The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by study_centre77, 2022-04-04 05:12:03

คู่มือ ITA_merged

คู่มือ ITA_merged

คู่มอื ปฏบิ ัติงานหลกั
เรอื่ ง การจดั ทาฐานขอ้ มลู ITA บนเวบ็ ไซตข์ องสานกั ส่งเสรมิ การเรยี นรู้

และบรกิ ารวชิ าการ

จดั ทาโดย
นายเมธี ถกู แบบ

สงั กดั หน่วยงาน สานกั ส่งเสริมการเรียนรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ
มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี

คู่มือปฏบิ ตั งิ านหลกั
เรอื่ ง การจดั ทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซตข์ องสานักส่งเสรมิ การเรียนรู้

และบรกิ ารวชิ าการ

จดั ทาโดย
นายเมธี ถกู แบบ
สังกัดหน่วยงาน สานักส่งเสริมการเรยี นรูแ้ ละบริการวชิ าการ
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทมุ ธานี

ตรวสอบการจดั ทา ครงั้ ที่ 1
......................................................
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เศกพร ตนั ศรปี ระภาศิริ)
ผู้อานวยการสานักสง่ เสริมการเรียนรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ
วนั ท่.ี ......เดือน....มกราคม..พ.ศ.2565....

คำนำ

คมู่ ือปฏิบัตงิ านหลกั เรอ่ื งการจดั ทาฐานขอ้ มลู ITA บนเวบ็ ไซตข์ องสานกั สง่ เสริมการเรียนรู้
และบริการวิชาการ เล่มน้ีจัดทาตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกาหนดตาแหน่งและการแต่งตั้ง
ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษาให้ดารงตาแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2553 ซ่ึง กพอ.ให้คานยิ ามของคู่มือ
ปฏิบัติงานหลักไว้ว่าเป็นเอกสารแสดงเส้นทางการทางานหลักตั้งแต่เร่ิมต้นจนกระบวนการ โดยระบุ
ขน้ั ตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่างๆ ในการปฏบิ ัติงาน กฎระเบยี บท่ีเก่ียวข้องในการปฏบิ ัติงาน
(เอกสารแนบ 5) ตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหาและการดาเนินการต่างๆ โดยคู่มือปฏิบัติงานหลักมี
ความสาคัญอย่างย่ิงในการปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้หน่วยงานมีคู่มือปฏิบัติงานหลักไว้ใช้ในการปฏิบัติงาน
และช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานใหม่สามารถศึกษางานได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ เพ่ือให้บุคลากรสานักใช้ในการ
ปฏบิ ัติงาน ซงึ่ จะทาใหง้ านของหน่วยงานมีระบบและมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึนจากคู่มือปฏบิ ัตงิ านหลักเล่มน้ี

วตั ถุประสงค์ของการจัดทาคู่มือการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการ
เรียนรู้และบริการวิชาการ สังกัดหน่วยงานสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอน
วิธีปฏิบัติงาน รวมทั้งประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับที่เก่ียวข้องในการดาเนินงาน และเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรในหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ เพ่ือให้การ
ดาเนินงานเกดิ ประสทิ ธิภาพในการดาเนินงาน และมคี วามต่อเน่ืองในการดาเนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั

สดุ ท้ายน้ี ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ อลงกรณ์ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานีเป็นอย่างย่ิงท่ีส่งเสริมสนับสนุนในการจัดทาคู่มือปฏิบัติงานหลักเล่มนี้ขึ้นมา
และขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิท่ีให้ความรู้และคาแนะนาในการจัดทาคู่มือเล่มน้ี ท่านคณะผู้บริหาร
มหาวิทยาลัยในการส่งเสริมให้บุคลากรได้จัดทาคู่มือ และคณะผู้บริหารสานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวิชาการในการให้คาปรึกษา และคาแนะนาในการจัดทาคู่มือ เพื่อนร่วมงานทุกคนที่เป็นกาลังใจใน
การจดั ทาคมู่ อื เลม่ น้ีสาเรจ็ ลงไดด้ ี

นายเมธี ถูกแบบ
นกั วิชาการศกึ ษา
มกราคม 2565

สำรบญั

หน้ำ

คำนำ ........................................................................................................................................... ก
สำรบญั ................................................................................................................ ........................... ข
สว่ นท่ี 1
บริบทมหำวิทยำลัย........................................................................................................... 1
สว่ นท่ี 2 ประวตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์................................ 1

สว่ นที่ 3 ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ อัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ และพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั ..................... 4

เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ และคา่ นยิ มหลักของมหาวทิ ยาลัย......................................... 5

โครงสรา้ งการแบง่ ส่วนราชการของมหาวทิ ยาลยั .......................................................... 6

ทาเนยี บผู้บริหาร คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ....................................................... 7

บริบทของสำนกั ส่งเสรมิ กำรเรียนรแู้ ละบรกิ ำรวิชำกำร................................................... 11
ประวตั ิสานกั สง่ เสริมการเรียนรู้และบรกิ ารวิชาการ....................................................... 11

โครงสรา้ งการบรหิ ารของสานักส่งเสริมการเรียนรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ.......................... 12

พนั ธกิจ วสิ ยั ทัศน์ ค่านิยม วฒั นธรรมองค์กร สมรรถนะหลัก........................................ 13

นโยบายของสานกั สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละบริการวชิ าการ.............................................. 14

กลยุทธ์ของสานักสง่ เสริมการเรยี นรู้และบริการวิชาการ............................................... 14

ลกั ษณะงานท่ีปฏิบัติ...................................................................................................... 14

ขนั้ ตอนกำรปฏิบัติงำน....................................................................................................... 16

บทนา............................................................................................................................ 16
การจดั ทาฐานขอ้ มลู ITA............................................................................................... 18

ผังกระบวนการจดั ทาฐานข้อมูล ITA .......................................................................... 19
21
ขัน้ ตอนที่ 1 การได้รับมอบหมายจากผู้บงั คับบัญชา และการตดิ ตอ่ ประสานงาน
กบั หน่วยงานหรือผู้ทเี่ กย่ี วข้องจัดทาฐานขอ้ มูลสาธารณะ (Open Data Integrity 24
and Transparency Assessment: OIT) ...................................................................
ข้นั ตอนท่ี 2 การประชมุ และการวางแผนการดาเนนิ งานระดับสานัก...........................

ขัน้ ตอนที่ 3 การจดั เตรยี ม รวบรวบข้อมูล และการจัดทาบนั ทึกขอ้ ความนาสง่ ........... 26

สารบญั (ต่อ)

หน้ำ

สว่ นที่ 3 ขั้นตอนท่ี 4 วิธีการเขา้ ส่หู นา้ เวบ็ ไซต์ของสานักส่งเสรมิ การเรยี นรู้และบรกิ าร 29
วชิ าการ ในการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้
ภำคผนวก และบริการวิชาการ..................................................................................................
ประวตั ิยอ่
ขัน้ ตอนที่ 5 วิธกี ารเข้าสู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของ 30
สานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ......................................................... 32
ขั้นตอนที่ 6 วิธกี าร เข้าสูร่ ะบบผ้ดู แู ล หนา้ เวบ็ ไซตร์ ะบบการจดั ทาฐานข้อมลู

ITA บนเวบ็ ไซตข์ องสานักส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละบรกิ ารวิชาการ.................................

ข้นั ตอนที่ 7 วิธกี าร Login LearnOffice Admin เพอื่ การลงชอื่ ยืนตัวตนเขา้ สู่ 33

ระบบการจดั ทาฐานข้อมลู ITA บนเวบ็ ไซต์ของสานักสง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละ

บริการวิชาการ............................................................................................................. 34
ขน้ั ตอนที่ 8 การจัดการข้อมลู ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้ 35
และบริการวิชาการ.................................................................................................. 37
ขั้นตอนที่ 9 การเพ่ิมหวั ข้อ ข้อมลู ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้ 39
และบริการวิชาการ........................................................................................
ข้นั ตอนที่ 10 การเพิ่มรายละเอียดข้อมลู ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการ
เรียนรู้และบริการ.....................................................................................................
...................................................................................... ..................................................

........................................................................................................................................ 67

1

สว่ นท่ี 1 บรบิ ทมหาวทิ ยาลยั

1.ประวตั ิมหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จังหวัดปทุมธานี

สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงมีพระเมตตาต่อ
การศึกษาของกุลสตรีไทย จึงประทานอาคารพร้อมที่ดินประมาณ 4 ไร่ ให้กระทรวงธรรมการในสมัยน้ัน
(ปัจจุบันคือกระทรวงศึกษาธิการ) จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน
2475 ปัจจุบันคือ เลขท่ี 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยย้าย
นักเรียนฝึกหัดครูและนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารย์
ใหญ่คนแรกคือ อาจารย์นิลรัตน์ บรรณสิทธิ์วรสาสน์ โรงเรียนใช้ช่ือย่อว่า พ เป็นสัญลักษณ์ และสีเขียว
เปน็ สปี ระจาโรงเรียนเนื่องจากเปน็ สปี ระจาวนั ประสูติของพระองค์

สถานศึกษาแห่งน้ีได้ปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาทั้งแผนกฝึกหัดครู และแผนกสามัญด้วยดีตลอด
มา และได้พัฒนาปรบั เปลย่ี นสถานภาพ และคานาหน้าชือ่ ตามความเหมาะสม ดงั นี้
1 ตุลาคม 2513 เปน็ วิทยาลัยครเู พชรบุรวี ิทยาลงกรณ์
1 ตลุ าคม 2515 ขยายงานการฝึกหัดครูมาอยู่ ณ ท่ีต้ังปัจจุบัน คือ เลขที่ 1 หมู่ 20 ถนน

พหลโยธิน กิโลเมตรท่ี 48 ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
13180 มีพื้นท่ี 294 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา ทั้งนี้อาจารย์อวยพร เปล่งวานิช
ผู้อานวยการวิทยาลัยครูเพชรุบรีวิทยาลงกรณ์ในขณะน้ัน ได้ดาเนินการติดต่อ
ประสานงานล่วงหน้ากับผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (นายประสิทธ์ิ อุไรรัตน์)
จึงได้ที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์แปลงน้ีมาเป็นท่ีตั้งของสถาบันใน
ปจั จุบนั

14 พฤศจิกายน 2517 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
รับวิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ และสมาคมศิษย์เก่าฯไว้ "ในพระบรม
ราชูปถมั ภ์"

1

2

9 พฤศจาิ ยน 2518 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จ
พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา
พ.ศ. 2520 กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ทรงเปิดพระอนุสาวรีย์ สมเด็จพระราชปิจตุจฉาเจ้าฟ้าว
พ.ศ. 2528 ไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร และพระราชทานพระราชทรัพย์
14 กุมภาพันธ์ 2535 สว่ นพระองค์ จานวน 2 แสนบาท ต้ังเปน็ "มูลนิธสี มเดจ็ เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ"์
24 มกราคม 2538 เปดิ สอนถงึ ระดับปริญญาตรี ครศุ าสตรบณั ฑติ
6 มนี าคม 2538 เปิดสอนสาขาวิชาชีพอ่ืนด้วยครบ 3 สาขา คือ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชา
ศลิ ปศาสตร์ และสาขา วิชาวทิ ยาศาสตร์
15 กมุ ภาพนั ธ์ 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานนามสถาบันราชภัฏ แก่วิทยาลัยครูทั่วประเทศ เป็นเหตุให้เปลี่ยน
ปีการศึกษา 2542 ช่อื เป็น “สถาบนั ราชภัฏเพชรบรุ วี ทิ ยาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์”
ปีการศึกษา 2543 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เร่อื ง พ.ร.บ.สถาบนั ราชภฏั เปน็ ผลให้สถาบันราช
15 กมุ ภาพันธ์ 2544 ภัฏ ทัว่ ประเทศเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพือ่ การพัฒนาท้องถนิ่ อย่างแท้จรงิ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
21 สิงหาคม 2545 พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราพระราชลัญจกรประจาพระองค์
10 มิถุนายน 2547 รัชกาลท่ี 9 เป็นตราสัญลักษณ์ประจาสถาบันราชภัฎ นับเป็นพระมหา
กรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาท่ีสุดมิได้ แก่ สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยา
ลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ปัจจุบันคือ สมเด็จพระ
กนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร) เสด็จ
ฯ วางพวงมาลาพระอนุสาวรีย์ฯ และทรงเปิดอาคารฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
"อาคารสมเดจ็ เจา้ ฟ้า วไลยอลงกรณ์"
เปดิ สอนนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี 2 ปี และ 4 ปี หลกั สตู รบริหารธุรกจิ บัณฑติ
เปิดสอนนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา และ
สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน
สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจา้ ฟ้ากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าส ราชนครนิ ทร์
เสด็จฯ วางพวงมาลาพระอนุสาวรีย์ฯ “ทรงเปิดอาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรี
นครินทร์ และหอ้ งประชมุ ราชนครนิ ทร์” ภายในอาคาร 100 ปี สมเดจ็ พระศรี
นครนิ ทร์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้เปล่ียนชื่อเป็น "สถาบันราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ทรงลงพระปรมาภไิ ธยในพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลยั ราชภฏั พุทธศักราช 2547
และได้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 14 มิถุนายน พุทธศักราช
2547 ยังผลให้สถาบันราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ยกฐานะ

3

ปีการศึกษา 2549 เป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัด
3 พฤษภาคม 2555 ปทมุ ธาน"ี ต้งั แต่วนั ท่ี 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2547
เปิดสอนระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวิชาหลักสูตร
ปกี ารศึกษา 2556 และการสอน และสาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์
ปีการศกึ ษา 2557 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีมติเห็นชอบให้
มหาวิทยาลัยดาเนินการจัดซ้ือที่ดินด้านทิศเหนือของมหาวิทยาลัย เน้ือที่ 86 ไร่
ปกี ารศกึ ษา 2558 3 งาน 19 ตารางวา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม
ปีการศึกษา 2559 ราชูปถัมภ์ มีเน้ือที่ท้ังหมด 381 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 20
ถนนพหลโยธนิ ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี
เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการธุรกิจการบิน (หลักสูตรนานาชาติ) และโรงเรียนสาธิตวไลยอลงกรณ์
หลกั สตู รนานาชาติ ทศี่ ูนย์จดั การศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
เปิดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ (English Program) ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ท่ัวไป และสาขาวิชาคณิตศาสตร์ เปิดสอน
หลักสูตรนานาชาติ (International Program) ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตร
บณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สารนานาชาติ
เปดิ สอนหลกั สตู ร 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสบัณฑติ หลกั สตู ร
บริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ สระแกว้
ดาเนินการโครงการจัดต้ังคระสาธารณสุขศาสตร์ เปิดสอน 2 สาขาวิชา ได้แก่
สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ และสาขาวิชาการจัดการสถานพยาบาล

ตราสญั ลกั ษณ์ประจามหาวิทยาลยั

ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นรูปวงรี 2 วงซ้อน
กัน ระหว่างวงรีส่วนบนเขียนเป็นอักษร ภาษาไทยว่า "มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์" ส่วนล่างเขียน
เป็น อักษรภาษาอังกฤษวา่ "VALAYA ALONGKORN RAJABHAT UNIVERSITY" ภายใต้วงรีด้านในมี
ตราพระราชลัญจกรประจาพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซ่ึงเป็นรูปพระที่น่ังอัฐทิศ
ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็นอุหรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักร
เปน็ รูปเศวตฉัตรเจ็ดช้ันตั้งอยูบ่ นพระทนี่ งั่ อฐั ทศิ แปลความหมายว่าทรงมพี ระบรมเดชานุภาพในแผน่ ดนิ

สีนาเงิน แทนคา่ สถาบันพระมหากษตั ริยผ์ ้ใู หก้ าเนดิ และพระราชทานนาม "มหาวิทยาลัยราชภฏั "
สีเขียว แทนค่า แหล่งท่ีตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซึ่งอยู่ในแหล่งธรรมชาติและมีสภาพแวดล้อมท่ี
สวยงาม

4

สที อง แทนคา่ ความเจริญรุ่งเรืองทางปัญญา
สสี ม้ แทนคา่ ความเจริญรุ่งเรอื งของศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ทีก่ า้ วไกลในมหาวิทยาลยั ราชภัฏ
สีขาว แทนค่า ความคดิ อนั บรสิ ุทธ์ิของนกั ปราชญ์แหง่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั

สีประจามหาวทิ ยาลยั
สีเขียว หมายถึง สีที่ตรงกับวันประสูติของสมเด็จเจ้าฟ้าวไลยองกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิริน

ธร ซง่ึ เปน็ องคป์ ระทานกาเนิดมหาวิทยาลัย

ตนไมประจามหาวิทยาลัย “ตนราชพฤกษ”

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Cassia fistula Linn. ชอ่ื วงศ CAESALPINIACEAE / LEGUMINOSAE
ชอ่ื สามญั Golden Shower, Indian Laburnum, Pudding-pine tree คติความเชือ่ ชยั พฤกษหรือ
ราชพฤกษ เปนไมที่มีคุณคาสูง เปนไมมงคลนามนิยมใชในพิธีสาคัญตางๆ และอินธนูของขาราชการพล
เรือนก็ ปกดิ้นทองเปนรูปชอชยั พฤกษ

2. ปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ อัตลกั ษณ์ เอกลักษณ์ และพนั ธกิจของมหาวิทยาลยั
ปรชั ญา

“วิชาการเด่น เน้นคณุ ธรรม นาท้องถ่ินพัฒนา ก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีW
วสิ ัยทัศน์

“มหาวิทยาลัยต้นแบบแห่งการผลิตครู พัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดยยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ ”พอเพียง และสร้างนวตั กรรม เพือ่ พฒั นาท้องถน่ิ ให้มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน
อัตลักษณ์

“บัณฑิตจติ อาสา พัฒนาท้องถิ่น”
เอกลกั ษณ์

“เปน็ สถาบันทน่ี อ้ มนาแนวทางการดาเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง”

5

พนั ธกิจ :
1. ยกระดบั การผลิตครูและพัฒนาศกั ยภาพมนุษยโ์ ดยกระบวนการจัดการเรียนร้เู ชงิ ผลติ ภาพ
(Productive Learning) สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ตามรูปแบบประชารัฐเพื่อพฒั นาท้องถิน่
โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. พฒั นาการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาของทอ้ งถ่นิ และเป็นต้นแบบท่ี
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต และความเข้มแขง็ ของทอ้ งถนิ่
3. ประสานความรว่ มมือระหว่างมหาวทิ ยาลยั และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย เพ่ือพัฒนางานพันธกจิ
สัมพันธแ์ ละถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารเิ พ่ือขยายผลการปฏิบัติไปสู่
ประชาชนในท้องถิน่ อย่างเปน็ รูปธรรม
4. สง่ เสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รณรงคส์ รา้ งจิตสานึกทางวฒั นธรรมและการเรยี นรตู้ า่ ง
วฒั นธรรม อนรุ ักษ์ฟ้นื ฟูและเผยแพร่มรดกทางวฒั นธรรม พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ
ศิลปวฒั นธรรมทีน่ าไปต่อยอดสเู่ ศรษฐกจิ สร้างสรรค์
5. พฒั นาระบบการบริหารจัดการทีเ่ ป็นเลศิ มธี รรมาภิบาลเพือ่ เปน็ ตน้ แบบของการพฒั นา
มหาวิทยาลยั อยา่ งยั่งยืน

3.เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ และค่านิยมหลักของมหาวิทยาลัย
เปา้ ประสงค์ :

1. บัณฑิตมีคุณภาพมาตรฐาน มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มศี กั ยภาพสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ

2. วจิ ัยและนวตั กรรมสามารถแก้ไขปัญหาหรือเสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถ่นิ เพื่อความ
ม่ันคง ม่ังคัง่ ยั่งยืนของประเทศ

3. ประชาชนสามารถดารงชีวิตโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจชุมชน
เข้มแข็งประชาชนมีความสุข และมรี ายไดเ้ พ่ิมขึน้

4. บัณฑิต และผู้มีส่วนได้เสียมีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม จิตสานึกท่ีดีต่อสังคมโดยรวม
รกั ษามรดกทางวฒั นธรรมและเขา้ ใจในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม

5. มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ มาตรฐาน โปร่งใส และธรรมาภิบาลตอบสนองต่อความต้องการ
ประเทศ และเป็นที่ยอมรบั ตอ่ ประชาชน

ยทุ ธศาสตร์ :
1. การผลิตบัณฑิตโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive Learning)

สร้างเครือข่ายความร่วมมือตามรูปแบบประชารัฐเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินในการพัฒนาท้องถ่ิน โดยยึดหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. การวจิ ยั และนวัตกรรมเพอ่ื ตอบสนองต่อการแกไ้ ขปญั หาของท้องถน่ิ
3. การพัฒนางานพนั ธกิจสัมพันธ์และถา่ ยทอด เผยแพรโ่ ครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
4. การส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รณรงค์สร้างจิตสานึกทางวัฒนธรรมและการเรียนรู้
ต่างวัฒนธรรม อนุรักษ์ฟื้นฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม พัมนาระบบการบริหารจัดการ
ศิลปวฒั นธรรม
5. การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การท่ีเป็นเลศิ มีธรรมาภบิ าล

6

ค่านยิ มหลัก : เป็นผูร้ อบรู้ และมวี ิสยั ทัศน์
V : Visionary ทางานเชิงรุก รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
A : Activeness สนใจใฝเ่ รียนรอู้ ย่างต่อเน่อื ง
L : Like to learn ปรับตัวได้ดี พร้อมนาการเปลี่ยนแปลง
A : Adaptive สรา้ งผลงานเปน็ ท่ปี ระจักษ์
Y : Yields เปน็ ทีย่ อมรับในการเป็นกลั ยาณมติ ร
A : Acceptance and Friendliness

ทม่ี าของคา่ นิยม :

แนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล
กรอบแผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 15 ปี
แผนแมบ่ ทโครงสร้างทางปญั ญาของชาติ
บริบททางสังคม เศรษฐกจิ การเมือง
วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ ยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัย
ความคาดหวงั ของสภามหาวิทยาลัย
วฒั นธรรมองคก์ ร :

"พฒั นานวัตกรรม มุง่ เน้นความเป็นเลศิ ร่วมพฒั นาท้องถ่ิน"
สมรรถนะหลัก :

"บรู ณาการพันธกิจสมั พันธ์เพื่อพัฒนาทอ้ งถ่นิ "

4.โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของมหาวิทยาลัย

(ที่มา : สานักงานอธกิ ารบดี ขอ้ มลู วนั ท่ี 7 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564

7

5. ทาเนียบผบู้ ริหาร คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย รายนามคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย

ทาเนียบผู้บริหาร

พ.ศ. 2475 – 2480 อ.นลิ รตั น์ บรรณสทิ ธิว์ รสาสน์

พ.ศ. 2480 - 2485 อ.สนุ ทรี นลิ กาแหง

พ.ศ. 2485 - 2489 คณุ หญงิ สมไสววงศ์ ทองเจอื

พ.ศ. 2489 - 2497 อ.นลิ รตั น์ บรรณสทิ ธิว์ รสาสน์

พ.ศ. 2497 - 2505 อ.จรสั สม ปณุ ณะหติ านนท์

พ.ศ. 2505 - 2515 อ.อวยพร เปล่งวานิช

พ.ศ. 2515 - 2517 อ.พเยาว์ ศรีหงส์

พ.ศ. 2517 - 2519 ดร.อรณุ ปรีดดี ิลก

พ.ศ. 2519 - 2528 รศ.ลาพอง บุญชว่ ย

พ.ศ. 2528 - 2529 ดร.วิชยั แขง่ ขัน

พ.ศ. 2529 - 2537 ผศ.ปรีชา เศรษฐธี ร

พ.ศ. 2537 - 2542 ผศ.จรญู ถาวรจกั ร์

พ.ศ. 2542 - 2551 รศ.ดร.ทองหลอ่ วงษ์อินทร์

ธ.ค. 2551 - ม.ิ ย. 2552 ผศ.ดร.อรสา โกศลานนั ทกุล (รักษาราชการแทนอธิการบด)ี

ม.ิ ย. 2552 - ก.ย. 2552 ศ.พลโท ดร.โอภาส รัตนบรุ ี (รักษาราชการแทนอธิการบดี)

ก.ย. 2552 - ต.ค. 2560 รศ.ดร.สมบัติ คชสทิ ธ์ิ

ต.ค. 2560 - ปัจจุบัน ผศ.ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว

8

คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย

(ท่มี า : http://202.29.39.5/board-vru/board-council.html ขอ้ มูลวันที่ 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564)

9

กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตาแหน่ง
กรรมการผแู้ ทนผ้บู ริหาร

กรรมการผ้แู ทนคณาจารย์

(ท่ีมา : http://202.29.39.5/board-vru/board-council.html ขอ้ มลู วนั ท่ี 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564)

10

รายนามคณะผู้บรหิ ารมหาวิทยาลยั อธิการบดี
รองอธิการบดี
1. ผศ.ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว รองอธิการบดี
2. รศ.ศศินนั ท์ เศรษฐวัฒน์บดี รองอธกิ ารบดี
3. ผศ.เจษฎา ความคุน้ เคย รองอธกิ ารบดี
4. รศ.ดร.นฤมล ธนานนั ต์ รองอธิการบดี
5. อ.ไชย มหี นองหว้า ผู้ช่วยอธิการบดี
6. ผศ.ปยิ ะ สงวนสิน ผูช้ ่วยอธกิ ารบดี
7. ผศ.พิชญาณี เชิงครี ี ไชยยะ ผชู้ ่วยอธิการบดี
8. อ.ศิรพิ ร จริ ะชยั ประสทิ ธิ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี
9. อ.ดร.ชัยวฒุ ิ เทโพธิ์ ผู้ช่วยอธิการบดี
10. ผศ.ธราพงษ์ พัฒนศักดภ์ิ ิญโญ ผู้ช่วยอธิการบดี
11. อ.ดร.โรจนันท์ ทรงอยู่
12. ผศ.ดร.อัญชัญ ยตุ ธิ รรม

(ท่ีมา : http://202.29.39.5/board-vru/board-vru.html ขอ้ มลู วนั ที่ 7 เดอื น ธวั าคม พ.ศ. 2564)

11

ส่วนท่ี 2 บริบทของสานักส่งเสรมิ การเรียนรู้และบริการวชิ าการ

2.1 ประวัติของสานกั สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละบรกิ ารวชิ าการ

ปีพ.ศ.2549 สานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ (สสร.) เป็นหน่วยงานส่วนราชการ
โครงสร้างการบริหารมหาวิทยาลัยที่ประกาศอย่างเป็นทางการในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม
พ.ศ.2549 ซึ่งแต่เดิมการดาเนินงานบริการวิชาการซึ่งเป็นพันธกิจของมหาวิทยาลัยอยู่ในความรับผิดชอบ
ของสานกั วิจยั และบริการวิชาการ แต่เม่ือมีการจดั โครงสร้างสว่ นราชการใหม่ทาใหง้ านบริการวชิ าการโอน
มาอยู่ในความรับผิดชอบของสานักฯ และในปีดังกล่าวสภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง ผศ.วิมล
จิโรจพนั ธ์ุ ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการสานักส่งเสรมิ การเรยี นรูแ้ ละบริการวิชาการเป็นคนแรก

ปีพ.ศ.2550 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง อ.ดร.สุเทพ บุญซ้อน ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการสานัก เมื่อวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 มีการริเริ่มการวางระบบการบริการวิชาการแก่สังคม
ของมหาวิทยาลัย

ปีพ.ศ.2551 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง ผศ.ร.ท.หญิงวิภาวี เกียรติศิริ ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการสานัก เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2551 โดยสานักฯเป็นหน่วยประสานงานและเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ตวั ชี้วดั ดา้ นบริการวชิ าการของมหาวิทยาลัย

ปีพ.ศ.2552 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง อ.ดร.สุนทรี จีนธรรม ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการสานัก เร่ิมมีการจัดต้ังแหล่งเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัย และริเร่ิมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม
พชื ขน้ึ

12
ปีพ.ศ.2557 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง ผศ.ละเอียด ขจรภัย ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการสานัก มีการเปิดหอนิทัศน์ราชภัฏเป็นแหล่งเรียนรู้ และริเริ่มดาเนินงานพันธกิจสัมพันธ์เพื่อ
พฒั นาทอ้ งถ่ิน
ปีพ.ศ.2561 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง ผศ.เศกพร ตันศรีประภาศิริ ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการสานัก เม่ือวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2561 โดยได้ดาเนินงานพันธกิจสัมพันธ์ในพื้นที่จังหวัด
ปทุมธานี จังหวัดสระแก้ว และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดต้ังฐานศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงจานวน 4 ฐานการเรยี นรู้ขนึ้ จนถึงปัจจบุ นั
ปัจจุบันสานักฯ เป็นหน่วยงานเทียบเท่าระดับคณะ และส่วนราชการตามโครงสร้างการบริหาร
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ที่ประกาศอย่างเป็นทางการในราชกิจจา
นุเบกษา ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานสนับสนุนให้คณะ สานัก และศูนย์ต่างๆ ของมหาวิทยาลัย สานักฯ
ได้กาหนดวิสัยน์ทัศน์ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมีการกาหนดนโยบายในการเป็นราชภัฏสู่การพัฒนา
ท้องถิ่น และดาเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์ตามความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น หรือองค์การเป้าหมาย
เพื่อให้เกิดการพัฒนาและมีความเข้มแข็งสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และได้มีการจัดกิจกรรม
บริการทางวิชาการแก่ท้องถ่ิน ที่สอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่ง
สว่ นราชการของสานักฯ ออกเปน็ 4 งานคือ
1. งานบริหารท่ัวไป
2. งานส่งเสริมการเรยี นร้ตู ามรอยพระยคุ ลบาท
3. งานบริการวิชาการแกท่ ้องถน่ิ และสงั คม
4. งานโครงการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรมพชื

2.2 โครงสร้างการบริหารของสานกั ส่งเสริมการเรียนรู้และบรกิ ารวิชาการ

(ที่มา : http://learn.vru.ac.th/learn/index.php ข้อมลู วนั ท่ี 7 เดือน ธวั าคม พ.ศ. 2564)

13

(ทีม่ า : http://learn.vru.ac.th/learn/index.php ข้อมลู วันที่ 7 เดอื น ธวั าคม พ.ศ. 2564)

2.3 พนั ธกจิ วิสัยทศั น์ ค่านิยม วัฒนธรรมองคก์ ร สมรรถนะหลกั และเป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์

ปรัชญา นอ้ มนาศาสตร์พระราชา พัฒนางานพันธกจิ สมั พนั ธ์ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมชุมชน

วิสัยทัศน์ มงุ่ งานพนั ธกิจสมั พันธ์ โดยนอ้ มนาศาสตรพ์ ระราชา

เพื่อพฒั นาท้องถนิ่ ใหม้ น่ั คง มังคง่ั ยง่ั ยนื

พันธกจิ 1. ส่งเสริมการเรยี นรู้ และสืบสาน ศาสตรพ์ ระราชา

2. ส่งเสริม สนบั สนนุ งานพนั ธกิจสัมพันธ์ เสริมสรา้ งเครือขา่ ยประชารฐั พฒั นาชมุ ชน

ท้องถ่ิน

ค่านยิ ม วฒั นธรรม Learn

องค์กร l = learning ส่งเสรมิ การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนื่อง

E = Engagement = งานพนั ธกจิ สมั พันธ์พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ชุมชนทอ้ งถิน่

A = Active = กระตือรนื ร้นในการดาเนนิ งาน

R = Relationship = สรา้ งความสัมพันธท์ ี่ดีกับหน่วยงานเครือข่ายและชุมชนท้องถ่ิน

N = Network = สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือเพ่อื ความยั่งยนื

สมรรถนะหลกั 1. บริการวชิ าการแกท่ อ้ งถิ่น และสงั คม
2. ส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ามรอยพระยคุ ลบาท
เป้าประสงคเ์ ชงิ 1.การสรา้ งนวัตกรรมสงั คม หรือนวตั กรรมชมุ ชนทส่ี ามารถใช้ประโยชนร์ ่วมกนั และ
ยุทธศาสตร์ ลดความเหล่อื มลา้ ของสังคมหรอื ชมุ ชน การให้บริการวิชาการแก่สงั คม และชมุ ชนในพนื้ ที่
เพื่อสรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมืองานพันธกิจสมั พนั ธ์ และสบื สานศาสตร์พระราชาในการ
พัฒนาชุมชน และท้องถิน่
3. สนองพระราชดาริโครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริสมเดจ็
พระเทพรัตนราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ (มรวอ. -
อพ.สธ.) 4.มแี หล่งการเรียนรู้ เพือ่ พัฒนานวตั กรรมสังคมหรือชมุ ชน ตามศาสตร์พระราชา

14

2.4 นโยบายของสานักส่งเสริมการเรยี นรูแ้ ละบริการวชิ าการ
1. พฒั นาระบบและกลไกในการดาเนินงานพันธกิจสัมพันธ์ใหส้ อดคล้องกับกระบวนการดาเนินการ

ของมหาวิทยาลัย หรอื มีการต่อยอดความรู้กับชุมชนทอ้ งถ่ิน และองค์การเป้าหมายทกี่ อ่ ให้เกิดรายได้
2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และชุมชน หรือองค์การเป้าหมาย มีส่วน

ร่วมในการพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ ที่มีผลต่อการผลิตบัณฑิตเพื่อรับใช้
สงั คม

3. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานในการพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ตามความต้องการของ
สังคม หรือชุมชน และก่อให้เกิดวิจัยชุมชน เพ่ือสร้างคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ให้เกิด การพัฒนา
ตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองและย่งั ยืน

4. การจัดการความรู้ด้านงานพันธกิจสัมพันธ์ และงานสืบสานศาสตร์พระราชา โดยถ่ายทอดองค์
ความรู้ และเผยแพรส่ ่บู ุคลากร นักศกึ ษาและสาธารณชน

5. เสรมิ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ในการพฒั นาชุมชน หรอื
องคก์ ารเปา้ หมาย ซึ่งเป็นแหลง่ งานของนกั ศกึ ษา

6. เสรมิ สร้างการบริหารงานแบบมสี ว่ นร่วม และหลกั ธรรมมาภบิ าลใหม้ ปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขึ้น
7. เปน็ แหล่งเรยี นรแู้ ละตน้ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
8. ส่งเสริมและพัฒนาให้มีการน้อมนาแนวทางการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งให้แก่หน่วยงานภายใน ภายนอก และชมุ ชน

2.5 กลยทุ ธ์ของสานักส่งเสรมิ การเรียนรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ
1. ศึกษาแนวพระราชดารแิ ละโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ
2. พฒั นาระบบฐานข้อมูลพระราชดารสั /พระบรมราโชวาท
3. ฝกึ อบรมขยายผลแนวพระราชดารไิ ปสู่การปฏบิ ัติ
4. ศึกษา วิเคราะหป์ ญั หาความต้องการในการพฒั นาศักยภาพบุคลากรและประชาชนในทอ้ งถน่ิ
5. พฒั นาหลกั สูตรและจัดฝกึ อบรมทั้งหลกั สูตรท่วั ไปและหลักสูตรตามความต้องการของท้องถิ่น
6. พัฒนาระบบการให้คาปรกึ ษาและบริการวิชาการ
7. สร้างความรว่ มมือ จดั ทาโครงการรว่ มกบั หน่วยงาน/องค์กรอน่ื ๆ
8. รวบรวม สงั เคราะห์องค์ความรู้ และนวตั กรรม
9. พฒั นาสื่อและเผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์

2.6 ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
สานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ เป็นหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนให้คณะ สานักและ

ศนู ย์ตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัยไดจ้ ัดทาบริการวชิ าการแก่ท้องถ่ิน ทส่ี อดคล้องกับนโยบาย และวัตถปุ ระสงค์
ของมหาวิทยาลัย การสารวจความต้องการของท้องถ่ินในการดาเนินงานบริการวิชาการ โดยดาเนินงาน
ท้ังในรูปแบบของการให้บริการวิชาการท่ีมหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณสนับสนุน และการใช้แหล่ง
งบประมาณจากภายนอกมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ สานักฯ ได้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

15

เศรษฐกิจพอเพียงขึ้น เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่หน่วยงานภายใน
และหนว่ ยงานภายนอกมหาวทิ ยาลยั

สาหรับการปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติหน้าที่นักวิชาการศึกษา สานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวชิ าการมีหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ดังน้ี

ดา้ นการปฏิบัติงาน
1. ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ควบคุมดูและหาแนวทางในการดาเนินงานด้านงานสง่ เสริมการ

เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติหอนิทัศน์ราชภัฏและงานวิทยากรฝึกอบรม
งานเผยแพรข่ อ้ มูลสารสนเทศ/กิจกรรมบนเว็บไซตส์ านัก งานบรกิ ารวชิ าการ งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษาระดับ
มหาวิทยาลัย งานของกิจกรรมและโครงการตามปฏิบัติงานประจาปี ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจาปี
และปฏิทินการศกึ ษาประจาปีของมหาวิทยาลัย

2.ตรวจสอบ ควบคุม ดูแลงานจัดซ้อื /จดั จ้าง
3. ควบคุมดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงานตามหนา้ ท่ี
4. จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพงานประกันคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจาปี
และปฏิทนิ การศึกษาประจาปีของมหาวทิ ยาลัย และของสานกั
5. ควบคุมดูแลการใช้งบประมาณ และทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด

ด้านการวางแผน
วางแผนการทางานที่รับผิดชอบ และร่วมวางแผนการทางานกับผู้บริหารของสานัก และหน่วยงาน

ภายในมหาวิทยาลัยเพ่ือใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมาย และผลสัมฤทธทิ์ ่ีกาหนด

ด้านการประสานงาน
1.ประสานงานการทางานร่วมกันระหว่างทีมงานหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก เพ่ือให้เกิด

ความรว่ มมือและผลสมั ฤทธ์ิตามทกี่ าหนดไว้
2.ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลของกิจกรรมหรือโครงการ แก่บุคคลหรือหน่วยงานท่ี

เกี่ยวข้อง เพือ่ สรา้ งความเข้าใจหรอื ความรว่ มมือในการดาเนนิ งานตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

ด้านการบรกิ าร
1.ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาเบอ้ื งตน้ เผยแพร่ ถา่ ยทอดความรู้ เกีย่ วกับดา้ นงานสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตาม

รอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติหอนิทัศน์ราชภัฏและงานวิทยากรฝึกอบรม งานเผยแพร่
ข้อมูลสารสนเทศ/กิจกรรมบนเว็บไซต์สานัก ของมหาวิทยาลัยและของสานักฯ รวมทั้งตอบปัญหาและชี้แจงเร่ือง
ตา่ ง ๆ แกบ่ ุคลากร เพ่อื ใหผ้ ู้รับบริการไดร้ ับทราบข้อมลู ทีเ่ ป็นประโยชน์

2. จัดเก็บข้อมูลเบ้ืองต้น และให้บริการข้อมูลกิจกรรมหรือโครงการ เกี่ยวกับด้านงานส่งเสริมการ
เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติหอนิทัศน์ราชภัฏและงานวิทยากรฝึกอบรม งาน
เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ/กิจกรรมบนเว็บไซต์สานัก งานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้บุคลากรท้ังภายใน
และภายนอกหน่วยงาน นักศึกษา ตลอดจนผู้บริการ ได้ทราบข้อมูล และความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
สอดคล้อง และสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากาหนดนโยบาย แผนงาน
หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ

16

สว่ นที่ 3 ขันตอนการปฏบิ ัติงาน

บทนา
ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2561 และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

ประเด็นท่ี 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ได้นาผลการประเมิน ITA
ไปกาหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของแผนแม่บทฯ โดยในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) กาหนดค่า
เป้าหมายใหห้ น่วยงานภาครัฐท่ีมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ (85 คะแนนขึน้ ไป) ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 โดย
ใช้ระบบประเมินท่ีสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กาหนด
และให้หนว่ ยงานท่ีรับการประเมนิ รว่ มบูรณาการกับสานักงาน ป.ป.ช

ในการนี้ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ความสาคัญเพอื่ ให้เป็นไป
ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี รวมถงึ พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 พระราชบัญญัติข้อมูล
ข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารบริหารกจิ การบ้านเมือง
ที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ รองรับภารกิจตามแผนการปฏิรปู ประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561– 2580)
และรองรับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภฏั เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) รวมทั้ง
ให้สอดคล้องกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
& Transparency Assessment: ITA) จึงได้เตรียมและดาเนินการเพื่อให้เกิดความพร้อมท่ีจะรองรับการ
ประเมินในทุกปงี บประมาณในทกุ ระบบงานของมหาวิทยาลัย

ในส่วนของมหาวิทยาลัยได้เร่ิมต้นเข้ารับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ที่จัดโดยสานักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช) ในปีงบประมาณ 2559 จนถึงปัจจุบัน
โดยในปีงบประมาณ 2562 ได้มีการเปล่ียนรูปแบบการประเมินจากการใช้ เคร่ืองมือแบบสารวจหลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์ Evidence – Based Integrity and Transparency Assessment (EBIT) และตรวจเอกสาร
หลักฐานที่แนบประกอบการตอบ มาเปน็ การประเมินผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ รองรับการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ หรือที่เรียกว่า ระบบ ITAS (Integrity
and Transparency Assessment System: ITAS) ซ่ึงการประเมินจะมีเคร่ืองมือในการ ประเมินใช้
เคร่ืองมือ 3 เคร่ืองมือประกอบไปด้วย 1) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal Integrity
and Transparency Assessment: IIT) 2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External
Integrity and Transparency Assessment: EIT) และ 3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
(Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)

โดยในแต่ละปีมหาวิทยาลัยจะรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ เพ่ือเข้ารับรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประกอบด้วยตัวชี้วัดท้ัง 10 ตัวชี้วัด ได้แก่
1) การปฏิบัติหน้าท่ี 2) การใช้งบประมาณ 3)การใช้อานาจ 4) การใช้ทรัพย์สินของราชการ 5) การแก้ไข
ปัญหาการทุจริต 6) คุณภาพการดาเนินงาน 7)ประสิทธิภาพการสื่อสาร 8) การปรับปรุงระบบการทางาน
9) การเปิดเผยข้อมูล และ 10) การป้องกันการทุจริต โดยประเมินผลจากการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภายใน (Internal) การรับรู้ของผู้รับรับการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External) และ

17

การเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบนั บนเวบ็ ไซต์ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
(Open Data) ซ่ึงผลคะแนนจะสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ผลการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ยงานในรอบปีงบประมาณ

การดาเนินงานท่ีผ่านมา
การดาเนินงานเพื่อเตรียมรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ

หน่วยงานภาครัฐมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เช่น มหาวิทยาลัยมีคาส่ัง
มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ท่ี 2805/2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินงานรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประกอบไป
ดว้ ยคณะกรรมการจานวน 2 ชุดย่อย ดงั นี้

1. คณะกรรมการอานวยการ มีอธิการบดี เป็นประธานคณะกรรมการ และรองอธิการบดี
ทก่ี ากับดแู ลงาน ดา้ นบรหิ ารและงานด้านบรหิ ารงานบุคคล เป็นรองประธาน มีคณบดีคณะ
วิทยาลัย และผู้อานวยการศูนย์ สานัก เป็น กรรมการ มีหน้าท่ี อานวยความสะดวก
ให้คาปรึกษา เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานในการประเมินเพ่ือรับการ ประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ และอ่ืนๆ ที่ เกี่ยวข้อง
ตามท่ีอธกิ ารบดีมอบหมาย

2. คณะกรรมการดาเนินการ มีรองอธิการบดีท่ีกากับดูแลงานด้านบริหารและงานด้าน
บริหารงานบุคคลเป็นประธาน มีรองอธิการบดีที่กากับดูแลงานตามภารกิจหลัก 4 ด้าน
เป็นรองประธานกรรมการ มีผู้อานวยการสานักงานอธิการบดี หัวหน้าสานักงานคณบดี
หัวหน้าสานักงานผู้อานวยการ และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องเป็นกรรมการ มีผู้อานวยการ
กองกลางและกองนโยบายและแผน เป็นเลขานกุ าร และบคุ ลากรงานบริหารงานบคุ คลเปน็
ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร มหี นา้ ท่ี
1) ประสานงานผ้รู บั จา้ งสารวจขอ้ มูล/ที่ปรึกษาโครงการสานักงาน ป.ป.ช.
2) นา URL หรือ QR code ช่องทางการเข้าตอบแบบวัดการรับรู้- IIT และแบบวัด
การรับรู้- EIT ของมหาวทิ ยาลยั ไปเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธแ์ ก่ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียภายใน
และภายนอกของหน่วยงาน โดยคานงึ ถงึ ช่องทางการเผยแพร่ ทผ่ี มู้ สี ว่ นได้
ส่วนเสียภายในและภายนอกจะเข้ามาตอบ“แบบสารวจ IIT”และ “แบบสารวจ EIT”ได้
ด้วยตนเองผา่ นทาง URL หรือQR code ซึ่งจะเป็นการตอบเข้าสู่ระบบ ITAS โดยตรง
3) กากับ ติดตาม ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในท่ีอยู่ในสังกัด และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภายนอกที่มารับบริการหรือมาติดต่อกับหน่วยงาน ตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสีย
ภายใน และตอบแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก ได้ไม่น้อยกว่าจานวนข้ันต่าท่ี
สานักงาน ป.ป.ช.กาหนด
4 ) ดาเนินการตอบคาถามพร้อมดาเนินกิจกรรม และทาให้ปรากฏซ่ึงเอกสาร/
รูปภาพ/หลักฐานประกอบการตอบตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ(Open
Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) การประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งมี

18

รายละเอียดปรากฏตามคู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สาหรับประเด็นการประเมินท่ี
รับผดิ ชอบ

5 ) งานอ่ืนๆ ที่อธิการบดีมอบหมายท่ีเก่ียวข้องกับการรับการประเมินคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั

3.1 การจัดทาฐานข้อมูล ITA เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity
and Transparency Assessment : OIT) บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการ
วิชาการ โดยนวัตกรรมที่ใช้ในการดาเนินงาน คือ การจัดทาข้อมูลบนเว็บไซต์ของสานักเพื่อ
รวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการตรวจประเมินตามหัวข้อหรือรายละเอียดของแต่ละปีในการตรวจ
ที่จุดเดียว เพื่อให้ง่ายในการตรวจของคณะกรรมการที่เข้าตรวจประเมินผ่านเว็บไซต์ของสานัก
ส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ

สานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ ได้ดาเนินงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
ในเรื่องการส่งเสริมธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของมหาวิทยาลัย โดยสานักมีผู้อานวยการสานัก
เป็นกรรมการ มีหน้าท่ี อานวยความสะดวก ให้คาปรึกษา เสนอแนะแนวทางการดาเนินงาน ใน
การประเมินเพ่ือรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
และอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องตามที่อธิการบดีมอบหมาย และมีหัวหน้าสานักงานผู้อานวยการ และ
บคุ ลากรทเี่ กีย่ วข้องเปน็ กรรมการ เพ่อื รองรบั การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของ
หน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) โดยการดาเนินงานเป็นผู้ส่งเสริม

19

สนับสนุน ประสานงาน ในการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อรวบรวมให้กับมหาวิทยาลัย โดยได้ดาเนินการตาม
เครื่องมือวัดท้ัง 3 เครื่องมือ ประกอบไปด้วย 1) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal
Integrity and Transparency Assessment: IIT) 2) แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก
(External Integrity and Transparency Assessment: EIT) และ 3) แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูล
สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)

สานักฯ มีปณิธานความมุ่งม่ันในการใช้หลักธรรมาภิบาลในการกากับดูแลองค์กร และใช้การ
เปิดเผยข้อมูลสาธารณะในการกากับดูแลองค์กร ( Open Data Integrity and Transparency
Assessment : OIT) โดยมีการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลและความโปร่งใสของ
มหาวิทยาลัยผ่านเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ เพ่ือใช้ในการตรวจประเมิน
รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 พระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2546 จึงมีการจัดทาฐานข้อมูล
สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ขึ้น โดยการจัดทาดังกล่าว
อยู่ภายใต้การดูแลของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ จึงได้มีการจัดทาคู่มือการจัดทา
ฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย
อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จงั หวดั ปทุมธานี เพ่ือใหผ้ ้ปู ฏิบัตงิ านทราบข้ันตอน วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน รวมทัง้
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องในการดาเนินงานการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานัก
สง่ เสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการและเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงานในการปฏบิ ัติงานสาหรับบุคลากร
ในหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ และเพื่อให้การดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพในการ
ดาเนินงาน และมีความต่อเนื่องในการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย ซ่ึงในการเข้าใช้ระบบปฏิบัติการหอ
นทิ ัศน์ราชภฏั มีกระบวนการในการดาเนินงาน 10 ขั้นตอน ดังนี้

3.2 ผังกระบวนการจัดทาฐานข้อมูล ITA เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data
Integrity and Transparency Assessment : OIT) บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการ
เรียนรู้และบริการวิชาการ

1.การได้รับมอบหมายจากผบู้ ังคับบัญชา และ
การตดิ ต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือผทู้ ่ี

เกย่ี วข้องจดั ทาฐานข้อมลู สาธารณะ

2.การประชุมและการวางแผนการดาเนนิ งาน
ระดับสานัก

3.การจัดเตรยี ม รวบรวบขอ้ มูล และจดั ทาบันทึก
ข้อความนาส่ง

(มีต่อหน้าถัดไป)

20

4.วธิ ีการเข้าสหู่ นา้ เวบ็ ไซต์ของสานกั ส่งเสรมิ การ
เรียนรู้และบริการวิชาการ ในการจัดทา
ฐานข้อมลู ITA

5.วิธีการเขา้ ส่รู ะบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA บน
เวบ็ ไซตข์ องสานกั ส่งเสรมิ การเรยี นรู้และบรกิ าร

วิชาการ

6.วธิ กี าร เขา้ สู่ระบบผู้ดแู ล หนา้ เว็บไซต์ระบบ
การจดั ทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานัก

สง่ เสริมการเรยี นร้แู ละบริการวิชาการ

7.วิธีการ Login LearnOffice Admin

8. การจัดการข้อมูล ITA

9.การเพิ่มหวั ข้อ ข้อมูล ITA

10. การเพม่ิ รายละเอยี ดข้อมูล ITA

21
ขันตอนที่ 1 การได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา และการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือผูท้ ่ี
เกี่ยวข้องจัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment:
OIT) ดงั นี้

1.1 ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการในการจัดทา
ฐานข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
โดยมหาวิทยาลยั ส่งบนั ทกึ ขอ้ ความและรายละเอียดผ่านระบบ E-saraban ของสานกั

1.2 การติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องจัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ (Open
Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) และข้อมลู รายละเอียดต่างๆ

ตวั อย่างบันทกึ ข้อความจากมหาวิทยาลัยในการขอความอนเุ คราะห์ข้อมลู ดาเนินงานในการจดั ทา
ฐานขอ้ มลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT

22

ตัวอย่างบันทกึ ข้อความจากมหาวิทยาลัยในขอเชิญเข้าร่วมการประชุมการดาเนนิ งานในการจดั ทา
ฐานข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT
ปญั หา หนังสือหรือได้รับบันทึกข้อความที่มหาวิทยาลัยส่งผ่านระบบ E-saraban ของสานัก
อาจจะล่าช้าในกรณีท่ีธุรการของสานกั ฯลาป่วย หรือการบันทึกส่งมาล่าช้าอาจสง่ ผลกระทบตอ่
การดาเนนิ งานได้
แนวทางการแกไ้ ขปัญหา
ควรมีการจัดตั้งกลุ่มไลน์ Line และขอความร่วมมือบุคคลที่เก่ียวข้องกับงานดังกล่าว
เพ่ือประสานงานล่วงหน้า หรือพูดคุยแบบไม่เป็นทางการแล้วส่งหนังสือตามมาที่หลังได้เพ่ือให้
กระบวนการทางานเป็นไปตามเปา้ หมาย

23

ขอ้ เสนอแนะ
1.มหาวิทยาลัยควรจัดทากล่มุ ไลน์ (Line) เพอ่ื ใช้ประสานงานในการทางานร่วมกัน
2.ควรใหเ้ จ้าหน้าท่หี รือบคุ ลากรของสานกั หรือผูท้ ่เี กย่ี วขอ้ วเข้าร่วมกลุ่มไลน์ (Line) ท่ี

ทางสว่ นกลางหรือมหาวิทยาลยั จัดทาขึ้นเพื่อเปน็ ช่องทางในการดาเนนิ งานรว่ มกัน
3.ควรใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีหรือบุคลากรของสานักได้เรยี นรู้วธิ ีการลงข้อมูลจากคูม่ ือเล่มน้ีเพ่ือ

ใช้ในการปฏบิ ัติงานของสานกั หากเจ้าหน้าท่ที ่ีรบั ผิดชอบไปราชการ เปน็ ต้น

24

ขนั ตอนท่ี 2 การประชุมและการวางแผนการดาเนินงานระดบั สานกั

หลังจากได้รับมอบหมายจากผู้บริหารของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการในการ

จัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ ( Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) โดย

มหาวทิ ยาลัยสง่ บันทึกขอ้ ความและรายละเอยี ดผ่านระบบ E-saraban ของสานัก นกั วิชาการศกึ ษาควรหา

ข้อสรุปให้ชดั เจน และแบง่ หน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบกับผูร้ บั ผิดชอบทเี่ ก่ียวข้อง ดังน้ี

2.1การจัดประชมุ กับทีมงานและมอบหมายผรู้ ับผิดชอบในการทาหน้าท่ีของ เชน่ การ

ขอความอนุเคราะห์ข้อมูลในการจัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency

Assessment: OIT) เปน็ ต้น

2.2 การวางแผนร่วมกันของทีมงานในการลงข้อมูลและการจัดส่งข้อมูลไปให้หน่วยงานกลาง

รวบรวม

การประชุมและการวางแผนการดาเนนิ งานระดับสานักโดยประชุมกับทมี งาน
และมอบหมายผ้รู บั ผดิ ชอบในการทาหน้าท่ี

ปัญหา เน่ืองจากภาระงานของผู้เก่ียวข้องมีค่อนข้างเยอะทาให้ไม่สามารถร่วมกลุ่มการประชุม
และการวางแผนการดาเนินงานได้ครบตามทีน่ ัดหมายได้ ทาใหก้ ารประชุมไม่ครบอาจทาให้เกิด
ปัญหาในการดาเนินงานได้

แนวทางการแก้ไขปัญหา
การแจ้งข้อมูลการประชุมลงในกลมุ่ ไลน์ของบคุ ลากรของสานกั ส่งเสรมิ การเรียนรู้และ

บริการวิชาการเพื่อช้ีแจ้งการประชุม รวมถึงการมอบหมายงานสาหรับผู้เก่ียวข้องเพื่อให้
ผเู้ กย่ี วขอ้ งรับทราบ และใหด้ าเนินการตามท่ีประชมุ มอบหมาย

25

ขอ้ เสนอแนะ
1.ควรจัดให้มีการประชุมทุกคร้ังในการดาเนินงาน เพ่ือลดช่องว่างหรือข้อผิดพลาดท่ี

จะเกิดขนึ้ ในการทางาน
2.ควรจัดสร้างกลุ่มไลน์ (Line) เพื่อขับเคล่ือนงานผ่านเทคโนโลยีในการติดต่อ

ประสานงานร่วมกนั และสร้างความเขา้ ใจในการทางาน

26

ขนั ตอนที่ 3 การจัดเตรยี ม รวบรวบข้อมูล และการจัดทาบันทึกขอ้ ความนาสง่
หลังจากได้รับมอบหมายจากผู้บริหารของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการในการ

จัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ ( Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) โดย
มหาวทิ ยาลยั สง่ บนั ทึกข้อความและรายละเอียดผ่านระบบ E-saraban ของสานัก นักวชิ าการศกึ ษาควรหา
ขอ้ สรปุ ใหช้ ดั เจน และแบ่งหนา้ ทคี่ วามรับผิดชอบกับผรู้ ับผดิ ชอบท่เี กย่ี วขอ้ ง ดังน้ี

3.1การจัดเตรียมและรวบรวบข้อมูลตามตารางเพื่อทบทวน/ตรวจสอบการมีหลักฐานตามแบบ
ตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ ประจาปีงบประมาณ (Open Data Integrity and Transparency
Assessment : OIT) ตามแบบฟอรม์ ของมหาวิทยาลยั

3.2 การลงรายละเอยี ดข้อมูลในตารางตามแบบฟอร์มของมหาวทิ ยาลัย
3.3 ตรวจทานความถูกต้องของข้อมูลแล้วนาเสนอผู้บริหารสานักเพื่อพิจารณา หากมีข้อแก้ไข
ใหด้ าเนนิ แก้ไขให้เรยี บรอ้ ย
3.4 จัดทาบันทึกข้อความ แล้วนาเข้าสู่ระบบสารบรรณอิเล็กทรอกนิกส์ E–Saraban เพ่ือขอ
นาส่งขอ้ มูลไปยังมหาวทิ ยาลัยตามทีข่ อความอนุเคราะหข์ ้อมูลมา
3.5 นาข้อมูลที่นาส่งมหาวิทยาลัยลงในฐานข้อมูลเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวชิ าการ (http://learn.vru.ac.th/engagement/ita.php)

ตวั อย่างแบบฟอร์มตารางข้อมูลเพื่อทบทวน/ตรวจสอบการมีหลักฐานตามแบบตรวจการเปดิ เผยข้อมลู
สาธารณะ ประจาปงี บประมาณ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ตาม

แบบฟอรม์ ของมหาวทิ ยาลยั

ตัวอย่างตารางเพอ่ื ทบทวน/ตรวจสอบการมหี ลักฐานตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ
ประจาปงี บประมาณ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)
ตามแบบฟอรม์ ของมหาวิทยาลัย

27

ตัวอยา่ งบันทกึ ขอ้ ความนาส่งขอ้ มูลแบบตรวจการเปดิ เผยขอ้ มูลสาธารณะ งบประมาณ
(Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT)

28

ปัญหา
การลงข้อมูล copy ลิงค์หรือ URL ข้อมูลในตารางตามแบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย

ซึ่งเกิดปัญหาในการวางลิงค์หรือ URL เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวมีความยาวเกินไปในการวางลง
ตาราง

แนวทางการแก้ไขปัญหา
นา copy ลิงค์หรือ URL ข้อมูลดังกล่าวมาทาการย่อลิงค์หรือ URL ก่อนจะวางลงใน

ตารางแบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย โดยเว็บย่อล้ิงค์ที่ใช้บ่อยในการย่อ เช่น https://1th.me/
เป็นตน้

ข้อเสนอแนะ
ควรย่อลิงค์หรือ URL ก่อนจะวางลงในตารางแบบฟอร์มของมหาวิทยาลัย จะทาให้

ลิงคห์ รือ URL สนั้ ในตารางแบบฟอรม์ ของมหาวิทยาลัย

29

ขันตอนท่ี 4 วิธีการเข้าสู่หน้าเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ ในการจัดทา
ฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มขี ั้นตอน ดังน้ี

4.1 ผู้ปฏบิ ัตงิ านเปดิ คอมพวิ เตอร์
4.2 ผูป้ ฏบิ ัติงาน Login เข้าสู่ระบบการเชื่อมตอ่ อนิ เตอรเ์ นต็ ของมหาวทิ ยาลยั
4.3 จากนน้ั เข้าสู่เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ เชน่ Google Chrome, Internet Explorer
เป็นตน้
4.4 พิมพ์ URL (http://learn.vru.ac.th/learn_2021/index.php) เพ่ือเข้าสู่หน้า
เว็บไซต์ของสานักสง่ เสรมิ การเรยี นรูแ้ ละบริการวิชาการ

ปัญหา
ปัญหาเกิดจากการใช้สัณญานอินเตอร์เน็ตแบบใช้สัญญาณ Wi-fi ในการเช่ือมต่อ

อาจจะช้าในกรณีท่ีผู้ใช้เป็นจานวนมาก หรอื สญั ญาณจะไม่เสถียรในการทางาน หรอื สญั ญาณขาดหายเป็น
ระยะส่งผลต่อการอพั โหลดข้อมลู ขึ้นเว็บไซต์ของสานัก

แนวทางแกไ้ ขปญั หา
ก่อนการปฏิบัติงานให้ทาการตรวจสอบและเช็คความเร็วของอินเตอร์เน็ตในการ

เชื่อมต่อ เพ่อื ตรวจเชค็ ความเร็วของอินเตอรเ์ นต็ ในการเชื่อมต่อ
ข้อเสนอแนะ
1.ผู้ปฏับัติงานควรเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ตแบบใชส้ าย LAN ในการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ต

จะทาให้สญั ญาณอินเตอรค์ งท่หี รอื มคี วามเสถียรมากกว่าในการปฏิบตั งิ าน
2.สานักควรมีเคร่ืองส่งสัณญาณ Wi-Fi เคล่ือนที่ของสานักเองเพื่อใช้เช่ือมต่อ

อนิ เตอร์เน็ตไว้ใช้ในกรณีทส่ี ัณญาณอินเตอรเ์ น็ตของมหาวิทยาลัยมปี ัญหา เพื่อรองรบั กรณเี ร่งด่วน

30

ขันตอนท่ี 5 วิธีการเข้าสู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้
และบริการวิชาการ โดยมขี ้นั ตอนการเขา้ ส่รู ะบบ 2 วิธี ดงั นี้

5.1 วิธีการเข้าสู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA วธิ ีท่ี 1 ดังนี้
1) ในหน้าเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการจะประกอบไปด้วยเมนู

หลักการใช้งานด้านบน ได้แก่ หน้าหลัก เกี่ยวกับสานัก พันธกิจสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์
และเข้าสู่ระบบ
2) ผู้ปฏิบัติงานใช้เมาส์กดคลิกตรงเมนู เข้าสู่ระบบ จากนั้นจะเข้าสู่ระบบการจัดทา
ฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ ขน้ั ตอนน้ี
จะเขา้ ไปยงั หน้าเว็บไซต์ Login LearnOffice Admin (ขัน้ ตอนท่ี 7)

5.2 วธิ ีการเข้าสู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA วิธีท่ี 2 ดงั นี้
1) ในหน้าเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการจะประกอบไปด้วยเมนู
หลักการใช้งานด้านบน ได้แก่ หน้าหลัก เกี่ยวกับสานัก พันธกิจสัมพันธ์ แผนยุทธศาสตร์
และเข้าสรู่ ะบบ
2) ผู้ปฏิบัติงานใช้เมาส์กดคลิกตรงเมนู เกี่ยวกับสานัก จากน้ันใช้เมาส์คลิกกดเลือกไปท่ี
ITA เพื่อจะเข้าสู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการ
เรียนรู้และบริการวิชาการ จากนั้นจะไปยังหน้าเว็บไซต์เข้าสู่ระบบผู้ดูแล (ข้ันตอนที่ 5
วธิ กี าร เขา้ สรู่ ะบบผู้ดแู ล)

31

ปัญหา
-
แนวทางแกไ้ ขปัญหา
-
ขอ้ เสนอแนะ
ควรให้เจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรของสานักได้เรียนรู้วิธีการลงข้อมูลจากคู่มือเล่มน้ีเพ่ือใช้ในการ
ปฏิบตั งิ านของสานัก หากเจา้ หนา้ ทีท่ ่รี บั ผดิ ชอบไปราชการ เปน็ ตน้

32

ขันตอนที่ 6 วิธีการ เข้าสู่ระบบผู้ดูแล หน้าเว็บไซต์ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์
ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มขี ัน้ ตอน ดงั น้ี

6.1 ในหนา้ เว็บไซต์ฐานข้อมลู ITA ของสานกั ส่งเสริมการเรียนร้แู ละบรกิ ารวิชาการจะ
ประกอบไปด้วยเมนหู ลักการใช้งานด้านซา้ ย ไดแ้ ก่ ขอ้ มูลชุมชน หนงั สอื ตาบล ข้อมลู
ITA และเข้าสู่ระบบผู้ดูแล

6.2 ผู้ปฏิบัติงานใช้เมาส์กดคลิกตรงเมนู เข้าสู่ระบบผู้ดูแล เพ่ือจะเข้าสู่ระบบการจัดทา
ฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ

ปญั หา -
แนวทางแกไ้ ขปัญหา -

ขอ้ เสนอแนะ
1.ผู้ปฏับัติงานควรต้ังค่าภาษาบนแป้นพิมพ์คีย์บอร์ด (keyboard) เลือกภาษาอังกฤษ หรือ
ภาษาไทย ให้ถูกต้องก่อนดาเนินการพิมพ์ User และ Password เพ่ือให้ถูกต้องจึงจะสามารถจะเข้าสู่
ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA ไดส้ าเร็จ
2.ควรให้เจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรของสานักได้เรียนรู้วิธีการลงข้อมูลจากคู่มือเล่มนี้เพื่อใช้ในการ
ปฏิบตั ิงานของสานัก หากเจ้าหนา้ ท่ีทรี่ บั ผิดชอบไปราชการ เปน็ ต้น

33

ขันตอนที่ 7 วิธีการ Login LearnOffice Admin เพื่อการลงชื่อยืนตัวตนเข้าสู่ระบบการจัดทา
ฐานข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มีขน้ั ตอน ดังน้ี

7.1 ในหน้าเว็บไซต์ Login LearnOffice Admin การลงชื่อยืนตัวตนเข้าสู่ระบบ ของ
สานักสง่ เสริมการเรียนร้แู ละบริการวชิ าการ ไดแ้ ก่ User = ชอื่ ที่จะเข้าใช้งาน Password =
รหัสผ่าน เข้าสู่ระบบ และหน้าหลัก (โดย User และ Password สามารถขอใช้ในการ
ปฏบิ ตั งิ านไดท้ ่ีหัวหนา้ สานักงานผูอ้ านวยการซ่งึ เปน็ ผู้จัดเกบ็ ข้อมูล)

7.2 ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านใชเ้ มาสก์ ดคลกิ ตรงเมนู User พมิ พช์ ื่อท่จี ะเขา้ ใช้งาน
7.3 ผูป้ ฏบิ ัตงิ านใชเ้ มาสก์ ดคลิกตรงเมนู Password พิมพ์รหัสผา่ นเพอ่ื เขา้ ส่รู ะบบการใช้งาน
7.4 ผ้ปู ฏิบัติงานใชเ้ มาส์กดคลิกตรงเมนู เขา้ สูร่ ะบบ จะเขา้ สู่ระบบการจัดทาฐานข้อมูล ITA

ปญั หา
ปัญหาส่วนมากท่พี บ คือ ผู้ปฏบิ ตั ิงานลมื รหัส User และ Password ในการเขา้ ใชง้ าน เนื่องจาก

การจัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment:OIT) มีการลง
ข้อมลู เปน็ รอบๆ ทาใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ านมักจะลมื รหสั User และ Password ในการเขา้ ใช้งานระบบดังกล่าว
แนวทางแก้ไขปัญหา

เบ้ืองต้นให้ผู้ปฏิบัติงานค้นหาในช่องทางของการติดต่อก่อน เช่น Facebook Line เป็นต้น
หากยังไม่เจอให้ติดต่อประสานงานกับผู้เขียนระบบเว็บไซต์เพ่ือขอรหัส User และ Password ในการเข้า
ใช้การจดั ทาฐานข้อมลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
ข้อเสนอแนะ

ผู้ปฏับัติงานควรจัดทารหัส User และ Password ในการเข้าใช้การจัดทาฐานข้อมูลสาธารณะ
(Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) โดยจัดทาบันทึกแล้วส่งมอบไว้ในตู้
เอกสารของหวั หน้าผอู้ านวยการสานกั งาน หากจะเข้าใชร้ ะบบใหข้ ออนุญาตเพื่อเปดิ ใช้รหัสผา่ น

34
ขันตอนที่ 8 การจัดการข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ
มี ข้ันตอน ดงั น้ี

1) ในหน้าเว็บไซต์ การจัดการข้อมูลรายละเอียด ITA ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวิชาการ ประกอบด้วยแถบเมนูการจัดการข้อมูลเว็ฐ ข้อมูลหมู่บ้าน เมนู ITA และ
เมนอู อกจากระบบ

2) ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานใชเ้ มาส์กดคลิกตรงเมนู ITA โดยจะมแี ถบเมนยู ่อย คอื เพิม่ หัวขอ้ ข้อมูล ITA
และแถบเมนูย่อย เพิ่มรายละเอียด ข้อมูล ITA เพื่อจะเข้าสู่การจัดการข้อมูลรายละเอียด
ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ

ปัญหา -
แนวทางแกไ้ ขปัญหา -

ขอ้ เสนอแนะ
ควรให้เจ้าหน้าท่ีหรือบุคลากรของสานักได้เรียนรู้วิธีการลงข้อมูลจากคู่มือเล่มนี้เพ่ือใช้ในการ
ปฏบิ ัตงิ านของสานกั หากเจา้ หน้าทีท่ ีร่ บั ผิดชอบไปราชการ เป็นต้น

35
ขันตอนที่ 9 การเพ่ิมหัวข้อ ข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ
มขี ้นั ตอน ดงั นี้

1) ในหน้าเว็บไซต์ การเพ่ิมห้วข้อ ข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวิชาการ ประกอบด้วยแถบเมนูการจัดการเว็บ เมนูข้อมูลหมู่บ้าน เมนู ITA และ
เมนอู อกจากระบบ

36

2) ผู้ปฏบิ ัตงิ านใชเ้ มาส์กดคลิกตรงเมนู ITA โดยจะมแี ถบเมนยู อ่ ย คอื เพิ่มหวั ข้อ ข้อมลู ITA
และแถบเมนยู อ่ ย เพิ่มรายละเอียด ข้อมลู ITA จากน้ัน ใชเ้ มาสก์ ดคลิกตรงเมนูเลือก เพ่ิม
หัวข้อ ITA

3) ใช้เมาส์คลิกเลือกตรงช่องว่างหัวข้อ ITA แล้วเพ่ิมข้อมูลตามต้องการ เช่น โครงสร้าง
ขอ้ มลู ผ้บู ริหาร เป็นตน้

4) ใช้เมาส์คลิกเลือกตรงช่องว่างองค์ประกอบด้านข้อมูล โดยเพิ่มข้อมูล รายละเอียดด้าน
องค์ประกอบของขอ้ มูลตามข้อหวั ท่ีใหม้ า

5) ใชเ้ มาสค์ ลกิ ตรง บันทกึ เพ่ือบันทกึ ขอ้ มูลเพิ่มหัวขอ้ ITA

ปัญหา ปัญหาในการปฏิบัติงาน คือ ด้านองค์ประกอบด้านข้อมูล ในการขึ้นบรรทัดใหม่ หรือ
หัวข้อใหม่ ไมส่ ามารถดาเนินการดงั กลา่ วได้

แนวทางแก้ไขปัญหา ในการข้ึนบรรทัดใหม่ หรือหัวข้อใหม่ ผู้ปฏับัติงานต้องพิมพ์ br ใส่ใน <> ต่อท้าย
ขอ้ ความจึงจะขน้ึ บรรทดั ใหม่ หรือหัวข้อใหมไ่ ด้ในชอ่ งวา่ งองค์ประกอบด้านข้อมูล

คาแนะนา ควรเปลยี่ นการกรอกข้อมูลแบบ CK Editor เพ่ือทาให้การกรอกข้อมูลงา่ ยขึน้ ต่อการ
ใช้งาน (CK Editor หมายถึง CKEditor คือ เครื่องมือ (Tool) ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถเขียนข้อความลง
บนเว็บไซต์ได้อย่างสะดวกสบายโดยที่ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนแท๊ก code ภาษา HTML ใดๆเลย
ยกตัวอย่างเช่น กล่อง Comment หรือกล่องเขียนบทความ บนเว็บ ถ้าเราไม่ใช้ CKEditor จะได้ กล่อง
เป็น Text Area พิมพ์ข้อความลงไปไม่สามารถใส่สี ขนาดตัวอักษร ใดๆได้(ยกเว้นมีความรู้เกี่ยวกับภาษา
HTML) ดังนน้ั CKEditor จะช่วยเหลือในการทเี่ ราสามารถ ใสส่ ี ใส่ขนาดตัวอกั ษร ใส่ลิงค์ ตัวหนา้ ตัวเอียง
ได้โดย เหมือนกับใช้ Microsoft Word ที่มา: https://www.itoffside.com/howto-ckeditor-text-
editor-wysiwyg/)

37
ขันตอนที่ 10 การเพ่ิมรายละเอียดข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการ
วิชาการ มขี ัน้ ตอน ดังนี้

1) ในหน้าเว็บไซต์ การเพิ่มข้อมูล ITA บนเว็บไซต์ของสานักส่งเสริมการเรียนรู้และ
บริการวิชาการ ประกอบด้วยแถบเมนูการจัดการเว็บ เมนูข้อมูลหมู่บ้าน เมนู ITA และ
เมนอู อกจากระบบ

38

2) ผปู้ ฏิบัตงิ านใชเ้ มาส์กดคลิกตรงเมนู ITA โดยจะมแี ถบเมนูยอ่ ย คือ เพมิ่ หัวข้อ ข้อมลู ITA
และแถบเมนูยอ่ ย เพิม่ รายละเอียด ข้อมลู ITA จากนนั้ ใช้เมาส์กดคลกิ ตรงเมนเู ลือก เพมิ่
รายละเอยี ด ขอ้ มูล ITA จากนน้ั ใช้เมาส์คลกิ เลอื กหวั ขอ้ โปรดระบุหวั ข้อ

3) ใช้เมาสค์ ลิกเลอื กตรงช่องว่างชื่อไฟลเ์ พอ่ื เพ่ิมข้อมลู ท่ีต้องการ
4) Copy ลิงคท์ ตี่ ้องการนามาวางลงชอ่ งว่าง ลงิ ค์ขอ้ มูล
5) ใช้เมาสค์ ลกิ เลอื กตรง Browse เพ่ือเลอื กไฟลข์ ้อมูลท่ีเตรียมไว้
6) ใชเ้ มาสค์ ลิกกดตรงบนั ทึกเพ่ือบนั ทกึ ข้อมูลรายละเอียด การเพิม่ ขอ้ มลู ITA
7) ทาการตรวจสอบขอ้ มลู หนา้ เว็บไซต์ของสานกั
8) การดาเนินการเสรจ็ สิ้น

ปัญหา
ในการใสร่ ายละเอียดข้อมูล ไดแ้ ก่ ไฟลข์ ้อมลู ตา่ งๆ ไมส่ ามารถอัพโหลดขอ้ มูลได้ จะต้องเปน็ ไฟล์
Pdf. เท่านัน้ เนือ่ งจากมกี ารตั้งคา่ ใหอ้ ่านเฉพาะ ไฟล์ Pdf. ของโปรแกรมเมอรห์ รือผู้เขยี นโปรแกรม
แนวทางแก้ไขปัญหา
ผู้ปฏับัติงานควรใช้ไฟล์ข้อมูลท่ีเป็นไฟล์ Pdf. ในการอัพโหลดข้อมูล หรือก่อนการจะทาการอัพ
โหลดไฟลข์ ้อมลู ควรแปลงไฟล์ให้ เปน็ Pdf.กอ่ น เชน่ การแปลง WORD เป็น PDF
ทาให้ไฟล์ DOC และ DOCX อ่านง่ายขึ้นด้วยการแปลงเป็น PDF โดยการแปลงไฟล์ข้อมูลออนไลน์ผ่าน
เวบ็ ไซต์ https://www.ilovepdf.com/th/word_to_pdf หรอื https://tools.pdf24.org/th/
เปน็ ตน้
คาแนะนา
ผ้ปู ฏบั ัตงิ านควร Add bookmark ลงิ คห์ รือ URL เว็บไซต์การแปลงไฟล์ขอ้ มูลออนไลน์ไวเ้ พ่ือให้
สะดวกตอ่ การปฏิบตั งิ าน

39
ภาคผนวก

40

ภาคผนวก ก

1. ขอ้ มูลการจดั ทา ITA ออนไลน์
2. บนั ทกึ ข้อความต่างๆ
3. คาสงั่ แต่งตงั้ คณะกรรมการ
4. แบบฟอร์มตาราง

41

1. ข้อมลู การจัดทา ITA ออนไลน์
ผูป้ ฏิบตั ิงานเข้าใชง้ านขอ้ มลู การจดั ทา ITA ออนไลน์ของสานักสง่ เสรมิ การเรยี นรู้และบริการ

วชิ าการได้ท่ี https://1th.me/fMtPN

42

2. บนั ทกึ ขอ้ ความตา่ งๆ

43

44

45


Click to View FlipBook Version