The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by spironace.a2z, 2021-10-26 00:54:34

ด้านที่ 4

ด้านที่ 4

ด้านที่ ๔

การจัดประสบการณ์
ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ด้านที่ ๔
การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเดก็ เป็นสำคญั
การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคญั ระดบั ปฐมวยั คอื การท่ีครูส่งเสริมและสนับสนนุ เดก็
ปฐมวัยได้พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามวัยซึ่งสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
โดยผ่านกิจกรรมลักษณะต่างๆ ให้เด็กได้ปฏิบัติและคิดค้นหาคำตอบ ตามความสนใจ ความถนัดของตนเอง
ส่งเสริมให้เด็กมีสังคม และสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น จากการเรียนและร่วมมือกับเพื่อน ครูและผู้อ่ืน
ส่งเสรมิ ให้เดก็ รักและภาคภูมิใจในคนเองสามารถสร้างความดงี ามในชวี ิตได้ต่อไปหรือรู้คุณค่าของชวี ิต ส่งเสริม
ใหเ้ ด็กมีคุณธรรม จริยธรรม ทด่ี ีงามดังที่ปรากฏอย่ใู นพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในมาตรา
22 ด้านกระบวนการเรียนรู้ ว่า " การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และ
พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ " ดังนั้นโรงเรียนกรุณาศึกษาจึงต้องจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
เนน้ เด็กเปน็ สำคญั โดยอาจสอดแทรกอยใู่ นกิจกรรมประจำวนั ที่ผปู้ กครองสามารถสงั เกตเห็นไดด้ ังนี้
การจัดผ่านกิจวัตรประจำวันตั้งแต่เช้าที่ครูรับเด็กมา โดยทั่วไปโรงเรียนกรุณาศึกษาระดับอนุบาลจะ
จัดประสบการณ์ให้เด็กผ่านกิจกรรมการตรวจสุขภาพจากครูเวร หรือครูประจำชั้น คือ ครูสังเกตหรือสัมผัส
ร่างกายเด็กกิจกรรมการเคารพธงชาติ การสวดมนต์ การรับประทานอาหารกลางวัน การ ทำความสะอาด
ร่างกาย การนอนพักผ่อน การขับถ่าย และการทำความสะอาดห้องเรียน หรือบริเวณโรงเรียน การจัดผ่าน
กิจกรรมหลักตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ได้แก่ กิจกรรมเคล่ือนไหวและ จังหวะ กิจกรรมเสริม
ประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และเกมการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้เด็ก
แสวงหาในเรื่องทีเ่ ด็กสนใจและปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก ซึ่งมีขั้นตอนการ
ดำเนินงานดงั นี้
๔.๑ การจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์
โรงเรียนกรุณาศึกษาได้พิจารณาจากครูมีการวิเคราะห์หลักสูตร ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเด็กและเกิดจากการวเิ คราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์
การเรียนรทู้ ่ีสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศกึ ษา เหมาะสมกบั วยั ตอบสนองความตอ้ งการ ความสนใจและความ
แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของเด็ก กล่าวคือ
๔.๑.๑ ไดม้ กี ารวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร วเิ คราะห์ข้อมูลเดก็ เปน็ รายบุคคล สรปุ และรายงานผลการ วเิ คราะห์
๔.๑.๒ ครูออกแบบการ จดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้สู อดคล้องกับหลักสตู รสถานศึกษาและสอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรยี น

หน่วยการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ปีการศึกษา 2561

ลำดบั ท่ี สระท่ี 1 เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ตวั เดก็ สอนวนั ท่ี หมายเหตุ
1
2 สนุกสุขใจฉนั ไปโรงเรียน 21 - 25 พ.ค. 61
3
4 น่ีแหละตวั ฉนั 28 พ.ค. - 1 ม.ิ ย. 61
5
6 อารมณข์ องฉัน 4 - 8 ม.ิ ย. 61
7
รา่ งกายของฉัน 11 - 15 มิ.ย. 61
8
9 อวัยวะรบั สมั ผสั 18 - 22 มิ.ย. 61
10
11 เด็กนอ้ ยสุขภาพดี 25 - 29 มิ.ย. 61
12
13 เดก็ ดมี มี ารยาท 2 - 6 ก.ค. 61
14
โครงงาน ข้าว 9 - 20 ก.ค. 61
15
16 สาระที่ 2 เรื่องราวเกีย่ วกับบุคคลและสถานทีแ่ วดลอ้ มเดก็
17
18 รอบครัวของฉนั 23 - 27 ก.ค. 61
19
20 บา้ นแสนรกั 30 ก.ค. - 3 ส.ค. 61
21
โรงเรยี นของฉนั 6 - 10 ส.ค. 61
22
23 ชมุ ชนของฉัน 13 - 17 ส.ค. 61
24
25 จังหวัดของเรา 20 - 24 ส.ค. 61
26
27 เรารกั ประเทศไทย 27 - 31 ส.ค. 61
28
ประเทศเพอื่ นบา้ น 3 - 7 ก.ย. 61

โครงงานบา้ นแสนรัก 10 - 21 ก.ย. 61

สระการเรยี นรทู้ ่ี 3 ธรรมชาติรอบตัว

สตั ว์น่ารกั 5 - 9 พ.ค. 61

ตน้ ไม้ 12 - 16 พ.ค. 61

สิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชา 19 - 23 พ.ค. 61

กลางวัน กลางคนื 26 - 30 พ.ค. 61

รอ้ น ฝน หนาว 3 - 7 ธ.ค. 61

เดก็ น้อยผพู้ ิทักษ์ 10 - 14 ธ.ค. 61

อวกาศ 17-21 ธ.ค. 61

โครงงาน ช้าง 24 ธ.ค. 61 - 4 ม.ค. 62

สาระท่ี 4 ส่งิ ต่างๆรอบตัวเดก็

สีสนั อนั สดใส 7 - 11 ม.ค. 62

รูปทรงและผวิ สมั ผสั 14 - 18 ม.ค. 62

สิ่งของเครอื่ งใช้ 21 - 25 ม.ค. 62

เครอ่ื งทุ่นแรง 1 28 ม.ค. – 1 ก.พ. 62

คมนาคม 4 - 8 ก.พ. 62

การติดต่อส่ือสาร 11 - 15 ก.พ. 62

เทคโนโลยี 18 - 22 ก.พ. 62

โครงงาน รถยนต์ 25 ก.พ. - 8 ม.ี ค.62

หนว่ ยการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ปกี ารศกึ ษา 2562

ลำดบั ท่ี สระที่ 1 เร่อื งราวเก่ียวกบั ตวั เดก็ สอนวนั ที่ หมายเหตุ
1
2 สนุกสุขใจฉันไปโรงเรียน 21 - 24 พ.ค. 62
3
4 น่ีแหละตวั ฉัน 27 - 31 พ.ค. 62
5
6 อารมณข์ องฉนั 4 - 7 มิ.ย. 62
7
ร่างกายของฉัน 10 - 14 ม.ิ ย. 62
8
9 อวัยวะรับสมั ผสั 17 - 21 ม.ิ ย. 62
10
11 เด็กนอ้ ยสุขภาพดี 24 - 28 ม.ิ ย. 62
12
13 เด็กดีมมี ารยาท 1 - 5 ก.ค. 62
14
โครงงาน ข้าว 8 - 12 ก.ค. 62
15
16 สาระท่ี 2 เร่ืองราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ มเด็ก
17
18 รอบครวั ของฉัน 22 - 26 ก.ค. 62
19
20 บา้ นแสนรกั 29 ก.ค. - 2 ส.ค. 62
21
โรงเรียนของฉนั 5 - 9 ส.ค. 62
22
23 ชุมชนของฉนั 12 - 16ส.ค. 62
24
25 จังหวดั ของเรา 19 - 23 ส.ค. 62
26
27 เรารักประเทศไทย 26 - 30 ส.ค. 62
28
ประเทศเพ่ือนบ้าน 2 - 6 ก.ย. 62

โครงงานบ้านแสนรกั 9 - 20 ก.ย. 62

สระการเรียนรทู้ ี่ 3 ธรรมชาติรอบตวั

สตั ว์น่ารัก 4 - 8 พ.ย. 62

ต้นไม้ 11 - 15 พ.ย. 62

สิ่งแวดล้อมตามธรรมชา 18-22 พ.ย. 62

กลางวัน กลางคืน 25 - 29 พ.ย. 62

รอ้ น ฝน หนาว 2 - 6 ธ.ค. 62

เด็กนอ้ ยผ้พู ิทักษ์ 9 - 13 ธ.ค. 62

อวกาศ 16 - 20 ธ.ค. 62

โครงงาน ชา้ ง 23 ธ.ค.62 - 3 ม.ค. 63

สาระที่ 4 สิง่ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก

สสี นั อนั สดใส 6 - 10 ม.ค. 63

รปู ทรงและผวิ สมั ผสั 13 - 17 ม.ค. 63

สงิ่ ของเครอ่ื งใช้ 20 - 24 ม.ค. 63

เครื่องทนุ่ แรง 1 27 - 31 ม.ค. 63

คมนาคม 3 - 7 ก.พ. 63

การติดตอ่ สื่อสาร 10 - 14 ก.พ. 63

เทคโนโลยี 17 - 21 ก.พ. 63

โครงงาน รถยนต์ 24 - 7 มี.ค 63

หนว่ ยการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ปีการศกึ ษา 2563

ลำดบั ท่ี สระที่ 1 เรื่องราวเกีย่ วกับตวั เด็ก สอนวันที่ หมายเหตุ
1
2 สนกุ สขุ ใจฉันไปโรงเรียน 1 - 3 ก.ค. 63
3
4 นแ่ี หละตวั ฉัน 6 - 10 ก.ค. 63
5
6 อารมณ์ของฉัน 13 - 17 ก.ค 63
7
รา่ งกายของฉัน 20 - 24 ก.ค. 63
8
9 อวัยวะรบั สมั ผสั 27-31 ก.ค. 63
10
11 เดก็ น้อยสขุ ภาพดี 3 – 7 ส.ค. 63
12
13 เด็กดีมมี ารยาท 10 - 14 ส.ค. 63
14
โครงงาน ขา้ ว 17 - 28 ส.ค. 63
15
16 สาระที่ 2 เรื่องราวเก่ียวกับบคุ คลและสถานท่แี วดลอ้ มเดก็
17
18 รอบครวั ของฉนั 31 ส.ค. - 4 ก.ย. 63
19
20 บ้านแสนรกั 7 - 11 ก.ย. 63
21
โรงเรยี นของฉัน 14 – 18 ก.ย. 63
22
23 ชุมชนของฉัน 21 -25 ก.ย. 63
24
25 จงั หวดั ของเรา 28 ก.ย. – 2 ต.ค 63
26
27 เรารกั ประเทศไทย 5 – 9 ต.ค 63
28
ประเทศเพื่อนบ้าน 12 - 16 ต.ค. 63

โครงงานบา้ นแสนรัก 19 - 30 ต.ค. 63

สระการเรยี นร้ทู ่ี 3 ธรรมชาติรอบตัว

สตั วน์ ่ารกั 1 – 4 ธ.ค. 63

ต้นไม้ 7 – 11 ธ.ค. 63

สง่ิ แวดล้อมตามธรรมชา 14 – 18 ธ.ค. 63

กลางวนั กลางคืน 21 - 25 ธ.ค. 63

รอ้ น ฝน หนาว 28 - 30 ธ.ค. 63

เด็กนอ้ ยผพู้ ิทักษ์ 4 - 8 ม.ค. 64

อวกาศ 11 - 15 ม.ค. 63

โครงงาน ช้าง 18 - 29 ม.ค. 64

สาระท่ี 4 สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก

สีสันอันสดใส 1 - 5 ก.พ. 64

รูปทรงและผวิ สมั ผสั 8 - 12 ก.พ. 64

สง่ิ ของเครื่องใช้ 15 - 19 ก.พ. 64

เครือ่ งทนุ่ แรง 1 22 - 25 ก.พ. 64

คมนาคม 1 - 5 มี.ค. 64

การตดิ ต่อส่อื สาร 8 - 12 มี.ค. 64

เทคโนโลยี 15 - 19 มี.ค. 64

โครงงาน รถยนต์ 22 ม.ี ค. – 2 เม.ย 64

๔.๒ การจดั ประสบการณ์และการจดั การชน้ั เรียน
โรงเรียนกรุณาศึกษา ระดับอนุบาลได้จัดประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้วยการ

สังเกต สำรวจ คันคว้า ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง บูรณาการผ่านการเล่นจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาการเด็กครอบคลุมท้งั ๔ ดา้ น ให้สอดคลอ้ งกับการกระตนุ้ พัฒนาการทางสมอง ความสนใจ และความคิด
สร้างสรรค์สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่อบอุ่นเป็นกันเองให้เกิดการยอมรับความ
แตกตา่ งและนบั ถือซ่ึงกันและกัน ใหเ้ ดก็ เรียนรูจ้ ากแหลง่ เรยี นรู้ท้ังในและนอกหอ้ งเรียนดังนี้
๔.๒.๑ ครู จัดประสบการณ์การเรียนรู้บูรณาการผ่านการเล่นอย่างหลากหลาย โดยให้เด็กได้เรียนรู้ผ่าน
ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ สอดคล้องกับการทำงานของสมองเหมาะกับชว่ งวยั และอายุซึ่งการ จัดประสบการณ์ของ
เด็กท่จี ัดให้มีแตล่ ะวนั ประกอบด้วย

๑) กิจกรรมเสรี เป็นกิจกรรมทีเ่ ปดิ โอกาสให้เด็กเลน่ กับส่ือและเครือ่ งเล่นอย่างอิสระตามมุม หรือมุม
ประสบการณ์ หรือศูนย์การเรียนท่ีจัดไว้ โดยให้เด็กมีโอกาสเลือกเล่นได้อย่างเสรีดามความสนใจและความ
ต้องการของเด็ก ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ลักษณะของการเล่นของเด็กมีหลายลักษณะ เช่น การเล่น
บทบาทสมมุติในมุมบ้าน มุมหมอ มุมร้านค้า มุมวัด มุมเสริมสวย การเล่นสร้างในมุมบล็อก การสังเกตและ
ทดลองในมุมวิทยาศาสตร์หรอื มุมธรรมชาติ การเล่นฝึกทักษะต่างๆ ในมุมเครื่องเล่น หรือมุมของเล่น หรือมุม
เกมการศกึ ษาเปน็ ตน้

๒) กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมทีช่ ว่ ยใหเ้ ดก็ ได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ริเริ่ม
สร้างสรรค์และจนิ ตนาการ โดยใชศ้ ลิ ปะ เชน่ การเขียนภาพ การปัน้ การฉีกปะ ตัดปะ การพมิ พภ์ าพ การร้อย
การประดิษฐ์ หรือวิธีการอื่นๆที่เด็กได้คดิ สร้างสรรค์ ได้รับรู้เกี่ยวกับความงาม และได้แสดงออกทางความร้สู กึ
และความสามารถของตนเอง การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ควรจัดให้เด็กทำทุกวัน โดยอาจจัดวันละ ๓ – ๕
กจิ กรรม ให้เด็กเลือกทำอย่างนอ้ ย ๑ - ๒ กจิ กรรมตามความสนใจ

๓) กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ เป็นกจิ กรรมทจ่ี ดั ให้เด็กได้เคล่ือนไหวสว่ นต่างๆของร่างกายอย่าง
อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจอง เครื่องเคาะจังหวะ หรืออุปกรณ์อื่นๆมาประกอบการ
เคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เด็กวัยนี้ร่างกายกำลังอยู่ในระหว่าง
พัฒนาการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายยังไม่ผสมผสานหรือประสานสัมพันธ์กันอย่างสมบูรณ์ การทำกิจกรรม
เคลื่อนไหวและจงั หวะช่วยให้เดก็ เรียนรู้จังหวะและควบคมุ การเคลื่อนไหวของตนเองได้

๔) กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกจิ กรรมทม่ี ุง่ เน้นให้เด็กได้พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ ฝกึ การทำงาน
และอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม กิจกรรมที่จัดมุ่งฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผลและฝึก
ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนโดยจัดกิจกรรมด้วยวิธีต่าง เช่น สนทนา อภิปราย เล่า
นทิ าน สาธิต ทดลอง ศึกษานอกสถานท่ี เลน่ บทบาทสมมุติ ร้องเพลง ท่องคำคล้องจอง และอืน่ ๆ

๕) กิจกรรมกลางแจ้ง เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกไปนอกห้องเรียนเพื่อออกกำลัง
เคลื่อนไหวร่างกายและแสดงออกอย่างอิสระ โดยยึดความสนใจ และความสามารถของเด็กแต่ละคนเป็นหลัก
กิจกรรมกลางแจ้งทีค่ วรจัดใหเ้ ด็กได้เล่น เช่น การเล่นเครื่องเลน่ สนามที่เด็กได้ปีนป่าย โยกหรือไกว หมุน โหน
เดนิ ทรงตัว การเลน่ ทราย การเลน่ เกีย่ วกับอุปกรณก์ ีฬา การเลน่ เกมการละเล่น และอน่ื ๆ

๗) กิจกรรมเกมการศึกษา เป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา มีกฎเกณฑ์กติกาง่ายๆ เด็ก
สามารถเล่นคนเดียว หรือเล่นเป็นกลุ่มก็ได้ ช่วยให้เด็กรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด
เกี่ยวกับสีรูปร่าง จำนวน ประเภท และความสัมพันธ์เกี่ยวกับพื้นที่ / ระยะ เกมการศึกษาที่เหมาะสมสำหรับ
เดก็ ปฐมวยั เช่น เกมจบั คู่ เกมแยกประเภท จดั หมวดหมู่ เรยี งลำดบั ภาพตดั ตอ่
๔.๒.๒ จัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างหลากหลายและเหมาะสม โดยให้เด็กได้เคลื่อนไหว สำรวจสังเกต
สืบค้น ทดลอง สบื เสาะหาความรู้ คิด ไดต้ อบและแก้ปญั หาด้วยตวั เอง
๔.๒.๓ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เดก็ ได้ปฏิบัติกิจกรรมแบบร่วมมือด้วยวธิ ีที่หลายหลากเหมาะกับช่วงอายุ
๔.๒.๔ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กได้เรียนรู้จากสื่อทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนการจัด
สภาพแวดล้อมๆในสถานศึกษาปฐมวัยทั้งภายในห้องเรียน ภายนอกห้องเรียน เพื่อช่วยกระตุ้นให้เด็กเกิดการ
เรียนรู้ได้รับประสบการณ์จากการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ทำกิจกรมร่วมกันอย่างมีความสุข สนุก สบาย สะดวก
ปลอดภยั ตลอดจนส่งเสรมิ ให้เดก็ มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
๔.๒.๕ จัดบรรยากาศในห้องเรียนเพื่อเสริมสร้างการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีของเด็กกับผู้อื่นได้อย่างดีเยี่ยมยอมรั บ
ขอ้ ตกลงการอยู่ร่วมกันและความแตกต่างระหว่างบุคลากร

จัดบรรยากาศในชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนการ
สอน เพ่อื ช่วยส่งเสรมิ ให้กระบวนการเรยี นการสอนดำเนนิ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ และชว่ ยสรา้ งความสนใจใฝ่รู้
ศกึ ษา ตลอดจนช่วยสร้างเสริมความมีระเบียบวินัยให้แก่ผ้เู รียน
ความสำคัญของการจัดบรรยากาศในช้นั เรยี น

๑. ช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างราบรื่น เช่น ห้องเรียนที่ไม่คับแคบจนเกินไป
ทำใหน้ กั เรียนเกิดความคลอ่ งตัวในการทำกจิ กรรม

๒. ช่วยสร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน เช่น ห้องเรียนที่สะอาด
ทีจ่ ัดโต๊ะเก้าอี้ไว้อยา่ งเปน็ ระเบียบ มคี วามเอ้ือเพือ่ เผอื่ แผต่ อ่ กัน นักเรยี นจะซึมซบั ส่งิ เหลา่ นี้ไวโ้ ดยไมร่ ตู้ วั

๓.ช่วยสง่ เสริมสุขภาพทด่ี ีให้แก่ผู้เรียน เชน่ มีแสงสว่างท่เี หมาะสม มีที่นงั่ ไมใ่ กล้กระดานดำมากเกินไป
มขี นาดโต๊ะและเก้าอี้ที่เหมาะสมกับวยั รปู ร่างของเด็ก ฯลฯ

๔.ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ และสร้างความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น เช่น การจัดมุมวิชาการต่าง ๆ
การจัดปา้ ยนเิ ทศ การตกแต่งห้องเรียนด้วยผลงานของนักเรยี น

๕.ช่วยส่งเสริมการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เช่น การฝึกให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน การฝึกให้มี
อัธยาศัยไมตรีในการอยรู่ ว่ มกนั ฯลฯ

6.ชว่ ยสร้างเจตคติท่ดี ีต่อการเรยี นและการมาโรงเรยี น เพราะในชน้ั เรยี นมคี รูทเ่ี ข้าใจนักเรยี น ให้ความ
เมตตาเอื้ออารตี ่อนักเรียน และนักเรียนมคี วามสมั พันธอ์ นั ดตี ่อกัน
บรรยากาศทพ่ี ึงปรารถนาในชั้นเรียน

๑) บรรยากาศทีท่ ้าทาย (Challenge) เป็นบรรยากาศท่ีครูกระตุ้นให้กำลังใจนักเรียนเพ่ือให้ประสบ
ผลสำเร็จในการทำงาน นกั เรยี นจะเกดิ ความเชอ่ื มั่นในตนเองและพยายามทำงานให้สำเรจ็

๒) บรรยากาศท่มี อี สิ ระ (Freedom) เปน็ บรรยากาศทน่ี ักเรียนมโี อกาสได้คิด ไดต้ ัดสนิ ใจเลอื กส่ิงที่มี
ความหมายและมคี ุณค่า รามถงึ โอกาสที่จะทำผดิ ด้วย โดยปราศจากความกลวั และวิตกกงั วล บรรยากาศเช่นน้ี
จะส่งเสริมการเรียนรู้ ผู้เรียนจะปฏบิ ัตกิ ิจกรรมด้วยความตงั้ ใจ โดยไม่รูส้ กึ ตึงเครียด

๓) บรรยากาศที่มีการยอมรับนับถือ (Respect) เป็นบรรยากาศที่ครูรู้สึกว่านักเรียนเป็นบุคคล
สำคัญ มคี ุณคา่ และสามารถเรียนได้ อันสง่ ผลให้นักเรยี นเกดิ ความเชอ่ื มั่นในคนเองและเกดิ ความยอมรับนับถือ
ตนเอง

๔) บรรยากาศที่มีความอบอุ่น (Warmth) เป็นบรรยากาศทางด้านจิตใจ ซึ่งมีผลต่อความสำเร็จใน
การเรียน การที่ครูมีความเข้าใจเด็ก เป็นมิตร ยอมรับให้ความช่วยเหลือ จะทำให้นักเรียนเกิดความอบอุ่น
สบายใจ รักครู รักโรงเรียน และรักการมาเรยี น

๕) บรรยากาศแหง่ การควบคุม (Control) การควบคุมในท่ีนี้ หมายถึง การฝึกให้เด็กมีระเบยี บวินยั
มิใช่การควบคุม ไม่ให้มีอิสระ ครูต้องมีเทคนิคในการปกครองชั้นเรียนและฝึกให้เด็กรู้จักใช้สิทธิหน้าที่ของ
ตนเองอย่างมีขอบเขต

๖) บรรยากาศแห่งความสำเร็จ (Success) เป็นบรรยากาศที่ผู้เรียนเกิดความรู้สึกประสบ
ความสำเร็จในงานที่ทำ ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้น ผู้สอนจึงควรพูดถึงสิ่งที่ผู้เรียนประสบ
ความสำเรจ็ ใหม้ ากกว่าการพูดถึงความล้มเหลว เพราะการทคี่ นเราคำนึงถึงแตส่ ิง่ ท่ลี ้มเหลว เพราะการท่ีคนเรา
คำนงึ ถึงแตค่ วามล้มเหลวจะมีผลทำให้ความคาดหวังตำ่ ซ่งึ ไมส่ ง่ เสรมิ ให้การเรยี นร้ดู ีขนึ้
๔.๓ การจัดประสบการณแ์ ละการจัดการชนั้ เรียน

พจิ ารณาจากโรงเรียนกรุณาศึกษาจัดประสบการณ์ให้เด็กเรียนรูจ้ ากประสบการณ์ตรง ด้วยการสังเกต
สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตวั เอง บูรณาการผ่านการเล่นจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ
เดก็ ครอบคลมุ ท้ัง ๔ ด้าน เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับพัฒนาการทางสมอง
พฒั นาการของเดก็ จะแบง่ ออกเป็น ๔ ดา้ นดงั น้ี

๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย
๒. พฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา
๓. พฒั นาการด้านอารมณ์
๔. พัฒนาการดา้ นสังคม

อนบุ าล ๑ เดก็ อายุ ๓ ปี
1. พัฒนาการดา้ นร่างกาย

- กระโดดขึน้ ลงอยู่กบั ท่ไี ด้
- รับลกู บอลดว้ ยมอื และลำตัว
- เดินข้นึ บนั ไดสลับเทา้ ได้
- เขียนรปู วงกลมตามแบบได้
- ใช้กรรไกรมือเลยี วได้
สรุปผล พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กระดับอนุบาลอายุ 3 ขวบ กล้ามเนื้อมัดเล็กมีการประสาน
สมั พันธร์ ะหว่าง มอื กบั ตา การวาดภาพหมรี ปู ทรง รูปรา่ งที่ชัดเจนข้นึ กล้ามเนอื้ มดั ใหญ่มคี วามแข็งขึ้นโดยการ
สังเกตจากการกระโดดขน้ึ - ลง การเดนิ ขึ้นบนั ได โดยสรปุ เป็นรอ้ ยละ 91.47 อยู่ในระดับ ดีมาก

๒. พฒั นาการด้านอารมณ์และจติ ใจ
- แสดงอารมณต์ ามความรู้สกึ ไดเ้ หมาะสมกับบางสถานการณ์
- ชอบจะทำให้ผู้ใหญพ่ อใจและรบั คำชม
- กลวั การพลัดพรากจากผูเ้ ลี้ยงดใู กลช้ ิดนอ้ ยลง
สรุปผล การพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจของเด็กระดับอนุบาล 3 ขวบ เด็กมีการแสดงออกทาง

อารมณไ์ ด้เหมาะสมกบั วัย รู้จกั การแบ่งปนั และรกั เพ่อื นโดยสรปุ เปน็ ร้อยละ 93.57 อยใู่ นระดบั ดีมาก
๓. พฒั นาการด้านสังคม

- รับประทานอาหารไดด้ ้วยตนเอง
- ชอบเลน่ แบบคู่ขนาน
- เล่นสมมติได้
- รจู้ ักการรอคอย
สรปุ ผล การพัฒนาดา้ นสงั คมของเด็กระดับอนุบาล 3 ขวบ เด็กมรี จู้ ักการรอคอย เล่นกบั เพ่อื นได้ และ
รับประทานอาหาร ไดด้ ้วยตวั เองโดยสรุปเปน็ ร้อยละ 91.92 อยู่ในระดบั ดีมาก
๔. พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา
- สำรวจสิ่งตา่ งๆท่ีเหมอื นกันและต่างกนั ได้
- บอกช่ือของตนเองได้
- ขอความช่วยเหลอื เม่อื มีปญั หา
- สนทนาโตต้ อบเล่าเรื่องประโยคสัน้ ๆได้
- สนใจนทิ านและเร่อื งราวตา่ งๆ
- รอ้ งเพลง ท่องคำกลอน คำคล้องจองงา่ ยๆและแสดงเลยี นแบบท่าทางได้
- ร้จู กั ใชค้ ำถาม อะไร
- สรา้ งผลงานตามความคดิ ของคนเองอยา่ งงา่ ยๆ ได้
- อยากรอู้ ยากเหน็ ทุกอย่างรอบตัว
สรุปผล การพฒั นาด้านสติปญั ญาของเด็กระดับอนบุ าล ๓ ขวบ เด็กมกี ารรู้จักตั้งคำถามบอกชื่อตนเอง
ได้สนใจนทิ าน และชอบฟังเร่อื งราวต่างๆ สร้างผลงานอย่างงา่ ยโดยสรปุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.5 อยู่ในระดับ ดี
สรุปผล การพฒั นาการท้ัง ๔ ด้านของเด็กระดบั อนุบาล ๓ ขวบ โรงเรยี นกรุณาศกึ ษา ร้อยละ 91.80
พบวา่ อยใู่ นระดับ ดีเย่ียม

เดก็ อายุ ๔ ปี
1.พฒั นาการด้านร่างกาย

- กระโดดขาเดยี วอยูก่ ับที่ได้
- รบั ลกู บอลไดด้ ้วยมือทง้ั สองขา้ ง
- เดนิ ขนึ้ ลงบนั ไดสลบั เท้าได้
- เขยี นรูปส่ีเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษตามแนวเสน้ ตรงได้
- กระฉบั กระเฉงไมอ่ ยเู่ ฉย
สรุปผล การพัฒนาด้านร่างกายของเด็กระดับอนุบาล ๔ ขวบ กล้ามเนื้อมัดเล็กประสานสัมพันธ์
ระหว่างมือกับตา ใช้กรรไกรตัดตามเส้นได้ดขี ้ึน กลา้ มเนื้อมดั ใหญ่มีความแข็งแรงกระโดดขาเดียว เดินข้ึน - ลง
บันไดสลับเท้าได้โดยสรุปเปน็ ร้อยละ 96.37 อยู่ในระดับ ดีเย่ียม
๒. ด้านอารมณ์ – จติ ใจ
- แสดงออกทางอารมณไ์ ดเ้ หมาะสมบางสถานการณ์
- แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถของตนเอง
- กล้าพูดกล้าแสดงออกอยา่ งเหมาะสมบางสถานการณ์
สรุปผล การพัฒนาด้านร่างกายของเด็กระดับอนุบาล ๔ ขวบ เด็กมีการแสดงออกทางอารมณ์และ
จิตใจได้เหมาะสม ในบางสถานการณ์เริ่มรู้จักชื่นชมความสามารถ ผลงานของตนเองโดยสรุปคิดเป็นร้อยละ
97.60 อยู่ในระดับ ดีเย่ยี ม
๓.พฒั นาการดา้ นสงั คม
- เลน่ ร่วมกับคนอน่ื ได้
- รอคอยตามลำดับก่อนหลัง
- แบ่งของใหค้ นอ่นื
- เก็บของเล่นเขา้ ทไี่ ด้
สรุปผล การพัฒนาด้านสังคมของเด็กระดับอนุบาล ๔ ขวบ เด็กสามารถเล่นและทำงานร่วมกับรู้จัก
การรอคอยตามลำดับ กอ่ น - หลัง ร้จู กั แบง่ ปนั เก็บของเลน่ เข้าที่เมื่อเล่นเสรจ็ โดยสรปุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.46
อยใู่ นระดับ ดีเย่ยี ม
๔. พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา
- จำแนกส่ิงต่างๆดว้ ยประสาทสมั ผัสทงั้ ๕ ได้
- บอกช่อื และนามสกุลของตนเองได้
- พยายามแกไ้ ขด้วยตนเองหลงั จากได้รบั คำชแี้ นะ
- สนทนาโต้ตอบเล่าเรอ่ื งเป็นประโยคต่อเนอ่ื งได้
- สร้างผลงานตามความคิดของคนเองโดยมรี ายละเอยี ดเพิ่มขึ้น
- รู้จักใช้คำถามวา่ ทำไม

สรุปผล การพัฒนาด้านสติปัญญาของเด็กระดับอนุบาล ๔ ขวบ เด็กจำแนกสิ่งต่างๆ ด้วยประสาท
สัมผัสทั้ง 5 บอกช่ือและนามสกุลของตนเองได้ สรา้ งผลงานตามความคิดโดยมีรายละเอยี ดมากขึ้นโดยสรุปคิด
เป็นร้อยละ 91.18 อยู่ในระดบั ดเี ยยี่ ม

สรุปผล การพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กระดับอนุบาล ๔ ขวบ โรงเรียนกรุณาศึกษาคิดเป็นร้อยละ
95.15 อยใู่ นระดับ ดีเยี่ยม

เดก็ อายุ ๕ ปี
1.พัฒนาการดา้ นร่างกาย

- กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหนา้ อย่างตอ่ เนือ่ งได้
- รบั ลกู บอลทีก่ ระดอนข้นึ จากพน้ื ได้ด้วยมือท้ังสอง
- เดินขึ้นลงบนั ไดสลบั เทา้ ได้อย่างคล่องแคล่ว
- เขยี นรปู สามเหลี่ยมตามแบบได้
- ตัดกระดาษตามแนวเส้นโค้งทก่ี ำหนด
- ใชก้ ล้ามเน้ือเลก็ ได้ดี
สรุปผล การพัฒนาด้านร่างกายของเด็กระดบั อนุบาล ๕ ขวบ กล้ามเนื้อมัดเล็กมคี วามพร้อมขึ้นเขียน
รูปทรง รูปรา่ งไดช้ ัดเจน กลา้ มเนื้อมดั ใหญ่แข็งแรงข้ึน สามารถกระโดดขาเดียวไปขา้ งหน้าได้อย่างต่อเนื่องโดย
สรปุ เป็นรอ้ ยละ 96.84 อยู่ในระดบั ดเี ยย่ี ม
๒. พฒั นาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ
- แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกบั สถานการณ์ได้เหมาะสม
- ชนื่ ชมความสามารถและผลงานตนเองและผู้อื่น
- ยึดตนเองเป็นศูนยก์ ลางน้อยลง
สรุปผล การพัฒนาด้านอารมณ์ - จิตใจ ของเด็กระดับอนุบาล ๕ ขวบ เด็กแสดงออกทางอารมณ์ได้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ รู้จักแบง่ ปนั โดยสรปุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.88 อยใู่ นระดับ ดเี ย่ียม
๓. พฒั นาการดา้ นสงั คม
- ปฏบิ ตั กิ จิ วัตรประจำวนั ได้ดว้ ยตนเอง
- เลน่ และทำงานโดยมีจุดมงุ่ หมายร่วมกับผู้อ่ืนได้
- พบผใู้ หญ่รู้จกั ไหว้ ทำความเคารพ
- รู้จกั ขอบคุณเมอื่ รับของจากผ้ใู หญ่
- รบั ผดิ ชอบงานท่ีได้รบั มอบหมาย
สรุปผล การพฒั นาดา้ นสังคม ของเด็กระดบั อนุบาล ๕ ขวบ เดก็ ปฏิบัตกิ จิ วตั รประจำวันได้ด้วยตัวเอง
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่น รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย โดยสรุปคิดเป็นร้อยละ 97.31 อยู่ในระดับดี
เยย่ี ม

๔. พฒั นาการด้านสติปัญญา
- บอกความแตกต่างของกลน่ิ สี เสยี ง รส รูปร่าง จำแนกและจัดหมวดหมู่ส่ิงต่างๆดว้ ยประสาทสัมผัส

ทง้ั 5 ดว้ ย
- บอกช่อื และนามสกลุ และอายตุ นเองได้
- พยายามหาวิธีแกป้ ัญหาด้วยตนเอง
- โตต้ อบเลา่ เป็นเรื่องราวได้
- สรา้ งผลงานตามความคิดของตนเองโดยมีรายละเอยี ดเพ่ิมข้นึ และแปลกใหม่
- ร้จู ักใชค้ ำถามว่าทำไมอยา่ งไร
- เรม่ิ เขา้ ใจส่งิ ทเี่ ปน็ นามธรรม
สรุปผล การพัฒนาด้านสติปัญญา ของเด็กระดบั อนุบาล ๕ ขวบ เด็กเด็กบอกชอ่ื และนามสกลุ และอายุ

ของตนเอง โตต้ อบเล่าเป็นเร่ืองราวสร้างผลงานตามความคดิ ของตนเองโดยมรี ายละเอียด โดยสรุปคิดเป็นร้อย
ละ 92.70 อยใู่ นระดับดีเยยี่ ม

สรุปผล การพฒั นาการท้งั ๔ ด้านของเด็กระดบั อนุบาล ๕ ขวบ โรงเรยี นกรณุ าศกึ ษา รอ้ ยละ 96.43
พบว่า อยใู่ นระดบั ดเี ยย่ี ม
๔.๔ การนำผลการประเมนิ พัฒนาการไปใช้

พจิ ารณาจากครโู รงเรียนกรุณาศึกษาผลการประเมินพัฒนาการของเด็กไปใช้เพ่ือพัฒนาการะบวนการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ของเด็ก เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ของเด็กและนำไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ
ผ้ปู กครอง

๑) นำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการ จัดประสบการณ์เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพเดก็ ครบทุกดา้ น

๒) เด็กได้รบั การปรบั ปรงุ วิธกี ารเรียนรู้จากผลการประเมนิ พัฒนาการ ได้เหมาะสมกับศกั ยภาพ
๓) รายงานผลประเมินพัฒนาการและความก้าวหน้าในการเรียนรู้และ พฤติกรรมเด็กให้ผู้ปกครอง
ทราบอยา่ งตอ่ เน่ือง
๔) ผู้ปกครองแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ร่วมกันเพอื่ ปรับปรุงพัฒนาเด็กอยา่ งสมำ่ เสมอ

ตารางที่ 1 สรปุ พฒั นาการ 4 ดา้ น ปกี ารศกึ ษา 2561

105

100

95

90

85

80

75 ดา้ นอารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปญั ญา
ด้านร่างกาย อนุบาล ๑ อนบุ าล ๒ อนบุ าล ๓

จากตารางท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561

พบวา่ นักเรียนระดับอนุบาล 1

มีพฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายรอ้ ยละ 86.35
มพี ฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ - จิตใจรอ้ ยละ 94.57
มพี ัฒนาการทางดา้ นสังคมร้อยละ 89.06
มีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญาร้อยละ 87.91

นกั เรียนระดบั อนบุ าล 2

มีพฒั นาการทางดา้ นร่างกายรอ้ ยละ 95.06
มีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ - จิตใจรอ้ ยละ 95.43
มพี ฒั นาการทางดา้ นสังคมรอ้ ยละ 95.91
มพี ัฒนาการทางดา้ นสติปญั ญารอ้ ยละ 88.01

นักเรียนระดับอนบุ าล 3

มีพัฒนาการทางดา้ นร่างกายรอ้ ยละ 99.42
มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ - จติ ใจรอ้ ยละ 98.62
มีพัฒนาการทางด้านสงั คมร้อยละ 97.05
มพี ฒั นาการทางด้านสตปิ ญั ญารอ้ ยละ 93.52

ตารางที่ 2 สรุปพัฒนาการ 4 ดา้ น ปกี ารศกึ ษา 2562

100 ด้านอารมณ์ - จติ ใจ ด้านสงั คม ด้านสติปญั ญา
98 อนบุ าล ๑ อนุบาล ๒ อนุบาล ๓
96
94
92
90
88
86
84
ด้านรา่ งกาย

จากตารางที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

พบว่า นกั เรยี นระดบั อนบุ าล 1

มีพฒั นาการทางดา้ นร่างกายร้อยละ 91.12
มีพฒั นาการทางด้านอารมณ์ - จติ ใจรอ้ ยละ 93.92
มีพัฒนาการทางด้านสังคมร้อยละ 91.60
มพี ัฒนาการทางดา้ นสติปัญญาร้อยละ 89.06

นกั เรยี นระดับอนุบาล 2

มพี ฒั นาการทางดา้ นร่างกายร้อยละ 98.16
มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ - จติ ใจร้อยละ 98.92
มพี ฒั นาการทางดา้ นสังคมรอ้ ยละ 91.13
มพี ฒั นาการทางด้านสติปัญญาร้อยละ 92.84

นักเรียนระดบั อนุบาล 3

มีพฒั นาการทางด้านรา่ งกายรอ้ ยละ 94.12
มีพัฒนาการทางดา้ นอารมณ์ - จติ ใจร้อยละ 99.03
มีพัฒนาการทางดา้ นสงั คมร้อยละ 95.64
มพี ัฒนาการทางด้านสติปญั ญาร้อยละ 91.15

ตารางที่ 3 สรุปพฒั นาการ 4 ด้าน ปกี ารศกึ ษา 2563

100 ด้านอารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปญั ญา
98 อนุบาล ๑ อนบุ าล ๒ อนุบาล ๓
96
94
92
90
88
86
ดา้ นร่างกาย

จากตารางท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

พบว่า นักเรยี นระดับอนบุ าล 1

มีพัฒนาการทางดา้ นร่างกายร้อยละ 96.95
มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ - จติ ใจร้อยละ 92.24
มพี ัฒนาการทางด้านสังคมร้อยละ 95.11
มีพฒั นาการทางดา้ นสติปัญญาร้อยละ 91.23

นกั เรียนระดับอนบุ าล 2

มีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายร้อยละ 95.90
มีพฒั นาการทางด้านอารมณ์ - จิตใจรอ้ ยละ 98.46
มพี ัฒนาการทางด้านสงั คมรอ้ ยละ 99.36
มพี ัฒนาการทางดา้ นสติปญั ญาร้อยละ 92.69

นกั เรยี นระดับอนบุ าล 3

มีพฒั นาการทางด้านรา่ งกายร้อยละ 96.99
มีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ - จติ ใจร้อยละ 99.01
มีพฒั นาการทางดา้ นสังคมร้อยละ 99.24
มีพฒั นาการทางด้านสติปัญญารอ้ ยละ 93.44

หลกั ฐานการอา้ งองิ

4.1 การจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์
วางแผนการจดั ทำหลักสตู ร

คณะครูวางแผนการจัดทำหนว่ ยการจัดประสบการณ์

เดก็ ทม่ี ีความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
เด็กมสี มาธใิ นการทำศลิ ปะ

หลักฐานการอา้ งอิง

4.2 การจัดประสบการณแ์ ละการจัดการในช้ันเรียน
การเรียนร้นู อกห้องเรยี น

พัฒนาการทงั้ 4 ด้าน

หลักฐานการอ้างอิง

4.3 การประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ในช้ันเรยี น
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ระหว่างเรียน

มีการปฏสิ มั พันธ์ท่ดี ีทางสังคม

หลกั ฐานการอ้างอิง

4.4 การนำผลประเมินพฒั นาการไปใช้
รายงานผลการเรียนรู้ ระดบั อนบุ าล

ผลงานการวิจัยในช้ันเรียน

ตารางพัฒนาการเด็ก ระดบั ปฐมวัย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
ชนั้ อนบุ าล ๑ โรงเรียนกรุณาศกึ ษา จงั หวดั ขอนแก่น

ตารางพัฒนาการเด็ก ระดบั ปฐมวัย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
ช้นั อนุบาล ๒ โรงเรยี นกรุณาศึกษา จงั หวัดขอนแก่น

ตารางพัฒนาการเด็ก ระดับปฐมวัย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓
ชนั้ อนุบาล ๓ โรงเรียนกรณุ าศึกษา จังหวัดขอนแก่น


Click to View FlipBook Version