รายงานผลการดำเนินงาน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
กลมุ่ นโยบายและแผน
สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
www.trang1.go.th
คำนำ
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีภารกิจในการบริหารและจัดการศึกษา
ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้ศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างท่ัวถึง มีคุณภาพ โดยยึด
ยุทธศาสตร์การดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ จุดเน้น ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือขับเคลื่อนกลยุทธ์ จุดเน้น ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาให้บรรลุ
เป้าประสงค์ตามแผนปฏิบัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นเอกสารสรุปผลการดำเนินงาน
ของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเผยแพร่สู่
สาธารณชนและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับน้ีจะเป็นข้อมูลที่นำไปใช้
ประโยชน์สำหรับการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตอ่ ไป
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
สารบญั
หนา้
สว่ นที่ 1 บทนำ 1
สภาพทวั่ ไปจงั หวัดตรัง 1
ท่ตี ง้ั สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 3
โครงสร้างการบริหารสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา 5
ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา 9
17
สว่ นท่ี 2 ทิศทางการพฒั นาการศึกษาสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 17
วิสยั ทัศน์/พนั ธกจิ /กลยทุ ธ์ 18
แนวทางการดำเนินงานตามกลยุทธ์/จดุ เน้น/โครงการ/กจิ กรรม 29
29
สว่ นท่ี 3 ผลการดำเนินงาน 32
ผลการดำเนนิ งานตามตัวชีว้ ดั แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 39
ผลการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 39
ผลการดำเนนิ งานโครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 40
กลยทุ ธท์ ่ี 1 จดั การศกึ ษาเพอื่ ความม่ันคงของมนุษย์และของชาติ
กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาคุณภาพผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรและมีทักษะ 42
การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21
กลยทุ ธท์ ่ี 3 พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐาน 45
วชิ าชีพ มีศกั ยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม
กลยุทธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ มมี าตรฐาน 45
และลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา 45
กลยทุ ธ์ที่ 5 จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม
กลยุทธ์ท่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา ตามหลกั ธรรมาภิบาล 53
และใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการบรหิ าร
ผลการดำเนินงานโครงการที่ไดร้ ับงบประมาณจากสำนกั ของสำนักงานคณะกรรมการ 68
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ผลการนิเทศติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 69
ของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 74
ผลการดำเนนิ งานด้านงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 76
ส่วนที่ 4 สรปุ ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 5 ผลงานแหง่ ความภาคภมู ิใจ
ภาคผนวก ❖ คำสั่งแต่งต้งั คณะกรรมการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
❖ คณะทำงาน
สว่ นที่ 1
บทนำ
1
สว่ นท่ี 1
บทนำ
สภาพท่ัวไปจงั หวัดตรัง
จังหวดั ตรัง ตงั้ อยูภ่ าคใต้ของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพฯ 828 กิโลเมตร มีพนื้ ที่ประมาณ
4,917.519 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 3,088,399.375 ไร่
ลกั ษณะภมู ิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่โดยท่ัวไปจะเป็นเนินสูง ๆ ต่า ๆ สลับด้วยภูเขาใหญ่เล็กกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
พื้นท่ีราบเรียบมีจานวนน้อยซ่ึงใช้เพาะปลูกข้าว ทางทิศตะวันออกมีเทือกเขาบรรทัดยาวจากเหนือจรดใต้และ
เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย สภาพป่า
เป็นป่าดบิ ช้ืน สาหรบั พนื้ ที่ทอ่ี ยู่ติดกับทะเลมีป่าชายเลนที่ยงั คงมีความอุดมสมบรู ณ์
ลกั ษณะภูมิอำกำศ
ฤดูกาล แบง่ ตามลักษณะอากาศของประเทศไทยออกเปน็ 2 ฤดู คือ
ฤดูร้อน เรมิ่ ตั้งแต่กลางเดอื นกุมภาพันธถ์ งึ กลางเดือนพฤษภาคม
ฤดูฝน เร่มิ ต้ังเดอื นพฤษภาคมถึงเดือนกลางเดือนกมุ ภาพนั ธ์
ลักษณะอากาศท่ัวไป จังหวดั ตรังอยูภ่ ายใต้อทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ที่พบประจา เปน็ ฤดูกาล 2 ชนดิ
ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ ชว่ งกลางเดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดือนตลุ าคม
ลมมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ช่วงกลางเดอื นตลุ าคมถงึ กลางเดือนพฤษภาคม
กำรปกครองและจำนวนประชำกร
จังหวัดตรงั มีการแบ่งพื้นทีก่ ารปกครองออกเปน็ 10 อาเภอ 87 ตาบล 723 หมู่บา้ น ประกอบดว้ ย
อาเภอเมืองตรัง อาเภอกนั ตัง อาเภอปะเหลียน อาเภอย่านตาขาว อาเภอสเิ กา อาเภอหว้ ยยอด อาเภอ
วงั วเิ ศษ อาเภอนาโยง อาเภอรัษฎา อาเภอหาดสาราญ
ประชากรทง้ั หมด มีจานวน 640,574 คน
ชาย 313,368 คน หญิง 327,206 คน จานวนครัวเรอื น 234,956 หลัง
ประกอบอาชีพทางการเกษตรเปน็ หลกั
(ทีม่ าข้อมูล : กลมุ่ งานยุทธศาสตร์และข้อมลู เพื่อการพัฒนาจังหวดั สานักงานจงั หวดั ตรัง)
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
2
กำรคมนำคม
การคมนาคมขนส่งในจงั หวดั ตรงั สามารถเดินทางหรอื ขนสง่ สินคา้ ได้ 4 เสน้ ทาง คอื
1) การคมนาคมทางบก
1.1 ทางรถยนต์ ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เป็นถนนสายหลักในการ
คมนาคมขนสง่ ทางบก นอกจากนั้นยังมถี นนเชือ่ มโยงจากจังหวัดไปอาเภอต่าง ๆ สามารถเดินทาง ติดตอ่ กันได้
สะดวกทกุ ฤดกู าล โดยมสี ายทางท้ังหมด 75 สายทาง
1.2 ทางรถไฟ มีบริการรถไฟ 2 ขบวน คือ ขบวนรถเร็ว กันตัง-กรุงเทพฯ ทุกวันๆละ 1 ขบวน และ
ขบวนรถด่วน ตรงั -กรงุ เทพฯ ทกุ วันๆ ละ 1 ขบวน
2) การคมนาคมทางอากาศ
จังหวดั ตรังมที ่าอากาศยานตรัง ตง้ั อยู่ในอาเภอเมอื งตรัง หา่ งจากเทศบาลนครตรัง ประมาณ
7 กโิ ลเมตร มีสายการบนิ ที่ให้บรกิ ารในปี 2564 จานวน 3 สายการบินได้แก่ ไทยแอร์เอเชยี นกแอร์ และ
ไทยไลอ้อนแอร์
3) การคมนาคมทางนา้
3.1 จงั หวัดตรังมีท่าเรือพาณชิ ย์ จานวน 5 ทา่ คือ
3.1.1 ท่าเทยี บเรอื กนั ตงั ขนาดไมเ่ กนิ 20 ตนั กรอส ทีต่ ้งั บริเวณแม่น้าตรงั ตาบลกันตัง อาเภอกันตัง
จังหวดั ตรัง ขนสง่ สินคา้ ประเภทตคู้ อนเทนเนอร/์ เรือลาเลียงสนิ ค้า
3.1.2 ท่าเทียบเรือแสงทองขนส่งภาคใต้ เป็นท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ท่ีต้ังบริเวณ
แมน่ ้าตรัง ตาบลบางเป้า อาเภอกนั ตัง จังหวดั ตรงั ทา่ เทียบเรือสนิ คา้ ประเภทเทกอง/เรือลาเลยี งสินค้า
3.1.3 ท่าเทียบเรือตรังฮาเบอร์ ท่าเทียบเรือขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ที่ต้ังบริเวณแม่น้าตรัง
ตาบลนาเกลือ อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง ขนส่งสินค้าประเภทเทกอง/เรือลาเลียงสนิ ค้า ขนาด 1,500 ตันกรอส
3.1.4 ท่าเทียบเรือยุโสบ ขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส ตั้งบริเวณแม่น้าตรัง ตาบลบ่อน้าร้อน อาเภอ
กนั ตงั จังหวดั ตรัง สินค้าประเภทตู้คอนเทนเนอร/์ เรือลาเลียงสนิ คา้ ขนาด 1,500-2,500 ตนั กรอส
3.1.5 ท่าเทียบเรือนาเกลือ กว้าง 29.00 เมตร ยาว 185 เมตร ท่ีตั้งบริเวณแม่น้าตรัง หมู่ท่ี 2
ตาบลนาเกลือ อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง ขนส่งทางทะเลในพื้นท่ีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจสามฝ่าย ได้แก่
อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (IMT-GT) โครงการร่วมมือเศรษฐกิจอนุทวีป ระหว่าง บังคลาเทศ - อินเดีย -
พมา่ – ศรีลังกา – ไทย
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
3
สถำนทต่ี ัง้ สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำตรงั เขต 1
สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ตั้งอยู่เลขที่ 193 หมู่ 12 ตาบลโคกหลอ่
ถนนตรัง–ปะเหลยี น อาเภอเมืองตรงั จงั หวัดตรัง รหสั ไปรษณยี ์ 92000
โทรศัพท์. 075-572027-32 075-572066
โทรสาร. 075-291509
Website http://www.trang1.go.th
E-mail : [email protected]
อำนำจหน้ำที่สำนกั งำนเขตพ้นื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำตรงั เขต 1
1. ตามพระราชบัญญัติระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 37 ให้สานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา มอี านาจหนา้ ที่ ดงั นี้
(1) อานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และการพัฒนาสาระของหลักสูตรการศึกษา
ใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
(2) อานาจหน้าท่ีในการพัฒนางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาร่วมกบั สถานศกึ ษา
(3) รับผิดชอบในการพิจารณาแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษาและสานักงาน
เขตพื้นที่การศกึ ษา
(4) ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อื่นตามทก่ี ฎหมายกาหนด
2. ตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พ.ศ.
2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ งการแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา พ.ศ. 2560
(1) จัดทา นโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศกึ ษา แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และความต้องการของทอ้ งถิน่
(2) วิเคราะห์การจัดต้ังงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา และแจ้งการจดั สรรงบประมาณท่ีได้รับให้หนว่ ยงานข้างต้นรบั ทราบ รวมทง้ั กากับตรวจสอบ ติดตาม
การใช้จ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กลา่ ว
(3) ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาหลักสูตรรว่ มกับสถานศกึ ษาในเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา
(4) กากบั ดูแล ตดิ ตาม และประเมินผลสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
(5) ศึกษา วเิ คราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา
(6) ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทงั้ ทรัพยากรบุคคล เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัด
และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
(7) จดั ระบบประกนั คุณภาพการศึกษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
4
(8) ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืนที่จัดการศึกษา
รปู แบบทหี่ ลากหลายในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
(9) ดาเนนิ การและประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ การวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา
(10) ประสาน ส่งเสริม การดาเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน
ดา้ นการศึกษา
(11) ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกบั องคก์ รหรอื หนว่ ยงานต่าง ๆ ท้งั ภาครัฐ เอกชน และ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
(12) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานข อ ง หน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ
มอบหมาย
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
5
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
6
ผบู้ รหิ ำรสำนกั งำนเขตพื้นทก่ี ำรศกึ ษำประถมศึกษำตรงั เขต 1
นำยธีระวฒั น์ วรรณนชุ
ผูอ้ ำนวยกำรสำนกั งำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำประถมศึกษำตรัง เขต 1
นายพยุงศักด์ิ กัญจนโรจน์ นางจรุ รี ตั น์ คีรรี ตั น์
รองผ้อู านวยการสานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาตรงั เขต 1 ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
นายระนิต ณ พัทลุง
รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
ประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
7
ผู้อำนวยกำรกลุ่ม/หน่วย
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำตรัง เขต 1
นางเนาวลกั ษณ์ วิชัยดษิ ฐ นางอุไรวรรณ สทิ ธิฤทธ์ิ นางสรญั ญา โยธี
ผอู้ านวยการกลุม่ นิเทศ ผู้อานวยการกล่มุ นโยบายและแผน ผู้อานวยการหน่วยตรวจสอบภายใน
ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
วว่าา่ งง
นายธเนศพล เจรญิ สุข นายเกษม มากชู ผอู้ านวยการกลุม่ บริหารงานการเงิน
ผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ผู้อานวยการกลุ่มอานวยการ และสินทรัพย์
นางยุพดี คลาดนาน นายสมหมาย ชายเกตุ นางบญุ ชาติ เนียมชู
ผู้อานวยการกลุม่ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษา นิตกิ รชานาญการพิเศษ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี นกั ทรัพยากรบคุ ลชานาญการ ปฏิบตั ิหนา้ ที่
ผูอ้ านวยการกลมุ่ กฎหมายและคดี ผ้อู านวยการกลุ่มพฒั นาครูฯ
นางสาวศริ ิวรรณ ยวิ สวิ
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน ชานาญการ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
ผู้อานวยการกลมุ่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกลเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
8
คณะกรรมกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศึกษำ
พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 8 และมาตรา 20
วรรคส่ี รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงให้เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา มคี ณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการศกึ ษาของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา จานวน 9 คน รายช่ือคณะกรรมการมีดังนี้
รำยชอ่ื คณะกรรมกำรตดิ ตำม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศกำรศกึ ษำ
ประธำนกรรมกำร
นำยธีระวัฒน์ วรรณนุช
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการผแู้ ทน ผ กรรมการและเลขานกุ าร
5 ทา่ น 2 ท่าน . 1 ท่าน
6 ทา่ น ศ
ดา้ นการบริหารการศกึ ษา .
นายกติ ตศิ ักด์ิ นานช้า ผแู้ ทนผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาของรฐั อ
ด้านการศกึ ษาปฐมวยั นายศรศกั ด์ิ สีนา บ
นายมนตรี ณ นคร ผแกู้้อานวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตาม
ผู้แทนผบู้ รหิ ารสถานศึกษาของเอกชน แชวลู ะประเมินผลการจดั การศึกษา
นายวรี ะยุทธ ธนทวี เ
ส
น
ด้านวจิ ยั และประเมนิ ผล ผ
นายเรวตั ไพรัตนากร .
ดา้ นศาสนาและวฒั นธรรม ศ
นายพยงุ ศกั ดิ์ กัญจนโรจน์ .
ด้านการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน อ
นายฐโชตณฏั ฐ์ ขวัญเมอื ง บ
แ
ก้
ว
ชู
เ
ส
น
มหี น้าที่ดังน้ี
1) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้มีการนามาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐานมากาหนดเปน็ แนวทางในการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศการบริหารและการดาเนินการของหนว่ ยงานและสถานศึกษา ในสงั กดั เขต
พื้นทีก่ ารศึกษา
2) กาหนดแนวทางการศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั การบริหารและการดาเนินการของหน่วยงานและ
สถานศึกษาในสงั กดั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
3) พิจารณาแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศกึ ษาโดยม่งุ เน้นผลสมั ฤทธิข์ อง
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั เขตพื้นท่ีการศึกษา
4) ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนเิ ทศการบริหารและการดาเนินการตามแผนท่ีกาหนด
5) รับทราบผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการบรหิ ารและการดาเนินการตามแผน
และให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง
6) สง่ เสรมิ ให้มีการประสานงานกบั คณะกรรมการอน่ื และหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
9
จำนวนบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำและลกู จ้ำง
ของสำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศึกษำประถมศึกษำตรัง เขต 1
ที่ กลุม่ /หนว่ ย/ศนู ย์ จำนวน(คน)
1 ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา 1
2 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา 3
3 ศึกษานเิ ทศก์ 7
4 บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค (2) 40
5 พนักงานราชการ
6 ลูกจา้ งประจา/ช่ัวคราว 2
13
รวม 66
ทมี่ า : ข้อมลู ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2564
ขอ้ มูลพืน้ ฐานทางการศึกษา
1.ขอ้ มูลจำนวนสถำนศึกษำและนกั เรยี น
1.1 สังกัดสำนกั งำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำประถมศกึ ษำตรงั เขต 1
ตำรำงท่ี 1 จำนวนโรงเรียนสังกดั สำนักงำนเขตพืน้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศึกษำตรัง เขต 1 ปีกำรศึกษำ 2564
จำแนกตำมระดับกำรจดั กำรศึกษำ
ระดบั ทจ่ี ัดกำรศกึ ษำ จำนวนโรงเรยี น
ระดับอนุบำล 1 ถึงระดบั ประถมศกึ ษำปีที่ 6 113
ระดบั อนบุ ำล 1 ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 19
132
รวม
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
10
ตำรำงท่ี 2 จำนวนโรงเรยี น ห้องเรียน นกั เรยี น สังกัดสำนกั งำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำตรงั
เขต 1 ปีกำรศึกษำ 2564 จำแนกรำยอำเภอ
ท่ี อำเภอ โรงเรียน ห้องเรียน กอ่ นประถม จำนวนนกั เรียน รวม
1,706 ประถม มัธยมตน้ 7,954
1 เมืองตรัง 35 414 780 5,837 411 4,426
2 ปะเหลยี น 37 333 1,023 3,454 192 4,476
3 ยา่ นตาขาว 33 319 735 3,072
4 นาโยง 17 185 339 3,394 59
5 หาดสาราญ 10 92 4,583 2,097 240 1,430
132 1,343 1,033 58 21,358
รวม 15,815 990
ท่ีมา : ข้อมูล ณ วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564
ตำรำงท่ี 3 จำนวนโรงเรยี นขยำยโอกำส สังกดั สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำตรัง เขต 1
จำแนกรำยอำเภอ ปีกำรศกึ ษำ 2564
ท่ี อำเภอ โรงเรียน หอ้ งเรียน ก่อนประถม จำนวนนกั เรียน รวม
225 ประถม มัธยมตน้ 1,414
1 เมอื ง 6 72 139 778 411 1,081
2 ปะเหลียน 5 62 58 750 192 309
3 ยา่ นตาขาว 3 35 184 192 59 1,001
4 นาโยง 4 57 49 577 240 252
5 หาดสาราญ 1 13 655 145 58 4,057
19 239 2,442 960
รวม
ท่ีมา : ข้อมูล ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564
ตำรำงที่ 4 จำนวนโรงเรียนขนำดเล็กในสงั กดั สำนักงำนเขตพน้ื ท่ีกำรศึกษำประถมศกึ ษำตรงั เขต 1
จำแนกรำยอำเภอ ปกี ำรศึกษำ 2564
ที่ อำเภอ โรงเรียน นักเรยี น ห้องเรยี น ขนำดสถำนศกึ ษำ (มีจำนวนนักเรียน)
1 เมอื งตรัง
0-20 21-40 41-60 61-80 81-100 101-120
14 945 121 1 1 3 5 2 2
2 ยา่ นตาขาว 22 1,679 200 1 0 6 5 4 6
3 ปะเหลียน 22 1,570 180 1 1 7 5 6 2
4 นาโยง 5 434 44 0 0 0 2 1 2
5 หาดสาราญ 3 269 27 0 0 0 0 3 0
รวม 66 4,897 572 3 2 16 17 16 12
ที่มา : ข้อมูล ณ วันท่ี 25 มถิ นุ ายน 2564
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
11
ตำรำงที่ 5 จำนวนกลุ่มโรงเรียน/เครือขำ่ ยในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำตรงั เขต 1
จำแนกรำยอำเภอ ปกี ำรศึกษำ 2564
ที่ กลุ่มโรงเรียน/เครอื ขา่ ย ประธานกลุ่ม/เครือข่าย จานวนโรงเรยี น
1 กลุ่มโรงเรียนน้าผดุ -โพธาราม นายอภิชาต อนุตรพัฒน์ 12
2 กลุ่มโรงเรียนวชิรมิตร 10
3 กลมุ่ โรงเรียนหนองตรดุ -นาท่าม - วา่ ง - 7
4 กลุ่มโรงเรียนทับเทีย่ ง นายพิสิทธ์ิ สุขรักษา 8
5 กลุ่มโรงเรียนนาโยง นายพรชัย คานวณศลิ ป์ 8
6 กล่มุ โรงเรียนทุ่งค่าย-เกาะเปียะ นายเสรี ย่องจีน 9
7 กลุ่มโรงเรียนย่านตาขาว-ทุ่งกระบือ นายอาริยะ ดาช่วย 8
8 กล่มุ โรงเรียนสายชลสัมพันธ์ นายจีระศกั ด์ิ น่นุ ปาน 8
9 กลุ่มโรงเรียนไพรสวรรค์ นางพิมชนก ประดิษฐานสุ รณ์ 9
10 กลมุ่ โรงเรียนหาดสาราญ นายอศั วกรณ์ สทิ ธศิ กั ดิ์ 10
11 กลุ่มโรงเรียนปะเหลียน นางเสาวภา สมาพงค์ 11
12 กล่มุ โรงเรียนสุโสะ-บ้านนา วา่ ที่รอ้ ยโทจักรเพชร์ พรมยศ 12
13 กลุ่มโรงเรียนทุ่งยาว นายอาคม บรสิ ทุ ธ์ิ 13
14 กลุ่มโรงเรียนนาโยงสมั พันธ์ นายให้ พลประสิทธิ์ 7
15 เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัด นายภิญโย ชเู ดช
นายดารงค์ วนั แรก (โรงเรยี นขยายโอกาส
การศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น ทางการศึกษา
จานวน 19 โรง)
รวม
132
2. ข้อมลู ครูและบคุ ลำกรทำงกำรศึกษำ
ตำรำงท่ี 6 จำนวนข้ำรำชกำรครแู ละบคุ ลำกรในสถำนศกึ ษำ สงั กดั สำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศกึ ษำ
ประถมศึกษำตรัง เขต 1 ปีกำรศกึ ษำ 2564 จำแนกรำยอำเภอ
ที่ อำเภอ ตำม จ. 18 ตำมเกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ.กำหนด
ผอ.รร. รองผอ.รร. ครู รวม ผอ.รร. รองผอ.รร. ครู รวม
1 เมืองตรงั 35 8 412 455 33 27 461 521
2 ย่านตาขาว 33 2 244 279 32 12 310 354
3 ปะเหลยี น 37 2 267 306 35 17 337 389
4 นาโยง 17 2 173 192 17 12 200 229
5 หาดสาราญ 10 0 86 96 10 7 103 120
รวม 132 14 1,182 1,328 127 75 1,411 1,613
ทม่ี า : ข้อมูล ณ วันท่ี 25 มิถุนายน 2564
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
12
3. ข้อมลู ผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรศกึ ษำ
ตำรำงที่ 7 เปรียบเทียบผลกำรทดสอบควำมสำมำรถพื้นฐำนของผเู้ รียนระดบั ชำติ (National Test: NT)
ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 ปกี ำรศึกษำ 2563 สำนักงำนเขตพ้ืนท่กี ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำตรัง เขต 1
ระดับเขตพ้ืนที่ ระดับสงั กดั และระดบั ประเทศ
ความสามารถ เขตพนื้ ที่ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ
42.37 สงั กดั +เพม่ิ /-ลด ประเทศ +เพ่มิ /-ลด
ดา้ นคณติ ศาสตร์ 49.47 41.30 +1.07 40.47 +1.90
ด้านภาษาไทย 45.92 47.76 +1.71 47.46 +2.01
รวมเฉลีย่ ความสามารถ 2 ด้าน 44.53 +1.39 43.97 +1.95
ดา้ นภาษาไทย ประเทศ
ดา้ นคณติ ศาสตร์ สังกดั
เขตพน้ื ท่ี
0 10 20 30 40 50 60
ตำรำงที่ 8 เปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขน้ั พ้นื ฐำน (O-NET) ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 6
ปีกำรศึกษำ 2563 ของโรงเรียนสงั กดั สำนกั งำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำตรงั เขต 1
ระดับเขตพนื้ ที่ ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
+เพ่ิม/ +เพิ่ม/
ภาษาไทย เขตพืน้ ท่ี สพฐ. -ลด ประเทศ -ลด
ภาษาอังกฤษ การศึกษา +5.08
คณิตศาสตร์ 61.28 54.96 +6.32 56.20 -2.43
วิทยาศาสตร์ 41.12 +1.62
รวมเฉลีย่ 4 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ 31.61 38.87 +2.25 43.55 +3.07
41.85 +1.83
43.97 28.59 +3.02 29.99
37.64 +4.21 38.78
40.02 +3.95 43.14
80 เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
60 สพฐ.
40 ประเทศ
20
0 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภาษาไทย
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
13
ตำรำงที่ 9 เปรยี บเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำติขัน้ พนื้ ฐำน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษำปีท่ี 3
ปกี ำรศึกษำ 2563 ของโรงเรียนสังกดั สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำประถมศึกษำตรงั เขต 1
ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดบั สพฐ. และระดับประเทศ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ เขตพน้ื ที่ คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ
กำรศึกษำ
ภาษาไทย 57.86 สพฐ. +เพิม่ /-ลด ประเทศ +เพม่ิ /-ลด
ภาษาอังกฤษ 29.39
คณติ ศาสตร์ 21.19 55.18 +2.68 54.29 +3.57
วิทยาศาสตร์ 29.32 34.14 -4.75 34.38 -4.99
รวมเฉลีย่ 4 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ 34.44 25.82 -4.63 25.46 -4.27
30.17 -0.85 29.89 -0.57
36.33 -1.89 36.01 -1.57
วิทยาศาสตร์ ประเทศ
คณติ ศาสตร์ สพฐ.
ภาษาอังกฤษ เขตพื้นท่ีการศึกษา
ภาษาไทย 10 20 30 40 50 60
0
ตำรำงท่ี 10 ผลกำรประเมนิ ควำมสำมำรถพน้ื ฐำนด้ำนกำรอ่ำนของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2563 สำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำตรัง เขต 1
สมรรถนะ คะแนนเฉลี่ยร้อย ส่วน ระดับคุณภาพ
ละ เบีย่ งเบน ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มาตรฐาน ดมี าก
การอา่ นออกเสยี ง 74.51 13.06
การอา่ นร้เู รื่อง 72.11 8.85
รวม 2 สมรรถนะ 73.33 20.24
การอ่านออกเสียง
การอ่านรูเ้ ร่ือง
รวม 2 สมรรถนะ
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
14
ขอ้ มลู ดำ้ นประสทิ ธิภำพ
ผลกำรประเมินกำรดำเนนิ งำนตัวชวี้ ัดตำมแผนปฏิบัตริ ำชกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ตามตวั ชีว้ ดั แผนปฏิบตั ิราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
กลยทุ ธ์/ตวั ชีว้ ดั ค่ำเปำ้ หมำย ผลกำร
ประเมนิ
กลยทุ ธท์ ่ี 1 กำรจดั กำรศึกษำเพ่ือควำมมน่ั คงของสงั คมและของประเทศชำติ
ตัวช้ีวัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันพร้อมรับมือ รอ้ ยละ 85 บรรลุ
กบั การเปลีย่ นแปลงและภยั คกุ คามรูปแบบใหมใ่ นทกุ รปู แบบ
กลยทุ ธท์ ่ี 3 กำรพฒั นำและเสรมิ สร้ำงศกั ยภำพทรัพยำกรมนษุ ย์
ตวั ชว้ี ัดท่ี 5 ร้อยละของผเู้ รยี นปฐมวยั มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปญั ญา ร้อยละ 80 บรรลุ
ตัวชี้วัดที่ 6 รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน (O-NET) เพ่มิ ขนึ้ -
ร้อยละ 50 ขึน้ ไป
ตัวชีว้ ัดท่ี 8 รอ้ ยละของนักเรยี นทผ่ี ่านการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรระดบั ดีขน้ึ ไป ร้อยละ 70 บรรลุ
ตัวชว้ี ดั ที่ 10 รอ้ ยละของครสู อนภาษาองั กฤษในระดบั ช้ันประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษาไดร้ ับการพัฒนา รอ้ ยละ 100 ไมบ่ รรลุ
และยกระดับความรู้ภาษาองั กฤษโดยใช้ระดับการพฒั นาทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์
ทก่ี าหนด
ตัวชว้ี ัดที่ 11 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีส่ อนในระดบั ม.ตน้ ทไี่ ด้รับการเตรียมความพรอ้ ม ดา้ นการอ่าน ร้อยละ 100 บรรลุ
คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ในการประเมินระดับนานาชาตติ ามโครงการ PISA
ตัวช้ีวดั ท่ี 14 ร้อยละของผเู้ รยี นไดร้ ับการพัฒนาให้มคี วามรู้ สมรรถนะ หรือทกั ษะอาชพี ในดา้ นต่าง ๆ
เพ่ือการประกอบอาชพี การดารงชวี ิตอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่างสอดคล้องตามสภาพความ
ต้องการและบริบทของแต่ละพืน้ ท่ี ตลอดจนความท้าทายทีเ่ ปน็ พลวัตรของโลกในศตวรรษ
ที่ 21
ตวั ชีว้ ัดท่ี 14.1 ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ร้อยละ 80 บรรลุ
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 14.2 ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 รอ้ ยละ 80 บรรลุ
ตัวช้ีวดั ที่ 14.3 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6 ร้อยละ 80 -
กลยุทธท์ ี่ 4 กำรสรำ้ งโอกำสในกำรเข้ำถึงบรกิ ำรกำรศกึ ษำที่มคี ุณภำพ มีมำตรฐำนและลดควำมเหล่อื มล้ำทำงกำรศกึ ษำ
ตวั ชี้วดั ท่ี 15 อตั ราการเขา้ เรียนของผ้เู รยี นแตล่ ะระดบั การศกึ ษาตอ่ ประชากรกลุ่มอายุ
ตัวชว้ี ดั ที่ 15.1 ประชากรวัยเรียนท่ีมีอายถุ ึงเกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบังคับเข้าเรยี น ร้อยละ 100 บรรลุ
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1
ตวั ช้วี ดั ที่ 15.2 นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ทีจ่ บหลกั สตู รในปกี ารศกึ ษา 2563 ร้อยละ 100 บรรลุ
ได้ศึกษาตอ่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
ตัวชว้ี ัดท่ี 15.3 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่จบหลักสตู รในปีการศกึ ษา 2563 รอ้ ยละ 100 -
ได้ศึกษาตอ่ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 หรอื เทียบเทา่
ตวั ชี้วัดท่ี 15.4 นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ท่ีจบหลักสตู รในปกี ารศึกษา 2563 ร้อยละ 78 -
ได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขน้ึ
กลยทุ ธท์ ี่ 5 กำรจัดกำรศกึ ษำเพื่อพฒั นำคุณภำพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม
ตวั ช้วี ดั ท่ี 19 ร้อยละของนักเรยี นมคี วามร้คู วามเขา้ ใจและตระหนักในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
หมำยเหตุ กลยุทธ์ที่ 2 การจัดการศกึ ษาเพือ่ เพม่ิ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ และกลยุทธ์ที่ 6 การปรับสมดลุ และ
พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ใชข้ ้อมูลจากสานกั /หนว่ ย/กล่มุ /ศนู ย์ในสว่ นกลาง สพฐ.
รายงานผลการดาเนนิ งาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
15
ผลกำรประเมินกำรดำเนนิ งำนตำมมำตรฐำนสำนักงำนเขตพนื้ ทีก่ ำรศึกษำ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานได้ให้สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา
รายงานข้อมูลในมาตรฐานที่ 3 สัมฤทธิผลการบริหารและการจดั การศึกษา จานวน 6 ตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน
โดยภาพรวมของสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 อยใู่ นระดับคณุ ภาพดเี ยย่ี ม รายละเอียดดงั นี้
มำตรฐำน/ตัวบ่งชี้ ระดบั คุณภำพ
มำตรฐำนท่ี 3 ผลกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำรศึกษำของสำนักงำนเขตพนื้ ท่ีกำรศึกษำ ดี
ตวั บง่ ช้ที ี่ 1 สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามผี ลงานท่ีแสดงความสาเรจ็ และเป็นแบบอยา่ งได้ ดเี ยยี่ ม
ตวั บ่งชี้ท่ี 2 สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน เพื่อ ดเี ยย่ี ม
ดเี ย่ียม
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ตวั บ่งชที้ ่ี 3 ผู้เรยี นระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มคี ณุ ภาพตามหลกั สตู ร ดี
ตัวบง่ ชที้ ี่ 4 ประชากรวัยเรยี นไดร้ บั สิทธิและโอกาสทางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานเทา่ เทยี มกัน
ดเี ยี่ยม
ศึกษาตอ่ ในระดับทีส่ งู ขึ้น หรอื มีความรู้ทักษะพืน้ ฐานในการประกอบอาชพี
ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนกั งานราชการ ลูกจา้ งในสานักงาน ดเี ย่ียม
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษา มผี ลงานเชิงประจกั ษต์ ามเกณฑ์ ได้รบั การยกยอ่ ง
เชดิ ชเู กยี รติ
ตัวบ่งชที้ ี่ 6 ผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี มคี วามพงึ พอใจในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา
รวมทงั้ การให้บริการ
คะแนนเฉลย่ี รวม
ผลกำรประเมนิ คุณธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนินงำนของสำนกั งำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ
ออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment Online : ITA Online) ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564
ตามทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดาเนินการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment
Online : ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการประเมินสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้รับคะแนน 91.44 อยู่ในลาดับที่ 155 ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จานวน
225 เขต
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
ส่วนท่ี 2
ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษา
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
17
ส่วนที่ 2
ทิศทางการพฒั นาการศึกษา
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับกระทรวง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน จังหวัด และนโยบายสำคัญทุกระดับ รวมทั้งได้วิเคราะห์บริบทด้านจัดการศึกษาของพื้นท่ี โดยการมี
สว่ นรว่ มของผู้เกีย่ วขอ้ ง ได้กำหนดทิศทางการจัดการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี
ทิศทางการจดั การศึกษาสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
วิสัยทศั น์ (Vision)
“องคก์ รคณุ ธรรม ม่งุ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ส่สู ังคมอนาคตทยี่ งั่ ยนื ”
พันธกิจ
(Mi1s.siจoัดnก)ารศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติ และการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
2. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผ้เู รยี นใหม้ สี มรรถนะตามหลกั สตู ร ทกั ษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21
และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. พัฒนาศกั ยภาพผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมลำ้ ให้ผูเ้ รียนทุกคนไดร้ บั บรกิ ารทางการศึกษาอย่าง
ทว่ั ถงึ มีคุณภาพ มีมาตรฐาน
5. จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม โดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
6. พฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา โดยใช้หลกั ธรรมาภิบาล
และระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Technology)
กลยทุ ธ์ (Strategy)
จากวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดก้ ำหนดกลยุทธ์
ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ดงั น้ี
กลยทุ ธ์ท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คงของมนษุ ย์และของชาติ
กลยุทธ์ที่ 2 พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนใหม้ ีสมรรถนะสำคัญตามหลกั สตู ร และมที ักษะการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
18
กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นาผ้บู ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ให้มสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี
มีศักยภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
กลยุทธท์ ี่ 4 สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ
เหลือ่ มล้ำทางการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 5 จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม
กลยุทธ์ท่ี 6 พฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาล และใช้เทคโนโลยีดจิ ติ ัล
ในการบรหิ าร
แนวทางการดำเนินงาน
กลยทุ ธ์ท่ี 1 จดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คงของมนษุ ย์และของชาติ
1. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียน มีพฤตกิ รรมแสดงออกถงึ ความรักใน
สถาบนั หลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มคี ุณธรรม
จรยิ ธรรม มจี ติ สาธารณะ จิตอาสา ซื่อสัตย์ สจุ ริต มธั ยัสถ์ โอบอ้อมอารี มวี ินัยและรักษาศลี ธรรม
2. สถานศึกษาจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ใหผ้ เู้ รยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั ภยั คุกคาม
ทม่ี ผี ลกระทบต่อความมัน่ คง ภัยจากยาเสพตดิ ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ และทรัพย์สนิ การค้ามนุษย์
อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพบิ ัติ และภาวะฉกุ เฉิน และภัยคุกคามรปู แบบใหม่ ตลอดจนรู้จกั วธิ กี ารป้องกนั
และแก้ไข หากไดร้ บั ผลกระทบจากภยั ดงั กล่าว ตลอดจนมีมาตรการและแนวทางการป้องกันยาเสพติดใน
สถานศกึ ษาและชุมชน
3. สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษาให้มคี วามมั่นคงปลอดภัย และจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนแสดงออกถึงความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีทัศนคติทดี่ ีต่อบ้านเมอื ง มหี ลักคดิ ท่ีถูกต้อง เปน็ พลเมืองดขี องชาติ
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม
4. สถานศกึ ษาน้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา มุง่ สร้างพื้นฐานใหแ้ กผ่ เู้ รียน
4 ด้าน ของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หวั
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปบรู ณาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพือ่ พฒั นาผเู้ รยี นมคี ณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์ ตามที่กำหนด
กลยทุ ธท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ใหม้ ีสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร และมีทกั ษะการเรยี นรู้
ในศตวรรษท่ี 21
1. พัฒนาหลักสูตรทุกระดับการศึกษาสู่การปฏิบัติ ให้มีการพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง
ให้เป็นหลักสูตรเชิงสมรรถนะ สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะ
ผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล อย่างเหมาะสมทุกด้าน ท้ังทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปัญญา มที ักษะ
ส่ือสารภาษาไทย และพัฒนากระบวนการนำไปสู่การปฏบิ ัตเิ ปา้ หมาย เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน
2. พัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียน
2.1 พฒั นาศักยภาพ และคุณภาพผู้เรยี นระดบั ปฐมวยั
2.2 พัฒนาศกั ยภาพ และคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา
2.3 พัฒนาศกั ยภาพ และคุณภาพผ้เู รียนระดับมัธยมศกึ ษา
3. นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรยี นทุก
ระดับการจัดการศกึ ษา
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
19
1) จัดหา พัฒนา ข้อมูลองค์ความรู้ ส่ือ วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสือ
แบบเรียน ในรปู แบบของดจิ ิทัลเทคบ๊คุ (Digital Textbook) ตามเนอื้ หาหลักสูตรทก่ี ำหนด
2) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล (Digital Learning Platform) เพ่ือ
ตอบสนองต่อการพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล
3) ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital device) เพื่อเป็นเคร่ืองมือใน
การเขา้ ถึงองคค์ วามรู้ และการเรียนรูผ้ ่านระบบดิจิทลั อย่างเหมาะสมตามวยั
4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาผู้เรยี นให้ผ้เู รียน
เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ผ่านการเรียนร้ผู ่านระบบดจิ ทิ ลั
5) นำเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใช้สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
ทุกระดับการจดั การศึกษา
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาผู้บรหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี
มีศักยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม
1. ส่งเสรมิ ใหค้ รูปรบั เปล่ยี นการจดั การเรยี นรู้ “ครผู ู้สอน” เป็น “Coach” ผอู้ ำนวยการ
การเรียนรู้ ผู้ให้คำปรกึ ษา หรือให้ข้อเสนอแนะการเรียนรู้ และปรับระบบการวัดประเมินผลสมั ฤทธิ์ผเู้ รยี นให้
สอดคลอ้ งกบั หลักสูตร
2. พฒั นาครูด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Technology) ให้มคี วามรูค้ วามสามารถและ
ชำนาญในการสอนภาษาอังกฤษ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) และศักยภาพการสอนหลกั สตู รสมรรถนะ
3. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครู ศึกษาวิเคราะห์ ความต้องการจำเป็นในการพฒั นาตนเอง
(Need Assessment) เพอ่ื วางแผนการพัฒนาอยา่ งเป็นระบบและครบวงจร
4. สนบั สนุนให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา วางแผนและเข้ารบั การพฒั นาตามหลักสูตร
ท่กี ำหนด ทเ่ี ชื่อมโยงความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี (Career Path)
5. ส่งเสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในรูปแบบชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้
ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
6. สง่ เสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีความรู้ทักษะด้านการรดู้ ิจิทัล
(Digital Literacy) การสอนดิจิทลั (Digital Pedagogy) ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทกั ษะสื่อสารภาษาที่ 3
สอดคลอ้ งกับภารกจิ และหนา้ ทข่ี องตน
7. สง่ เสรมิ พฒั นาและยกระดับความรู้ภาษาองั กฤษของครูทีส่ อนภาษาอังกฤษ โดยใช้
ระดบั การพัฒนาทางด้านภาษา (Common European Framework of Reference for Languages :
CEFR) ตามเกณฑ์ ท่ีกำหนด
8. สง่ เสรมิ และพฒั นาครใู ห้สามารถออกแบบการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับ
การวัดประเมินผลท่เี น้นทักษะการคิดขั้นสงู (Higher Order Thinking) ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั ิจริง (Active
Learning)
9. สง่ เสรมิ และพฒั นาครูให้มคี วามรู้และทักษะในการจัดการเรยี นรู้ สำหรับผ้เู รียนทีม่ คี วาม
แตกต่าง (Differentiated Instruction)
10. ส่งเสรมิ และพัฒนาครใู หม้ ีความรู้ และทกั ษะในการสรา้ งเคร่อื งมือการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะการคดิ ขนั้ สูง (Higher Order Thinking)
11. ส่งเสริมและพัฒนาครใู ห้มีความรคู้ วามสามารถจดั การเรยี นรูใ้ นโรงเรียนขนาดเลก็ ได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
20
12. สง่ เสริมและพฒั นาครูในการจัดการเรียนรู้ สำหรบั ผ้เู รียนท่มี ีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ตามศักยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล
13. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาพฒั นาตนเอง ผา่ นระบบ Online
และแบบ Face - to - Face Training
14. สนับสนนุ ครู ด้านวสั ดุ อปุ กรณ์ และอุปกรณ์ดจิ ิทลั (Digital Device) เพ่อื ใช้เปน็ เคร่ืองมือ
ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้แกผ่ เู้ รยี น
กลยทุ ธท์ ี่ 4 สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และการลดความ
เหล่ือมล้ำทางการศึกษา
1. สรา้ งความรว่ มมือกับองค์กรปกครองระดบั ท้องถิน่ ภาคเอกชน หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง
ในการจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกับบริบทของพนื้ ท่ี
2. ยกระดับสถานศกึ ษาในสังกัดทุกระดับและทุกประเภท ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตาม
บรบิ ทของพ้นื ที่
3. การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) เปน็ เครอ่ื งมือในการพฒั นา
คณุ ภาพของผเู้ รยี น
4. บริหารจดั การการใชจ้ ่ายเงินอดุ หนุน เป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพและโปรง่ ใส
กลยทุ ธ์ท่ี 5 จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวติ ทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม
1. จดั ทำ Road Map และแผนปฏิบัตกิ ารเพอื่ จดั แนวทางการดำเนนิ ทางการให้องค์ความรู้
และสร้างจติ สำนึกด้านการผลิตและบริโภค ทีเ่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
2. จดั ทำคมู่ ือและพัฒนาสือ่ นวัตกรรมในรปู แบบ QR CODE ส่ือระบบMultimediaและอน่ื ๆ
3. จดั ทำเกณฑ์การประกวดโรงเรียนคาร์บอนตำ่ และชุมชนคารบ์ อนต่ำ และพฒั นา
วทิ ยากรใหค้ วามรู้เรื่องวงจรชวี ิตของผลิตภณั ฑ์ (LCA) สูส่ ังคมคารบ์ อนตำ่
4. พัฒนาตอ่ ยอด และขยายผลศนู ย์การเรยี นร้ลู ดใชพ้ ลงั งานการจดั การขยะและอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม
5. พัฒนาเครอ่ื งมือและกระบวนการให้ความรู้ และแนวทางการจดั การเรยี นรู้กิจกรรมเร่ือง
การผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม
6. สนับสนนุ ส่งเสริม พัฒนากระบวนการรณรงค์ใหม้ กี ารจัดซ้อื จดั จา้ งท่ีเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
7. พัฒนายกระดับสถานศกึ ษา นำรอ่ งขยายผลสง่ สถานศกึ ษาต้นแบบ ด้านการพัฒนา
ด้านการผลิตและบรโิ ภค ทเี่ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อมท้ังระบบ เชน่ การเลอื กซอื้ ผลิตภณั ฑ์เบอร์ 5 และผลติ ภณั ฑ์ท่ี
มฉี ลาก และสัญลกั ษณเ์ บอร์ 5 เพอ่ื ลดการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ และลดปริมาณขยะในสำนกั งานและสถานศึกษา
8. สง่ เสรมิ การพัฒนาสื่อนวตั กรรม และบรู ณาการสาระการเรียนรู้และแผนการจดั การ
เรียนร้เู รอ่ื งการผลิตและบริโภค ทเ่ี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ มต่อการเปลีย่ นแปลงภมู ิอากาศ
9. ขยายผลผ่านระบบ DLTV สง่ เสริมความรู้เรอ่ื งการผลิตและบรโิ ภคท่เี ป็นมติ รกับ
ส่ิงแวดลอ้ ม ตอ่ ความปลอดภัยและสขุ ภาพท่ีดสี ่สู ังคมเมืองเชิงนิเวศ และการจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อมท่ีดี
และการเลือกผลติ ภัณฑ์บรรจภุ ณั ฑท์ เ่ี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม และฉลากทีแ่ สดงสญั ลกั ษณ์ทเี่ ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
10. พฒั นานวตั กรรมโดยใช้กระบวนการ BBL/PLC และ Decision – Making การนำขยะ
มาใชป้ ระโยชน์ในรูปแบบผลิตภณั ฑ์และพลงั งานและลดประมาณขยะ การบำบดั นำ้ เสยี ลดการใช้เผาและลด
ใชส้ ารเคมี สโู่ รงเรยี นปลอดภยั และเป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
21
11. ส่งเสริม สนับสนนุ และพฒั นาใหน้ ักเรยี น โรงเรียนได้ศกึ ษาเรียนรู้จากแหลง่ เรียนรู้
โรงงานอุตสาหกรรม การผลติ ท่ีเปน็ มิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม ชุมชนเมอื งนเิ วศน์ และหน่วยงานสง่ เสรมิ การบริโภค
ที่เป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม เพอ่ื นำความรู้มาประยกุ ต์ใช้และจัดทำโครงงานด้านการอนุรักษ์สิง่ แวดลอ้ ม
12. สง่ เสริมแนวทางการจดั การเรยี นร้อู าชพี ทีเ่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมในสถานศกึ ษา จัดคา่ ย
เยาวชนวัยซนลดคารบ์ อนเพื่อโลก ประกวดชมุ ชนตน้ แบบ ท่นี ำความร้จู ากโรงเรยี นต่อยอดสู่ชุมชนนิเวศน์
ปลอดขยะ ปลอดสารพิษ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
13. จัดทำระบบนิเทศ ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานในสถานศึกษาท้ังในระบบออนไลน์ และ
นเิ ทศเชงิ คุณภาพ พฒั นาการกรอกขอ้ มลู ระบบการนิเทศติดตาม แลกเปลีย่ นนำเสนอผลงาน และมอบ
รางวัลเกยี รติยศ ประชาสัมพันธ์ และจดั พมิ พ์ เวบ็ ไซต์ ผลงานเพอ่ื เผยแพรแ่ ละเป็นต้นแบบ สรุปผลรายงาน
กลยทุ ธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา ตามหลกั ธรรมาภบิ าลและใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลในการบรหิ าร
1. ให้สถานศึกษา มคี วามเป็นอสิ ระในการบรหิ ารจัดการศึกษา
1.1 สง่ เสริม สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาหรอื กลุ่มสถานศกึ ษา จดั หาเจา้ หน้าที่เพ่ือปฏบิ ัติ
หนา้ ทสี่ นบั สนุนงานด้านธุรการ ดา้ นการเงนิ การบัญชแี ละพัสดุ และดา้ นบริหารงานบคุ คล เพอ่ื มใิ ห้งาน
ดังกลา่ วเปน็ ภาระที่เกินสมควรแกค่ รู ผ้ปู ฏิบตั ิหนา้ ทก่ี ารจดั การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ ูเ้ รยี น
1.2 จดั ทำแผนปฏบิ ัติการและดำเนนิ การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถานศึกษาหรอื
กลุ่มสถานศึกษา ให้มีความเป็นอสิ ระในการบริหารจัดการศึกษา
1.3 สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นขนาดเลก็ ใหม้ ีระบบการบริหารจดั การท่หี ลากหลาย
เช่น การบรหิ ารจดั การแบบกลมุ่ โรงเรยี น การสอนแบบบรู ณาการ คละช้ัน เป็นต้น
1.4 ยกระดับสถานศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของทกุ คนในชมุ ชนเป็นศนู ย์กลาง
ในการพัฒนาทกั ษะอาชพี และทักษะชวี ติ
1.5 นำผลการประกนั คุณภาพการศึกษา มาใช้ในการวางแผนการปฏิบตั กิ ารตรวจสอบ
ตดิ ตามเพ่อื การปรับปรุง พฒั นาสถานศกึ ษา ใหม้ ีคณุ ภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษา
1.6 จดั อบรม พฒั นาผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาให้มีคณุ สมบตั ิ สมรรถนะ และความรคู้ วาม
เช่ียวชาญ ประสบการณ์ท่จี ำเปน็ สำหรบั การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
1.7 สถานศึกษา หรือกลุ่มสถานศึกษาได้รับการกระจายอำนาจให้อยา่ งเป็นอิสระ ในการ
บริหารและจดั การศึกษาครอบคลุมดา้ นการบริหารวิชาการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ดา้ นการบริหารงาน
บุคคลและด้านการบรหิ ารงานท่วั ไป โดยดำเนินการเป็นรายสถานศึกษา หรือกลมุ่ สถานศกึ ษาอาจดำเนินการ
เปน็ รายด้านหรือทุกดา้ นได้
1.8 สถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาของสถานศกึ ษาเพ่ือ
ทำหนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ สนับสนุน กำกับดูแลกจิ การและการประกนั คุณภาพของสถานศึกษา
2. พัฒนาสำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา เป็นหน่วยงานมีความทนั สมัย อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.1 ศกึ ษา วิเคราะห์ ปรับปรุง และพฒั นาสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาใหเ้ ป็นหน่วยงาน
ที่ทนั สมยั มีหน้าทส่ี นับสนนุ กำกบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลสถานศกึ ษา เพ่ือการบริหารจดั การท่มี ี
ประสิทธภิ าพโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล
2.2 สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ใช้ระบบการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการทำงานตามหลักการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
22
2.3 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ัล(Digital Technology)
มาใช้ในการบรหิ ารงาน
2.4 สนบั สนุน จดั ทำแผนบรู ณาการจัดการศึกษาในระดับพนื้ ท่ี
2.5 สรา้ งความเข้มแข็งในการยกระดับคณุ ภาพการศึกษารปู แบบเครอื ข่าย เช่น
เครอื ข่ายสง่ เสริมประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา ศนู ย์พฒั นากลมุ่ สาระการเรียนรู้ กลมุ่ โรงเรยี น ฯลฯ
2.6 สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนของสงั คม มีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการ
ท่ตี อบสนองความต้องการของประชาชนและพื้นท่ี
2.7 สง่ เสริม สนับสนนุ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมและสาธารณชน ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ
และมีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
2.8 สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนของสงั คม เข้ามามีสว่ นรว่ มสนบั สนุนทรพั ยากรเพื่อการศึกษา
จุดเนน้ (Focus)
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้กำหนดจุดเนน้ ตัวชว้ี ดั แนวทางตาม
แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 4 จดุ เน้น ดังน้ี
1. จดุ เนน้ ดา้ นโรงเรียนคุณภาพ
แนวทางการดำเนนิ งาน
1. สถานศกึ ษาจัดหอ้ งเรียนคุณภาพ คุณธรรม ตามแนวทางการขบั เคล่ือนห้องเรยี นคุณภาพ
คุณธรรม ของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
2. สถานศกึ ษา ใชแ้ พลตฟอรม์ ดิจิทัล (Digital Platform) และเทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology)
ในการบริหารจดั การและการเรียนการสอน
3. สถานศึกษาบริหารจดั การทมี่ ุ่งเนน้ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการทำงาน(Integrity&Transparency
Assessmen: ITA)
4. สถานศึกษาบรหิ ารจดั การโดยเนน้ ความปลอดภัยแก่นกั เรยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. จุดเนน้ ดา้ นนกั เรยี นคณุ ภาพ (ดี เก่ง มคี วามสุข)
แนวทางการดำเนนิ งาน
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา กลมุ่ โรงเรียน และสถานศึกษา จดั กจิ กรรมส่งเสริม สนับสนนุ ทักษะ
วชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะอาชีพ เชน่
1. การจดั ประสบการณ์ โดยเน้นการลงมือปฏิบัตจิ รงิ เรยี นปนเล่น สง่ เสรมิ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น
2. กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี
3. กจิ กรรมคา่ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม
4. การจดั กิจกรรมคา่ ยภาษาอังกฤษ
5. การจัดกิจกรรมเสริมทกั ษะวิชาการและทกั ษะอาชีพ
6. คา่ ยทกั ษะชวี ิต กิจกรรมดา้ นกีฬา ศลิ ปะ ดนตรี ฯลฯ
3. จุดเน้นด้านครูมอื อาชพี
แนวทางการดำเนนิ งาน
1. ครปู รบั เปล่ียนการจดั การเรียนร้จู าก “ครูผสู้ อน” เปน็ “Coach”
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
23
2. ครไู ดร้ ับการพฒั นาครูด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Platform) ดา้ นภาษาอังกฤษ และภาษา
คอมพวิ เตอร์ (Coding)
3. ครฝู ึกทักษะสร้างแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพ่ือการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น
4. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดร้ ับการส่งเสริม สนบั สนุน เขา้ รว่ มกิจกรรมแสดงออกถึงความ
รกั ในสถาบัน อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข การมจี ิตอาสา ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต มัธยสั ถ์ โอบอ้อม อารี มีวินัย
มีจิตวิญญาณความเป็นครู
5. ครไู ด้รับการพฒั นาให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั การวดั ประเมินผล
ผ่านกิจกรรมการปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning) และพฒั นารูปแบบชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ
(Professional Learning Community: PLC)
6. ครูจัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะ
4. ด้านการบรหิ ารจดั การมปี ระสิทธภิ าพ
แนวทางการดำเนินงาน
1. สพป.บรหิ ารจดั การท่ีมุ่งเน้นคุณธรรมและความโปร่งใสในการทำงาน (Integrity&Transparency
Assessmen:ITA)
2. สพป.ใช้แพลตฟอร์มดจิ ิทลั (Digital Platform) และเทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital Technology)
ในการบรหิ ารจัดการ
3. บริหารจัดการโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรยี นท่ีสามารถดำรงอยู่ได้
อยา่ งมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มีคณุ ภาพอย่างย่ังยนื
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
24
โครงการ/กจิ กรรม ตามแผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้รับจัดสรร
งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่ งบบริหารจัดการสำนักงาน งบประมาณ
เพื่อดำเนินโครงการจากสำนักต่าง ๆ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซ่ึงสำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้บรรจไุ ว้ในแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพ่ือบริหาร
จัดการตามตัวชี้วัดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และกลยุทธ์ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 โดยมีโครงการ/
กจิ กรรม ในการดำเนนิ งานตามกลยทุ ธ์ ดังนี้
โครงการ/กิจกรรม ภาระงานประจำ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ลำดบั โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ กล่มุ ที่
รบั ผิดชอบ
กลยทุ ธท์ ี่ 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความมั่นคงของมนุษยแ์ ละของชาติ
1 กิจกรรมวันสำคญั 10,000 อำนวยการ
2 ขับเคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศึกษา 60,600 นเิ ทศฯ
กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนให้มสี มรรถนะสำคญั ตาม
หลักสตู ร และมีทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
1 ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ระดบั กลุม่ โรงเรยี น 150,000 กลุ่มโรงเรยี น
15 กลมุ่
2 โรงเรียนฐานวจิ ัย 50,000 นิเทศฯ
3 พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ ด้วยเทคนิคการคดิ เลข 56,400 นิเทศฯ
เร็วแบบอินเดีย (เวทคณิต : Vedic Mathematics)
4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กจบหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 40,000 นิเทศฯ
2563
กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาผบู้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ให้มี
สมรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี มศี กั ยภาพ มีคุณธรรม
จริยธรรม
1 การปฐมนิเทศและพฒั นาครผู ู้ช่วยใหม้ ศี กั ยภาพ มีความพร้อมใน 8,980 พฒั นาครูฯ
การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีราชการให้มีคุณภาพตามมาตรฐานครมู ืออาชพี
2 พฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนการสอนพเิ ศษเรียนรวม 20,730 นิเทศฯ
3 พฒั นาศักยภาพครูประจำชั้นเพ่อื เตรยี มความพรอ้ มสำหรับการเป็น - สง่ เสรมิ การ
(ไม่ใช้ จดั การศกึ ษา
นักจติ วิทยาประจำสถานศึกษา งบประมาณ)
4 นิเทศ ตดิ ตามการปฏบิ ัติงานฯ และการประเมินสัมฤทธิผลการ 87,000 บรหิ ารงาน
ปฏิบตั งิ านในหนา้ ทต่ี ำแหน่งผู้อำนวยการสถานศกึ ษาใหม่ จำนวน บุคคล
15 ราย
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
25
ลำดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ กลุ่มที่
รบั ผิดชอบ
กลยุทธ์ที่ 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศกึ ษา ที่มี
คุณภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา
การดำเนินงานการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานโดยครอบครัว 7,000 สง่ เสริมการจดั
การศกึ ษา
กลยุทธท์ ี่ 5 จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกบั
สิง่ แวดล้อม
- ไมม่ ีโครงการ
กลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ตามหลัก
ธรรมาภบิ าลและใช้เทคโนโลยีดจิ ติ ลั ในการบรหิ าร
1 ประชุมจดั ต้งั จดั สรร ตดิ ตามการใชง้ บประมาณ ปีงบประมาณ 28,000 นโยบายและแผน
พ.ศ.2564
2 ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการทบทวนแผนพัฒนาการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 150,000 นโยบายและแผน
และจัดทำแผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
3 นิเทศบูรณาการ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา เพื่อ 45,000 นิเทศฯ
พฒั นาคุณภาพการศึกษา
4 การสรรหาและเลอื กสรรผปู้ ฏิบตั งิ านให้ราชการ 104,600 พฒั นาครูฯ
5 ประชมุ สัมมนาผ้บู รหิ าร สพป.ตรงั เขต 1 และผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 132,900 อำนวยการ
ในสังกัด สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
6 ประชุมผ้บู ริหารและบุคลากรในสงั กดั เพ่ือพัฒนาองค์กร 30,000 อำนวยการ
7 พัฒนาระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ 60,000 นเิ ทศฯ
การศึกษา (ก.ต.ป.น.)
8 การพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศและพัฒนาบุคลากรในการใช้ 10,400 ส่งเสรมิ การศกึ ษา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ปีการศึกษา 2564
ทางไกล
9 ประชุมคณะกรรมการเกลยี่ อัตรากำลงั /ย้ายข้าราชการ/พจิ ารณา 10,000 บรหิ ารงาน
ความดคี วามชอบ และการคดั เลอื กเข้ารบั รางวัลตา่ ง ๆ ของครู บคุ คล
และบุคลากรทางการศึกษา
10 องค์กรคณุ ธรรมตน้ แบบ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา 35,500 นิเทศฯ
ประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
11 พฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศึกษาดว้ ยการตรวจสอบ 11,520 หน่วยตรวจสอบ
ภายใน ภายใน
รวม 22 โครงการ 1,108,630
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
26
โครงการ/กิจกรรม ท่ไี ด้รับงบประมาณจากสำนกั ตา่ งๆ ของสพฐ.
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
ลำดบั โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ กล่มุ ที่
รับผิดชอบ
กลยทุ ธท์ ่ี 1 จดั การศกึ ษาเพื่อความมนั่ คงของมนุษยแ์ ละของชาติ
- ไมม่ โี ครงการ
กลยทุ ธ์ที่ 2 พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนใหม้ ีสมรรถนะสำคัญตาม
หลักสตู รและมีทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21
1 คัดเลอื กนักเรียน และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน 400,000 ส่งเสริมการจดั
ระดบั กลุม่ จงั หวดั ประจำปีการศึกษา 2563 การศึกษา
2 รณรงค์ เผ้าระวังและสง่ เสริมสรา้ งสรรคว์ ันวาเลนไทม์ ประจำปี 5,000 สง่ เสริมการจัด
2564 การศกึ ษา
3 การประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (RT) 124,685 นเิ ทศฯ
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1และการประเมินคุณภาพผู้เรยี น (NT)
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563
4 จัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) 295,793 นเิ ทศฯ
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา
2563
5 พฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนพเิ ศษเรียนรวม 5,000 นิเทศฯ
6 “คา่ ยเยาวชนรักษพ์ งไพรเฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษาสมเดจ็ พระเทพ 69,000 นิเทศฯ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร”ี ประจำปี 2564
7 พัฒนายวุ ทูตความดสี ู่วถิ พี ลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 5,700 นิเทศฯ
8 วิจยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ Active learning โดย 8,000 นเิ ทศฯ
เปล่ยี นบทบาทครูเปน็ โค้ช ร่วมกบั ภาคีเครอื ข่าย
9 พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ด้านการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละส่งเสรมิ การ 5,000 นเิ ทศฯ
อ่านตามแนวทางการประเมินของ PISA
10 สง่ เสริมการจัดการศึกษาแนวพุทธ ด้วยการจัดการจัดเรยี นรู้ แบบ 17,000 นิเทศฯ
Active Learning
11 ส่งเสรมิ การทำวิจัยเชงิ พืน้ ท่เี พ่ือการจัดทำนโยบายการจัดการ 30,000 นิเทศฯ
เรียนรูว้ ถิ ใี หม่
12 คัดเลอื กนักเรยี น และสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน 10,000 ส่งเสริมการจดั
ประจำปีการศกึ ษา 2564 ในระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา การศกึ ษา
13 ส่งเสรมิ สมรรถนะการอ่านข้ันสูงสำหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษา 15,200 นิเทศฯ
ตอนตน้ ตามแนวทางการประเมินของ PISA
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
27
ลำดับ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ กลุ่มท่ี
รบั ผิดชอบ
กลยทุ ธ์ท่ี 3 พัฒนาผบู้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้
มีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี มีศักยภาพ มคี ณุ ธรรม
จริยธรรม
1 นิเทศ ติดตาม ตรวจและประเมนิ แผนการจดั การศึกษาเพศวิถี 5,000 นิเทศฯ
ศกึ ษาและทักษะชีวติ
2 การตรวจและประเมนิ ผลงานทางวชิ าการขา้ ราชการครูและ 37,600 บรหิ ารงาน
บคุ ลากรทางการศึกษาท่ีขอรับการประเมนิ เพื่อใหม้ ีและเล่ือนเปน็ บุคคล
วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ
3 ประชมุ ปฏิบัตกิ ารสงั เคราะหร์ ายงานผลการประเมินตนเองของ 10,000 นิเทศฯ
สถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กลยุทธ์ท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษา ทม่ี ี
คณุ ภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหล่ือมล้ำทางการศกึ ษา
1 ประเมนิ และตดิ ตามนักเรยี นที่มคี วามเสย่ี งด้านสขุ ภาพจติ และ 15,000 ส่งเสรมิ การจัด
พฤติกรรม การศึกษา
2 เยี่ยมบ้านนกั เรยี นและบุคลากรทางการศึกษาทไี่ ด้รับผลกระทบ 15,000 สง่ เสริมการจัด
จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 การศึกษา
(COVID -19)
กลยุทธ์ที่ 5 จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตรกับ
ส่งิ แวดล้อม
- ไมม่ โี ครงการ
กลยทุ ธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ตามหลัก
ธรรมาภบิ าลและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิตัลในการบริหาร
1 โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาล 294,200 ส่งเสรมิ การจดั
ในสถานศกึ ษา และสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา การศกึ ษา
(โครงการโรงเรียนสุจริต) ปีงบประมาณ พ.ศ.2564
2 สง่ เสริมการนเิ ทศสร้างความเขม้ แข็งนเิ ทศภายในสถานศึกษา 7,000 นิเทศฯ
3 องค์กรคณุ ธรรม ก้าวนำเขตสุจรติ ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 42,000 นิเทศฯ
4 โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 45,000 นเิ ทศฯ
5 ตรวจเย่ยี มพื้นที่เชงิ ประเมนิ เพ่อื พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ 10,800 นิเทศฯ
ภายในของสถานศึกษา
รวม 23 โครงการ 1,465,978
รวมโครงการท้งั สนิ้ 45 โครงการ งบประมาณ 2,574,608 บาท
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
สว่ นท่ี 3
ผลการดำเนนิ งาน
29
สว่ นท่ี 3
ผลการดำเนนิ งาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ขับเคล่ือนภารกิจ
โดยใช้แผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปน็ เคร่อื งมือในการบรหิ ารจัดการและพฒั นาการศึกษา
ภายใต้ 6 กลยุทธ์ จุดเน้น 4 ด้าน และปฏิบัติงานตามภารกิจเพื่อสนองนโยบายและยุทธศาสตร์ในการจัด
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งปรากฏผลการดำเนนิ งาน ดังนี้
1. ผลการดำเนนิ งานตามตัวชีว้ ัดแผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ผลการ เปรียบเทยี บ
กลยุทธ์/ตัวชวี้ ดั เป้าหมาย ดำเนินงาน ผลกบั
(ร้อยละ) เป้าหมาย
กลยทุ ธท์ ี่ 1 จัดการศกึ ษาเพ่ือความม่นั คงของมนุษย์และของชาติ
1. ร้อยละของผเู้ รยี นมีพฤติกรรมแสดงออกถงึ ความรักใน ร้อยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
สถาบันหลกั ของชาติ ยดึ มนั่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เป้าหมาย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
มีจติ สาธารณะ มีจิตอาสา ซ่ือสตั ย์ สจุ ริต มัธยัสถ์ โอบออ้ ม
อารี มวี ินัย
2. ร้อยละของผ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความพร้อม ร้อยละ 100 90.63 ต่ำกว่า
สามารถรับมือกบั ภัยคุกคามทุกรูปแบบ ทมี่ ีผลกระทบต่อ เปา้ หมาย
ความมั่นคง
กลยทุ ธท์ ี่ 2 พัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ใหม้ ีสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู ร และมีทกั ษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
3. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาจัดบรรยากาศส่ิงแวดล้อม และจัด รอ้ ยละ 100 100 เป็นไปตาม
กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รยี นแสดงออกถงึ ความรกั ในสถาบัน เป้าหมาย
หลกั ของชาติ ยึดมน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ มีทัศนคติท่ีดตี ่อบ้านเมือง
มีหลกั คิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมืองดีของชาติ มีคุณธรรม
จริยธรรม
4. รอ้ ยละของสถานศกึ ษาน้อมนำพระบรมราโชบายด้าน รอ้ ยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
การศกึ ษา มุ่งสร้างพน้ื ฐานให้แก่ผ้เู รยี นท้งั 4 ด้าน ของ เปา้ หมาย
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชริ เกลา้ เจา้ อย่หู ัว และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ไปพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ตามท่กี ำหนดได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
5. รอ้ ยละของผู้เรียนทกุ ระดับมสี มรรถนะสำคญั ตามหลักสตู ร ร้อยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
มที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) เป้าหมาย
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
30
ผลการ เปรียบเทียบ
กลยทุ ธ/์ ตัวชวี้ ดั เปา้ หมาย ดำเนินงาน ผลกบั
(ร้อยละ) เป้าหมาย
6.รอ้ ยละของผูเ้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาให้มีความรู้ สมรรถนะ ร้อยละ 90 94.62 สูงกว่า
หรอื ทกั ษะด้านตา่ ง ๆ เพอ่ื การประกอบอาชีพและการมีงาน เป้าหมาย
ทำตามความถนดั และความต้องการของตนเอง มีทักษะ
อาชพี ที่สอดคล้องกบั ความต้องการของท้องถน่ิ และประเทศ
7. รอ้ ยละของผเู้ รียนมศี ักยภาพในการจัดการสขุ ภาวะของ ร้อยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
ตนเอง ใหม้ ีสุขภาวะที่ดี สามารถดำรงชวี ิตอย่างมคี วามสุข เปา้ หมาย
ทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจิตใจ
8.ร้อยละของผู้เรยี นได้รบั การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ตาม รอ้ ยละ 60 60 เป็นไปตาม
ความถนดั และความสามารถ (วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป้าหมาย
ทศั นศิลป์ นาฎศลิ ป์ ดนตรี กีฬา)
9. ร้อยละของผ้เู รียนมีทักษะการส่อื สารภาษาองั กฤษ ร้อยละ 80 60 ตำ่ กว่า
เหมาะสมกับระดับชนั้ เป้าหมาย
10. รอ้ ยละของผู้เรยี นมีทกั ษะพ้ืนฐานในการดำรงชีวิต รอ้ ยละ 100 100 เป็นไปตาม
สามารถดำรงชวี ิตอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข มคี วาม เป้าหมาย
ยดื หยนุ่ ทางด้านความคดิ สามารถทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้
ภายใต้สังคมที่เปน็ พหุวัฒนธรรม
11. ร้อยละของผู้เรยี นมีความสามารถอ่านออก เขยี นได้ และ รอ้ ยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
คดิ เลขเป็น อยู่ในระดับพอใช้ขน้ึ ไป เปา้ หมาย
12. ร้อยละของผ้เู รียนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ผ่านการ รอ้ ยละ 80 100 สูงกวา่
ประเมนิ สมรรถนะทจ่ี ำเป็นดา้ นการรเู้ ร่อื งการอ่าน (Reading เปา้ หมาย
Literacy) ด้านการร้เู ร่อื งคณิตศาสตร์ (Mathematical
Literacy) และด้านการรเู้ รื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาผูบ้ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพมศี ักยภาพ
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม
13. รอ้ ยละของครู มกี ารเปล่ียนบทบาทจาก “ครูผู้สอน” ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
เป็น “Coach” ผู้ใหค้ ำปรึกษา ขอ้ เสนอแนะการเรยี นรหู้ รือ เป้าหมาย
ผูอ้ ำนวยการการเรยี นรู้
14. รอ้ ยละของครสู อนภาษาอังกฤษไดร้ บั การพัฒนาความรู้ รอ้ ยละ 100 52.89 ตำ่ กวา่
ความสามาถ และทักษะในการสอนภาษาองั กฤษตามเกณฑ์ เป้าหมาย
ระดับทางภาษา (CEFR)
15. รอ้ ยละของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พฒั นาตนเอง ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
ทางวิชาชพี อย่างตอ่ เน่ือง และเป็นตน้ แบบด้านคุณธรรมและ เป้าหมาย
จริยธรรม
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
31
ผลการ เปรียบเทยี บ
กลยทุ ธ/์ ตวั ชวี้ ดั เป้าหมาย ดำเนินงาน ผลกบั
(รอ้ ยละ) เปา้ หมาย
กลยทุ ธท์ ่ี 4 สร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาที่มีคณุ ภาพ มมี าตรฐาน และการลดความเหล่ือมล้ำ
ทางการศึกษา
16. อัตราการเข้าเรยี นรอ้ ยละในแต่ละระดับการศกึ ษาของ ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
ประชากรกล่มุ อายรุ ะดับปฐมวัย ประถมศึกษา และ เป้าหมาย
มัธยมศกึ ษาตอนตน้
17. รอ้ ยละของผู้เรียนที่ยากจนไดร้ ับจดั สรรงบประมาณ ร้อยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
อดุ หนนุ อยา่ งเพียงพอและเหมาะสม สอดคล้องกบั สภาพ เป้าหมาย
ข้อเท็จจรงิ
18. ร้อยละของผู้เรียนไดร้ บั การสนับสนนุ วสั ดุ อุปกรณ์ และ ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
อุปกรณ์ดิจทิ ัล (Digital Device) เพ่อื ใช้ เปน็ เคร่ืองมอื ในการ เป้าหมาย
เรยี นรู้ อยา่ งเหมาะสมเพียงพอ
19. รอ้ ยละของครูได้รับการสนบั สนุน วสั ดุ อุปกรณ์ และ รอ้ ยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
อปุ กรณ์ดจิ ทิ ัล (Digital Device) เพอ่ื ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือ ในการ เปา้ หมาย
จดั กิจกรรมการเรียนร้ใู ห้แก่ผเู้ รยี น
20. ร้อยละของสถานศึกษามีระบบการดูแลชว่ ยเหลือและ รอ้ ยละ 100 100 เป็นไปตาม
คุม้ ครองนักเรียน และการแนะแนวที่มีประสิทธภิ าพ เป้าหมาย
21. รอ้ ยละสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่พิเศษไดร้ บั การพัฒนาการ รอ้ ยละ 100 100 เป็นไปตาม
จัดการศึกษาตามบริบท เป้าหมาย
กลยุทธท์ ่ี 5 จัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม
27. รอ้ ยละของผูเ้ รียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ และตระหนักใน รอ้ ยละ 100 88.93 ต่ำกวา่
การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เปา้ หมาย
กลยทุ ธ์ท่ี 6 พัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาลและใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการบรหิ าร
28. ร้อยละของสถานศกึ ษา ได้รับการสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อใหส้ ามารถจัดการศกึ ษา ได้อย่างมี เปา้ หมาย
ประสิทธิภาพ
29. สพป. และรอ้ ยละสถานศึกษา บริหารจัดการศึกษาดว้ ย ร้อยละ 100 100 เปน็ ไปตาม
ความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ ตามหลัก เปา้ หมาย
ธรรมาภบิ าล
30. ร้อยละของสถานศึกษา มีขอ้ มลู ผูเ้ รยี นรายบุคคลที่ ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
สามารถเช่อื มโยงกับข้อมูลตา่ ง ๆ นำไปสู่การวเิ คราะห์ เพื่อ เป้าหมาย
วางแผนการจัดการเรียนรู้สู่ผู้เรยี น ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(Big Data Technology)
31. สพป.และร้อยละสถานศึกษามีแพลตฟอร์ม ดิจิทัล ร้อยละ 100 100 เป็นไปตาม
(Digital Platform) เพื่อสนับสนนุ ภารกจิ ดา้ นบรหิ ารจดั การศกึ ษา เป้าหมาย
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
32
กลยทุ ธ์/ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย ผลการ เปรยี บเทียบ
ดำเนนิ งาน ผลกบั
32. สพป.และร้อยละสถานศึกษา นำนวัตกรรม และ รอ้ ยละ 100 (รอ้ ยละ) เปา้ หมาย
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Technology) มาใช้ ในการ ร้อยละ 100
บริหารจัดการและตัดสนิ ใจทง้ั ระบบ 100 เป็นไปตาม
เปา้ หมาย
33. สพป.และรอ้ ยละสถานศึกษา ท่เี ขา้ รบั การประเมนิ
คุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงาน 100 เป็นไปตาม
ภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) เป้าหมาย
มีผลการประเมินอยู่ในระดับสูงข้นึ ไป
2. ผลการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
นโยบายท่ี 1 การส่งเสริมให้ผ้เู รยี นมที ัศนคติที่ถกู ต้องตอ่ บ้านเมอื งมีพืน้ ฐานชีวิตท่ีมน่ั คง และมีคณุ ธรรม
ความเปน็ พลเมือง ปลูกฝังความมรี ะเบียบวินยั โดยกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ไดส้ ง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศึกษา
ในสงั กัดทุกแหง่ มีการจดั กจิ กรรมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมที ัศนคตทิ ีถ่ ูกต้องต่อบา้ นเมือง มีคุณธรรมจรยิ ธรรม โดยให้
สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมสอดแทรกในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้และผา่ นกระบวนการลกู เสือ-เนตรนารี และแต่ง
เครอ่ื งแบบลกู เสือทุกวนั พฤหัสบดี ส่งผลใหน้ กั เรียนของโรงเรียนโดยภาพรวมเปน็ เด็กนกั เรยี นทม่ี ีเจตคติท่ดี ีต่อ
บา้ นเมือง เปน็ ผู้มีระเบียบ วินัยและมคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเพม่ิ มากขน้ึ และได้จัดอบรมทางการ
ลูกเสอื ใหก้ บั บคุ ลากรของสถานศึกษา โดยใช้แนวทางการฝึกอบรมของสำนกั งานลูกเสอื โลก และคณะกรรมการ
ฝา่ ยพฒั นาบคุ ลากรสำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ
นโยบายที่ 2 การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ทุกช่วงวยั โดยการเพ่ิมพนู ทกั ษะ (Re skill) พัฒนาทักษะ
(Up skill) และการเรียนรู้ ทักษะใหม่ (New skills) เพอ่ื เพิ่มศักยภาพในการแขง่ ขนั
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดด้ ำเนนิ การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยท์ ุกช่วงวัย โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re skill) พัฒนาทักษะ
(UP skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skill) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ตามนโยบายของสำนักงาน
เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน รวมถึงยุทธศาสตร์ชาตคิ รบทกุ ประเด็น
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
33
โดยจัดทำโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active learning) โดยเปลี่ยนครูเป็นโค้ช
โครงการวทิ ยาการคำนวณ (Coding) โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โครงการโรงเรียนฐานวิจยั โครงการโรงเรยี น
สุจริต โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โครงการแข่งขันทักษะวิชาการ เป็นต้น และกิจกรรมต่าง ๆ ท่ี
เหมาะสมกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมลูกเสือ กิจกรรมโรงเรียนสุจริต เป็นต้น อีกทั้งยังส่งเสริมการ
จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นหลักสูตรท้องถิ่นของตนเองอีกด้วย ซึ่งโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ี
เป็นเคร่อื งมือในการพัฒนา ครู บุคลากรทางการศกึ ษา และนักเรียน โดยการเชิญวิทยากรมาจดั อบรม
ในโครงการต่าง ๆ หรือการส่งเสริมการไปศึกษาดูงานสถานที่ต่าง ๆ ให้มีการเพิ่มพูนทักษะ (Re skill) พัฒนา
ทักษะ (UP skill) และการเรยี นรู้ทักษะใหม่ (New skill) เพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพในการแข่งขันต่อไป
นโยบายท่ี 6 การสง่ เสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ที กั ษะ
ในศตวรรษท่ี 21
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนการ
จดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผูเ้ รียนให้มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 ทุกระดับช้นั ตงั้ แตร่ ะดับ ปฐมวัย จนถงึ ระดบั
มัธยมศึกษาตอนต้น ตามนโยบายของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน รวมถึงยุทธศาสตร์ชาติครบทุกประเด็น โดยการสอดแทรกลงในกิจกรรมต่าง ๆ โครงการต่าง ๆ และ
การนิเทศการจัดการศึกษาทุกกิจกรรมให้เกิดความตระหนักในการจัดการเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยได้จัดทำโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 ที่เหมาะสมกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน มีวิธีการให้ทุกโรงเรียนได้พัฒนาตนเองผ่าน
โครงการต่าง ๆ แล้วขยายผลให้โรงเรียนในสงั กัดไดร้ ับทราบแนวทางการปฏบิ ัติทีด่ เี ลิศของกันและกัน อีกทั้ง
การส่งเสริมให้ครูจัดทำวิจัยชั้นเรียนโครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่ อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21 อีกด้วย พรอ้ มเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทาง YOUTUBE
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
34
นโยบายที่ 7 การพฒั นาครใู ห้มที ักษะความรแู้ ละความชำนาญการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลและภาษาอังกฤษ
รวมท้ังการจดั การเรียนการสอน (Human Capital Excellence Center : HCEC)
ดา้ นการพฒั นาครู
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ประชาสัมพันธ์แนวทางการพัฒนา
และยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) สำหรับครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ตามแนวทางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ครูและบุคลากร
ทางการศึกษาในสังกัดทราบและถือปฏิบัติ และศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ
(HCEC) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ส่งรายชื่อครูผู้สอนภาษาอังกฤษเข้ารับการ
ทดสอบวัดผลทกั ษะภาษาอังกฤษสำหรับครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ ประจำปีงบประมาณ 2564 เพ่ือให้ทราบระดับ
ความสามารถทางภาษาองั กฤษ (English Proficiency) ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพื่อนำไปสู่แนวทาง
การพัฒนาศักยภาพระดับทักษะภาษาอังกฤษ (English Skill) ตามกรอบมาตรฐานทางภาษา CEFR
(Common European Framework of Reference) ผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ
(HCEC) จำนวน 88 คน ซึง่ ได้รบั จัดสรรโควตา จำนวน 50 คน
ด้านการจดั การเรยี นการสอน
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนของครู
โดยการใหค้ ำปรกึ ษา ชีแ้ นะการสอน ดว้ ยรูปแบบการเรียนร้ตู า่ ง ๆ สนับสนนุ ใหค้ รูพัฒนาตนเอง ได้แก่ อบรม
ทางระบบออนไลน์ เปน็ ตน้
นโยบายที่ 8 หลักสูตรฐานสมรรถนะ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ประชาสัมพันธ์ให้ครู ผู้บริหาร ได้รับรู้ถึง
แนวทางการใชห้ ลกั สูตรสมรรถนะของผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551
และส่งเสริม สนับสนุน หลักสูตรสมรรถนะไปบูรณาการตามกลุ่มสาระของหลักสูตรแกนกลางเพื่อเป็น
เป้าหมายในการพัฒนาความสามารถที่จำเป็นของผู้เรียนต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบันและอนาคต นิยามและ
องค์ประกอบของ 5 สมรรถนะ ที่เด็กไทยควรมีในการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรฐาน
สมรรถนะ วัดผลจากสมรรถนะทง้ั 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1.สมรรถนะการจัดการตนเอง 2. สมรรถนะการสอื่ สาร
3. สมรรถนะการรวมพลงั ทำงานเป็นทมี 4. สมรรถนะการคดิ ขัน้ สูง และ 5. สมรรถนะการเป็นพลเมอื งท่ีเข้มแขง็
นโยบายท่ี 9 การใชแ้ พลตฟอร์มดจิ ิทัลเพื่อการเรียนรู้ และใช้ดจิ ทิ ลั เปน็ เคร่ืองมือการเรยี นรูเ้ พอื่ พฒั นา
ด้านการศึกษาเพอ่ื ความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP)
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ได้ดำเนนิ การขับเคลื่อนการดำเนนิ งานดงั นี้
1) แจ้งโรงเรยี นแตง่ ต้ังผูด้ ูแลระบบ DEEP อย่างนอ้ ยโรงเรยี นละ 1 คน
2) แจง้ โรงเรยี นแตง่ ต้ังนายทะเบียนขอ้ มูลสารสนเทศ อย่างน้อยโรงเรยี นละ 1 คน
3) แจ้งประชาสัมพันธ์ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดเข้าร่วมชมการถ่ายทอดสดการ
อบรมการใช้งานใช้ดจิ ิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนร้แู ห่งชาติ (Nation Digital Learning Platform)ของสพฐ.
4) แจ้งผู้ดแู ลระบบระดับเขตพื้นที่ ระดับโรงเรียน ร่วมประชุมทางไกลด้วยระบบ Conference
ของ สพฐ. เพื่อเตรียมการใช้งานใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ
(Digital Education Excellence Platform : DEEP)
5) แจ้งโรงเรยี นนำเขา้ ข้อมูลนักเรียนและครผู สู้ อนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ทุกคน และ
ให้นกั เรียนลงทะเบยี นเขา้ ใช้งานระบบ DEEP ตั้งแต่วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2563
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
35
6) แจง้ ประชาสมั พันธ์ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดเขา้ รว่ มชมการถา่ ยทอดสดการแสดง
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์บนแพลตฟอร์มออนไลน์ “การจัดการศึกษาโดยใชด้ จิ ิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการ
เรียนรู้แห่งชาติ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน ในวนั ที่ 31 สิงหาคม 2563
นโยบายที่ 10 การจดั การศึกษาเดก็ ปฐมวยั
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ให้ความสำคัญของการจัดการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ดงั น้ี 1. ไดด้ ำเนนิ การประชุมมอบนโยบายกบั ผูบ้ ริหารโรงเรียน ทำขอ้ ตกลง กำหนดตวั ช้วี ัด เพ่อื เป็น
แนวทางในการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัยทุกโรงเรยี นในสังกดั
2. ได้พัฒนาครูโดยอบรมให้ความรู้เรื่องแนวทางการประเมินพัฒนาการเด็กที่จบหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยเพอื่ ครไู ดป้ ระเมนิ เด็กได้ตามหลักสตู ร และตามบริบทของโรงเรียนได้อย่างครอบคลมุ
3. จัดอบรมเรื่องน้ำและอากาศ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทยเพื่อครูได้
นำไปจัดกจิ กรรมใหก้ บั เด็กโดยผ่านการปฏิบัติจรงิ
4. ประชาสัมพันธ์ให้ครูปฐมวัยได้พัฒนาตนเองด้วยระบบออนไลน์อย่างต่อเนื่องตาม
สถานการณ์ปจั จุบนั เพ่ือนำไปพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพยิง่ ข้ึน
5. ไดน้ เิ ทศ ตดิ ตาม การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนอย่างตอ่ เน่ือง
นโยบายท่ี 11 การเข้าถงึ ทางการศึกษาสำหรบั คนพกิ าร และผ้ดู อ้ ยโอกาส
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนินการจัดการศกึ ษาเรียนรวม
โดยมโี รงเรยี นในสงั กดั ท่ีจดั การศกึ ษาเรยี นรวม จำนวน 99 โรง ข้าราชการครูและพี่เลีย้ งเดก็ พกิ าร จำนวน
133 คน นักเรยี นจำนวน 816 คน มีโรงเรียนคขู่ นาน จำนวน 2 โรง ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบ้านโคกชะแง้ และโรงเรียน
วัดสาริการาม โดยได้ส่งเสริม สนับสนุน ให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กพิการทั้ง 9 ประเภทความพิการ ได้เข้าถึงโอกาส
ทางการศึกษาและไดร้ บั การพฒั นาใหม้ ีพฒั นาการที่ดขี ึ้น เหมาะสมกบั ประเภทความพิการ มีความรู้ ทกั ษะตาม
หลักสูตร ตลอดจนมีเจตคติ คุณธรรมและจริยธรรม สนับสนุนให้จัดทำแผน EIP 100 % แยกตามประเภท
ความพิการ เพื่อขอรับการสนับสนุนสื่อ ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมโดยเฉพาะในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้รูปแบบผสมผสานทั้ง 4 รูปแบบ ได้แก่
On Air Online On Demand และ On Hand ภายใต้การสนับสนุนของผู้ปกครองและศูนย์การศึกษาพิเศษ
เขตการศึกษา 4 จงั หวดั ตรัง
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
36
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 มีโรงเรียนต้นแบบการเรียนรวม จำนวน
5 โรงเรยี น ไดแ้ ก่
1. โรงเรียนบ้านเขาตงิ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรงั
2. โรงเรียนบา้ นควนสวรรค์ อำเภอนาโยง จงั หวัดตรัง
3. โรงเรยี นวัดสาริการาม อำเภอเมอื งตรัง จังหวดั ตรงั
4. โรงเรยี นบา้ นโพรงจระเข้ อำเภอย่านตาขาว จังหวดั ตรงั
5. โรงเรยี นวัดหนองสมาน อำเภอหาดสำราญ จังหวดั ตรงั
สำหรบั เดก็ ดอ้ ยโอกาสสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 มีเดก็ ด้อยโอกาสท่ี
ได้รบั การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา จำนวน 10,797คน โดยไดส้ ง่ เสรมิ สนับสนุน ใหผ้ ู้เรยี นได้รับการพัฒนาให้มี
ความรู้ สมรรถนะหรอื ทักษะอาชีพในดา้ นต่าง ๆ เพอื่ การประกอบอาชีพ โดยส่งเสรมิ สนบั สนุนให้สถานศึกษา
จดั โครงการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวนั ในโรงเรียนตามแนว
พระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการห้องเรียนอาชีพในสถานศึกษากับ
สถาบันอาชวี ศกึ ษาในจงั หวดั ตรัง เปน็ ตน้
นโยบายท่ี 12 ความปลอดภัยของผู้เรียน
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑ ไดส้ ง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษา
มีระบบดูแลช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนให้ได้รับการดูแลช่วยเหลือ โดยมีนักจิตวิทยาโรงเรียนประจำ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ร่วมกบั ครแู นะแนว ลงพืน้ ที่ดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน
ใหไ้ ดร้ บั ความปลอดภยั ตลอดจนร้จู กั วธิ ีการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมกี ารส่งตอ่ สำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
และกลมุ่ มีปญั หา ส่งเสริมให้สถานศึกษาจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุบัติเหตุ
ตลอดจนรู้จักวิธีการป้องกันและแก้ไข มีมาตรการและแนวทางการป้องกันอุบัติเหตุ โดยได้ประชาสัมพันธ์
ซักซ้อมมาตรการความปลอดภัยของเด็กนักเรียน โดยได้ร่วมมือกับศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน
จังหวัดตรังมีมาตรการและแนวทางการปกป้องคุ้มครองนักเรียน นักศึกษาจากกิจกรรมอีสปอร์ตและเกม
ออนไลน์ในสถานศึกษา ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข และ
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สื่อภาพยนตร์และวีดิทัศน์รณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (โควิด-19) และการใช้ชีวติ ตามวิถี “ความปกตใิ หม”่ (New Normal) ในมิตทิ างวัฒนธรรม จำนวน
3 โครงการ รวม 32 ผลงาน ให้สถานศึกษาในสังกัด จำนวน 132 โรง ทราบ และประชาสัมพันธ์ผ่านทาง
เว็บไซต์สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
นโยบายที่ 14 การขบั เคล่ือนโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนินการคัดเลือกโรงเรียนคุณภาพ
ของชมุ ชน ซึง่ ได้แก่ โรงเรยี นบ้านหว้ ยมว่ ง อำเภอปะหลียน จงั หวดั ตรัง และได้ขอจัดต้งั งบประมาณ ประจำปี
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
37
งบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวนเงิน 34,993,000 บาท และโรงเรียนที่สามารถดำรงอยู่ได้ด้วยตนเอง (Stand
Alone) ได้แก่ โรงเรียนหาดทรายทอง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จำนวนเงิน 9,050,700 บาท โดยได้นำเสนอ
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดตรังเพื่อทราบ ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2564
และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ประชุมผ่านระบบ Zoom Meeting เมื่อวันที่ 5
กรกฎาคม 2564 ได้สนับสนนุ งบประมาณประจำปี 2564 งบดำเนินงาน ให้โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชนระดับ
ประถมศกึ ษา (โรงเรยี นบา้ นหว้ ยมว่ ง) งบประมาณ 350,000 บาท และโรงเรยี น Stand Alone (โรงเรยี น
หาดทรายทอง) งบประมาณ 150,000 บาท ซ่ึงโรงเรยี นไดน้ ำงบประมาณดงั กลา่ วไปดำเนนิ การดังน้ี
โรงเรียนบ้านห้วยม่วง : โครงการส่งเสริมการจดั การเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21 และ
พัฒนาความปลอดภยั ในสถานศึกษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ผลการดำเนนิ งาน
1.นกั เรียน ครู บุคลากรและผ้มู ารับบรกิ ารของโรงเรียนบ้านห้วยม่วง ทกุ คนมีความปลอดภัยใน
ชีวิตมากยิ่งขนึ้
2. โรงเรียนมีสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ครูมีความรู้ความสามารถในการใช้สื่อเพื่อ
จัดการเรียนการสอน นักเรียนมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทักษะความร่วมมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะความ
เปน็ ผู้นำ ทกั ษะในการส่อื สารและการรู้เทา่ ทนั ส่ือ และทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละรู้เทา่ ทนั เทคโนโลยี
3. นักเรียนมีทักษะดา้ นการประกอบอาชีพตามบรบิ ทของชมุ ชนในท้องถ่นิ
โรงเรียนหาดทรายทอง : โครงการธนาคารปูมา้ สง่ เสริมอาชพี การทำนกั เกต็ ปู ของโรงเรยี น
หาดทรายทอง
ผลการดำเนินงาน : นกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 53 คน มีความรู้ ความเข้าใจ
เรื่องการอนุรักษ์ปูม้าในชุมชนหาดทรายทอง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการ และมีทักษะการ
จดั ทำนกั เกต็ ปู และเสรมิ สร้างรายได้ในระหว่างเรียน
นโยบายที่ 16 โรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
โครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ) มงุ่ เน้นการพัฒนาโรงเรียน
ใหม้ คี ุณภาพ และไดม้ าตรฐานตามบริบทของตนเอง เพือ่ สร้างโอกาสให้นักเรียนในพื้นท่ไี ดร้ บั การพัฒนาอย่างเต็มท่ี
เกิดความเทา่ เทยี มและครอบคลุมท่วั ประเทศ เป็นการลดความเหลื่อมล้ำด้านการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมี
โรงเรียนศูนย์กลางของชุมชนเป็นต้นแบบ สร้างความเชื่อมั่นด้านคุณภาพ นำไปสู่การร่วมกันจัดกิจกรรมทางการ
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1
38
ศึกษาที่เป็นประโยชน์ เชื่อมโยงความสัมพันธ์กับชุมชนได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ โดยในพื้นที่ของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มีจำนวน 42 ตำบล ตำบลละ 1 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น
จำนวน 42 โรงเรยี น โดยสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนนิ การตามหลักเกณฑ์ท่ี
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด และแจ้งจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนคุณภาพประจำ
ตำบล ดำเนินการทุกกจิ กรรม/โครงการ
อนึ่ง ก่อนที่จะเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้มกี ารจดั อบรมใหค้ วามรแู้ ก่โรงเรียนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการ
โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล เชน่ การจดั อบรมการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบ Coding และติดตามงาน
ดา้ นอน่ื ๆ ซ่ึงผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งเรียบรอ้ ยและบรรลเุ ป้าหมายอยใู่ นระดับทีน่ า่ พงึ พอใจ
นโยบายท่ี 17 โรงเรยี นขนาดเล็กท่ดี ำรงอยู่ไดด้ ว้ ยตนเอง
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มโี รงเรยี นในสงั กดั ท้ังส้นิ จำนวน 132 แห่ง
มโี รงเรียนขนาดเลก็ ท่ีมจี ำนวนนกั เรียน 120 คนลงมา จำนวน 66 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 50 ของโรงเรยี นท้งั หมด
พร้อมนี้ไดด้ ำเนินการตามมาตรการยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเลก็ ในสังกดั ตามนโยบายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน แบง่ ตามสถานะปจั จบุ ันเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี
ประเภทกลมุ่ Stand Alone
- โรงเรยี นต้งั อย่พู ื้นที่เกาะ จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรยี นตงั้ อย่บู นพื้นทสี่ งู หา่ งไกล จำนวน 9 แห่ง
- โรงเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูง จำนวน 20 แห่ง
ประเภทกลุม่ โรงเรยี นในโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล จำนวน 10 แหง่
ประเภทกลุ่มทยี่ ังไม่ดำเนนิ การ จำนวน 26 แหง่
โดยสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้ดำเนินการบริหารจัดการโรงเรยี น
ขนาดเล็กในสังกดั ดงั นี้
กลมุ่ Stand Alone (30 โรงเรียน)
- โรงเรียนจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา 3 ปี (ปี 2563-2565) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการ
ดำเนินงานและการปฏบิ ตั ิงานของโรงเรียน โดยผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็
ระดับเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
กล่มุ โรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (10 โรงเรยี น)
- เปน็ โรงเรยี นหลกั และดำเนนิ การพิจารณาโรงเรียนขนาดเลก็ อ่นื ๆ มาควบรวม
กลมุ่ ที่ยงั ไม่ดำเนินการ (26 โรงเรียน)
- มีการบริหารจัดการโดยจัดทำแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปีการศึกษา 2563-2565
ตามมติคณะรัฐมนตรี เพ่ือใช้เปน็ เครื่องมือแนวทางในการดำเนินงานควบรวมกับโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
เป้าหมายคือ ในปีการศึกษา 2563-2565 เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามโี รงเรียนขนาดเลก็ ลดลง 10%, 20% และ 30%
ตามลำดบั
- ประชุม สื่อสาร สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ผู้บริหารโรงเรียน
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยคำนึงถึงคณุ ภาพของผู้เรียนเปน็ สำคญั
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
39
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1 ไดส้ ่งเสรมิ สนับสนุนโรงเรียนขนาดเล็ก
โดยจัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนจำนวน 66 โรง ๆ ละ 10,400 บาท เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการศึกษา
เปน็ คา่ สาธารณปู โภคเปน็ อันดับแรก หากมีงบประมาณคงเหลือให้ใช้จ่ายเปน็ คา่ วสั ดุและค่าใชส้ อยตามลำดับ
3. ผลการดำเนินงานโครงการตามแผนปฏิบตั ิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ผลการดำเนนิ งานตามกลยุทธ์
กลยทุ ธ์ท่ี 1 จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ
1.โครงการกจิ กรรมวนั สำคัญ
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางยภุ าศรี รักไทย
งบประมาณทีใ่ ช้ 4,297 บาท เป้าหมายการดำเนนิ งาน รอ้ ยละ 100 ผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมาย บรรลุเปา้ หมาย
การดำเนินงานตามกิจกรรม
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้รว่ มพิธตี ักบาตร พิธีวางพวงมาลา ประดับธง
ผูกผ้าบริเวณหน้าสำนักงาน เนื่องในวันสำคัญของชาติและตามประเพณี ได้แก่ วันคล้ายวันสวรรคต
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันปิยมหาราช วันคล้าย
วันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ
วันพ่อแห่งชาติ รัชกาลที่ 9 วันมาฆบูชาและพิธีเวียนเทียน วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระมหาเจษฎาราชเจ้า วนั ขา้ ราชการพลเรือน วันพระยารัษฎานุประดิษฐ์ วันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจา้
บรมราชินี วันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวรัชกาลที่ 10 วันพระราชสมภพสมเด็จพระนางเจ้า
สริ ิกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง
ผลการดำเนินงาน
บุคลากรในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 จำนวน 67 คน ได้เข้ารว่ ม
กิจกรรมวนั สำคญั ของพระมหากษตั รยิ แ์ ละราชวงศ์ วันสำคัญของชาติ วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา แสดงถงึ
ความจงรกั ภกั ดี ความสามัคคีในหมู่คณะและมีส่วนร่วมในการดำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ ของประเทศ
ปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน
- ไม่มี
ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
- ไม่มี
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
40
2.โครงการขับเคล่อื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศกึ ษา
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นายณณฐกร พิริยาภรณ์
งบประมาณทใ่ี ช้ 38,092 บาท เปา้ หมายการดำเนนิ งาน ร้อยละ 100 ผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมาย บรรลุเปา้ หมาย
การดำเนินงานตามกจิ กรรม
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดด้ ำเนินการ
1) ประชุมปฏิบัติการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา วันที่ 13 กุมภาพันธ์
2564 เปา้ หมายเป็นสถานศึกษาท่ัวไป จำนวน 19 แหง่ (60 คน)
2) ประชุมปฏิบัติการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
วนั ท่ี 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เป้าหมาย คอื สถานศึกษาพอเพยี ง จำนวน 5 แห่ง (60 คน)
3) นิเทศติดตามการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ระหว่างวันที่ 5 – 26
มีนาคม 2564 เปา้ หมาย คือ สถานศกึ ษาทั่วไป จำนวน 4 แหง่
ผลการดำเนนิ งาน
1. สถานศกึ ษาทวั่ ไปที่เข้าร่วมประชมุ นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูส่ ถานศึกษาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
2. สถานศึกษาพอเพียงที่เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาสามารถนำความรู้ไปขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศึกษา
ให้เกิดความยง่ั ยืน
3. สถานศกึ ษาทว่ั ไปท่ีได้รบั การนเิ ทศสามารถนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศึกษา
ได้อย่างมีคุณภาพ
ปญั หา/อุปสรรคการดำเนินงาน
- ไมม่ ี
ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ งาน
- ไมม่ ี
กลยุทธท์ ี่ 2 พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนให้มีสมรรถนะสำคญั ตามหลกั สตู รและมที กั ษะการเรยี นรู้
ในศตวรรษท่ี 21
1.โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระดบั กลุ่มโรงเรยี น
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางอรพินทร์ วภิ ูษณะภัทร์
งบประมาณที่ใช้ 150,000 บาท เปา้ หมายการดำเนินงาน รอ้ ยละ 80 ผลสมั ฤทธิ์ตามเปา้ หมาย บรรลุเป้าหมาย
การดำเนินงานตามกิจกรรม
กลุ่มโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 จำนวน 15 กลุ่ม จดั กิจกรรม
เข้าค่ายอบรมติวเข้มนักเรียนชั้นป.6 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ
ผลการดำเนินงาน
นกั เรียนชัน้ ป.6 ทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ จำนวน 3,265 คน มีความร้คู วามเขา้ ใจ มที กั ษะการเรยี นรูใ้ น 4 กลมุ่
สาระการเรียนรู้เพิ่มขึ้น ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ
นักเรยี นมีความพรอ้ มในการทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ส่งผลให้นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ข้ึน
ปัญหา/อปุ สรรคการดำเนนิ งาน - ไมม่ ี
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงาน - ไมม่ ี
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1
41
2.โครงการโรงเรียนฐานวจิ ยั
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นายสเุ มธ ลุ้งใหญ่
งบประมาณท่ีใช้ 26,200 บาท เปา้ หมายการดำเนนิ งาน รอ้ ยละ 100 ผลสัมฤทธติ์ ามเปา้ หมาย บรรลุเปา้ หมาย
การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม
สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้ดำเนนิ การ
1) ประชมุ เชิงปฏบิ ัติการสรา้ งความเข้าใจโครงการโรงเรยี นฐานวจิ ยั แกค่ รแู ละผู้บรหิ ารโรงเรยี น
(Research-Based Learning) จำนวน 15 โรงเรยี น เม่ือวนั ท่ี 28 ตุลาคม 2563 ณ ห้องประชุมพระเทพวิมลเมธี
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
2) กิจกรรมนเิ ทศและติดตามการสอนของครู จำนวน 15 โรงเรยี น ระหว่างวนั ที่ 19-29 มกราคม 2564
3) กิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และรายงานผล (ยกเลิกการดำเนนิ กิจกรรม)
ผลการดำเนนิ งาน
1. ผู้บริหารโรงเรยี นและครูทเ่ี ขา้ ประชุมมีความรคู้ วามเขา้ ใจในการจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการวิจัย
เป็นฐาน นกั เรยี นสามารถสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านการทำโครงงานด้วยกระบวนการวิจัย
2. ครไู ด้รบั การนิเทศติดตามการสอน ส่งผลใหส้ ามารถจดั การเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการวจิ ยั เป็นฐาน
ปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน
- เน่อื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่สามารถดำเนิน
กิจกรรมตามโครงการได้
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงาน
- ปรับเปล่ียนวธิ กี ารดำเนินกจิ กรรมตามความเหมาะสม
3.โครงการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ ดว้ ยเทคนคิ การคิดเลขเรว็ แบบอนิ เดยี
(เวทคณิต : Vedic Mathematics)
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางเฉลิมขวญั ศกนุ ตะฤทธิ์
งบประมาณทใี่ ช้ 48,224 บาท เป้าหมายการดำเนนิ งาน ร้อยละ 85 ผลสมั ฤทธ์ติ ามเป้าหมาย บรรลุเป้าหมาย
การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต 1 ไดด้ ำเนนิ การ
1) ประชุมเชงิ ปฏิบัติการพฒั นาครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ดว้ ยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบ
อินเดยี (เวทคณิต) ชน้ั ป.3 โรงเรยี นในสังกัด จำนวน 124 โรง โดยแบ่งเป็นการประชุม 2 รนุ่
2) นิเทศ ติดตามการดำเนินงานพัฒนาการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็ว
แบบอินเดยี (เวทคณิต) คร้ังท่ี 1 จำนวน 101 โรง
3) นิเทศครูของโรงเรียนในสังกดั จำนวนผ่านระบบออนไลนท์ ุกโรงเรียน จำนวน 132 โรงเรียน และมีครู
รว่ มนำเสนอผลการดำเนินงานเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ จำนวน 20 โรงเรยี น
ผลการดำเนินงาน
1.ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ มคี วามรคู้ วามเข้าใจและสามารถจัดการเรียนการสอนคณติ ศาสตร์ด้วยเทคนิคการ
คดิ เลขเร็วแบบอินเดีย (เวทคณติ ) มากขน้ึ
2.ครูผู้สอนคณิตศาสตร์ได้รับความรู้เพิ่มเติม ข้อเสนอแนะ จากการนิเทศ ติดตามการดำเนินงานการ
พัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ดว้ ยเทคนคิ การคดิ เลขเรว็ แบบอินเดีย (เวทคณิต ) และนำไปปรับในการ
จดั การเรียนการสอน
3.นกั เรียนมีทกั ษะการคิดคำนวณทางคณติ ศาสตร์ ด้วยเทคนิคการคิดเลขเร็วแบบอนิ เดยี (เวทคณติ ) มากขน้ึ
รายงานผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
42
ปัญหา/อุปสรรคการดำเนนิ งาน
- คณะนิเทศมภี ารกจิ ซำ้ ซ้อน
- เน่ืองจากใช้รปู แบบนิเทศทางตรงมภี าวะเสย่ี งในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
- ปรบั เปล่ยี นวธิ ีการดำเนนิ กิจกรรมตามความเหมาะสม เช่น นเิ ทศออนไลน์
4.โครงการประเมนิ พฒั นาการเด็กจบหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2563
ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นางสาวสุทธิดา สรรเพชร
งบประมาณที่ใช้ 28,316 บาท เป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 100 ผลสมั ฤทธิ์ตามเป้าหมาย บรรลุเปา้ หมาย
การดำเนินงานตามกจิ กรรม
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ไดด้ ำเนนิ การ
1) อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเรอ่ื งแนวทางการประเมินพฒั นาการเดก็ ทจ่ี บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั
ปีการศกึ ษา 2563 ครูปฐมวัย จำนวน 132 โรงเรียน
2) ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ทจี่ บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั กลุม่ โรงเรียนตัวอย่าง จำนวน 14 โรง
ผลการดำเนนิ งาน
1. ครูปฐมวัยจำนวน 150 คน สามารถประเมินพัฒนาการเด็กที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยได้อย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสมตามหลักสูตรและมีประสิทธิภาพ
2. เด็กทีจ่ บหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั ได้การประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น อยา่ งครอบคลมุ
3. โรงเรียนในสงั กัดมกี ารรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการทง้ั 4 ด้าน
ปญั หา/อปุ สรรคการดำเนินงาน
-งบประมาณน้อยและจัดสรรชา้ เกินไป
ข้อเสนอแนะในการดำเนนิ งาน
-สพฐ.ควรจดั สรรงบประมาณให้เรว็ และเพยี งพอในการดำเนินงาน
กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน
วชิ าชีพ มศี ักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม
1.โครงการปฐมนเิ ทศและพัฒนาครผู ชู้ ่วยให้มศี ักยภาพ มคี วามพรอ้ มในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีราชการให้มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานครูมอื อาชพี
ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ นางบญุ ชาติ เนยี มชู
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1
43
งบประมาณทีใ่ ช้ 8,980 บาท เปา้ หมายการดำเนินงานร้อยละ 100 ผลสมั ฤทธิต์ ามเป้าหมาย บรรลเุ ปา้ หมาย
การดำเนินงานตามกิจกรรม
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ได้ปฐมนเิ ทศและพัฒนาครูผูช้ ว่ ยให้มศี ักยภาพ
มีความพร้อมในการปฏบิ ัติหน้าท่ีราชการใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานครูมืออาชพี วนิ ยั คณุ ธรรมจริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชพี จำนวน 40 คน
ผลการดำเนินงาน
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ วินัย การรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
วชิ าชพี ระเบยี บการเงินและพัสดุ ทกั ษะ เจตคติ และบุคลิกลักษณะ มคี วามพร้อมในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการ
ใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานครมู ืออาชีพส่งผลต่อคณุ ภาพของผเู้ รยี น
ปญั หา/อุปสรรคการดำเนนิ งาน - ไมม่ ี
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ งาน - ไมม่ ี
2.โครงการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนพิเศษเรียนรวม
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นายสุเมธ ลงุ้ ใหญ่
งบประมาณทีใ่ ช้ 18,790 บาท เป้าหมายการดำเนินงานร้อยละ 85 ผลสมั ฤทธ์ิตามเปา้ หมาย บรรลุเป้าหมาย
การดำเนินงานตามกจิ กรรม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนการจัดการ
เรยี นรู้ IEP ครูผ้สู อนเรยี นรวม จำนวน 101 โรงเรียน
ผลการดำเนนิ งาน
ครูผู้สอนหรือผู้คัดกรอง จำนวน 101 คน มีความรู้ความเข้าใจ สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ IEP
รายบุคคลเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีภาวะเสี่ยงต่อความล้มเหลวทางการเรียน โดยใช้รูปแบบ PLC และขอรับ
บริการส่อื และสง่ิ อำนวยความสะดวกในการจดั การเรียนรวม
ปญั หา/อุปสรรคการดำเนนิ งาน
- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ต้องเพิ่ม
จำนวนวันในการประชุมฯ
ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน - ปรบั เปล่ียนวธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรมเปน็ ประชมุ ออนไลน์
3.โครงการพฒั นาศกั ยภาพครปู ระจำช้นั เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มสำหรบั การเปน็ นักจิตวทิ ยาประจำสถานศึกษา
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ นางสาวปน่ิ กานต์ แซห่ ลี
งบประมาณที่ใช้ - บาท เปา้ หมายการดำเนินงาน รอ้ ยละ 85 ผลสมั ฤทธต์ิ ามเป้าหมาย บรรลุเป้าหมาย
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564 สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1
44
การดำเนินงานตามกิจกรรม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพครูประจำชั้นเพื่อเตรียม
ความพรอ้ มสำหรับการเปน็ นกั จิตวิทยาประจำสถานศึกษา ทางระบบออนไลน์ จำนวน 132 คน
ผลการดำเนนิ งาน
1.ครูประจำชั้นที่ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ได้รับการพัฒนาศักยภาพในด้านการให้การปรึกษาเบื้องต้น การคัดกรอง ประเมิน
และดแู ลนักเรียนที่มคี วามเสี่ยงทางดา้ นสุขภาพจติ พฤติกรรมและกลมุ่ เด็กพเิ ศษ
2.ครูประจำชั้นที่ดูแลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถคัดกรอง ประเมิน
เบื้องต้นในกลุ่มนักเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรม สุขภาพจิต และกลุ่มเด็กพิเศษได้ด้วยตนเองและสามารถ
เข้าใจถึงสาเหตุของสภาพปัญหาของนักเรียน ที่มาของพฤติกรรม และสามารถปรับพฤติกรรมนักเรียนโดยใช้
การเสริมพลังทางบวกและลบได้
ปญั หา/อปุ สรรคการดำเนนิ งาน
- จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลให้ตอ้ งปรบั เปล่ียนรูปแบบ
เปน็ การอบรมออนไลน์ ผเู้ ขา้ รับการอบรมไม่สามารถฝกึ ทกั ษะในเชิงปฏิบัติได้
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงาน
1.ใช้ช่องทางการตดิ ต่อนกั จติ วิทยา และมี Group Line เพ่อื แลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกัน
2.การจัดอบรมในรปู แบบออนไลน์ตอ่ ควรหาส่ือ วิดโี อตัวอย่างเพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมรบั ชมใหม้ ากขึน้
4. โครงการนิเทศ ติดตามการปฏบิ ัตงิ าน และการประเมนิ สัมฤทธผิ ลการปฏิบัติงานในหน้าทตี่ ำแหนง่
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาใหม่ (จำนวน 15 ราย)
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางศรีรตั น์ อนรุ ักษ์
งบประมาณท่ีใช้ 32,434 บาท เปา้ หมายการดำเนนิ งานรอ้ ยละ 100 ผลสมั ฤทธต์ิ ามเป้าหมาย บรรลุเป้าหมาย
การดำเนินงานตามกิจกรรม
สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ไดด้ ำเนินการดังน้ี
1) แต่งตัง้ คณะกรรมการนิเทศ ตดิ ตามการปฏบิ ัติงาน และการประเมนิ สัมฤทธิการปฏบิ ัติงานของ
ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาใหม่ 15 ราย
2) คณะกรรมการออกนิเทศ ติดตามการปฏิบัติงานในหน้าที่ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาใหม่
จำนวน 15 ราย (ครัง้ ที่ 1)
3) คณะกรรมการออกประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ตำแหนง่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาใหม่
จำนวน 15 ราย (คร้งั ที่ 2)
ผลการดำเนินงาน
ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาใหม่ทั้ง 15 ราย ได้รับความรู้เกีย่ วกับการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา เรียนรู้
การปฏบิ ัติงานตามระเบยี บ และกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจยิ่งข้นึ ทำให้ผ่านการประเมนิ สมั ฤทธผิ ล
ครั้งที่ 1 (6 เดือนแรก) และผา่ นครง้ั ท่ี 2 (6 เดอื นหลงั ) เกินกวา่ 60% ทกุ ราย สามารถปฏิบัติงาน ตามระเบียบ
กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง และขับเคลือ่ นนำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
ปัญหา/อุปสรรคการดำเนินงาน
- เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ระยะเวลาการ
ดำเนินกจิ กรรมไมเ่ ปน็ ไปตามทกี่ ำหนดไว้
ขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ งาน - ปรับวิธกี ารดำเนินงานตามความเหมาะสมและทันตามระยะเวลาทีก่ ำหนด
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1