเรยี นขยายโอกาส สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั
เขต 1 รายอาเภอ ปีการศึกษา 2560

1 6 เมอื ง
4 ปะเหลียน
ยา่ นตาขาว
3 นาโยง
5 หาดสาราญ

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 5
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 5

ตารางท่ี 4 จานวนนกั เรียนสงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

จาแนกตามเพศ ระดับชั้น ปกี ารศึกษา 2560

ระดบั ชน้ั เรียน นักเรียน รวม ร้อยละ ห้องเรียน ห้อง :
ชาย หญงิ นกั เรียน

ร้อยละ 53.52 48.14 100.00 1 : 17
1 : 15
รวมทั้งส้ิน 11795 10610 22405 100.00 1328 1:9
1 : 17
รวมก่อนประถมศกึ ษา 2710 2548 5258 23.47 357 1 : 16
1 : 18
อนบุ าล 1 327 282 609 2.72 71 1 : 17
1 : 17
อนบุ าล 2 1205 1107 2312 10.32 138 1 : 17
1 : 18
อนบุ าล 3 1178 1159 2337 10.43 148 1 : 18
1 : 18
รวมประถมศกึ ษา 8494 7630 16124 71.97 914 1 : 18
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 1413 1256 2669 11.91 155 1 : 22
1 : 17
ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 1413 1202 2615 11.67 154 1 : 15

ประถมศึกษาปที ่ี 3 1375 1198 2573 11.48 152
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 1403 1345 2748 12.27 150
ประถมศกึ ษาปีที่ 5 1473 1324 2797 12.48 152
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1417 1305 2722 12.15 151

รวมมธั ยมศึกษาตอนต้น 591 432 1023 4.57 57
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 247 165 412 1.84 19

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 184 142 326 1.46 19

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 160 125 285 1.27 19

ทมี่ าของข้อมูล : DMC 10 มถิ ุนายน 2560

จากตารางท่ี 4 จานวนนักเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
จานวน 22,405 คน เป็นนักเรียนชาย จานวน 11,795 คน คิดเป็นร้อยละ 52.64 นักเรียนหญิง จานวน
10,610 คน คิดเป็นร้อยละ 47.35 เมื่อจาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า เป็นนักเรียนระดับประถมศึกษา
มากท่ีสุด จานวน 8,494 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 37.91 รองลงมาเป็นระดับก่อนประถมศึกษา จานวน 2,710 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 12.09 และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น จานวน 591 คน คิดเป็นร้อยละ 2.63

6 แผนปฏิบตั ิการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 6

ตารางท่ี 5 จานวนโรงเรียน นกั เรยี น ครู หอ้ งเรียน ครูต่อนักเรียน และหอ้ งเรยี นต่อนักเรยี น สังกดั

สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จาแนกตามขนาดโรงเรยี น

ปีการศกึ ษา 2560

ขนาด จานวนนักเรียน โรงเรยี น นกั เรยี น ห้องเรียน ครู ครู : นร. หอ้ ง : น.ร.
โรงเรยี น
รวมทั้งสิ้น 136 22405 1866 1329 1 : 17 1 : 12
1 (1-120 คน) 68 4985 725 370 1 : 13 1: 7

นักเรยี น 1-20 คน 4 19 9 11 1 : 2 1 : 2

นกั เรียน 21-40 คน 6 196 48 26 1 : 8 1 : 4

นักเรียน 41-60 คน 8 430 90 43 1 : 10 1 : 5

นักเรียน 61-80 คน 18 1173 192 82 1 : 14 1 : 6

นกั เรียน 81-100 คน 18 1623 190 109 1 : 15 1 : 9

นกั เรียน101-120คน 14 1544 196 99 1 : 16 1 : 8

2 (121-200 คน) 42 6093 591 404 1 : 15 1 : 10

3 (201-300 คน) 13 3047 208 171 1 : 18 1 : 15
4 (301-499 คน) 10 3529 216 185 1 : 19 1 : 16

5 (500-1,499 คน) 1 948 28 41 1 : 23 1 : 34
6 (1,500-2,499 คน) 2 3803 98 158 1 : 24 1 : 39
7 (2,500 ขนึ้ ไป) 0 0 0 0 0: 0 0: 0

ท่ีมาของข้อมูล : DMC 10 มิถุนายน 2560

จากตารางท่ี 5 เมื่อพิจารณาข้อมูลโรงเรียน จาแนกตามขนาดโรงเรียน 7 ขนาด พบว่า
จานวนโรงเรียนขนาดท่ี 1 (นักเรียน 1 -120 คน) มีจานวนมากที่สุด จานวน 68 โรง รองลงมาเป็นขนาด 2
(นักเรยี น 121-200 คน ) จานวน 42 โรง ขนาด 3 (นกั เรียน 201-300คน) จานวน 13 โรง ขนาด 4 (นักเรียน
301-499 คน) จานวน 10 โรง ขนาด 6 (นักเรียน 1,500-2,499 คน) จานวน 2 โรง และขนาด 5 (นักเรียน
500 - 1,499 คน) นอ้ ยที่สุด จานวน 1 โรง

เม่ือพิจารณาข้อมูลนักเรียน พบว่า โรงเรียนขนาดท่ี 1 (นักเรียน 1 -120 คน ) มีนักเรียน
มากท่ีสุด จานวน 4,985 คน รองลงมาเป็นโรงเรียนขนาด 2 (นักเรียน 121-200 คน) มีนักเรียน 6,093 คน
โรงเรยี นขนาด 6 (นักเรียน 1,500-2,499) จานวน 3,803 คน ขนาด 3 (นกั เรยี น 201-300 คน) จานวน 3,047
คน ขนาด 4 (นักเรียน 301-499 คน) จานวน 3,529 คน และโรงเรียนขนาด 5 (นักเรียน 500-1,499 คน) มี
จานวนนกั เรียนนอ้ ยทส่ี ดุ จานวน 948 คน

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 7
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 7

ตารางที่ 6 จานวนโรงเรยี น ห้องเรยี น นกั เรียน สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ปีการศึกษา 2560 จาแนกรายอาเภอ

ท่ี อาเภอ โรงเรียน ห้องเรียน รวม จานวนนักเรียน
ก่อนประถม ประถม มธั ยมต้น

รวม 136 1,866 22,405 5,258 16,124 1,023

1 เมือง 38 604 8,617 2,065 6,146 406

2 ปะเหลียน 37 454 4,417 1089 3,249 79

3 ย่านตาขาว 34 430 4,565 936 3,442 187

4 นาโยง 17 261 3,309 768 2,263 278

5 หาดสาราญ 10 117 1,497 400 1,024 73

ท่ีมาของข้อมูล : DMC 10 มิถุนายน 2560

จากตารางที่ 6 จานวนนักเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
เม่ือจาแนกรายอาเภอ พบว่า มีนักเรียนในเขตอาเภอเมืองมากท่ีสุด จานวน 8,617 คน รองลงมาเป็นอาเภอ
ปะเหลียน จานวน 4,417 คน และอาเภอหาดสาราญนอ้ ยท่สี ดุ จานวน 1,497 คน

แผนภูมทิ ี่ 6 แสดงจานวนนักเรียนสงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา
2560 จาแนกตามอาเภอ

นกั เรียน ห้องเรียน โรงเรียน

1497 3309 หาดสาราญ
117 4565 นาโยง
10 ยา่ นตาขาว
261 4417 ปะเหลยี น
17 เมือง
430 8617
34
43574

36804

8 แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 8

ตารางที่ 7 จานวนขา้ ราชการครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 จาแนกรายอาเภอ ปกี ารศึกษา 2560

ท่ี อาเภอ ครตู าม จ.18 ครตู าม ก.ค.ศ.

ผบู้ รหิ าร ครู รวม ผูบ้ รหิ าร ครู รวม

รวม 150 1138 1288 145 1205 1350

1 เมอื ง 48 409 457 45 434 479

2 ปะเหลยี น 34 207 241 32 219 251

3 ยา่ นตาขาว 38 269 307 39 283 322

4 นาโยง 19 178 197 19 187 206

5 หาดสาราญ 11 75 86 10 82 92

ที่มาของข้อมูล : DMC 10 มิถนุ ายน 2560

จากตารางที่ 7 จานวนขา้ ราชการครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที

การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2560 เม่ือจาแนกตาม จ.18 พบว่า เป็นตาแหน่งผู้บริหาร

จานวน 150 คน เป็นครูสอนจานวน 1,138 คน จาแนกตามเกณฑ์ ก.ค.ศ. พบว่าเป็นตาแหน่งผู้บริหาร

จานวน 145 คน ตาแหน่งครผู ู้สอน จานวน 1,205 คน เมอ่ื จาแนกตามอาเภอ พบวา่ มีอตั รากาลงั ครูตาม จ.18

ในอาเภอเมืองตรัง มากท่ีสุด จานวน 409 คน รองลงมาเป็นอาเภอย่านตาขาว จานวน 269 คน อาเภอ

ปะเหลียน จานวน 207 คน อาเภอนาโยง จานวน 178 คน มีอัตรากาลังในอาเภอหาดสาราญน้อยท่ีสุด

จานวน 75 คน

แผนภูมทิ ่ี 7 แสดงจานวนข้าราชการครูและบุคลากรในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 จาแนกรายอาเภอ ปีการศึกษา 2560

หาดสาราญ 86

นาโยง 197

ยา่ นตาขาว 307
241
ปะเหลียน
457
เมอื ง

แผนปฏิบัตกิ าร ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 9
แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 9

ตารางท่ี 8 จานวนขา้ ราชการ ในสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 จานวน(คน)
ท่ี กลมุ่ /หน่วย/ศนู ย์ 7
1 อานวยการ 9
2 บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรัพย์ 10
3 บริหารงานบุคคล 8
4 นโยบายและแผน 11
5 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษา 5
6 ส่งเสรมิ สถานศึกษาเอกชน 15
7 นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผล 2
8 ตรวจสอบภายใน 67
รวม

ท่ีมาของข้อมลู : ณ วนั ท่ี 10 มถิ นุ ายน 2560
จากตารางที่ 8 จานวนข้าราชการ ในสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถม ศกึ ษาตรงั เขต 1

จานวน 67 คน กลมุ่ นเิ ทศติดตามและประเมินผล มากทีส่ ดุ จานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 22.38 รองลงมา
กลมุ่ ส่งเสริมการจัดการศึกษา จานวน 11 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16.41 หน่วยตรวจสอบภายใน นอ้ ยที่สุด 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 2.98

แผนภูมทิ ่ี 8 แสดงจานวนข้าราชการ ในสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

15 27 9 อานวยการ
5 8 10 บริหารงานการเงินและสินทรัพย์
บริหารงานบคุ คล
11 นโยบายและแผน
สง่ เสริมการจดั การศกึ ษา
สง่ เสริมสถานศึกษาเอกชน
นิเทศ ติดตามและประเมินผล
ตรวจสอบภายใน

10 แผนปฏิบตั กิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 10

ตารางที่ 9 จานวนบคุ ลากรในสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ที่ กล่มุ /หน่วย/ศนู ย์ จานวน(คน)
1 ผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา -
2 รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา 5
3 ศกึ ษานิเทศก์ 14
4 บคุ ลากรทางการศึกษา 53
5 ลูกจา้ งประจา/ชว่ั คราว 11
83
รวม

ทม่ี าของข้อมลู : ณ วันที่ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2560
จากตารางท่ี 9 จานวนบุคลากร ในสานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

จานวน 83 คน ตาแหน่งบคุ ลากรทางการศกึ ษา มากทีส่ ุด จานวน 53 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 63.85 รองลงมา
ตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ จานวน 14 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.86

แผนภูมิท่ี 9 แสดงจานวนบุคลากรในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

13.25 % 6.02 % รองผ้อู านวยการสานกั งานเขต
พนื้ ท่กี ารศกึ ษา
16.86 % ศกึ ษานิเทศก์

บุคลากรทางการศึกษา

ลกู จ้างประจา/ชว่ั คราว

63.85 %

แผนปฏบิ ัติการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 11
แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 11

ด้านคุณภาพ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน(O-NET)ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา
2559 สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
ตารางที่ 10 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6

ปีการศึกษา 2559 ของโรงเรียนสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนเฉล่ยี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน

ภาษาไทย 56.73 13.50

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 49.48 12.09

ภาษาอังกฤษ 32.29 13.09

คณิตศาสตร์ 43.96 18.48

วทิ ยาศาสตร์ 43.50 11.89

จากตารางที่ 10 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2559 ของโรงเรียนสงั กดั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 พบว่า ผล
การทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรูม้ ีคะแนนเฉลีย่ อยูร่ ะหวา่ ง 32.29 – 56.73 โดยกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท่ีมี
คะแนนเฉลย่ี สงู กวา่ ร้อยละ 50 คอื ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย 56.73 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่ ๆ มีคะแนน
เฉลย่ี ต่ากวา่ รอ้ ยละ 50
แผนภมู ิที่ 10 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6

ปีการศึกษา 2559 ของโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ภาษาไทย 56.73
สงั คมศึกษา 49.48
ภาษาอังกฤษ 32.29
คณิตศาสตร์ 43.96
วิทยาศาสตร์ 43.50

0 20 40 60

12 แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 12

ตารางที่ 11 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษา

ปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2559 ของโรงเรียนสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา ระดบั สพฐ. และ ระดบั ประเทศ

คะแนนเฉล่ยี

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เขตพื้นที่ สพฐ. การพัฒนา ประเทศ การพฒั นา
การศกึ ษา

ภาษาไทย 56.73 51.88 +4.85 52.98 +3.75

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 49.48 45.08 +4.40 46.68 +2.80

ภาษาองั กฤษ 32.29 31.11 +1.18 34.59 -2.30

คณิตศาสตร์ 43.96 38.76 +5.20 40.47 +3.49

วิทยาศาสตร์ 43.50 40.27 +3.23 41.22 +2.28

รวมเฉลย่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 45.19 41.42 +3.77 43.19 +2.00

จากตารางท่ี 11 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต
1 ระดบั เขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ พบว่า เมือ่ เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย ระดับเขตพื้นที่
การศึกษากับระดับ สพฐ. พบว่า ผลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับ สพฐ.
รอ้ ยละ 3.77 โดยมคี ะแนนเฉล่ียสูงกวา่ ทงั้ 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษากับระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศ
ร้อยละ 2.00 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทมี่ คี ะแนนเฉล่ยี สงู กวา่ ระดบั ประเทศ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ตามลาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับประเทศ
คือ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประทศ (ภาษาองั กฤษ)

แผนภูมทิ ่ี 11 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET)
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ

60

40 เขตพื้นท่กี ารศึกษา
20 สพฐ.
0 ประเทศ

แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 13
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 13

ตารางท่ี 12 การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6

ระหว่างปีการศึกษา 2557-2559 ของโรงเรยี นสังกดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

คะแนนเฉลย่ี

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา การพฒั นา ปีการศึกษา การพัฒนา

2557 2558 (ปี 2557-2558) 2559 (ปี 2558-2559)

ภาษาไทย 46.23 52.93 +6.70 56.73 +3.80

สงั คมศึกษา ศาสนา และ 51.80 52.50 +0.70 49.48 -3.02

วัฒนธรรม

ภาษาองั กฤษ 33.79 38.72 +4.93 32.29 -6.43

คณติ ศาสตร์ 40.26 46.96 +6.70 43.96 -3.00

วทิ ยาศาสตร์ 43.20 44.50 +1.30 43.50 -1.00

รวมเฉลย่ี 5 กลมุ่ สาระการ

เรียนรู้ 43.06 47.12 +4.06 45.19 -1.93

จากตารางท่ี 12 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)

ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2557 - 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศึกษาตรัง เขต 1 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีแนวโน้มลดลง

เมื่อเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลีย่ ระหวา่ งปีการศึกษา 2557–2558 พบว่า คะแนนเฉล่ียปีการศึกษา 2558 สูงกว่า

ปีการศึกษา 2557 (เพ่ิมข้ึนร้อยละ 4.06) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเพ่ิมขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อย

ละ 3 ไดแ้ ก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ตามลาดับ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเพิ่มขึ้น

แต่น้อยกว่าร้อยละ 3 ได้แก่ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ และเม่ือเปรียบเทียบ

คะแนนเฉลย่ี ระหวา่ งปีการศึกษา 2558 – 2559 พบว่า ปีการศึกษา 2559 มีคะแนนเฉล่ียต่ากว่า ปีการศึกษา

2558 (ลดลงร้อยละ 1.93) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเพ่ิมขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 3 คือ

ภาษาไทย ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยลดลง ได้แก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา

ศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาอังกฤษ ตามลาดับ

แผนภมู ทิ ่ี 12 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ระหว่างปกี ารศึกษา 2557- 2559 ของโรงเรียนสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ี

การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

100
50
0 ปีการศกึ ษา…

14 แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 14

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา

2559 สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ตารางที่ 13 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา

2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ภาษาไทย 43.47 11.72

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 46.60 12.34

ภาษาอังกฤษ 26.62 6.72

คณิตศาสตร์ 24.68 11.33

วิทยาศาสตร์ 33.66 8.18

จากตารางท่ี 13 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปกี ารศกึ ษา 2559 ของโรงเรยี นสงั กัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 พบว่า ผลการทดสอบ
ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลยี่ อยู่ระหว่าง 24.68 – 46.60 ซงึ่ มคี ะแนนเฉล่ียตา่ กว่าร้อยละ 50

แผนภูมทิ ่ี 13 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปกี ารศกึ ษา 2559 ของโรงเรยี นสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ภาษาไทย 43.47
สังคมศกึ ษา 46.60
ภาษาองั กฤษ
คณติ ศาสตร์ 26.62
วทิ ยาศาสตร์ 24.68

33.66

0 10 20 30 40 50

แผนปฏิบัติการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 15
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 15

ตารางที่ 14 การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

ปกี ารศึกษา 2559 ของโรงเรยี นสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ระดับ

เขตพน้ื ที่การศึกษา ระดับ สพฐ. และระดบั ประเทศ

คะแนนเฉลีย่

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เขตพนื้ ท่ี สพฐ. การพัฒนา ประเทศ การพัฒนา
การศึกษา

ภาษาไทย 43.47 46.81 -3.34 46.36 -2.89

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 46.60 49.34 -2.74 49.00 -2.40

ภาษาอังกฤษ 26.62 31.39 -4.77 31.80 -5.18

คณติ ศาสตร์ 24.68 29.53 -4.85 29.31 -4.63

วทิ ยาศาสตร์ 33.66 35.12 -1.46 34.99 -1.33

รวมเฉล่ีย 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 35.01 38.44 -3.43 38.29 -3.29

จากตารางที่ 14 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ระดับ สพฐ. และระดับประเทศ พบวา่ เม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ระดับเขตพ้ืนที่
การศึกษากับระดับ สพฐ. พบว่า ผลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่าระดับ สพฐ.
ร้อยละ 3.43 โดยมีคะแนนเฉลย่ี ต่ากวา่ ทงั้ 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ และเม่ือเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ีย ระดับเขต
พ้ืนท่ีการศึกษากับระดับประเทศ พบว่า ผลการทดสอบใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยต่ากว่า
ระดับประเทศ ร้อยละ 3.29 โดยมีคะแนนเฉลีย่ ต่ากวา่ ท้งั 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

แผนภูมทิ ่ี 14 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2559 ของโรงเรยี นสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา

50

40

30 เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
20
10 สพฐ.

0 ประเทศ

16 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 16

ตารางที่ 15 การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2557-2559 ของโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง

เขต 1

คะแนนเฉล่ีย

กลุม่ สาระการเรียนรู้ ปกี ารศึกษา ปีการศึกษา การพฒั นา ปกี ารศึกษา การพัฒนา
2557 2558 (ปี 2557- 2559 (ปี 2558-

2558) 2559)

ภาษาไทย 36.16 42.85 +6.69 43.47 +0.62

สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 46.09 44.74 -1.35 46.60 +1.86

ภาษาองั กฤษ 25.91 27.01 +1.10 26.62 -0.39

คณติ ศาสตร์ 28.27 29.81 +1.54 24.68 -5.13

วิทยาศาสตร์ 38.66 36.30 -2.36 33.66 -2.64

รวมเฉลีย่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 35.02 36.14 +1.12 35.01 -1.13

จากตารางที่ 15 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้น

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปีการศกึ ษา 2557 - 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา

ตรัง เขต 1 พบว่า คะแนนเฉล่ียของผลการทดสอบใน 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนในบางกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย และสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส่วนกลุ่มสาระการเรียนร้ทู ี่มีแนวโน้มลดลง

ไดแ้ ก่ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เมอ่ื เปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ย ระหว่างปีการศึกษา 2557 – 2558

พบว่า คะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2558 สูงกว่าปีการศึกษา 2557 (เพิ่มข้ึนร้อยละ 1.12) โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มี

คะแนนเพ่มิ ขึ้น มากกว่าหรอื เทา่ กับรอ้ ยละ 3 คือ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ท่มี คี ะแนนเพิ่มขน้ึ แตน่ ้อยกว่าร้อยละ

3 ไดแ้ ก่ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ตามลาดบั ส่วนกลุ่มสาระการเรยี นร้ทู ่ีมีคะแนนเฉล่ียลดลง ได้แก่ วิทยาศาสตร์

และ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามลาดับ และเม่ือเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ีย ระหว่างปีการศึกษา 2558 –

2559 พบว่า ปีการศึกษา 2559 มคี ะแนนเฉลย่ี ต่ากว่าปีการศกึ ษา 2558 (ลดลงรอ้ ยละ 1.13) โดยกล่มุ สาระการเรยี นรู้

ทมี่ ีคะแนนเพิ่มข้ึนแตน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 3 ไดแ้ ก่ ภาษาไทย และสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สว่ นกลุ่มสาระการ

เรียนรทู้ มี่ คี ะแนนเฉลี่ยลดลง ไดแ้ ก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ ตามลาดับ

แผนภมู ทิ ี่ 15 แสดงการเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้ัน

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปกี ารศึกษา 2557 - 2559 ของโรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ี

การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

50 ปีการศึกษา 2557
0 ปีการศกึ ษา 2558

ปกี ารศึกษา 2559

แผนปฏบิ ัติการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 17
แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 17

ดา้ นประสทิ ธภิ าพ

ผลการดาเนินงานตวั ชีว้ ัดตามคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559
 ผลการประเมนิ การดาเนนิ งานตัวช้ีวัดตามคารับรองการปฏิบตั ิราชการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2559 (KRS)

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ดาเนินการบริหารจัดการศึกษาตามภารกิจ
ส่งเสริม สนับสนุน เร่งรัดพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด มีผลการดาเนินงานตามคารับรองการ
ปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณพ.ศ.2559 ภาพรวม 2 มิติ มีค่าคะแนนเฉล่ียรวม 4.77838 โดยได้รับค่าคะแนน
มติ ภิ ายนอก 4.71629 ค่าคะแนนมิติภายใน 4.98416

มิตภิ ายนอก (External Impacts) (นา้ หนัก 29.5) 4.71629
มิติภายใน (Internal Management) (นา้ หนัก 12.5) 4.98416
4.77838
รวม ( นา้ หนกั 42)

 ผลการประเมินการดาเนินงานตวั ชีว้ ัดตามตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2559
(ARS)

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดด้ าเนินงานตัวชวี้ ดั ตามแผนปฏิบตั ิราชการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559 ได้รับค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.27547 โดยได้รบั คา่ คะแนนรายกลยทุ ธ์ ดังนี้

กลยทุ ธท์ ่ี 1 ไดร้ บั คา่ คะแนน 4.28232 กลยุทธท์ ี่ 2 ได้รับค่าคะแนน 4.00548 กลยทุ ธ์ที่ 3 ไดร้ บั คา่ คะแนน

4.07142 กลยทุ ธ์ท่ี 4 ได้รับค่าคะแนน 4.58893

ตัวชวี้ ดั ผลการประเมิน
(ค่าคะแนนรายกลยุทธ์)

กลยทุ ธ์ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 4.28232

กลยุทธท์ ี่ 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษาข้นั พื้นฐาน ให้ทั่วถงึ 4.00548

ครอบคลุมผู้เรยี น ให้ได้รบั โอกาสในการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ และมีคณุ ภาพ

กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคุณลักษณะ 4.07142

สอดคลอ้ งกบั วิชาชพี

กลยทุ ธท์ ่ี 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ 4.58893

สถานศึกษาให้ไดม้ าตรฐาน พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด

คา่ คะแนนเฉล่ียรวม 4.27547

18 แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 18

ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารและจัดการของสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาตามมาตรฐาน
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา (พ.ศ.2557) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2559 ของสานกั งานเขตพน้ื ที่
การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

สานกั ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา

ขั้นพนื้ ฐาน ไดด้ าเนินการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา

ตามเกณฑ์มาตรฐานสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา (พ.ศ.2557) ประจาปีงบประมาณ 2559 ของสานักงานเขต

พ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 และได้แจง้ ผลการประเมนิ ฯ เม่ือวนั ที่ 31 ตลุ าคม 2559 ซงึ่ สานักงาน

เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดร้ บั คะแนนคิดเป็นรอ้ ยละ 81.41 ระดบั คุณภาพดีเยยี่ ม

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี คะแนน ระดบั
ทีไ่ ด้รับ คุณภาพ
มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการองคก์ ารสู่ความเปน็ เลศิ 27.91 ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจดั การศึกษาท่มี ปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐานท่ี 3 ผลการบริหารและการจดั การศึกษาของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา 25.50 ดเี ย่ยี ม

คดิ เปน็ ร้อยละ 28.00 ดีมาก

81.41 ดีเยย่ี ม

7. ผลการตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาตามกลยุทธ์

จดุ เนน้ ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ของ
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มดี ังน้ี

กลยุทธ/์ ตวั ชวี้ ดั ระดบั ท่ีได้ ระดบั
2.25 คุณภาพ
กลยทุ ธ์ท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนในระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 4 ปานกลาง
1 ดีมาก
ประเดน็ ที่ 1.1 นักเรียนจบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ทกุ คนอา่ นออก เขียนได้ มกี ารประเมินผล 1
ท่เี ปน็ รูปธรรม พอใช้
3
ประเดน็ ที่ 1.2 ค่าเฉลย่ี ร้อยละของนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ของการสอบ NT พอใช้
เพ่ิมข้ึนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3
ดี
ประเด็นท่ี 1.3 คา่ เฉลย่ี ร้อยละของนกั เรยี นชนั้ ป.6 ม.3 และม.6 ของผลการทดสอบ
ระดับชาติ (O-NET) ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา
ศาสนาและวฒั นธรรม โดยรวมเพมิ่ ขึน้ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 3

ประเดน็ ท่ี 1.4 นักเรยี นมคี วามสามารถดา้ นทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐาน
ท่กี าหนดของผ้เู รียนชัน้ ป.6 ม.3 และม.6

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 19
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 19

กลยุทธ์ที่ 2 การเพิม่ โอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ให้ทั่วถงึ ครอบคลุม 4.00 ดมี าก
ผเู้ รยี นให้ไดร้ บั โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและมีคุณภาพ

ประเด็นที่ 2.1 ระดับความสาเร็จการดาเนนิ กจิ กรรมให้ผเู้ รียนมคี ่านิยมหลักของคนไทย 3 ดี
12 ประการ ครบทกุ ตวั สอดคล้องตามชว่ งวยั

ประเด็นที่ 2.2 นักเรยี นทม่ี ีความต้องการพเิ ศษทีไ่ ดร้ ับโอกาสใหส้ ามารถพฒั นาไดเ้ ตม็ ตาม 5 ดีเยี่ยม
ศักยภาพ

กลยทุ ธท์ ี่ 3 การพัฒนาคุณภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ตดิ ตามผลการดาเนินงานเชิงคุณภาพ โดยใชข้ ้อมูลจากสานกั พัฒนาครูและบคุ ลากรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (ไมม่ กี ารประเมนิ ผล)

กลยุทธท์ ่ี 4 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ 4.67 ดเี ยี่ยม

ประเด็นที่ 4.1 สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกนั คณุ ภาพภายในท่ีเข้มแข็งตามกฎกระทรวง 5 ดีเย่ียม
วา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ.2553 และสถานศึกษาทีเ่ ข้ารบั
การประเมินคณุ ภาพภายนอก รอบที่ 3 ผา่ นการรับรองคณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.

ประเดน็ ท่ี 4.2 สถานศึกษาและสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาจัดการศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพ 5 ดีเย่ยี ม
ตามมาตรฐาน และสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาผา่ นการประเมินตามมาตรฐานสานกั งาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาระดบั ดมี ากขน้ึ ไป ร้อยละ 80 และหน่วยงานในสง้ กดั สพฐ.ทกุ แห่งมี
ผลงานท่ีเป็นเลิศ

ประเดน็ ที่ 4.3 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาเบกิ จา่ ยงบประมาณในภาพรวมไดไ้ ม่น้อยกว่า 4 ดีมาก
รอ้ ยละ 96 และงบลงทนุ ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 87

คะแนนเฉล่ียรวม 4 กลยุทธ์ 3.64 ดีมาก

หมายเหตุ ผลการประเมิน 5 ระดบั โดยระดับคะแนน 1 หมายถึง ตา่ กว่าเป้าหมายและเกณฑท์ ่กี าหนด คะแนนเฉลีย่ 1.00 - 1.80
หมายถงึ พอใช้ ระดบั คะแนน 2 หมายถงึ ต่ากวา่ เป้าหมาย คะแนนเฉล่ีย 1.81 - 2.60 หมายถงึ ปานกลาง ระดบั คะแนน 3
หมายถงึ ได้ตามเปา้ หมาย คะแนนเฉลี่ย 2.61 - 3.40 หมายถึง ดี ระดับคะแนน 4 หมายถึง สงู กวา่ เปา้ หมาย คะแนนเฉลี่ย
3.41 - 4.20 หมายถงึ ดมี าก ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ สงู กว่าเปา้ หมายและเกณฑ์ท่กี าหนด คะแนนเฉล่ีย 4.21 – 5.00 หมายถึง
ดีเย่ียม

จากผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ตาม
กลยุทธ์ จดุ เนน้ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 ของ
สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 สรุปมคี ะแนนเฉลีย่ รวม 4 กลยุทธ์ เป็น 3.64 อยใู่ น
ระดับคุณภาพดีมาก

20 แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 20

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษา

ผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้นื ท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ประธานกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา

นายสุรศักด์ิ ลิ่มมณี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา

นายมนตรี ณ นคร กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั

นางสาวสมศรี ญาณารณพ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิจัยและประเมินผล

นายจกั รี จติ เทย่ี ง กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านศาสนาและวัฒนธรรม

นายวีระยทุ ธ ธนทวี กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิด้านการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

นายประนอม ศรทั ธาประยูร กรรมการผแู้ ทนผบู้ รหิ ารสถานศึกษาของรัฐ

นางสาวศรีนวล น้ยุ หงษ์ กรรมการผูแ้ ทนผูบ้ ริหารสถานศึกษาของเอกชน

นายเสวก วงษ์เจรญิ ผล กรรมการและเลขานุการ กรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ

ประเมนิ ผลและนเิ ทศการศึกษา

นางสมใจ เสรพี ฒั นานนท์ ผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ

ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา

แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 21
แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 21

ผู้บริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

-วา่ ง- ผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

นายสวุ ทิ ย์ ฟองโหย รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

นายพยุงศักดิ์ กญั จนโรจน์ รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

นางจุรรี ัตน์ คีรรี ัตน์ รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

นายวินชิ ย์ แกลว้ ทนงค์ รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

นายระนิต ณ พัทลงุ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1

ผูอ้ านวยการกลุ่ม/หน่วย/ศนู ย์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

นายเสวก วงษ์เจรญิ ผล ผู้อานวยการกลุม่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
นายปราโมทย์ หม่ืนเทพ ผู้อานวยการกล่มุ บรหิ ารงานการเงนิ และสนิ ทรัพย์
นางอไุ รวรรณ สทิ ธฤิ ทธิ์ ผู้อานวยการกลุม่ นโยบายและแผน
นายธเนศพล เจรญิ สขุ ผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานบคุ คล
นางนิตยา ศรมณี ผู้อานวยการกลุม่ อานวยการ
นางเยาวภา สงิ หเสม ผ้อู านวยการกล่มุ สง่ เสริมการจดั การศึกษา
นางสรญั ญา โยธี ผ้อู านวยการหนว่ ยตรวจสอบภายใน

กลุ่มโรงเรียน สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ที่ กลุ่มโรงเรียน ประธานกล่มุ จานวนโรงเรียน

1 กลมุ่ โรงเรียนน้าผุด-โพธาราม นายพงศ์ประพนั ธ์ เตละกลุ 12

2 กลุ่มโรงเรยี นวชริ มิตร นายสุวทิ ย์ รอดคนื 10

3 กลุม่ โรงเรยี นหนองตรุด-นาทา่ ม นายสธุ พิ งษ์ ว่องวรานนท์ 9

4 กลุ่มโรงเรียนทับเทีย่ ง นายสชุ าติ ธรรมพากรณ์ 9

5 กลมุ่ โรงเรียนนาโยง นายสุทธเิ มธ ชัยเพชร 8

6 กลุม่ โรงเรยี นทุ่งค่าย-เกาะเปยี ะ นายสาเริง ชว่ ยเรอื ง 9

7 กลุ่มโรงเรยี นย่านตาขาว-ทุ่งกระบอื นายฐโชติณฏั ฐ์ ขวัญเมือง 8

8 กลมุ่ โรงเรยี นสายชลสมั พนั ธ์ นายทศพล จงรกั ษ์ 9

9 กลุ่มโรงเรยี นไพรสวรรค์ นางพรรณนภิ า ไพรตั น์ 9

10 กลมุ่ โรงเรียนหาดสาราญ นายจารสั เผา่ พศิ ทุ ธ์ิ 10

11 กลมุ่ โรงเรยี นปะเหลยี น นายอรุณ เมืองสง 11

12 กล่มุ โรงเรียนสโุ สะ-บ้านนา นายประวิตร สมจริง 12

13 กลมุ่ โรงเรียนทงุ่ ยาว นายอศั วกรณ์ สทิ ธิศักด์ิ 13

14 กลุ่มโรงเรียนนาโยงสัมพันธ์ นายสุรเชฐ นวลศรี 7

รวม 136

22 แผนปฏิบตั กิ าร ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 22

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 23
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 22

สว่ นที่ 2
ทศิ ทางการพัฒนาการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

นโยบายรฐั บาล

นายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติ
แหง่ ชาติ เม่ือวนั ศุกรท์ ี่ 12 กันยายน 2557 โดยมนี โยบายที่เกยี่ วข้องกบั การศกึ ษา ดังน้ี
ข้อ 1. การปกปอ้ งและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษตั ริย์

สถาบันพระมหากษตั รยิ ์เปน็ องค์ประกอบสาคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามประเพณี
การปกครองของไทย รัฐบาลจึงถือเป็นหน้าที่สาคัญย่ิงยวดในอันท่ีจะเชิดชูสถาบันนี้ไว้ด้วยความจงรักภักดีและ
ปกป้องรักษาพระบรมเดชานุภาพ โดยจะใชม้ าตรการทางกฎหมาย มาตรการ ทางสังคมจิตวิทยาและมาตรการ
ทางระบบส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินการกับผู้คะนองปาก ย่ามใจหรือประสงค์ร้าย มุ่ง
ส่ันคลอนสถาบันหลักของชาติโดยไม่คานึงความรู้สานึกและความผูกพันภักดีของคน อีกเป็นจานวนมาก
ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องและเป็นจริงเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ และพระราชกรณียกิจเพ่ือ
ประชาชน ทงั้ จะสนับสนนุ โครงการท้ังหลายอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ ส่งเสริม ใหเ้ จ้าหนา้ ทส่ี ถาบันการศึกษา
ตลอดจนหน่วยงานทั้งหลายของรัฐ เรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน สามารถ นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ตั ริ าชการและการพัฒนา ตลอดจนเร่งขยายผลตามโครงการและแบบอย่างท่ี
ทรงวางรากฐานไวใ้ หแ้ พร่หลายเป็นท่ีประจกั ษ์และเกิดประโยชน์ในวงกว้างอันจะช่วยสร้างความสมบูรณ์พูนสุข
แก่ประชาชนในท่สี ุด
ขอ้ 2. การลดความเหลื่อมลา้ ของสงั คมและการสร้างโอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารของรฐั

2.1 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมท่ีมีความหลากหลายเน่ืองจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยสร้าง
ความเข้มแข็งและความพร้อมแก่แรงงานไทยและร่วมพัฒนาระบบความคุ้มครองทางสังคม ของแรงงาน
อาเซยี น

2.2 จัดระเบียบสงั คม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลให้แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
และประชาชนทั่วไป โดยใช้ค่านิยมหลัก 12 ประการ ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ีได้
ประกาศไว้แล้ว
ขอ้ 3. การศึกษาและการเรยี นรู้ การท้านบุ า้ รงุ ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม

รัฐบาลจะนาการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์และความเป็นไทยมา
ใช้สร้างสังคมใหเ้ ข้มแข็งอยา่ งมคี ุณภาพและคุณธรรมควบคกู่ ัน ดังน้ี

3.1 จดั ใหม้ กี ารปฏริ ูปการศึกษาและการเรยี นรู้ โดยให้ความสาคญั ท้ังการศึกษาในระบบและการศึกษา
ทางเลือกไปพร้อมกัน เพ่ือสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบ
อาชพี และดารงชวี ิตไดโ้ ดยมคี วามใฝ่รู้และทกั ษะที่เหมาะสม เป็นคนดีมีคณุ ธรรม สร้างเสรมิ คณุ ภาพ

24 แผนปฏิบัตกิ าร ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 23

การเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพ้ืนที่ ลดความเหล่ือมล้า และพัฒนากาลังคน ให้เป็นที่
ต้องการเหมาะสมกบั พ้ืนท่ี ทง้ั ในดา้ นการเกษตร อตุ สาหกรรม และธรุ กิจบริการ

3.2 ในระยะเฉพาะหน้า จะปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการศึกษา ให้สอดคล้องกับ
ความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนท่ีของสถานศึกษา และปรับปรุงและบูรณาการระบบ การกู้ยืมเงินเพื่อ
การศึกษาให้มีประสิทธิภาพเพื่อเพ่ิมโอกาสแก่ผู้ยากจนหรือด้อยโอกาส จัดระบบการสนับสนุน ให้เยาวชนและ
ประชาชนท่ัวไปมีสิทธิเลือกรับบริการการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยจะพิจารณาจัดให้มี
คปู องการศกึ ษาเป็นแนวทางหนึง่

3.3 ใหอ้ งค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนท่ัวไปมีโอกาส
ร่วมจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและท่ัวถึง และร่วมในการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ กระจายอานาจการ
บรหิ ารจัดการศึกษาสู่สถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตามศักยภาพและความ
พร้อม โดยใหส้ ถานศึกษาสามารถเปน็ นิตบิ คุ คลและบริหารจดั การได้อย่างอิสระ และคล่องตวั ข้ึน

3.4 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้สามารถมีความรู้และทักษะใหม่ที่
สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคตปรับกระบวนการเรียนรู้และหลักสู ตร
ให้เช่ือมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพื่อให้เอ้ือต่อการพัฒนาผู้เรียนในด้าน
ความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียนรู้ การแก้ปัญหาการรับฟังความเห็นผู้อื่น การมีคุณธรรม จริยธรรม และ ความเป็น
พลเมอื งดี โดยเน้นความรว่ มมอื ระหวา่ งผูเ้ กี่ยวข้องท้ังในและนอกโรงเรยี น

3.5 ส่งเสริมอาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพ่ือสร้างแรงงานที่มีทักษะโดยเฉพาะใน
ทอ้ งถ่นิ ทม่ี ีความตอ้ งการแรงงาน และพฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาให้เชอื่ มโยงกบั มาตรฐานวชิ าชีพ

3.6 พัฒนาระบบการผลิตและพฒั นาครูท่มี คี ณุ ภาพและจติ วญิ ญาณของความเป็นครู เน้นครูผู้สอนให้มี
วุฒิตรงตามวิชาท่ีสอน นาเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือท่ีเหมาะสมมาใช้ในการเรียน การสอน เพ่ือเป็น
เคร่อื งมอื ช่วยครหู รือเพื่อการเรียนรูด้ ้วยตัวเอง เชน่ การเรียนทางไกล การเรยี นโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็น
ต้น รวมท้ังปรับระบบการประเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอน และการพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรยี นเปน็ สาคญั

3.7 ทะนุบารงุ และอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืนๆ สนับสนุนให้องค์กร ทางศาสนามีบทบาท
สาคัญในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างสันติสุขและ ความปรองดอง
สมานฉันทใ์ นสงั คมไทยอยา่ งย่งั ยืน และมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาสังคมตามความพร้อม

3.8 อนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม ภาษาไทยและภาษาถ่ิน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
รวมท้งั ความหลากหลายของศิลปวฒั นธรรมไทย เพือ่ การเรียนรูส้ รา้ งความภาคภูมใิ จในประวตั ศิ าสตร์และความ
เป็นไทย นาไปสู่การสร้างความสัมพันธ์อันดีในระดับประชาชน ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ
ตลอดจนเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกจิ ใหแ้ กป่ ระเทศ

แผนปฏบิ ตั ิการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 25
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 24

3.9 สนบั สนนุ การเรียนภาษาตา่ งประเทศ วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบ้านและวัฒนธรรมสากล และ
การสร้างสรรค์งานศิลปะและวัฒนธรรมท่ีเป็นสากล เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่เสาหลักวัฒนธรรมของ
ประชาคมอาเซยี นและเพือ่ การเปน็ ส่วนหนึ่งของประชาคมโลก

3.10 ปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึกที่ดี รวมท้ังสนับสนุนการผลิตสื่อคุณภาพเพื่อเปิดพื้นที่สาธารณะให้
เยาวชนและประชาชนไดม้ ีโอกาสแสดงออกอย่างสรา้ งสรรค์
ข้อ 4. การยกระดบั คุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสขุ ภาพของประชาชน

4.1 สง่ เสรมิ การกีฬาเพื่อสุขภาพ ใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาลักษณะนิสัยเยาวชนให้มีน้าใจนักกีฬา มี
วินัย ปฏิบัติตามกฎกติกามารยาท และมีความสามัคคี อีกท้ังพัฒนานักกีฬาให้มีศักยภาพสามารถแข่งขันใน
ระดบั นานาชาติจนสรา้ งชอื่ เสยี งแกป่ ระเทศชาติ
ข้อ 5. การเพ่ิมศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

5.1 ในระยะเร่งด่วน เร่งจ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่ยังค้างอยู่ก่อนที่จะพ้นกาหนด
ภายในส้ินปีน้ี และสานต่อนโยบายงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจตามคณะรักษาความสงบแห่งชาติได้จัดทาไว้
โดยติดตามใหม้ กี ารเบิกจา่ ยอยา่ งคล่องตวั ต้ังแตร่ ะดับกระทรวงจนถึงระดับท้องถ่ิน รวมทั้งจะดูแลไม่ให้มีการใช้
จา่ ยทีส่ ูญเปล่า เพือ่ ช่วยสร้างงานและกระตนุ้ การบรโิ ภค

5.2 สานตอ่ นโยบายงบประมาณกระตุ้นเศรษฐกิจตามท่ีคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้จัดทาไว้ โดย
นาหลักการสาคัญของการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ที่ให้ความสาคัญใน
การบูรณาการงบประมาณและความพร้อมในการดาเนินงานรวมทั้งนาแหล่งเงินอ่ืนมาประกอบการพิจารณา
ด้วย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม ประหยัด ไม่ซ้าซ้อน และมีประสิทธิภาพ ทบทวน
ภารกิจที่มีลักษณะไม่ย่ังยืนหรือสร้างภาระหน้าที่สาธารณะของประเทศเกินความจาเป็น และแสดงรายการ
ลงทุนในระดับจังหวัดเพื่อแสดงความโปร่งใสเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่ไปกับ การเพิ่มประสิทธิภาพ
การเบกิ จ่ายงบประมาณตงั้ แตร่ ะดับกระทรวงจนถึงระดบั ท้องถิน่ เพ่ือช่วยสร้างงานและกระตุ้นการบริโภค โดย
จะจดั ใหม้ ีระบบและกลไกในการติดตามตรวจสอบไม่ใหม้ กี ารใชจ้ า่ ยท่สี ูญเปลา่
ข้อ 6. การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปราม การทุจริตและ
ประพฤตมิ ิชอบในภาครฐั

6.1 ปรับปรุงระบบราชการในด้านองค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และ
ท้องถิ่น ทบทวนการจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐท่ีมีอานาจหน้าท่ีซ้าซ้อนหรือลักล่ันกันหรือ มีเส้น การ
ปฏิบัติงานท่ียืดยาว ปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ทันสมัยโดยนาเทคโนโลยีมาใช้ แก้ไขกฎระเบียบให้โปร่งใส
ชัดเจน สามารถบริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนจัดระบบอัตรากาลังและปรับปรุง
ค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐให้เหมาะสมและเป็นธรรม ยึดหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหาร
จัดการภาครัฐแบบใหม่การตอบสนองความต้องการของประชาชนในฐานะที่เป็นศูนย์กลาง และการอานวย
ความสะดวกแกผ่ ู้ใช้บรกิ ารเพอื่ สร้างความเช่ือม่นั วางใจในระบบราชการ ลดต้นทนุ ดาเนินการของภาคธุรกิจ
เพ่ิมศกั ยภาพในการแข่งขนั กบั นานาประเทศ และการรกั ษาบุคลากรภาครฐั ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพไว้ในระบบราชการ

26 แผนปฏบิ ัติการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 25

โดยจะดาเนินการต้ังแต่ระยะเฉพาะหน้าไปตามลาดับความจาเป็น และตามที่กฎหมายเอื้อให้สามารถ
ดาเนินการได้

6.2 ยกระดับสมรรถนะของหน่วยงานของรัฐให้มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริหาร เชิงรุกทั้งในรูปแบบ
การเพิ่มศนู ย์รบั เร่ืองราวร้องทกุ ข์จากประชาชนในตา่ งจงั หวัดโดยไม่ตอ้ งเดนิ ทางเข้ามายังส่วนกลาง ศูนย์บริการ
สาธารณะแบบครบวงจรทีค่ รอบคลุมการให้บริการทีห่ ลากหลายซึ่งจะจัดตั้งตามท่ีชุมชนต่างๆ เพื่อให้ประชาชน
สามารถเดินทางไปติดต่อขอรับบรกิ ารไดโ้ ดยสะดวกการใหบ้ ริการถึงตวั บุคคล ผ่านระบบศูนย์บริการร่วม ณ จุด
เดียว (One Stop Service) และระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ท่ีสมบูรณ์แบบ พัฒนาหน่วยงานของรัฐให้เป็น
องคก์ รแหง่ การเรยี นรมู้ กี ารสรา้ งนวตั กรรมในการทางานอยา่ งประหยัด มปี ระสิทธภิ าพ และระบบบรู ณาการ

6.3 เสริมสร้างระบบคุณธรรมในการแต่งตั้งและโยกย้ายบุคลากรภาครัฐวางมาตรการป้องกันการ
แทรกแซงจากนักการเมือง และส่งเสริมให้มีการนาระบบพิทักษ์คุณธรรมมาใช้ในการบริหารงานบุคคลของ
เจา้ หนา้ ที่ฝ่ายต่างๆ

6.4 ใช้มาตรการทางกฎหมาย การปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึก ในการรักษา
ศักด์ิศรีของความเป็นข้าราชการและความซ่ือสัตย์สุจริต ควบคู่กับการบริหารจัดการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ
เพอื่ ป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกระดับ อย่างเคร่งครัด ยกเลิก
หรือแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับตา่ ง ๆ ที่ไม่จาเป็น สร้างภาระแก่ประชาชน เกินควร หรือเปิดช่องโอกาส
การทุจริต เช่น ระเบียบการจัดซ้ือจัดจ้าง การอนุญาต อนุมัติ และการขอรับบริการของรัฐ ซ่ึงมีข้ันตอนยืดยาว
ใช้เวลานาน ซา้ ซอ้ น และเสียคา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ ของภาครัฐและประชาชน

ยทุ ธศาสตร์ปฏริ ปู การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (พ.ศ.2558-2563)

ปฏริ ปู การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานเปน็ ภารกจิ ของทุกภาคส่วนที่จะต้องมสี ว่ นในการจดั การศกึ ษาไปสู่ผลสาเร็จ
โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงกาหนดยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา
ขนั้ พืน้ ฐาน (พ.ศ.2558-2563) ใหส้ อดคล้องกบั การปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษาของรัฐบาลซึ่งจะเป็นประโยชน์
ต่อการพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีความรู้ ความสามารถ และส่งผลดีต่อความเจริญก้าวหน้าของ
ประเทศชาติ โดยกาหนดเป้าหมายคุณภาพท่ีต้องการให้เกิดข้ันกับผู้เรียน ได้แก่ สมรรถนะ ด้านความรู้ ทักษะ
และคณุ ลกั ษณะของเดก็ ไทยในศตวรรษท่ี 21 โดยมยี ุทธศาสตร์ปฏริ ปู การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปฏิรูปการเรียนการสอน ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ปฏิรูปการพัฒนาวิชาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ปฏิรูป
ระบบการบริหารจดั การ

ยุทธศาสตร์ระยะเร่งด่วน ของคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
(ซุปเปอรบ์ อร์ดการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 3 มีนาคม 2558 ) มีวัตถุประสงค์เพื่อดูแลการศึกษา โดย
มเี ปา้ หมาย 6 ประการ ได้แก่

1. เดก็ จบ ป.1 ต้องอ่านออกเขียนไดแ้ ละต้องมกี ารประเมนิ ผลทีเ่ ปน็ รูปธรรม
2. การจัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานเสริมทกั ษะอาชพี เด็กช้นั ม.1-6 ตอ้ งเลอื กเรียนวิชาเสรมิ เปน็ สาขา
วิชาชพี เพื่อการวางแผนอาชีพในอนาคตได้

แผนปฏิบัตกิ าร ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 27
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 26

3. การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาองั กฤษระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
4. การปฏิบัตติ ามคา่ นยิ ม 12 ประการ
5. การขยายผลการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนประวัตศิ าสตรแ์ ละหนา้ ทีพ่ ลเมือง
6. ผลิตครูที่มีความเข้มขน้ อาทิ ครุ ุทายาทท่ีมคี วามสามารถตอบรบั การสอนของเด็กได้อยา่ งแทจ้ ริง

ยทุ ธศาสตร์ทต่ี ้องด้าเนนิ การตลอดยทุ ธศาสตร์ จนถึง พ.ศ.2563
1. ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการเรยี นการสอน

1. ปฏริ ปู หลักสูตร ตารา หนงั สอื เรียน
2. ปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้
3. ปฏิรปู สือ่ เทคโนโลยี นวตั กรรม และแหลง่ เรยี นร้เู พอื่ การศกึ ษา
4. ปฏริ ูปการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5. ปฏิรูปการนิเทศเพื่อพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน
2. ยทุ ธศาสตร์ปฏริ ปู การพัฒนาวิชาชพี
1. ปฏริ ปู ระบบการสรรหา
2. ปฏริ ูประบบความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
3. ปฏริ ูประบบการพฒั นาครู
4. ปฏิรูปการตอบแทนการปฏิบัติงานและการเสรมิ สร้างขวัญกาลงั ใจ
3. ยทุ ธศาสตรป์ ฏริ ปู ระบบการบรหิ ารจัดการ
1. ปฏิรูปวัฒนธรรมใหม่ของสถานศกึ ษา
2. ปฏริ ูประบบวางแผน
3. ปฏิรูประบบงบประมาณ
4. ปฏริ ูปโครงสร้างอานาจหนา้ ท่ี
5. ปฏริ ูประบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตาม และประเมินผล
6. ปฏิรปู โอกาสและคุณภาพการศกึ ษา

นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ

ประกอบด้วย 13 นโยบาย ดงั นี้
นโยบายที่ 1 การขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
นโยบายท่ี 2 โครงการประชารฐั
นโยบายท่ี 3 การยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ
นโยบายท่ี 4 โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
นโยบายที่ 5 STEM Education
นโยบายท่ี 6 การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ O-NET

28 แผนปฏิบตั ิการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 27

นโยบายท่ี 7 โครงการลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้
นโยบายที่ 8 การพัฒนาครู
นโยบายท่ี 9 การพฒั นาโรงเรยี น ICU
นโยบายท่ี 10 โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง
นโยบายที่ 11 การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็
นโยบายที่ 12 การบริหารจดั การขยะและสิง่ แวดลอ้ ม
นโยบายที่ 13 การป้องกนั และลดอบุ ัตเิ หตุทางทอ้ งถนน

นโยบายส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มีภารกจิ หลกั ในการจดั และสง่ เสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ได้กาหนดนโยบาย เพื่อพัฒนาไปในทิศทางที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของ
ประเทศ และของโลก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบด้วย วิสัยทัศน์
พันธกจิ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ผลผลติ จดุ เนน้ และตัวชว้ี ดั ดังนี้

วิสยั ทัศน์

การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานของประเทศไทย มคี ุณภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพน้ื ฐานของ ความ
เปน็ ไทย

พันธกจิ

1. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้ประชากรวัยเรียนทกุ คนได้รบั การศึกษาอย่างทั่วถงึ และมีคุณภาพ
2. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสตู ร และค่านยิ ม
หลกั ของคนไทย 12 ประการ
3. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ทเี่ น้นการมีส่วนร่วม เพ่ือเสริมสรา้ งความรับผดิ ชอบ ตอ่ คุณภาพ
การศึกษา และบูรณาการการจดั การศกึ ษา

เปา้ ประสงค์

เพือ่ ใหก้ ารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของประเทศไทย มคี ุณภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพืน้ ฐาน
ของความเปน็ ไทย สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน จงึ กาหนดเป้าประสงค์ ดังน้ี

1. นกั เรียนระดับก่อนประถมศกึ ษา และระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานทกุ คน มพี ัฒนาการเหมาะสม
ตามวยั และมคี ุณภาพ

2. ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รบั โอกาสในการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานอย่างทวั่ ถึง มคี ุณภาพ และ เสมอภาค
3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมการทางานทม่ี งุ่ เน้น
ผลสมั ฤทธิ์
4. สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และสถานศึกษา มปี ระสิทธภิ าพ
และเป็นกลไกขับเคลอ่ื นการศึกษาข้ันพน้ื ฐานสู่คุณภาพระดับมาตรฐานสากล

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 29
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 28

5. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เน้นการทางานแบบบูรณาการ มเี ครือข่ายการบริหาร
จัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และกระจายอานาจและความรับผิดชอบสู่
สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และสถานศึกษา

6. พ้นื ทพี่ เิ ศษ ไดร้ ับการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและพฒั นารปู แบบการจดั การศึกษา ทเี่ หมาะสมตาม
บรบิ ทของพื้นท่ี

โดยมีประเดน็ ยุทธศาสตรใ์ นการด้าเนินงาน 6 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 หลักสตู รและกระบวนการเรียนการสอน
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพฒั นาครู
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การทดสอบ การประเมิน การประกันคณุ ภาพและพฒั นามาตรฐานการศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การผลิตพัฒนาก้าลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการ
พฒั นาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 : การบรหิ ารจัดการ

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นการสอน
ประกอบด้วย 10 ตัวชว้ี ัด ดงั นี้
ตัวช้ีวัดท่ี 1 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมกับผู้เรียน สอดคล้อง
กับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
ตัวชี้วัดท่ี 2 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายดาเนินการตามแนวทางนโยบาย
“ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้”
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12
ประการ สอดคล้องตามชว่ งวัย
ตัวช้ีวัดที่ 4 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาที่นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้
ในสถานศึกษา
ตวั ชวี้ ัดท่ี 5 รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษาที่จัดกิจกรรม ลกู เสือ สภานักเรียน สุขภาพพลานามัย
และศิลปหัตถกรรมนักเรยี น เพอื่ เสริมสร้างทกั ษะชวี ิต คณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์
มีสขุ ภาพท่ีดี เจรญิ เตบิ โตสมวยั
ตัวชี้วัดท่ี 6 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวช้ีวัดที่ 7 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนป้องกันตนเองให้ห่างไกลยาเสพติดและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละ100ของเด็กปฐมวัยมีความพร้ อมเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1
ตัวชี้วดั ที่ 9 รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาทีม่ ีระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนและลดพฤตกิ รรมเส่ยี ง

30 แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 29

ตวั ชีว้ ัดที่ 10 รอ้ ยละ 100 ของผ้เู รียนมที กั ษะการใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสาร ทักษะการคิด ทักษะ
การแกป้ ญั หา ทกั ษะชวี ติ และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 : การผลติ และพฒั นาครู
ประกอบด้วย 6 ตวั ช้วี ัดดังน้ี
ตวั ช้ีวัดท่ี 1 รอ้ ยละ 100 ของศกึ ษานเิ ทศกท์ ่ีไดร้ ับการพัฒนามาตรฐานวชิ าชีพ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 2 รอ้ ยละ100 ของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาด้วยระบบ TEPE Online
ตวั ชีว้ ดั ที่ 3 รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษาทข่ี าดแคลนครู มีครูผ้ทู รงคุณค่าแห่งแผ่นดนิ
ตัวชว้ี ัดท่ี 4 ร้อยละ 90 ของครูทไี่ ด้รับการพฒั นาวชิ าชีพตามสมรรถนะของสายงาน
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละ 90 ของบุคลากรทางการศึกษา 38 ค(2) ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะ
ของสายงาน
ตวั ชี้วดั ท่ี 6 ร้อยละ 100 ของหนว่ ยงานในสังกดั มแี ผนอตั รากาลังเพอ่ื การบริหารทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : การทดสอบ การประเมนิ การประกนั คุณภาพและพัฒนามาตรฐานการศึกษา
ประกอบดว้ ย 8 ตวั ช้วี ดั ดงั น้ี
ตัวชี้วัดท่ี 1 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ. มีบุคลากรที่ได้รับการอบรมหรือพัฒนา
ในเร่ืองของการยกระดบั ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (NT & O-NET)
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ. มีการประเมินผลในชั้นเรียนของผู้เรียน
ดว้ ยเคร่อื งมือท่มี คี ุณภาพและได้มาตรฐาน
ตัวช้ีวัดที่ 3 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ. มีระบบการประกันคุณภาพภายในท่ีเข้มแข็ง
พรอ้ มรบั การประเมินภายนอก
ตวั ชีว้ ัดท่ี 4 รอ้ ยละ 100 ของผ้เู รียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 สามารถอา่ นออกเขียนได้
ตัวชี้วัดท่ี 5 คะแนนเฉลี่ยร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในการทดสอบความสามารถ
พน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) เพิม่ ขึ้นไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 3 ของปีการศกึ ษาทีผ่ ่านมา
ตัวช้ีวัดท่ี 6 จานวนร้อยละของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และ 6
ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ต้ังแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไปเพ่ิมขึ้นจาก
ปีการศึกษาทผ่ี า่ นมา
ตัวช้ีวัดท่ี 7 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้
แบบ STEM Education
ตัวช้ีวัดท่ี 8 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ได้รับการประเมินการอ่านและการเขียน
ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 - 4

แผนปฏิบัติการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 31
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 30

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การผลิตพัฒนาก้าลังคนและงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการของการ
พัฒนาประเทศ

ประกอบดว้ ย 3 ตวั ชีว้ ัด ดงั นี้
ตัวช้ีวัดท่ี 1 ร้อยละ 95 ของผู้เรียนท่ีจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้รับการศึกษาต่อ
ตามความถนัดและความสนใจ
ตัวชว้ี ดั ที่ 2 ร้อยละ 90 ของผเู้ รียนระดับมัธยมศกึ ษาค้นพบความถนัด ความสนใจ และมีทัศนคติที่ดี
ต่อการประกอบอาชพี
ตัวช้ีวดั ท่ี 3 ร้อยละ 80 ของหน่วยงานทุกระดบั มีการวิจยั ท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 : ICT เพอ่ื การศึกษา
ประกอบด้วย 3 ตัวช้ีวัด ดงั น้ี
ตวั ช้วี ัดท่ี 1 รอ้ ยละ 100 ของหน่วยงานท่ีไดร้ ับการจดั สรร สนับสนนุ ดา้ น ICT เพ่อื การศึกษา
ตัวชวี้ ัดที่ 2 ร้อยละ 100 ของหน่วยงานทุกระดับมรี ะบบข้อมลู สารสนเทศเปน็ ฐานเดียวกัน
ตัวชวี้ ดั ที่ 3 ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาใช้รูปแบบ DLTV , DLIT ได้เหมาะสมกบั การเรียนรู้
ของผเู้ รียน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 : การบรหิ ารจดั การ
ประกอบดว้ ย 13 ตวั ชี้วดั ดงั นี้
ตัวชี้วัดที่ 1 ประชากรวยั เรียนทกุ คนได้รับการศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพ
ตัวชว้ี ดั ท่ี 2 อัตราการออกกลางคนั ไมเ่ กนิ ร้อยละ 0.2
ตวั ชี้วัดท่ี 3 จานวนโรงเรียนขนาดเล็กทีม่ ีนักเรียนตา่ กว่า 40 คน ในสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาลดลง
ตวั ช้ีวดั ท่ี 4 คา่ เฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐานในวิชาหลักในเขตพัฒนา
พเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตเ้ พม่ิ ข้นึ ร้อยละ 3
ตัวช้ีวัดที่ 5 ร้อยละ 85 ของผู้เรียนในโรงเรียนวัตถุประสงค์พิเศษมีความสามารถด้านวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ตามมาตรฐานการเรียนรขู้ องหลักสตู ร
ตัวชี้วัดท่ี 6 ร้อยละ 100 ของผู้เรียนในเขตพื้นท่ีสูงและถ่ินทุรกันดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเล
และเกาะแกง่ ได้รับโอกาสส่คู ณุ ภาพผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
ตัวช้ีวัดท่ี 7 ร้อยละ 80 ของเด็กพิการท่ีผ่านเกณฑ์การพัฒนาสมรรถภาพตามแผนการศึกษาเฉพาะ
รายบุคคล
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนท่ีมีความต้องการพิเศษได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตาม
ศกั ยภาพเปน็ รายบคุ คล
ตัวช้ีวดั ที่ 9 รอ้ ยละ 80 ของเดก็ ดอ้ ยโอกาสและเด็กพิการได้รบั การพฒั นาทักษะอาชีพ
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 11 ร้อยละ 100 การคงอยู่ของผูเ้ รยี นท่ีไดร้ บั ทนุ การศึกษาแตล่ ะประเภท
ตัวชีว้ ัดท่ี 12 ร้อยละ 80 ของสถานศึกษาใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

32 แผนปฏบิ ัติการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 31

ตัวช้ีวัดท่ี 13 ร้อยละ 80 ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสานักงานเขต
พืน้ ทก่ี ารศกึ ษาระดับดีขนึ้ ไป

ตวั ช้วี ดั ท่ี 14 รอ้ ยละ 100 ของหนว่ ยงานสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีผลการ
ประเมินตามคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการระดบั ดีมากข้ึนไป

ทิศทางการจดั การศกึ ษา ส้านักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

วิสัยทศั น์ (Vision)
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 เป็นองค์กรหลักจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมี

คณุ ภาพ โดยใช้หลักธรรมาภบิ าล และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บนพ้นื ฐานของความเป็นไทย

พนั ธกจิ (Mission)
1. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้ประชากรวัยเรยี นทกุ คนได้รบั การศึกษาอย่างท่วั ถงึ และมคี ุณภาพ
2. สง่ เสริมให้ผ้เู รียนมคี ุณธรรมจริยธรรม มีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลกั สูตร และคา่ นิยมหลัก

ของคนไทย 12 ประการ
3. พฒั นาระบบบริหารจดั การ ทีเ่ นน้ การมสี ่วนรว่ ม เพื่อเสรมิ สร้างความรับผิดชอบ ตอ่ คุณภาพ

การศกึ ษา และบรู ณาการการจัดการศกึ ษา

เปา้ ประสงค์ (Goals)

เพื่อให้การจดั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพนื้ ฐาน
ของความเปน็ ไทย สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน จึงกาหนดเปา้ ประสงค์ ดงั น้ี

1. นกั เรียนระดบั ก่อนประถมศกึ ษา และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกคน มีพฒั นาการเหมาะสม
ตามวัย และมคี ุณภาพ

2. ประชากรวัยเรยี นทุกคนได้รับโอกาสในการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานอย่างทว่ั ถึง มคี ุณภาพ และ เสมอภาค
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มสี มรรถนะตรงตามสายงาน และมีวัฒนธรรมการทางาน ที่มุ่งเนน้
ผลสัมฤทธิ์
4. สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ และสถานศึกษา มปี ระสทิ ธภิ าพ
และเป็นกลไกขับเคลอ่ื นการศึกษาขั้นพ้นื ฐานสูค่ ุณภาพระดับมาตรฐานสากล
5. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เนน้ การทางานแบบบรู ณาการ มเี ครือข่ายการบริหาร
จัดการ บริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา และกระจายอานาจและความรับผิดชอบสู่
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษา
6. พืน้ ที่พิเศษ ไดร้ บั การพฒั นาคุณภาพการศึกษาและพฒั นารูปแบบการจัดการศึกษา ท่ีเหมาะสมตาม
บริบทของพน้ื ท่ี

แผนปฏิบตั ิการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 33
แผนปฏบิ ตั ิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 32

จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
จึงก้าหนดกลยุทธ์ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 จา้ นวน 6 กลยุทธ์ ดงั น้ี

กลยทุ ธท์ ่ี 1 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 พฒั นากาลังคนและงานวิจยั ท่สี อดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ
กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาการทดสอบ การประเมนิ การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
กลยุทธท์ ี่ 5 พัฒนา ICT เพือ่ การศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี 6 พฒั นาการบริหารจดั การ

คา่ นิยมองคก์ ร

รกั องคก์ าร ประสานความรว่ มมือ ยดึ ถอื คุณธรรม กา้ วนา้ สสู่ ากล

ผลผลิต

สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มกี ารดาเนนิ งาน 2 ผลผลติ คือ
1. ผู้จบการศกึ ษาระดบั กอ่ นประถมศึกษา
2. ผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คบั
ซึง่ มีสถานศึกษาเปน็ หนว่ ยปฏิบตั ิการจดั การศึกษา จานวน 137 แห่ง เพื่อให้ภารกิจดังกล่าว สามารถ
ตอบสนองสภาพปัญหา และรองรับการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบาย
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน นโยบายสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
กลยุทธท์ ี่ 1 พัฒนาด้านหลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้
จุดเนน้ ด้านหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้
1.ดา้ นหลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้
1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมกี ารปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมกับผูเ้ รียน
1.2 โครงสร้างเวลาเรียนมีการปรับปรุง ให้เหมาะสมกับผูเ้ รยี น
1.3 สถานศึกษาทกุ แห่งมีการยกระดับมาตรฐานภาษาองั กฤษในแตล่ ะชว่ งชั้น
1.4 สถานศกึ ษาใช้ STEM Education BBL DLTV
2. ผูเ้ รียนมสี มรรถนะทส่ี าคัญ สู่มาตรฐานสากล
2.1 ด้านผเู้ รยี นระดบั กอ่ นประถมศกึ ษามีพฒั นาการด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสตปิ ัญญา
ทสี่ มดลุ เหมาะสมกบั สงั คม วัย และเรยี นรอู้ ย่างมคี วามสขุ
2.2 ผูเ้ รยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 อ่านออก เขียนได้
2.3 ผ้เู รยี นตงั้ แต่ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ขน้ึ ไป อา่ นคล่องเขยี นคลอ่ ง
2.4 ผู้เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 มีความสามารถดา้ นภาษา ด้านคานวณ และด้านเหตุผลผ่านเกณฑ์
มาตรฐานที่กาหนดเพมิ่ ข้นึ

34 แผนปฏิบัตกิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 33

2.5 ผู้เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 และช้ันมัธยม ศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นจากการทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) กลุ่มสาระหลกั เพิม่ ขน้ึ

2.6 ผู้เรยี นในระดับมธั ยมศึกษาไดร้ บั การสง่ เสริมให้มแี รงจูงใจ สอู่ าชพี ดว้ ยการ แนะแนว และไดร้ บั
การพัฒนาความรทู้ ักษะ ทเี่ หมาะสมเพ่ือการมีงานทา ในอนาคต

2.7 ผู้เรยี นมที ักษะในการส่ือสาร ทักษะการคิดทกั ษะการแกป้ ญั หา ทักษะชวี ิต และทักษะการใช้
เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม

2.8 ผูเ้ รยี นได้รับการวดั และประเมนิ ผลทีห่ ลากหลายเหมาะสมตามศักยภาพรายบคุ คลตามช่วงวัย
3. ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ รวมท้ังมีจติ สานึกในการ
อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม และห่างไกลยาเสพติด
3.1 ผู้เรยี นระดับประถมศึกษา ใฝ่เรยี นรู้ ใฝ่ดี และอยู่รว่ มกับผอู้ ่ืนได้
3.2 ผู้เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ มืทักษะการแกป้ ัญหา และอยู่อย่างพอเพยี ง
3.3 ผเู้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มีความมงุ่ มัน่ ในการศกึ ษาและการทางาน สามารถปรับตวั
เข้ากบั พหุวฒั นธรรม บนพน้ื ฐานวัฒนธรรมที่ดงี ามของไทย
4. ผู้เรยี นทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษได้รบั การสง่ เสรมิ สนบั สนุนและพฒั นาเต็มตามศักยภาพ
เป็นรายบคุ คล ได้แก่
4.1 ผู้พกิ าร
4.2 ผู้ด้อยโอกาสและผูเ้ รยี นในพื้นท่ีพิเศษ
4.3 ผเู้ รยี นท่ีมีความสามารถพเิ ศษ
4.4 ผูเ้ รียนภายใตก้ ารจดั การศึกษาโดยครอบครวั สถานประกอบการ และศนู ย์การเรียน
4.5 ผู้เรียนทีต่ อ้ งการความคุ้มครองและช่วยเหลอื เป็นพิเศษ
กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
จุดเนน้ ด้านครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
1.ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ตรงตามความต้องการของบคุ คลและ
สถานศึกษา
1.1 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาวิธจี ดั การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ทักษะกระบวนการคิด
รวมท้ังการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
1.2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สามารถประยุกตใ์ ชร้ ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารท่ี
ทนั สมยั
1.3 ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ไดร้ ับการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร จากสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา และครู ท้ังในโรงเรยี น ระหว่างโรงเรียน หรอื ภาคส่วนอื่นๆ ตามความพร้อม
ของโรงเรียน

แผนปฏิบัตกิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 35
แผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2560 34

1.4 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สร้างเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ การมสี ว่ นร่วมจากผู้มีส่วนเกย่ี วขอ้ ง
และทกุ ภาคสว่ นใหเ้ กิดชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

1.5 ครูจดั การเรียนร้สู ูป่ ระชาคมอาเซียน
1.6 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มจี ติ วญิ ญาณของความเป็นครู การเป็นครูมืออาชพี และยึดม่ันใน
จรรยาบรรณวชิ าชพี
2.ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สามารถบริหารงานทกุ ด้านให้มีประสทิ ธภิ าพ และเกิดประสทิ ธผิ ล
3.ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มขี วญั และกาลงั ใจในการทางาน และมีผลการปฏบิ ัติงานเชิงประจักษ์
4.องค์กร องค์คณะบคุ คล และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสยี วางแผนสรรหา ย้าย โอน ครู และบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของโรงเรียนและชุมชน
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนากา้ ลงั คนและงานวิจัยท่สี อดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ
จุดเนน้ ดา้ นพฒั นาก้าลังคน
1.สถานศกึ ษาสรา้ งคา่ นิยมเชิงบวกในการเรียนสายอาชพี เพ่ือลดสดั สว่ นการเรยี นสายสามัญ
2.หนว่ ยงานทกุ ระดบั มีการวิจยั ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
จุดเน้นดา้ นการทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
1. ระบบการประเมินสถานศึกษาและผู้เรยี นมกี ารพัฒนาให้เหมาะสมกบั สถานศึกษาและผเู้ รียน
2.ระบบทดสอบเพ่ือประเมินผ่าน หรือซ้าชนั้ มกี ารพัฒนา ใหเ้ หมาะสมในการจบการศึกษาชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 6 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6
3.ผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษามีการพฒั นาตามมาตรฐานผปู้ ระเมนิ
กลยทุ ธ์ท่ี 5 พัฒนา ICT เพือ่ การศกึ ษา
จดุ เนน้ ด้าน ICT เพอ่ื การศกึ ษา
1.หนว่ ยงานทกุ ระดบั พฒั นาระบบ ICT เพ่อื การศึกษาใหเ้ หมาะสมกับสถานศึกษาและผเู้ รยี น
2. หน่วยงานทกุ ระดับพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศใหเ้ ปน็ ฐานเดยี วกันในเรอื่ งขอ้ มูลนักเรียน ขอ้ มูล
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อมูลสถานศึกษาและข้อมูลขา้ ราชการและบุคลากรอืน่ ในการใชข้ อ้ มูลร่วมกนั
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
3. หนว่ ยงานทกุ ระดบั พฒั นา DLTV DLIT ให้เหมาะสมกับสถานศกึ ษาและผู้เรยี น
4. ผู้เรียนมีคอมพวิ เตอรใ์ ช้ในการเรยี นรู้
กลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาการบรหิ ารจดั การ
จุดเน้นดา้ นการบริหารจดั การ
1.หนว่ ยงานทกุ ระดบั บรหิ ารจัดการโดยมงุ่ เน้นการกระจายอานาจ การสรา้ งเครอื ขา่ ย และรับผดิ ชอบ
ต่อการดาเนินงาน

36 แผนปฏบิ ัติการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 35

1.1 สถานศึกษาท่มี าผ่านการรับรองคุณภาพภายนอกตามทไี่ ด้กาหนดได้รับการแกไ้ ข ชว่ ยเหลอื
นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล

1.2 สถานศึกษาขนาดเลก็ ได้รบั การพฒั นาให้มคี ุณภาพการจดั การศึกษา
1.3 สถานศกึ ษาท่มี คี วามพร้อมรับการกระจายอานาจ มีรูปแบบการบริหารจดั การได้อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ
1.4 สถานศึกษาบรหิ ารจดั การร่วมกันโดยใช้การวางแผนพัฒนาการศึกษาระดบั ตาบล(Educational
Maps)
1.5 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาบริหารรว่ มกันในรปู แบบ cluster อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.6 สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาบรหิ ารจัดการอยา่ งมีคุณภาพ โดยใชม้ าตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา
1.7 หนว่ ยงานทุกระดับพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สร้างระบบสวัสดกิ าร สวสั ดภิ าพ และความ
ปลอดภัยให้เหมาะสมตามบริบทของพ้นื ท่พี เิ ศษ
1.8 หน่วยงานทกุ ระดบั พัฒนาระบบ กากับ ติดตาม และประเมนิ ผล เพื่อการบริหารจัดการทมี่ ี
ประสิทธภิ าพและตอ่ เน่ือง
1.9 หน่วยงานทกุ ระดับปรับปรงุ ระบบการจดั สรรงบประมาณ และเกณฑ์การจดั สรรงบเงินอดุ หนุน
ค่าใชจ้ ่ายรายหัว ใหม้ ีความเหมาะสมและเพยี งพอ
1.10 หนว่ ยงานทุกระดบั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติ หนว่ ยงาน องค์คณะบคุ คลและบคุ ลากรท่มี ีผลงานเชงิ
ประจกั ษ์
1.11 หนว่ ยงานทุกระดบั ส่งเสริมใหม้ ีการวจิ ัยเพ่อื พัฒนานโยบายและพัฒนาการจัดการศึกษาของ
เขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา
1.12 หนว่ ยงานทุกระดบั มีการบรหิ ารจดั การโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
2.หนว่ ยงานทุกระดบั ส่งเสริมในการจัดการศึกษา
2.1 หนว่ ยงานทกุ ระดับ ส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี เข้ามามีสว่ นร่วมในการจัด
การศึกษา
2.2 หนว่ ยงานทกุ ระดบั สง่ เสรมิ การระดมทรัพยากรในการจัดการศกึ ษา
2.3 หนว่ ยงานทกุ ระดับ รบั ฟังความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะจากทุกภาคสว่ น และมีส่วนได้ส่วนเสยี เพอ่ื
ปรับปรงุ พัฒนาการจดั การศึกษา

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 37

แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 36

สว่ นท่ี 3

รายละเอียดแผนงาน/โครงการ

38 แผนปฏิบัตกิ าร ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 37

กรอบวงเงินงบประมาณบริหารจดั การและงบประมาณตามแผนปฏิบัตกิ าร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

ท่ี รายการ งบประมาณ/บาท หมายเหตุ
1 ค่าสาธารณปู โภค 800,000

2 ค่าวสั ดุ/ค่าซ่อมครภุ ณั ฑ์/น้ามันเช้อื เพลิง 1,050,000

2.1 คา่ นา้ มันเช้ือเพลิง 300,000

2.2 คา่ วัสดุ 350,000

2.3 คา่ ถา่ ยเอกสาร 200,000

2.4 คา่ ซ่อมรถยนต์ 100,000

2.5 คา่ ซอ่ มครุภัณฑ์ 100,000

3 ค่าเดินทางไปราชการของ ผอ.สพป. 328,818

4 คา่ เดนิ ทางไปราชการ/ นเิ ทศฯ ตามภาระงานของ 400,000
บคุ ลากรทางการศึกษา

5 โครงการจัดจ้างเจ้าหนา้ ทรี่ ะบบงานคอมพวิ เตอร์ 189,000

6 งบบรหิ ารงานตามโครงการ และนโยบายเร่งดว่ น 768,182
6.1 ประชมุ กตปน.
12,700

6.2 ประชมุ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET 4,500

6.3 จัดทา้ รายงานผลดา้ เนนิ งาน(นโยบายฯ) 25,000

6.4 ประชมุ ครูภาษาอังกฤษ 25,500

6.5 สรรหาบคุ คลทว่ั ไปเป็นพนักงานราชการ 45,350

6.6 ประชมุ จัดเกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศการจบการศึกษา 5,250

7 การคดั เลือก /สอบคัดเลือกบุคคล 300,000
8 โครงการงานประจ้า 1,490,182
9 โครงการเพ่ิมประสทิ ธผิ ลกลยุทธ์ 5,545,000
10,871,182
รวมท้ังสนิ้

แผนปฏิบัติการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 39

แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 38

กรอบวงเงนิ งบประมาณบรหิ ารจดั การและงบประมาณตามแผนปฏิบตั กิ าร

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ครงั้ ท่ี 1 (วงเงิน 2,000,000 บาท )

ที่ รายการ งบประมาณ/บาท หมายเหตุ

1 คา่ สาธารณปู โภค 200,000 รายการท่ี 1,2

2 ค่าวสั ด/ุ คา่ ซ่อมครภุ ณั ฑ์/น้ามัน 300,000 กิจกรรมหลักการจัดการศกึ ษา
เชื้อเพลงิ

2.1 ค่าน้ามันเชอื้ เพลิง 50,000 ประถมศกึ ษาสา้ หรับ

2.2 คา่ วสั ดุ 50,000 โรงเรยี นปกติ

2.3 ค่าถา่ ยเอกสาร 100,000

2.4 ค่าซ่อมรถยนต์ 50,000

2.5 ค่าซอ่ มครภุ ัณฑ์ 50,000

3 โครงการจัดจา้ งเจ้าหนา้ ที่ระบบงาน 189,000
คอมพวิ เตอร์

4 โครงการงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น 550,000 รายการที่ 3-8
ภาคใต้

5 โครงการจดั งานวันครู 2560 119,000 กิจกรรมหลกั การจัดการศกึ ษา

6 ค่าเดนิ ทางไปราชการของ ผอ.สพป. 100,000 มธั ยมศึกษาตอนตน้

7 ค่าเดินทางไปราชการ / นิเทศฯ ตาม 100,000 ส้าหรบั โรงเรียนปกติ
ภาระงานของบคุ ลากรทางการศึกษา

8 งบบริหารงานตามโครงการ และ 442,000
นโยบายเรง่ ด่วน

8.1 ประชุม กตปน. 12,700

8.2 ประชุมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ 4,500
O-NET โครงการเรง่ ด่วนที่อนุมตั ิแล้ว

8.3 จัดท้ารายงานผลด้าเนินงาน 25,000
ปงี บประมาณ 2559

8.4 ประชมุ ครูภาษาอังกฤษ (ศน) 25,500

รวมท้ังสน้ิ 2,000,000

40 แผนปฏบิ ัติการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 39

กรอบวงเงินงบประมาณบริหารจดั การและงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั ิการ

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560

สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ครง้ั ท่ี 2 (วงเงิน 6,000,000 บาท )

ที่ รายการ งบประมาณ /บาท หมายเหตุ

1 ค่าสาธารณูปโภค 0

2 คา่ วสั ด/ุ ค่าซ่อมครุภณั ฑ/์ นา้ มันเช้อื เพลิง 0

2.1 ค่าน้ามนั เชื้อเพลิง 0
2.2 คา่ วสั ดุ 0
2.3 ค่าถ่ายเอกสาร 0
2.4 ค่าซ่อมรถยนต์ 0
2.5 ค่าซอ่ มครุภัณฑ์ 0

3 ค่าเดนิ ทางไปราชการของ ผอ.สพป. 128,818

4 คา่ เดินทางไปราชการ / นเิ ทศฯ ตามภาระงาน 0
ของบุคลากรทางการศึกษา
1,200,000
5 โครงการยกระดับผลสัมฤทธชิ์ ้ัน ป.3และป.6 95,000
250,000
6 โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิชั้น ม.3
4,000,000
7 โครงการพัฒนางานวชิ าการ และรร.ตชด.
326,182
8 โครงการเพิ่มประสทิ ธผิ ลกลยุทธ์

ตามชุดโครงการที่ สพฐ.กา้ หนด(สา้ นกั ต่างๆ)

8 บรหิ ารจดั การตามความจา้ เป็นเร่งดว่ น

รวมทั้งส้ิน 6,000,000

แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 41

แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 40

กรอบวงเงินงบประมาณบรหิ ารจดั การและงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั กิ าร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560

สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ครงั้ ที่ 3 (วงเงนิ 2,871,182 บาท )

ที่ รายการ งบประมาณ /บาท หมายเหตุ

1 คา่ สาธารณูปโภค 600,000

2 ค่าวัสดุ/ค่าซอ่ มครุภัณฑ์/น้ามันเชื้อเพลิง 750,000

2.1 คา่ นา้ มนั เช้อื เพลิง 250,000
2.2 คา่ วัสดุ 300,000
2.3 คา่ ถา่ ยเอกสาร 100,000
2.4 ค่าซ่อมรถยนต์ 50,000

2.5 ค่าซอ่ มครภุ ณั ฑ์ 50,000

3 คา่ เดินทางไปราชการของ ผอ.สพป. 100,000

4 ค่าเดนิ ทางไปราชการ / นิเทศฯ ตามภาระงาน 300,000
ของบุคลากรทางการศึกษา

5 การคดั เลือก/สอบคดั เลือกบุคคล 300,000
6 โครงการงานประจา้ 821,182

รวมท้ังสิ้น 2,871,182

42 แผนปฏิบตั ิการ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั กิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 41

สรปุ โครงการ/กิจกรรม งานประจา (ตามภาระงาน)

ปงี บประมาณ พ.ศ.2560
สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1

ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ กลุ่มที่รับผิดชอบ

1 ประชมุ รับการตดิ ตามกลยทุ ธ ARS 88,200 นโยบายและแผน

2 พฒั นาระบบขอ้ มูล 32,200 นโยบายและแผน

3 จัดท้าแผนปฏบิ ัติการ ประจา้ ปีงบประมาณ 2560 35,000 นโยบายและแผน
35,750 นโยบายและแผน
4 ประชุม/ติดตามการใชง้ บประมาณ/ตรวจปรับปรุง
ซอ่ มแซม สถานศกึ ษา

5 ส่งเสรมิ โรงเรียนต้นแบบนกั เรียนไทยสขุ ภาพดี 10,000 สง่ เสริมการจดั การศึกษา
มคี ุณธรรม

6 ยกย่องเชิดชูเกียรติและคดั เลือกสถานศกึ ษา 46,800 สง่ เสริมการจดั การศึกษา
รางวลั พระราชทาน
54,072 ส่งเสริมการจดั การศึกษา
7 พฒั นากิจกรรมสภานักเรยี น 216,000 อ้านวยการ
อา้ นวยการ
8 ประชุมผบู้ รหิ ารสถานศึกษา 8,400 อ้านวยการ
65,000
9 ประชมุ รองและผอ.กล่มุ 96,000 บรหิ ารงานการเงินฯ
43,760 ตรวจสอบภายใน
10 ประชาสัมพนั ธ์

11 เสริมสร้างศักยภาพบรหิ ารงานการเงิน

12 ตรวจสอบภายใน

13 สมั มนาผู้บรหิ ารเอกชน 40,000 ส่งเสรมิ สถานศึกษาเอกชน

14 ประชุม ก.ต.ป.น. 50,000 นเิ ทศ ติดตามฯ
15 โครงการงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นภาคใต้ 550,000 สง่ เสริมการจดั การศึกษา
16 โครงการจัดงานวนั ครู 2560 119,000
1,490,182 บรหิ ารงานบุคคล
รวมทง้ั ส้นิ

ชดุ โครงการ แผนปฏิบัตกิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 43
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 42
โครงการ
ท่ี 2 จัดสรรงบประมาณโดยพิจารณาจากการดาเนินงานท่ีเป็นไปตามกรอบ
แผนงาน การปฏิรูปการศึกษา
สนองกลยุทธ์ สพป. ประชมุ สัมมนาพฒั นาประสทิ ธิภาพการดาเนนิ งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สนองจุดเน้น สพป. การบริหารจัดการศกึ ษาของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา และมาตรฐาน
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
สอดคลอ้ งตวั ชว้ี ัดหลักท่ี พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน
ท่ี 6 ด้านการบริหารจดั การ
ลักษณะโครงการ ด้านการบรหิ ารจดั การศึกษา ขอ้ 1.6 สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาบริหารจดั การ
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ อยา่ งมีคุณภาพ โดยใช้มาตรฐานสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
1.6 ร้อยละ 80 ของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาผ่านการประเมินมาตรฐาน
งบประมาณ สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาระดบั ดีมากขนึ้ ไป
ระยะเวลาดาเนินการ ต่อเนื่อง
1. นางอไุ รวรรณ สิทธฤิ ทธิ์ 2. นางนิตยา ศรมณี
3. นางเพ็ญศรี ลายอง 4. นางสาวสุนยี ์ พลู ศลิ ป์
88,200 บาท
1 ตลุ าคม 2559 - 30 กันยายน 2560

1. หลักการและเหตุผล
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 บรหิ ารจดั การศึกษาตามภารกิจที่รับผิดชอบเพื่อ

ขบั เคลื่อนการจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ กลยทุ ธ์ จดุ เน้นของ
สพฐ. จังหวัดตรัง และ สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ให้บรรลตุ ามเปา้ ประสงคท์ ี่
กาหนดไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ซงึ่ ผลการดาเนนิ งานดังกล่าว จะตอ้ งรายงานต่อกระทรวงศึกษาธกิ าร สพฐ. หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง เป็น
ประจาทุกปงี บประมาณ ตามรปู แบบที่หนว่ ยงานกาหนด ครอบคลุมกระบวนการดาเนนิ งาน กจิ กรรม ตัวชว้ี ัด
ความสาเรจ็ ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยขอ้ มลู สารสนเทศประกอบการรายงานจะตอ้ งครบถว้ น ถูกต้อง สมบรู ณ์ ทัน
ตามกาหนดเวลา เพ่ือประโยชน์ในการบริหาร การกาหนดนโยบายระดับกระทรวง กรม และสิทธปิ ระโยชน์ของ
เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาพึงจะได้รับ

สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2559 การรายงานติดตามการบริหารจัดการสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
ดาเนินการโดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ซึ่งได้จัดประชุมเจา้ หน้าทผ่ี ู้รับผดิ ชอบการติดตาม
และประเมินผลการบริหารจัดการสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาทกุ เขต โดยมอบเอกสารแบบรายงานการตดิ ตาม
และประเมินผลมาเพื่อใหเ้ ขตพ้ืนที่การศกึ ษาดาเนนิ การ และสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง
เขต 1 ไดจ้ ัดประชมุ ผู้รับผดิ ชอบกลยุทธ์/จุดเนน้ /ตัวชี้วดั เพ่อื มอบหมายให้รายงานตามแบบทส่ี พฐ.กาหนด

44 แผนปฏิบตั กิ าร ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 43

พรอ้ มจัดเตรียมเอกสาร/หลกั ฐาน รอ่ งรอยการดาเนินงาน โดยจัดสง่ ใหก้ ลุ่มนโยบายและแผนเพ่ือส่งไฟล์ให้
สานักตดิ ตามฯทางระบบ e-MES และจดั ทาเปน็ เอกสารรูปเล่มนาเสนอคณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผล
ของสพฐ. ซง่ึ มาติดตามและประเมินผลการดาเนินงานเชิงประจกั ษ์ ณ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา แลว้ สพฐ.
กลั่นกรองและประเมนิ ผลแล้วแจ้งใหส้ านักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาทราบผลการประเมนิ สาหรับปีงบประมาณ
พ.ศ.2559 โดยภาพรวม สพป.ตรงั เขต 1 อยใู่ นระดับดมี าก

การรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ ารน้ัน ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้
ตรวจราชการเพอ่ื รับทราบผลความกา้ วหน้า ความสาเรจ็ ปัญหา/อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ การดาเนนิ งาน
ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ จานวน 2 ครั้ง และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
รายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ สง่ สพฐ. และสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 จานวน
2 คร้ัง ส่วนการรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรฐั บาลน้ัน ได้รายงานผลการดาเนนิ งานใหส้ านกั งาน
จงั หวดั ตรังทราบ จานวน 2 คร้งั และรายงานต่อผตู้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี จานวน 1คร้งั

เพอื่ ให้ระบบการติดตาม รายงาน ตอ่ หนว่ ยงานระดับสูงข้นึ ไปมปี ระสิทธภิ าพ ประกอบกับมีขอ้ มูล
สารสนเทศ เผยแพร่ผลการดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จงึ ไดจ้ ัดใหม้ ี
โครงการน้ีขึ้น

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพอ่ื จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร เสนอผูต้ รวจ

ราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ เขตตรวจราชการที่ 7, สง่ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7, สพฐ. และจดั ทา
เอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรฐั บาล เสนอผู้ตรวจสานกั นายกรัฐมนตรี

2.2 เพ่ือจัดประชมุ เสรมิ สรา้ งความเข้าใจ ระบบการติดตาม รายงานการบริหารจัดการศกึ ษาขัน้
พื้นฐานของสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา (ตามยทุ ธศาสตร์ นโยบายของกระทรวงฯ และงบประมาณ ปี2560)

2.3 เพื่อประชมุ กลัน่ กรอง ตรวจสอบ ความถูกต้อง ของข้อมลู สารสนเทศการรายงาน และเอกสาร/
หลกั ฐานรอ่ งรอยการดาเนนิ งาน

3. เป้าหมาย
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 ประชุม ผอ./รอง ผอ.สพป.ตรงั เขต 1 /ผอ.กล่มุ ทกุ กลมุ่ /เจา้ หนา้ ท่ีที่เกย่ี วขอ้ ง เพ่ือจัดทา

รายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร และนโยบายรฐั บาล เสนอผ้ตู รวจราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ, สานกั งานจังหวัดตรัง, สานกั งานศึกษาธิการภาค 7 และสพฐ. ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ จานวน
25คน/คร้ังจานวน2 ครงั้

3.1.2 จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ,นโยบาย
รัฐบาล เสนอผตู้ รวจราชการ เขตตรวจราชการท่ี 7, สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7, สพฐ. จานวน 35 เล่ม และ
สง่ ให้สานกั งานจงั หวัดตรัง จานวน 5 เล่ม

แผนปฏบิ ัติการ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 45
แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 44

3.1.3 ประชุม ผอ./รอง ผอ.สพป.ตรัง เขต 1 /ผอ.กล่มุ ทกุ กลมุ่ /เจ้าหนา้ ทีท่ เ่ี ก่ียวข้องเพื่อจดั ทา
รายงานผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาของสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา ตามประเด็น
การตดิ ตามของ สพฐ. มีผูเ้ ขา้ ร่วมประชมุ 30 คน/คร้งั จานวน 3 คร้ัง

3.1.4 ประชุม รอง ผอ.สพป.ตรังเขต 1 /ผอ.กล่มุ ทุกกลมุ่ //บุคลากรทกุ คน เพ่ือซักซ้อมรายงานฯ
และรายงานการติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการของ สพป. จานวน 2 ครง้ั

- ซ้อมการรายงานฯ ผ้เู ขา้ รว่ มประชุม จานวน 30 คน/1 วัน
- รายงานการติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษา จานวน 80 คน/1 วัน
3.1.5 จัดทาเอกสารรายงานผลการตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาของสพป.
ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 จานวน 70 เล่ม (มาตรฐานสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา จานวน 35 เล่ม, การบรหิ าร
จดั การศกึ ษาของสพป.ตรงั เขต 1 จานวน 35 เล่ม)
3.2 เชงิ คณุ ภาพ
3.2.1 เอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายรฐั บาล กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีความถูกต้อง
สมบรู ณ์ ครอบคลุม ทุกข้อนโยบาย
3.2.2 การรายงานผลการบรหิ ารจัดการศึกษาสานกั งานเขตพน้ื ที่ มาตรฐานสานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษา มคี วามถูกตอ้ งสมบูรณ์ ครบถ้วน ตามแบบท่ีกาหนด มเี อกสาร/ร่องรอยการดาเนินงานครบถ้วนตาม
ประเดน็ ตวั ช้ีวัด ท่ีกาหนด
3.2.3 ผลประเมินคุณภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ทุกตวั ชีว้ ดั โดยรวมเฉล่ยี อยู่ในระดับดีมากขน้ึ ไป

4. กจิ กรรมและการดาเนินงาน

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ดาเนนิ การ นางเพญ็ ศรี ลายอง
1 รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล
กระทรวงศึกษาธิการ ต่อผู้ตรวจราชการสานัก ม.ค.-ก.ย.2560
นายกรฐั มนตรี ผูต้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เขตตรวจราชการท่ี 7

2 รายงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั ม.ิ ย.-ก.ย.2560 นางสาวสนุ ยี ์ พูลศลิ ป์

การศกึ ษาของสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา, นางเพญ็ ศรี ลายอง

มาตรฐานสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ปงี บประมาณ

พ.ศ.2560

46 แผนปฏิบัติการ ประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2560 แผนปฏิบตั ิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560 45
5. รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ (ถวั จ่ายทุกรายการ)

ท่ี กจิ กรรม/รายการ ค่าตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม รวมท้งั ส้ิน
ใชส้ อย วสั ดุ
1 รายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบาย 1,750 1,750
ของกระทรวงศึกษาธิการ, ตอ่ ผ้ตู รวจ 1,750 2,000 2,000
ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร, สพฐ และ 2,000 1,000 1,000
รายงานการตรวจราชการของผ้ตู รวจ 5,000 5,000
ราชการสานกั นายกรฐั มนตรี รวม 1,000 1,250 1,250
จานวน 2 ครัง้ 5,000
1) ประชุม ผอ./รอง ผอ.สพป.ตรงั เขต 1/ 1,250
ผอ.กลุ่ม ทุกกล่มุ และเจา้ หน้าทที่ ่ี
เกย่ี วขอ้ งจานวน 25 คน/วัน
- ค่าอาหารวา่ ง และเครอ่ื งด่มื
(25 คน*35บาท *2ม้ือ)
- ค่าอาหารกลางวนั (25คน*80บาท*1มอื้ )
2) จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนนิ งาน
ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการรายงาน
ต่อผ้ตู รวจราชการฯ,สพฐ. , เอกสารรายงาน
ผตู้ รวจราชการสานกั นายกรัฐมนตรี
- ค่าถา่ ยเอกสาร
- ค่าจัดทาเอกสารรายงานผลการ
ดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เสนอผู้ตรวจกระทรวงศกึ ษาธิการฯ
2 คร้งั และสง่ สพฐ. (20 เลม่ *250บาท)
- คา่ จัดทาเอกสารรายงานผลการ
ดาเนนิ งานตามนโยบายรัฐบาล เสนอผู้ตรวจ
สานักนายกรฐั มนตรี 2 คร้ัง (5 เลม่ *
250 บาท)


Click to View FlipBook Version