The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattidapeompon4, 2022-05-10 04:00:49

วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

1



คำนำ

การจัดทำรายงานพฒั นานวัตกรรมทางด้านการเรยี นการสอน เป็นวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ (Best
Practices) เรื่อง การพัฒนาทักษะการคูณ และการหาร โดยการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน(CBL)
TPACK Model ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ ประจำปีการศึกษา ๒ ๕๖๔ ซึ่งการพฒั นาในคร้งั นี้ เพื่อการ
พฒั นาความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ของผู้เรยี นใหเ้ ตม็ ศักยภาพ ผู้เรยี นไดร้ บั การสนับสนุน ส่งเสริมให้
มีความสามารถสูงขึ้น จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยการเรียนรูจ้ ากชมุ ชน
ฝึกปฏิบัติให้เกิดการคิดเป็น วางแผน และตัดสินใจให้รอบครอบ ผู้เรียนยังมีเจตคติดีต่อวิชา
คณิตศาสตร์ ส่งผลให้มีทักษะทางคณิตศาสตรเ์ พิ่มขึ้น อีกทั้งการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ชุมชน
เป็นฐาน และ TPACK Model ยังช่วยใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ผ่านสื่อ เทคโนโลยีทหี่ ลายหลาย และเรียนรู้
จากการได้ปฏบิ ตั งิ านจากสถานการณจ์ ริง

(นางสาวนทั ธิดา เพ่ิมผล)
ครูผู้ชว่ ย โรงเรยี นบา้ นสาโรช

สารบญั ข

เร่ือง ห น้ า
คำนำ ก
สารบญั ข
วิธีการปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ “Best Practice” ๑

๑. ความสำคญั ของผลงานนวตั กรรมหรอื วิธปี ฏบิ ัติทนี่ ำเสนอสภาพปญั หา ๑
๒. จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ของการดำเนินงาน ๒
๓. กระบวนการดำเนินงาน ๔
๔. ผลการดำเนนิ การ ๔
๕. ปัจจยั ความสำเรจ็ ๔
๖. บทเรยี นท่ีได้รับ ๕
๗. การเผยแพร่ผลงาน/การไดร้ ับรางวัล ๖
ภาคผนวก

วิธีการปฏิบตั ิที่เป็นเลศิ “Best Practice”

ชือ่ เรือ่ ง การพฒั นาทักษะการคูณ และการหาร โดยการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน(CBL )

ช่ือผูป้ ฏบิ ัติ รว่ มกับ TPACK Model ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
รายวชิ า
ปกี ารศกึ ษา นางสาวนัทธิดา เพิม่ ผล ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย

คณิตศาสตร์

2564

๑. ความสำคัญของผลงาน นวัตกรรมหรือวิธปี ฏบิ ัติทน่ี ำเสนอ สภาพปัญหา

ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา
คณิตศาสตรม์ ีบทบาทสำคญั อย่างย่งิ ต่อการพฒั นาความคิดอย่างมีเหตุผล เปน็ ระบบระเบียบ

มีแบบแผน สามารถวเิ คราะหป์ ัญหาและสถานการณ์ไดอ้ ย่างถี่ถว้ น รอบคอบ และยงั ชว่ ยให้พัฒนาคน
ให้สามารถคดิ เป็นทำเปน็ แกป้ ญั หาเป็น และสามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันได้เกิดโรคระบาดไวรัสโคโรนา2019 ทำให้การจัดการสอนของ
ครูเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยครูต้องปรับเปลี่ยนวิธีการของตนเองให้เหมาะสมกับสถานการณ์
ปัจจุบัน โดยใช้รูปแบบการสอนออนไลน์ ซึ่งส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ย่อมมี
ปัญหาผู้เรยี นขาดทักษะความรู้ ความเข้าใจในการคิดคำนวณ และไม่ผ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้หรือ
ตัวชี้วัดการเรียนรู้ นักเรียนส่วนใหญก่ ็มีเจตคติทีไ่ ม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ เป็นวิชาท่ีคดิ ว่ายาก น่าเบ่อื
ไม่สนุก และอน่ื ๆอีกมากมาย

เพื่อใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนคณิตศาสตรป์ ระสบความสำเร็จ ครูผ้สู อนจึงได้มีแนวคิดที่จะ
พัฒนาจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมทักษะการคูณ และการหารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
โดยการเรียนรู้แบบใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน(CBL) รว่ มกับ TPACK Model

2. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย ของการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการคูณ และการหารของนักเรียนช้ัน

ประถมศึกษาปที ่ี ๔
๒. เพ่ือให้นกั เรียนมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนคณติ ศาสตร์

เป้าหมาย
เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

๑. นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ จำนวน ๑๔ คน ,มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เร่ืองการคูณ
และการหาร เฉลีย่ ร้อยละ ๗๐



2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จำนวน ๑๔ คน ที่มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์
เฉลย่ี รอ้ ยละ ๘0

เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
๑. นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ จำนวน ๑๔ คน มีผลสัมฤทธ์ทิ างเรียน เรื่องการคณู และ

การหารเพิ่มมากขน้ึ
๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จำนวน ๑๔ คน ที่มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์

เพมิ่ มากขึ้น

ขอบเขตในการดำเนินงาน
๑. กล่มุ เปา้ หมาย
นักเรียนโรงเรียนบ้านสาโรช ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๔ จำนวน ๑๔ คน
๒. เนื้อหาท่ใี ชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้
๒.๑ การจัดการเรยี นรู้แบบ TPACK Model
๒.๒ การเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ Community Based Learning (CBL)
๒,๓ สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์โดยการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน และ

TPACK
๓. ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

๓. กระบวนการดำเนนิ งาน

ขนั้ ท่ี ๑ ศึกษาปัญหาและหาแนวทางแกไ้ ข
๑.๑ สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น
๑.๒ ศึกษาวิเคราะหห์ ลักสตู ร/มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัดการเรียนรู้
๑.๓ ศกึ ษาแนวคดิ หลักการ ทฤษฎี ท่ีเกีย่ วกับการจัดการเรยี นการสอน
๑.๔ ศกึ ษาสื่อการสอนจากเพจ Teachdentshare เพอ่ื คัดเลือกสอ่ื นวตั กรรมเทคโนโลยี
๑.๕ เลอื กแนวทางการแกป้ ัญหาทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของโรงเรียนสาโรช
๑.๖ วางแผนการปฏิบัติ

ขั้นที่ ๒ การออกแบบและสรา้ งเคร่ืองมือ (นวตั กรรม)
๒.๑ ออกแบบ และ พฒั นากจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยการเรียนร้แู บบใช้ชุมชนเปน็ ฐาน และ

TPACK เรอื่ ง การคูณ และการหาร ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔
๒.๒ นำไปเสนอผู้เชี่ยวชาญตรวจ พร้อมทั้งปรบั ปรุงแก้ไขตามคำแนะนำ

ข้ันท่ี ๓ ทดลองใช้เครอ่ื งมือ (นวตั กรรม)
๓.๑ นำนวตั กรรมไปทดลองใชก้ ับกลุ่มตวั อยา่ งอื่น
๓.๒ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพ่ือให้นวตั กรรมสมบูรณ์



ข้นั ที่ ๔ นำนวัตกรรม (Best Practice) ไปใชใ้ นสถานการณ์จริง
- กล่มุ เปา้ หมาย : นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ โรงเรียนบา้ นสาโรช
- เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการพฒั นา : เทคนคิ การสอนแบบการเรยี นรแู้ บบใชช้ ุมชนเป็นฐาน และ

TPACK

วิธดี ำเนินการจัดการเรียนรู้
๑. ครูกล่าวสวัสดที ักทายนักเรียนเป็นภาษาอังกฤษ เช่น good morning everyone, How

are you? Today we will learn about “…………”
ทบทวนความรูเ้ รือ่ งการคณู และการหาร ดว้ ยการร้องเพลง (TPACK)
๒. ครูตงั้ คำถามกระตุ้นความคดิ ของนักเรียน โดยมแี นวคำถามแบบปลายเปิด

(แนวตอบ: คำตอบมหี ลากหลาย ขึน้ อยกู่ ับดลุ ยพินจิ ของผู้สอน)
๓. ครสู อนและอธบิ ายเนื้อหาด้วยสอ่ื ทีห่ ลายกหลาย เชน่ Powerpoint วิดีโอ โปรแกรมตา่ งๆ

เป็นตน้ (TPACK)
๔. จากน้นั ครทู ดสอบความเขา้ ใจโดยการเล่นเกม จาก bamboozle จำนวน 20 ข้อ(TPACK)
๕. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่ม 3-4 คน โดยคละความสามารถ จากนั้นให้นักเรียนออกไป

เรยี นรูใ้ นชมุ ชน (กิจกรรม “การคูณ การหารในชวี ติ ประจำวนั ”) (CBL)
ใหน้ กั เรยี นไปสำรวจวา่ - มีกคี่ รวั เรอื นที่เลี้ยงววั
- เลยี้ งววั กีต่ ัว
- ถ้าขายวัวทั้งหมดจะไดเ้ งินกบี่ าท
- เมอื่ นำมาแบ่งสมาชิกในครวั เรอื นจะได้กบ่ี าท)
โดยใหน้ กั เรยี นแต่ละกลลุม่ ออกแบบการบันทกึ ข้อมูลดว้ ยตนเอง
๖. เมือ่ ทำกจิ กรรม “การคณู การหารในชีวิตประจำวัน” ในชุมชนเรยี บร้อยแล้ว ให้นักเรียน

แต่ละกลุ่มวิเคราะห์ประเด็นท่ไี ปสำรวจ ลงบนกระดาษบรฟู๊
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงาน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจและพิจารณา

ความถกู ต้อง
๗. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สรปุ เกย่ี วกับการคณู และการหาร
๘. ครูช่วยเสริมองค์ความรู้ให้กับนักเรียนทั้งชั้น โดยครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง

สถานการณ์ที่ใช้ทักษะการคูณ การหารในชีวิตประจำวันของนักเรียนเพื่อให้เกิด ความรู้ใหม่ท่ี
สอดคลอ้ งกันกบั บทเรียนและเกิดความสมบูรณข์ องเน้อื หา

ขั้นท่ี 5 การประเมินผลการดาเนินกิจกรรม (การวัดและประเมินผลผู้เรยี น)
- สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
- ประเมินพฤติกรรมการเรียนดา้ นทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์



- ทดสอบหลังเรยี น ทกั ษะด้านการคิดคำนวณ
- แบบสอบถาม วดั เจตคตติ อ่ วิชาคณติ ศาสตร์
ข้นั ที่ 6 จดั ทารายงานผลการดาเนินการ เสนอต่อผู้บริหาร

4. ผลการดำเนินการ

1. นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการคณู
และการหารอย่ใู นระดบั ที่สงู ขึน้

๒. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เกิดเจตคดีที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ สังเกตจาก
บรรยากาศ การเรียนในชั้นเรียน นักเรียนทุกคนอยากมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ นักเรียนสนุกไปกับ
กิจกรรมท่ีครจู ัดขนึ้

5. ปัจจยั ความสำเร็จ

๑. ผู้บรหิ ารเปน็ ผมู้ วี สิ ัยทศั น์ ให้การสนับสนุน ในการทางาน
๒. คณะครู ที่มีความสามารถ มีความตั้งใจ มีการเสียสละ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
และให้การสนบั สนนุ รว่ มแรงร่วมใจในการทางาน
๓. ผู้ปกครองให้การร่วมมือ และสนับสนุนในการจัดหาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือใช้ในการจัด
กจิ กรรม การพฒั นาความสามารถทางดา้ นคณติ ศาสตรข์ องผูเ้ รยี นให้เตม็ ศกั ยภาพ
๔. นกั เรยี นมคี วามรู้ ความสามารถ มที ักษะในการคดิ วเิ คราะห์ มีการวางแผนท่ดี ีและมีความ
ม่งุ มนั่ ตั้งใจ ในการทำงาน
๕. มีการประเมนิ ผลการดาเนินงานและปรับปรงุ ผลงานเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายอย่างตอ่ เนือ่ ง

๖. บทเรียนทไ่ี ด้รับ

๑. บทเรยี นทไี่ ด้รบั
การนำนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ชุมชนเป็นฐาน และ TPACK มาใช้ใน

กระบวนการจัดการเรียนการสอน เรอื่ งการคณู และการหาร ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เพ่ือ
การพัฒนาความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุน
ส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึน้ จัดกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์จรงิ โดยการเรยี นรู้
จากชุมชน ฝึกปฏิบัติให้เกิดการคิดเป็น วางแผน และตัดสินใจให้รอบครอบ ผู้เรียนยงั มีเจตคติดีตอ่
วิชาคณิตศาสตร์ ส่งผลให้มีทักษะทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น อีกทั้งการจัดการเรียนการสอนแบบใช้
ชมุ ชนเปน็ ฐาน และ TPACK Model ยงั ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านสื่อ เทคโนโลยีที่หลายหลาย และ
เรยี นรูจ้ ากการไดป้ ฏิบตั งิ านจากสถานการณ์จริง



2. ปรบั คุณภาพมงุ่ พัฒนาต่อไป
ผู้สอนต้องหมั่นค้นคว้าหาเทคนิคการจัดการเรียนการสอน และสื่อการสอนที่ทันสมัย

นา่ สนใจอยเู่ สมอ เพอื่ ให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและมีความสขุ การการเรยี น และนำ
ข้อบกพร่องที่เกิดจากการเรียนการสอนมาปรับหาวิธีการสอนที่เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างสูงสุด

3. ข้อควรพงึ ระวัง
ผู้สอนตอ้ งจดั การเรยี นการสอนโดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ตอ้ งจัดกิจกรรม

ที่เหมาะสมกับระดับความสามารถนักเรียน และเลือกสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั เนือ้ หาและผู้เรยี น
ด้วย

7. การเผยแพร่ผลงาน/การไดร้ บั รางวัล

การเผยแพร่ผลงาน
๑. ขยายผลให้กับครูผู้สนใจในสถานศึกษา นำสู่การปรับใช้ในการจักกิจกรรมการเรยี นการ
สอนในหอ้ งเรยี น



ภาคผนวก

ภาคผนวก



ภาพกิจกรรม



ใหผ้ ู้เรยี นดูวดี ีโอการ์ตนู เพ่ือทบทวนหลกั การคูณ การหาร ( TPACK)

นกั เรียนเรียนรู้จากชมุ ชน
กิจกรรม “การคูณ การหารในชวี ิตประจำวัน” (CBL)



นกั เรียนเรียนรู้จากชมุ ชน
กิจกรรม “การคูณ การหารในชวี ติ ประจำวัน” (CBL)

นักเรียนเรียนรูอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

๑๐

นำขอ้ มลู จากการสำรวจข้อมลู จากชมุ ชนมาสรปุ ประเด็น
ร่วมกัน

นำข้อมลู จากการสำรวจข้อมลู จากชมุ ชนมาสรปุ ประเด็น
ร่วมกัน

๑๑
นำเสนอผลงาน
นำเสนอผลงาน

๑๒

แบบก่อนเรียน – หลังเรียน
เรื่อง การคูณ การหาร

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรยี นบา้ นสาโรช
สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2

………………………………………………………………………………..
คำชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งทส่ี ุด

๑๓

๑๔

แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุม่
วชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔

แผนการสอนท…ี่ ………..เรอ่ื ง…………………………..……………………………ชอ่ื กลมุ่ ท่ีสงั เกต…………….………
ช่อื ผสู้ ังเกต……………………………………………………...…………………………ตำแหน่ง……………………………
โรงเรยี นบ้านสาโรช
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑๕

๑๖

๑๗

แบบสอบถามเพอื่ วัดเจตคติ
ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 ทมี่ ตี อ่ การเรียนวิชาคณติ ศาสตร์

8-9 10 - 11 12 - 13

๑๘

๑๙

ตาราง 1 คา่ เฉลีย่ ( ̅) คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และรอ้ ยละ จากการทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั
เรยี น

เลขที่ คะแนนก่อนเรียน คะแนนหลงั เรียน
(20 คะแนน) (20 คะแนน)

1 12 18
14
29 11
10
36 10
17
45 18
15
55 13
14
6 11 17
10
7 12 16
17
89

97

10 9

11 11

12 5

13 10

14 11

รวม 122 201

เฉล่ยี 8.71 14.36

S.D. 2.64 3.05

t 42.46

๒๐

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว.

_______.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตรช์ ั้นประถมศึกษาปีท่ี 4. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว.

กล้า ทองขาว. (2561). การจัดการศึกษาฐานชุมชน ( Community-based Education
Management=CBEM). สบื ค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2561,
จาก www.dpu.ac.th/ces/download.php?filename=1377584927.docx

วิจารณพ์ านิช. (2557). นวตั กรรมสู่การเปน็ ประเทศแห่งการศึกษา. สืบคน้ เมือ่ 19 กุมภาพนั ธ์ 2565,
จาก https://www.gotoknow.org/posts/565909

สุมาลีชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: คณะ
ศึกษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยขอนแก่น

อนุศร หงษ์ขุนทด. (2559). แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ตามแนวคิด TPACK
Model. สืบคน้ เมอ่ื 19 กมุ ภาพนั ธ 2565,
จาก https://krukobblog.wordpress.com/2016/09/29/stem/

๒๑


Click to View FlipBook Version