จิตอาสาพระราชทาน 904 วปร.
ปลกู ตน้ กลา้ แห่งความดี “เราทาความ ดี ดว้ ยหัวใจ”
ปลกู ตน้ กล้าแหง่ ความดี
ท่มี าของโครงการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร.
จติ อาสา
คือการให้
โครงการหน่วยพระราชทาน และประชาชนจิตอาสา
“ เราทาความ ดี ดว้ ยหัวใจ ”
พระบรมราโชบาย
พระราชปณิธาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ฯ
ในการบาเพญ็ ประโยชน์ พืน้ ท่ีชุมชนโดยรอบพระราชวังดุสิต
เป็นการทาความ ดี ดว้ ยหวั ใจ
ถวายเปน็ พระราชกศุ ล แด่ พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
โดย หน่วยทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภรักษาพระองค์, หนว่ ยทหารรกั ษาพระองค์,
ข้าราชบริพารในพระองคฯ์ ร่วมกับ ประชาชนจติ อาสา “ เราทาความ ดี ดว้ ยหวั ใจ ”
ประชาชนจิตอาสา
หมายถึง ประชาชนท่ีมีจิตสานึกเพ่ือส่วนรวม เพราะคาว่า “สาธารณะ” คือสิ่งที่มิได้เป็น
ของผูห้ น่งึ ผใู้ ด จติ สาธารณะจงึ เปน็ ความรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของในสง่ิ ท่เี ป็นสาธารณะ ในสทิ ธิ และ
หน้าที่ที่จะดูแล และบารุงรักษาร่วมกัน ทั้งนี้ยังหมายรวมถึงจิตของคนที่รู้จักความเสียสละ ความ
ร่วมมือ ร่วมใจ ในการทาประโยชน์เพ่ือส่วนรวม ช่วยแก้ปัญหาและสร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์
สุขแก่สังคม เช่น การช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมโดยการช่วยกัน ขุดลอกคูคลอง หนอง บึง แม้แต่
การ ประหยัดน้าประปา หรือ ไฟฟูา ที่เป็นของส่วนรวม โดยใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า
ตลอดจนช่วยกันรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ท่ีร้องขอความช่วยเหลือ เท่าที่จะ
ทาได้ ตลอดจนร่วมมือกระทาเพอ่ื ไมใ่ ห้เกดิ ปญั หา หรอื ช่วยกนั แก้ปัญหา แตต่ อ้ งไมข่ ัดตอ่ กฎหมาย
เพ่อื รกั ษาประโยชนส์ ว่ นรวม
จติ อาสา
เราทาความ ดี ด้วยหวั ใจ
จติ อาสาเฉพาะกจิ งานพระราชพิธี
ถวายพระเพลิงพระบรมศพฯ
ประเภทของกิจกรรมจิตอาสา
ประเภทของกิจกรรมจติ อาสา
จิตอาสาตามพระราโชบาย แบ่งเป็น ๓ ประเภท ดงั น้ี
๑) จติ อาสาพฒั นา
๒) จติ อาสาภยั พบิ ตั ิ
๓) จิตอาสาเฉพาะกิจ
๑. จิตอาสาพัฒนา
คือ จิตอาสาพระราชทาน ที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาท้องถนิ่ ของ
แต่ละชุมชนให้มีคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นกิจกรรม
บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม การ
อานวยความสะดวก และความปลอดภัยในการดารงชีวิตประจาวนั การ
ประกอบอาชพี รวมท้ังการสาธารณสขุ
๒. จติ อาสาภยั พบิ ัติ
คือ จิตอาสาพระราชทาน ท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเฝูาตรวจ เตือน และ
เตรียมการรองรับภัยพิบัติ ท้ังท่ีเกิดจากธรรมชาติ และเกิดจากสาเหตุอ่ืนๆ
ทีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ประชาชนในพื้นทีโ่ ดยรวม และการเข้าชว่ ยเหลือบรรเทา
ความเดือดร้อนของประชาชนจากภัยพิบัติ ดังกล่าว เช่น อุทกภัย วาตภัย
อัคคีภัย เปน็ ตน้
๓. จติ อาสาเฉพาะกิจ
คือ จิตอาสาพระราชทาน ทมี่ วี ตั ถุประสงค์ใหป้ ฏบิ ัติภารกิจท่ีมีกาหนดเวลาชัดเจน
อาทิ จติ อาสาเฉพาะกจิ พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก จติ อาสาท่ีปฏบิ ตั ิงานพระราชพธิ ี หรือ
การรับเสด็จ ในโอกาสตา่ ง ๆ เปน็ การใช้กาลงั พลจิตอาสาร่วมปฏบิ ัติกับส่วนราชการ
ที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือหรืออานวยความสะดวกแก่ประชาชนท่ีมาร่วมงาน
รวมท้ังการเตรยี มการ การเตรยี มสถานที่และการฟื้นฟสู ถานท่ีภายหลัง การปฏิบัติใน
พระราชพิธี และการเสดจ็ ฯ นัน้ ๆ ใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
เครื่องแตง่ กาย
จิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
เครือ่ งแต่งกายจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
ตวั อยา่ งหมวกแกป๊
เครือ่ งแต่งกายจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
ตวั อยา่ งผา้ พนั คอ
หมวกแก๊ปจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
ขา้ งหลงั ซา้ ย ขา้ งหลังขวา
ระดบั สมรรถภาพ ระดับความสามารถ
( Efficiency ) ( Skill )
กรณขี บั ยานพาหนะ กรณมี ีความสามารถ
ไดม้ ากกวา่ ๑ ประเภท มากกวา่ ๑ ประเภท
๒ ๖
๕๖๗
๑ ๒ ๓๔
ตวั อย่าง การติดเครื่องหมาย ระดบั สมรรถภาพ และความสามารถ
บตั รประจาตวั จติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
คณุ สมบัตจิ ิตอาสาพระราชทาน 904 วปร.
๑. สญั ชาตไิ ทย
๒. อายตุ งั้ แตแ่ รกเกิดขน้ึ ไป
๓. ไมม่ ีผลประโยชน์แอบแฝง
๔. ไมเ่ บยี ดบงั เวลาราชการ/เวลาทางาน
๕.ไมเ่ สียการเรยี น
แนวทางการเสริมสร้ างพลังอานาจของชาติ
“จติ อาสาสามารถพลิกฟื้นประเทศไทยให้กลับมาสมบรู ณ์ดงั เดมิ ”
อาสาเจรติาทาความ ดี ด้วยหวั ใจ
โครงสรา้ งศนู ยอ์ านวยการใหญจ่ ิตอาสาพระราชทาน
904 วปร. (ศอญ.จอส.904 วปร.)
(คาส่ังหนว่ ยราชการในพระองค์ 904 (สานกั งานราชเลขานกุ ารในพระองค์) ท่ี 16/2562 ลว. 26 ก.พ. 62)
ภารกิจศูนยอ์ านวยการใหญจ่ ิตอาสาพระราชทาน 904 วปร.
สง่ เสริมและสนับสนนุ การดาเนนิ งานในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมจิตวิทยา
การพฒั นาประเทศอยา่ งยัง่ ยนื รวมทง้ั การปูองกนั บรรเทา และช่วยเหลือ
ประชาชนจากภัยพบิ ตั ิ เพื่อให้เกดิ ความรกั ความสามัคคี ประชาชนมีสขุ ตาม
แนวทางโครงการจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร. ตลอดจนกจิ การอน่ื ๆ
ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย มผี ู้อานวยการศนู ยอ์ านวยการใหญ่จติ อาสาพระราชทาน
904 วปร. (ผอ.ศอญ.จอส.904 วปร.) เป็นผู้บังคบั บญั ชารบั ผิดชอบ
ขอบเขตความรับผดิ ชอบและหน้าทท่ี สี่ าคัญ
1. ตดิ ตามและสง่ เสริมตลอดจนใหก้ ารสนบั สนุนการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั
และภาคประชาชนในการพฒั นาประเทศ ตามโครงการจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
๒. วางแผน ดาเนินการ และประสานงาน ในการปูองกัน บรรเทา และชว่ ยเหลอื
ประชาชน จากภยั พิบัติ รวมทัง้ ฟ้ืนฟูพ้นื ทีจ่ ากสภาพภยั พบิ ัติ
3. ดาเนินการฝึกอบรมและพฒั นาขดี ความสามารถของจติ อาสาและผู้ทเ่ี ขา้ รว่ ม
โครงการจิตอาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร.
4. จัดกิจกรรมท่ีก่อให้เกดิ ความรกั ความสามคั คี และความสานกึ รับผดิ ชอบต่อ
สว่ นรวม
การจดั โครงสร้าง
แบง่ เปน็ 3 ส่วนงาน ประกอบดว้ ย
1. ฝาุ ยอานวยการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. (ฝอ.จอส.904 วปร.)
2. โรงเรยี นจิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. (รร.จอส.904 วปร.)
3. กองกาลังจิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. (กกล.จอส.904 วปร.)
3.1 ศูนยอ์ านวยการจิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. ภาค (ศอ.จอส.904 วปร.ภาค)
3.2 ศูนยอ์ านวยการจิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. จงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร
(ศอ.จอส.904 วปร. จงั หวัด/กทม.)
3.3 ศูนยอ์ านวยการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. อาเภอ/เขต (ศอ.จอส.904 วปร.
อาเภอ/เขต)
การจดั โครงสรา้ ง
1. ฝาุ ยอานวยการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. (ฝอ.จอส.904 วปร.)
มีหนา้ ท่ี วางแผน อานวยการ ประสานงาน และกากบั ดูแลการ
ปฏิบัติงานโครงการจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร. ตลอดจนกิจการอน่ื ๆ
ตามที่ได้รับมอบหมาย
ผนวก ข (กองอานวยการฝา่ ยอานวยการจติ อาสา) ประกอบคาส่ังหนว่ ยราชการในพระองค์ 904 ฝุายอานวยการจิตอาสา 1.
(สานักงานราชเลขานกุ ารในพระองคฯ์ ) ที่ 16/2562 ลงวันท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2562 พระราชทาน 904 วปร.
ฝาุ ย
กองอานวยการ ประชาสัมพันธ์
ฝุายอานวยการจิตอาสาฯ
แผนกประชาสัมพันธ์
ฝาุ ยธรุ การ ฝาุ ยการขา่ ว ฝาุ ยยุทธการ อานวยการ ฝาุ ยสนบั สนนุ แผนกรวบรวม
และกาลังพล และติดตามประเมินผล นโยบายและแผน และส่งกาลังบารงุ และบันทึก
แผนกธุรการ แผนกการข่าว แผนกนโยบาย แผนกส่งกาลงั
และแผน
แผนกกาลงั พล แผนกตดิ ตาม แผนกบริการ
และประเมินผล แผนกปฏบิ ตั ิการ
แผนกกาลังพล แผนกควบคุม
จิตอาสา พื้นท่ี กทม./ 1 สิง่ อุปกรณ์
ปริมณฑล
พ้ืนทป่ี ฏิบัติการ 2 3
ภาค 4
การจัดโครงสร้าง
2. โรงเรยี นจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. (รร.จอส.904 วปร.)
มีหน้าที่ ใหก้ ารฝกึ และศึกษารวมถงึ การพฒั นาขดี ความสามารถให้กับ
ผู้ท่ีเข้ารว่ มโครงการจติ อาสาพระราชทาน ๙๐๔ วปร. เพ่อื ให้เป็นกาลังหลักใน
การดาเนินกิจกรรมจิตอาสาในพนื้ ท่ี
2.