The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by spironace.a2z, 2021-10-13 22:40:26

ด้านที่ 2

ด้านที่ 2

ด้านที่ ๒

การบริหารหลักสูตร
และงานวิชาการ

67

ด้านที่ 2
การบริหารหลกั สูตรและงานวิชาการ
โรงเรยี นกรุณาศกึ ษา มกี ารพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา มีการพัฒนาแผนการจดั ประสบการณ์ที่นำมา
จดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการ มีการประเมินผลการพฒั นาการของเดก็ ทั้ง 4 ดา้ น นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์
แก้ปัญหา กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยผ่านการวิเคราะห์วางแผนและ
พัฒนาหลักสูตรอยา่ งต่อเนื่องเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับปรัชญา หลักการ และเป้าหมายของหลักสูตรศึกษาปฐมวัย
ปพี ทุ ธศักราช 2560 โดยมกี ารกำกับติดตามและพัฒนาการใช้หลกั สูตรทกุ ปี อยา่ งตอ่ เน่อื งจากนั้นจึงนำหลัก
หลกั สูตรส่กู ารปฏบิ ัติ
โดยการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้เหมาะสมโดยผ่านกิจกรรม
6 กิจกรรมหลักใน 1 วัน และกิจกรรมในแผน การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมวัฒนธรรม
ทอ้ งถ่ิน
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กอายุ 3 - 6 ปี ในรปู แบบการเตรยี มความพร้อมพฒั นาการทัง้ 4 ด้าน
มีการบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เช่น การจัดกิจกรรมทดลอง และกิจกรรม
ส่งเสรมิ การแก้ไขปญั หาด้วยตนเอง หลังจากจดั กิจกรรมการเรียนรู้ดำเนินไปตามวตั ถุประสงค์
จึงมีการประเมินพัฒนาการเด็กจากสภาพจริงเป็นรายบุคคลครบทุกด้าน โดยวิธีการที่หลากหลาย
มีการบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคลส่งผู้ปกครองทุกสัปดาห์ เพื่อให้ผู้ปกครองรับทราบและร่วมมือกับทาง
โรงเรยี นปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงหาแนวทางแกไ้ ขร่วมกัน ประเมนิ พฤติกรรมเด็กร่วมกบั ผ้ปู กครอง
โรงเรยี นจึงมกี ารจดั สิ่งแวดลอ้ มเพื่อการเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรยี นอย่างหลากหลายมีบรรยากาศ
การอยูร่ ว่ มกันท่ีอบอุ่น และเป็นมติ ร เช่น กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานท่ี นอกเหนอื จากการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ในห้องเรียนที่หลากหลาย มีการนำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้แก่ครู
บุคลากร และเด็ก ปฏิบัติจากประสบการณ์จริงเรียนรู้จากบทบาทสมมตุ ิที่หลากหลาย เช่น กิจกรรมประกอบ
อาหาร
ดังน้นั การบรหิ ารหลักสตู รและงานวิซาการ จงึ มรี ายละเอยี ดตงั น้ี
๒.๑ การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
การวิเคราะห์และวางแผนการพัฒนาหลกั สูตร โดยผูป้ กครองและชมุ ชนมีส่วนร่วม
การประชมุ ผู้ปกครองเพ่ือรบั ทราบวัตถปุ ระสงค์เพ่อื ศกึ ษาการใชแ้ ละปัญหาในการใช้หลักสูตรอนุบาล
สำหรับเด็กปฐมวัย ในโรงเรียนกรุณาศึกษาเกีย่ วกบั การบริหารและบริหารหลักสูตร และการดำเนนิ งานการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตร โดยมีเป้าหมายเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน และส่งเสริม
พัฒนาการเดก็ วัยนี้ท้งั 4 ด้าน ผู้บริหารและครผู สู้ อนมวี ธิ กี ารเตรยี มการเพ่ือใชห้ ลกั สูตรตังกล่าวดว้ ยการเข้ารับ
การอบรม และเตรียมผู้ปกครองเพือ่ ใหม้ คี วามเขา้ ใจในการใชห้ ลักสตู รด้วยการปฐมนิเทศและมีการประเมินผล
การใช้หลักสูตรภาคเรียนละ 1 ครัง้ โดยการสังเกตการสอน ตรวจเอกสารธรุ การขน้ั เรียน และเป็นผู้นิเทศการ
สอนตามความเหมาะสม ประชาสัมพันธ์การใช้หลักสูตรโดยการประชุมครู ประชุมผู้ปกครอง ผู้ที่ทำหน้าท่ี
พัฒนาหลักสูตร คือ ครูผู้สอน โดยการเลือกประสบการณ์ให้สอดคล้องกบั ความต้องการและความจำเปน็ ของ
ทอ้ งถ่นิ ซ่ึงได้สำรวจจากความคดิ เหน็ ของผูป้ กครอง กำหนดตารางกิจกรรมประจำวนั โดยปรับปรงุ จากแนวการ
จัดประสบการณ์ ตามความเหมาะสม กิจกรรมประจำวนั คือ กจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ กิจกรรมการเล่น

68

ตามมุม กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง การใช้เพลงและเกม
การศกึ ษา มีการจัดกิจกรรมการฝกึ สมาธิ เสรมิ หลกั สูตรมากท่ีสุด ส่อื การสอนทน่ี ำมาใชม้ ากท่ีสุด คือ รูปภาพ
และของเลน่ เพอ่ื การศึกษา มมุ ประสบการณ์ ทีจ่ ัดสำหรบั เดก็ ปฐมวัย มุมบล็อก มมุ ศิลปะ มุมหนงั สอื มมุ ดนตรี
มุมบทบาทสมมติ และมุมวิทยาศาสตร์ ประเมินพัฒนาการ โดยการสะสมผลงานเด็ก สังเกต พฤติกรรม
นอกจากน้ีครูได้สอบถามความพงึ พอใจจากผู้ปกครองอย่างตอ่ เนอื่ ง ปญั หาที่พบ คอื ผู้ปกครองตอ้ งการให้สอน
อา่ น เขยี น
การจดั ทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย

หลักสูตรสถานศึกษามีสาระการเรียนรู้ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560 สาระการเรียนรแู้ ต่ละสาระประกอบดว้ ยหน่วยการเรียนรู้ และเร่ืองราวท่เี ดก็ สนใจ
และเป็นเรื่องใกล้ตัว ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และจัดกิจกรรมให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรงจากการสังเกต สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง และแก้ปัญหาด้วยตนเอง การกำกับ ติดตาม และ
ประเมนิ และรายงานผลการใช้หลักสูตร การนำผลการประเมินการใช้หลักสูตรไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา
๒.๒ การจัดกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร
การจัดการกิจกรรมเสริมสร้างวนิ ัยในตนเองและความรับผิดชอบ

โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเดก็ ปฐมวยั
- กิจกรรมหนูน้อยมารยาทงาม

ผลการจัดกิจกรรมหนนู อ้ ยมารยาทงาม รอ้ ยละ 95 เด็กมีสัมมาคารวะมคี วามประพฤตเิ รยี บร้อย ต่อ
ครู พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และบุคคลอ่ืน ไม่ใชก้ รยิ าข้ามกรายบุคคลเช่นเมือ่ มาโรงเรียนเดก็ จะไหวแ้ ละกลา่ วทักทาย

- กิจกรรมเพือ่ นช่วยเพอ่ื น
ผลกจิ กรรมพบว่าเด็กมกี ารช่วยเหลือเพ่อื นในการทำกิจวัตประจำวนั ไดด้ ี คิดเป็นร้อยละ 100

- กจิ กรรมเกมการศึกษา
ผลกิจกรรมพบว่าเด็กที่ได้ทำกิจกรรมร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกท่ีดีต่อตนเองและเด็กที่ปฏิบัติตนท่ี

สะท้อนให้เห็นว่าเด็กมีความสุขในการได้เรียนผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมทกุ ครั้งที่คุณครูจดั คิดเป็นร้อยละ
100
การจดั การเสรมิ สรา้ งการมที ักษะชีวิต
โครงการอารมณด์ ชี ีวมี สี ขุ

- กจิ กรรมหนูนอ้ ยนกั สำรวจ
ผลการจัดกิจกรรมหนูน้อยนักสำรวจ ร้อยละ 95 เด็กร่าเริงแจ่มใส มีความรูส้ ึกทีด่ ีต่อตนเอง มีความ

มั่นใจกล้าแสดงออก สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสม กับวัย มีความชื่นชมศิลปะ ดนตรี
การเคล่อื นไหว และรกั ธรรมชาติ

- กจิ กรรมแม่ครัวตัวน้อย
ผลการจัดกิจกรรม รอ้ ยละ 96 เดก็ ได้เรียนรู้ และลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ และไดร้ บั ประสบการณต์ รงจากการ

ประกอบอาหาร และการปลูกฝงั ลักษณะนิสัยในการรบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน์

69

โครงการเด็กโตเตม็ วัยสดใสแข็งแรง
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ผลการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ สุขภาพ ร้อยละ 100 เด็กมีสขุ นิสยั ทดี่ ใี นการดูแลรกั ษาสุขภาพตนเอง
- กิจกรรมล้างมอื เพื่อสขุ ภาพ
ผลการจัดกิจกรรมพบว่าเพื่อให้เด็กรู้จักขั้นตอนการล้างมือที่ถูกวิธีในการดูแลสุขภาพร่างกายของ

ตนเอง คิดเปน็ ร้อยละ 100

การจดั การกิจกรรมเสริมสรา้ งการสนใจใฝร่ ู้
โครงการทศั นศกึ ษา

- กจิ กรรมทัศนศึกษาแหลง่ การเรียนรนู้ อกหอ้ งเรียน
ผลการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งการเรียนรู้นอกห้องเรียน ร้อยละ 95 เด็กได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ

รอบตัว และมีความสุขกับการเรียนจากแหล่งเรียนภายนอกสถานศึกษา เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์-จิตใจ สังคมสติปัญญา ได้แลกเปลี่ยนบรรยากาศในการเรียนรู้ด้วยตนเองเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
ตลอดเวลา

- กจิ กรรมส่งเสริมทักษะวชิ าการ ( School Visit )
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะวิชาการ ( School Visit ) ร้อยละ 95 เด็กมีทักษะและส่งเสริม

กระบวนการเรยี นร้ขู องเด็ก เดก็ รู้จกั สังเกต คดิ และแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามวยั และสง่ เสรมิ พฒั นาการ
ดา้ นร่างกายอารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา

- กิจกรรมหนนู อ้ ยคาราโอเกะ
ผลการจัดกิจกรรมพบว่าเด็กจะได้รับการพัฒนาทัง้ ทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา

ตามวัย ผ่านกิจกรรมการแสดงที่คุณครูได้จัดซ้อมและช่วยส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออกถึงความชอบใน
เสยี งดนตรไี ดด้ ี ชนื่ ชมศลิ ปะ ดนตรี การเคล่ือนไหวและรกั ธรรมชาติ คิดเปน็ รอ้ ยละ100

- กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ ผา่ น ICT
ผลการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ ICT ร้อยละ 90 เด็กมีความคดิ รวบยอดเกี่ยวกับส่ิงต่างๆที่เกดิ

จากประสบการณก์ ารเรียนรู้ ร้จู ักสว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์
- กจิ กรรมวนั วิทยาศาสตร์
ผลการจดั กจิ กรรมวนั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 90 เดก็ มคี วามพึงพอใจและมสี ว่ นรว่ มในการทำกิจกรรม
- กิจกรรมเพ่อื นชว่ ยเพอื่ น
ผลการจดั กิจกรรมพบว่าเด็กมกี ารช่วยเหลอื เพ่ือนในการทำกิจวัตประจำวันได้ดี คดิ เป็นร้อยละ 100

กจิ กรรมท่ีเด็กได้เรียนรู้จากแหลง่ เรียนรูต้ ามสถานการณ์ต่างๆ และเป็นกิจกรรมที่สง่ เสรมิ ให้เด็กเป็นผู้สนใจใฝ่
เรยี นรู้สง่ิ ต่างๆรอบตัว

70

การจัดกิจกรรมเสริมสรา้ งนสิ ัยการรักธรรมชาติและอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม
- กจิ กรรมหนนู อ้ ยนักสำรวจ
ผลการจัดกิจกรรมหนูน้อยนักสำรวจ ร้อยละ 95 เด็กร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง มีความ

มั่นใจกล้าแสดงออก สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย มีความชื่นชมศิลปะ ดนตรี การ
เคลือ่ นไหว และรกั ธรรมชาติ
การจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งการอยู่อย่างพอเพียง

โครงการพัฒนาผ้เู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มพึงประสงคร์ ะดับปฐมวัย
- กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 100 เด็กตระหนักและเห็นความสำคัญของชีวิตที่
พอเพียงสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้

การจัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมและจัดกิจกรรมส่งเสริม “ค่านิยมหลักคน
ไทย 12 ประการ” เพ่อื สง่ เสริมให้เดก็ ไดเ้ รียนรกู้ ารปฏบิ ัติจนในสงั คมและอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ การจดั
กิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมไทย วนั สำคญั ทางศาสนาและประเพณที ้องถนิ่

โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัยตามปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ และจุดเน้นของการจดั การศึกษาปฐมวัย
- กิจกรรมสง่ เสรมิ เอกลกั ษณ์วฒั นธรรมไทย

ผลการจัดกิจกรรมร้อยละ 100 เด็กได้เรียนรู้ชนดิ ของพืชสวนครัวของไทยและรูถ้ งึ คุณประโยชน์ของ
พืชผกั สวนครัวไทย วิธีการปลูกและการดแู ลรกั ษาปลกู ฝงั จติ สำนกึ ใหเ้ ดก็ รักสงิ่ แวดลอ้ ม

- กจิ กรรมวนั ภาษาไทย
ผลการจัดกิจกรรม เด็กเห็นความสำคัญของวันภาษาไทยมีความตระหนกั และมีจิตสำนึกที่ดใี นความ

เป็นไทย
โครงการพัฒนาผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มพึงประสงคร์ ะดับปฐมวัย

- กจิ กรรมวนั ลอยกระทง
ผลการจัดกจิ กรรมวนั ลอยกระทง รอ้ ยละ 100 เด็กตระหนกั และเห็นถึงความสำคัญของประเพณีไทย

นำขนบธรรมเนยี มและประเพณที ีด่ ีไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- กิจกรรมวนั เด็ก
ผลการจดั กจิ กรรมวนั เด็ก ร้อยละ 100 เด็กมคี วามพงึ พอใจและมสี ว่ นร่วมในการทำกจิ กรรม
- กจิ กรรมวนั แม่
ผลการจัดกิจกรรมวันแม่ ร้อยละ 100 เด็กตระหนักและเห็นความสำคัญของแม่ ตระหนักถึงความ

กตัญญูตอ่ แม่

71

2.3 การพฒั นาสือ่ และสิง่ แวดลอ้ มเพอ่ื การเรยี นรู้
การออกแบบ วางแผนและผลิตสอื่
การจดั สภาพแวดล้อมและแหลง่ การเรยี นรู้

- การจดั และใช้แหลง่ การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา
- การจัดและใชแ้ หลง่ การเรียนรนู้ อกสถานศกึ ษา

ผลการใชแ้ หลง่ การเรยี นรู้ภายในและภายนอก รอ้ ยละ 100 เหมาะสมและดีต่อการพัฒนาการของเดก็
การใชส้ ่ือและแหล่งการเรียนรู้

เป็นการที่นำสิ่งที่ใช้เป็นสื่อกลางให้ผู้สอนสามารถถ่ายทอด ความรู้ เจตคติและทักษะไปยังผู้เรียน
สามารถมองเห็นเปน็ รูปธรรมได้ ทำใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นร้อู ย่างมีประสิทธิภาพ หรอื ทำให้บทเรียนง่ายขึ้น และใน
การจัดทำสื่อข้ึนใช้ต้องคำนึงถึงคุณสมบัติของสื่อที่ดี คือ น่าสนใจ ประหยัดช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็วและ
ถูกตอ้ ง การเขยี นสอื่ และแหลง่ การเรยี นร้ใู หเ้ ขยี นเรียงตามลำดับกิจกรรมการเรียนรู้ทกี่ ำหนด ผลการใช้ส่ือและ
แหล่งการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 100 เหมาะสมและดีต่อพัฒนาการของเดก็
การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ แหล่งเรยี นเรยี นรแู้ ละส่ิงแวดล้อมเพือ่ การเรียนรู้

การเผยแพร่แหล่งเรียนเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ เพื่อการศึกษาที่ครูผลิตและพัฒนาให้
โรงเรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนได้ใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน โดยการเผยแพร่และ
ประชาสัมพนั ธ์สื่อผ่านเวบ็ ไซต์ Facebook เพจโรงเรียนกรุณาศึกษา
๒.๔ การจัดระบบการประเมนิ พัฒนาการของเดก็
การประเมินพฒั นาการของเดก็ ตามสภาพจรงิ ครบทกุ ด้านดว้ ยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย

ครูประเมินพัฒนาการครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ
ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ซึ่งประเมินพัฒนาการเด็กทุกคนตามสภาพความเป็นจริงของพัฒนาการ ด้วย
วิธกี ารสังเกตและจดบันทกึ
การบนั ทึกผลการประเมนิ พฒั นาการและรายงานใหผ้ ูป้ กครองทราบ

ครูจัดทำสมุดบันทึกและสมุดประจำตวั นักเรยี นเพือ่ เปน็ ช่องทางในการรายงานพัฒนาการของเดก็ ให้
ผู้ปกครองทราบ โดยผู้ปกครองจะได้ทราบพัฒนาการของลูกจากครูเป็นระยะตลอดทั้งปีการศึกษา และมี
กิจกรรมการประเมินพัฒนาการร่วมระหว่างครูกับผู้ปกครอง กิจกรรมนี้จัดขึ้น ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ซึ่งจัด
เพ่อื ให้ครูได้รายงานเก่ียวกับพฒั นาการของลกู ใหผ้ ู้ปกครองทราบและครูกับผปู้ กครองจะมโี อกาสได้ปรึกษาหา
แนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กร่วมกัน ผู้ปกครองร้อยละ 98 พึงพอใจในแนวทางการพัฒนาการ
เรียนรูข้ องเด็ก
การนำผลการประเมนิ พัฒนาการมาปรับปรุงจดั ประสบการณเ์ พื่อพฒั นาการเรยี นรขู้ องเด็ก

การประเมินพัฒนาการเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลายจะทำให้ครูได้ทราบถึงพัฒนาการของเด็กแต่ละ
ด้าน ทง้ั พฒั นาการและแกไ้ ข โดยให้ครูทำการส่งเสริม แก้ไข พฒั นาการเหล่านั้นดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย เช่น
การทำวจิ ัยในช้ันเรยี น การจัดกิจกรรมเสริมการเรยี นรู้เพอื่ เปน็ การพัฒนาการเรยี นรู้ของเดก็ ตอ่ ไป

นำผลการประเมินพัฒนาการมาปรับปรุงจัดประสบการณ์แก่เด็ก โดยมีการนิเทศ ติดตาม นำบันทึก
หลงั สอน มาวางแผนจดั กจิ กรรมและแนวทางจดั กิจกรรมการเรียนรบู้ รู ณาการอย่างหลากหลาย

72

หลักฐานการอา้ งองิ

๒.๑ การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา
1. การวิเคราะหแ์ ละวางแผนการพัฒนาหลกั สตู ร โดยผปู้ กครองและชุมชนมีส่วนรว่ ม

ผู้ปกครองฟังและแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั หลักสตู ร

2. การกำกบั ตามตดิ และประเมินรายงานผลการใช้หลกั สตู ร

หลักสูตร ประชมุ ตดิ ตามประเมินการใช้หลักสตู ร

73

หลกั ฐานการอา้ งอิง

๒.๒ การจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร
การจัดการกิจกรรมเสรมิ สรา้ งวนิ ัยในตนเองและความรบั ผิดชอบ
1. โครงการพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมเด็กปฐมวยั
กจิ กรรมเดก็ หนูนอ้ ยทำได้

กจิ กรรมยามเชา้ เข้าแถวเดินเข้าชัน้ เรียน

การน่งั รบั ประทานอาหารกลางวนั เขา้ แถวเก็บถาดขา้ วของตนเอง

แปรงฟันก่อนนอน

74

กจิ กรรมเกมการศกึ ษา

2. โครงการพัฒนาผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มพงึ ประสงคร์ ะดับปฐมวัย
กจิ กรรมคา่ ยคุณธรรม

เด็กๆฝกึ การน่ัง การเดนิ และฝึกการนัง่ สมาธิ

3. การจดั การจัดกจิ กรรมเสริมสร้างการมที กั ษะชวี ติ
กิจกรรมผกั สวนครวั

75

หลกั ฐานการอ้างอิง

2.3 การพฒั นาสอ่ื และสิง่ แวดลอ้ มเพือ่ การเรยี นรู้
1. การออกแบบ วางแผนผลิตสอ่ื และการนำเสนอสอื่
การผลติ สอื่ ของครู.

การนำเสนอสอ่ื ของครู

2. การจัดสภาพแวดลอ้ มและแหลง่ การเรียนรู้
บ่อเล้ยี งปลา

76

3. การจัดและใชแ้ หล่งการเรียนรู้นอกสถานศกึ ษา พพิ ธิ ภัณฑ์ธรรมชาติวทิ ยา
ฟารม์ บา้ นนอก

4. การใช้ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ หอ้ งสมุด
ห้องคอมพวิ เตอร์

สนามเดก็ เลน่ หอ้ งพฒั นาการ

77

5. การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ แหลง่ เรยี นรู้และส่งิ แวดล้อมเพื่อการเรยี นรู้
การประชาสัมพันธ์และเผยแพรส่ อ่ื และแหล่งเรยี นรู้

78

หลักฐานการอา้ งอิง

2.4 การจดั ระบบการประเมนิ พัฒนาการของเดก็
1. การประเมินพัฒนาการของเดก็ ตามสภาพจริงครบทกุ ดา้ นด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย

แบบประเมนิ พฒั นาการ

ประเมินพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย


Click to View FlipBook Version