The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลโรงเรียนกรุณาศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by spironace.a2z, 2021-11-16 03:39:50

ข้อมูลโรงเรียนกรุณาศึกษา

ข้อมูลโรงเรียนกรุณาศึกษา

ข้อมูลโรงเรียน

1

ข้อมลู โรงเรยี น

1. ข้อมูลทวั่ ไป
๑.๑ ชื่อโรงเรียน โรงเรียนกรุณาศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 585 หมู่ที่ 2 ตำบลในเมือง

อำเภอบ้านไผ่ จังหวดั ขอนแก่น รหัสไปรษณีย์ 40110 โทร 043-272-252 โทรสาร 043-272-297
Email : karunasuksa@gmail.com

๑.๒ ได้รบั อนุญาตจัดตง้ั เมือ่ วนั ที่ ๑๗ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕00
๑.๓ เปดิ สอนตั้งแตร่ ะดบั ชั้นเตรยี มอนุบาล ถึงระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6
๑.๔ เน้อื ที่ ๘ ไร่ 1 งาน ๓.4 ตารางวา

2. ประวัติโรงเรียนและผูบ้ ริหารโดยสงั เขป
โรงเรียนกรุณาศึกษา จัดตั้งข้ึนเมื่อ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๐๐ บ้านเลขที่ ๕๘๕ ถนนสุขาภิบาล

๒ ตำบลบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น เดิมชื่อโรงเรยี นสหี ์บงกชอนุสรณ์ ประเภทโรงเรยี นประถมศึกษา เปิดสอน
ระดับอนุบาลปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ตามใบอนุญาตเลขที่ ๖/๒๕๐๐ นางบงกช สุวิสุทธ์ิ
เป็นเจา้ ของและผู้จดั การ นางสาวลำดวน สขุ เกษม เปน็ ครใู หญ่ นักเรยี น ๔๐ คน ครู ๒ คน พ่เี ลี้ยง ๑ คน

พ.ศ. ๒๕๐๒ เปิดสอนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ มีนักเรียน ๑๕๒ คน ครู ๗ คน
พเ่ี ลี้ยง ๑ คน

นางลำดวน สุขเกษม ลาออกจากตำแหน่งครูใหญ่ แต่งตั้งนางสาวสุเพ็ญ พลพิมพ์
เป็นครูใหญ่ เปลย่ี นช่อื โรงเรียนเป็น โรงเรียนกรณุ าศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๐๓ เปดิ สอนถึงชัน้ มัธยมศึกษา มีนักเรียน ๒๙๐ คน เป็นปีแรกท่โี รงเรียนได้รับเงิน
อดุ หนุนจากรัฐบาล

พ.ศ. ๒๕๐๔ นางสาวสุเพ็ญ พลพิมพ์ ลาออกจากตำแหน่งครูใหญ่ แต่งตั้งนายประยูร
ประทมุ มา เปน็ ครูใหญ่

พ.ศ. ๒๕๐๕ มีนักเรียน ๗๒๗ คน นายประยูร ประทุมมา ลาออกจากตำแหน่งครูใหญ่
แต่งตั้ง นายสุภรณ์ มหาวีรวัฒน์ เป็นครูใหญ่ ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลจ่ายเงินเป็นเงินเดือนครูช่วยสอน
๑๔ คน

พ.ศ. ๒๕๐๗ โรงเรียนสร้างอาคารเรียนถาวร ๒ ชั้น ๑ หลัง จัดห้องเรียน ๔๑ ห้องเรียน
นักเรียน ๑,๐๑๐ คน แต่งตั้งนายวิศิษฐ์ป วรางกูล เป็นครูใหญ่ นายสัมฤทธิ์ ไตรคุ้มดัน เป็นผู้ช่วยครูใหญ่
ได้รบั เงนิ อุดหนนุ จากรฐั บาลจ่ายเปน็ เงนิ เดือนครูช่วยสอน ๑๗ คน

พ.ศ. ๒๕๐๘ นายวศิ ิษฐ์ป วรางกูล ลาออกจากตำแหน่งครูใหญ่ แตง่ ตง้ั นายวริ ชั สารบรรณ
เป็นครใู หญ่ ไดร้ บั เงินอุดหนุนจา่ ยเปน็ เงินเดือนครู ๑๕ คน

พ.ศ. ๒๕๐๙ นายวริ ัช สารบรรณ ลาออกจากตำแหนง่ ครใู หญ่ แตง่ ตัง้ นายสมั ฤทธ์ิ ไตรคุ้ม
ดัน เป็นครใู หญ่ มีนกั เรยี น ๑,๒๖๔ คน ครู ๕๒ คน ได้รบั เงนิ อดุ หนนุ เปน็ เงนิ เดอื นครู ๑๖ คน

พ.ศ. ๒๕๑๔ กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล มีนักเรียน
๑,๘๑๑ คน ครู ๖๒ คน ได้รับเงนิ อดุ หนนุ เป็นเงินเดอื นครู ๒๓ อตั รา

พ.ศ. ๒๕๑๘ เปดิ สอนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2

พ.ศ. ๒๕๒๐ จำนวนนักเรียนเริ่มลดจำนวนลง เนื่องจากรัฐบาลเปิดโรงเรียนมัธยมประจำ

ตำบล

พ.ศ. ๒๕๓๑ นางบงกช สุวิสทุ ธ์ิ เจ้าของโรงเรียนกรุณาศึกษาถึงแกก่ รรม

พ.ศ. ๒๕๓๒ ร้อยตรีวรี สิทธ์ิ สวุ สิ ุทธิ์ รบั โอนกิจการโรงเรียนกรณุ าศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๓๔ นักเรียนลดจำนวนลง มีนักเรียน ๖๔๙ คน ครู ๓๔ คน โรงเรียนจึงหยุดทำ

การเรยี นการสอนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

พ.ศ. ๒๕๓๕ มีนักเรียน ๔๙๘ คน โรงเรียนจึงหยุดทำการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา

ตอนตน้

พ.ศ. ๒๕๔๑ นายสัมฤทธิ์ ไตรคุ้มดัน ครูใหญ่ถึงแก่กรรม แต่งตั้งนางสายพิณ ศรีไกร

เป็นครใู หญ่

คณะครู และผู้บริหารมีความเห็นร่วมกันว่าโรงเรียนต้องปรับปรุง คุณภาพการศึกษาควบคู่

กับการปรับปรุงอาคารสถานที่ โรงเรียนจึงจะอยู่รอด จึงเริ่มปรับปรุงภูมิทัศน์ อาคาร ห้องเรียน ห้อง

ประกอบการตา่ ง ๆ

พ.ศ. ๒๕๔๓ มีนักเรียน ๖๑๖ คน

พ.ศ. ๒๕๔๗ แต่งตัง้ นางจิราภรณ์ สุวิสทุ ธิ์ เปน็ ครูใหญ่

พ.ศ. ๒๕๕๙ ขออนุญาตก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น ต่อสำนักงานเทศบาล

เมืองบ้านไผ่สำหรับนักเรียนอนุบาล ๑ หลัง และสำหรับประถมศึกษา ๑ หลัง ตามใบอนุญาตเลขที่

๒๘/ ๒๕๕๙ พร้อมสร้างสระว่ายน้ำขนาด ๑๐.๐๐ ม. X ๒๐.๐๐ ม.

พ.ศ. ๒๕๖๑ ขออนญุ าตก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ช้ัน ๑ หลัง สำหรบั นักเรียน

ชั้นประถมศกึ ษา ต่อสำนกั งานเทศบาลเมอื งบ้านไผ่ ตามใบอนุญาตก่อสร้างเลขที่ ๑๐๐/๒๕๖๑ และใบรับรอง

ก่อสร้างอาคารเลขท่ี ๐๕ / ๒๕๖๒ ลงวนั ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

พ.ศ. ๒๕๖๒ มีนักเรียน ๑,๐๔๖ คน ครู ๔๓ คน ครูช่วยสอน ๑๒ คน คณะผู้บริหาร

ประกอบด้วย รอ้ ยตรีวรี สิทธ์ิ สุวิสุทธิ์ ผรู้ บั ใบอนุญาต / ผ้จู ดั การ

นางจิราภรณ์ สุวสิ ุทธิ์ ผู้อำนวยการ

ดร.สโรชิน สวุ ิสุทธ์ิ รองผอู้ ำนวยการ

พ.ศ. ๒๕๖๓ มีนักเรียน ๑,116 คน ครู ๔๓ คน ครชู ว่ ยสอน ๑๒ คน คณะผบู้ ริหาร 3 คน

พ.ศ. ๒๕๖๔ มนี กั เรยี น ๑,๐๗๒ คน ครู ๔๓ คน ครูช่วยสอน ๑๒ คน คณะผู้บรหิ าร 3 คน

3

3. ลกั ษณะของตราประจำโรงเรียน

เป็นรูปดอกบวั บาน อยู่ในวงกลม ๒ วงซอ้ นกนั มคี วามหมาย คือ
วงกลมช้ันนอก เปน็ ชอ่ื โรงเรียนภาษาไทย “โรงเรียนกรุณาศึกษา บ้านไผ่ ขอนแกน่ ”
วงกลมชั้นใน เปน็ รปู ดอกบัวบาน คอื ความเปน็ ผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และปญั ญา

๔. สีประจำโรงเรยี น คอื สขี าวและสีแดง

สขี าว หมายถึง ความบริสทุ ธ์ิ ความสวา่ ง ความดีงาม
สีแดง หมายถึง ความเสยี สละ ความเขม้ แข็ง
๕. ปรัชญาของโรงเรียน
เรยี นดี มีวนิ ยั ใฝศ่ ึกษา พฒั นาชวี ิตและสังคม

๖. วสิ ยั ทศั น์ (Vision)
โรงเรยี นแห่งการเรียนรู้ สง่ เสริมนวตั กรรม ก้าวล้ำเทคโนโลยี สรา้ งพลเมืองดสี ู่สังคม

๗. เอกลกั ษณ์โรงเรียน (Uniqueness)
ความรู้คู่คณุ ธรรม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง

๘. อตั ลกั ษณ์ (Identity)
เก่งคำนวณ เดน่ ภาษา รกั ษาวัฒนธรรมไทย ใช้เทคโนโลยเี ป็น สูม่ าตรฐานสากล

๙. คตพิ จน์ของโรงเรียน
อต ตา หิ อต ต โนนาโถ หมายถงึ ตนเปน็ ทพี่ ่ึงแห่งตน

4

พนั ธกจิ (Mission)

๑. สร้างเสริมระดับคุณภาพนักเรียนให้เป็นผู้มโี อกาสรบั ช่องทางเรียนรู้ เพิ่มเติมศักยภาพใหเ้ ท่าเทยี ม
กับสากลทางด้านภาษาต่างประเทศ โดยเน้นที่หลักสูตรการเรียนการสอนของกระทรวงศึกษาธิการผสานกับ
ตำรา–สอื่ ต่างประเทศเพ่ือใหม้ ีประสทิ ธภิ าพต่อผ้เู รยี นแทจ้ รงิ

2. ผลิตนักเรียนให้เป็นนักเรียนมืออาชีพ สามารถนำสิ่งที่เรียนไปปฏิบัติได้จริงและเป็นนักคิดอย่าง
สร้างสรรคโ์ ดยใช้ ปัญญา เป็นรากฐานแห่งชีวติ เพ่ือใหเ้ ตบิ โต รู้จกั รกั ความเป็นไทย

3. ช่วยเหลือประเทศชาติสืบต่อไป สนับสนุนให้นักเรียนมีความปราดเปรื่องทางอารมณ์ และทาง
สตปิ ัญญา ดงั นี้

๓.๑ สร้างพืน้ ฐานทางด้านวชิ าการ (Intelligent Quotient IQ)
๓.๒ ความฉลาดทางดา้ นอารมณ์ (Emotional Quotient EQ)
๓.๓ ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Moral Quotient MQ) ตระหนักและยึดถือปฏิบัติในสิ่งที่ดี
งามตามหลกั คำสอนศาสนาพทุ ธ เพ่ือปลกู ฝงั คา่ นยิ มท่ถี ูกตอ้ งต้ังแตเ่ ยาว์วยั
๓.๔ สร้างจติ สำนึกแหง่ ความเออ้ื อาทร ( Sprit Quotient SQ) ตอ่ ผอู้ ่นื
๓.๕ ด้านการเล่นอย่างสร้างสรรค์ ( Play Quotient PQ) คุณครูแนะนำการเล่นอย่างถูกวิธี
เพือ่ การใช้จนิ ตนาการ ดำเนินการบริหารกลา้ มเนอ้ื อนั จะสรา้ งพลานามัยที่ดี
๓.๖ อบรมลูกศิษย์เป็นผู้ที่ไม่ย่อท้อต่อปัญหา (Achievement Quotient AQ) กล้าตัดสินใจ
ในทางท่สี ร้างสรรค์ ร่วมกบั โรงเรยี นในการจดั ทำโครงการต่าง ๆ
๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยใช้ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และสร้างความพึงพอใจให้แก่ผูม้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งทางการศึกษา
๕. พัฒนามาตรฐานการเรียนการสอนที่ทันสมัย เพื่อให้นักเรียนชุมชนใกล้เคียง ได้มารับบริการทาง

การศึกษาได้อย่างสะดวก
๖. สร้างแบบอย่างวัฒนธรรมทีด่ ีให้แก่ผู้มีส่วนเกีย่ วข้องทางการศึกษา ทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ

อาทิ มารยาทงามอย่างไทย การช่วยกันรักษาส่งิ แวดล้อม เป็นตน้

๗. เปิดโอกาสให้บุคลากรคุณภาพจากต่างประเทศ ได้เข้ามาจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน คือ
ภาษาอังกฤษ

๘. ภาษาจนี และยงั ได้ฝกึ การแลกเปลี่ยน ขนบธรรมเนียมการเรียนรู้ วิถชี ีวิตซึ่งกันและกัน อนั จะสร้าง
ให้นักเรียนทำ ความเข้าใจและปรับการเรียนรูไ้ ดต้ งั้ แต่เยาว์วัย

๙. สร้างโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมต่อโรงเรียนได้รับความรู้อย่างต่อเนื่องและเปิด
โอกาสใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ ม

5

เปา้ หมาย ( GOAL )

โรงเรียนกรุณาศึกษา ได้กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา โดยจัดการศึกษาตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มุ่งพัฒนาให้นักเรียนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
มีจิตสำนึก มีความเป็นไทย รักและหวงแหนในถิ่นที่อยู่ของตนเองให้มีสติปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศกึ ษาและการประกอบอาชพี ดังน้ี

๑. สรา้ งชอ่ งทางการเรยี นรู้ที่มีคณุ ภาพ ให้เด็กอนบุ าลและนกั เรียนประถมศึกษา
๒. สง่ เสรมิ นักเรยี นใหเ้ ปน็ นักเรียนมืออาชพี สามารถนำสง่ิ ทเ่ี รยี นไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง
๓. สนับสนุนให้นักเรียนเป็นผู้มีความฉลาดทางด้านอารมณ์ ด้านสติปัญญา และเป็นนักคิดอย่าง
สร้างสรรค์โดยใช้ “ปญั ญา” เป็นรากฐานชวี ิต
๔. จัดระบบการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้นวัตกรรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
โดยสร้างความพงึ พอใจ ใหแ้ ก่ผ้ทู ่มี ีส่วนเกีย่ วข้องทางการศึกษา
๕. จดั ระบบมาตรฐานการเรียนการสอนทีท่ ันสมยั ทัดเทยี มมาตรฐานสากลโลก
๖. เน้นการศึกษาพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน เพื่อการเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ทักษะชีวิต โดยการยึด
ปฏบิ ัติตามรปู แบบของโรงเรยี น
๗. การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นครูต่างชาติ เจ้าของภาษาอังกฤษ จีน บูรณาการหลักสูตร
โรงเรียนกรุณาศึกษา และเน้นการใช้ทักษะชวี ิต
๘. สรา้ งเครอื ข่ายการมีสว่ นร่วม ในการพัฒนาสถานศกึ ษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ

10. แผนทโ่ี รงเรียน

6

11. จำนวนห้องเรียนจำแนกตามหลักสูตร/โครงการ

ระดับชนั้ จำนวนห้องเรียน
สามญั อน่ื ๆ รวม
เตรียมอนุบาล
อนบุ าล ๑ 2 -2
อนุบาล ๒ 4 -4
อนบุ าล ๓ 5 -๕
5 -5
รวม ๑6 - 16

12. ขอ้ มูลเด็ก
ปจั จบุ นั โรงเรยี นกรณุ าศึกษา มเี ดก็ ระดับก่อนประถมศกึ ษา

ตาราง แสดงจำนวนนักเรยี นระดับกอ่ นประถมศึกษา โรงเรยี นกรุณาศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖4

ระดบั ชัน้ เรียน จำนวนหอ้ ง เพศ รวม เฉลย่ี ตอ่ ห้อง
ชาย หญงิ
อนบุ าล 1 4 40 40 80 35
อนบุ าล 2 5 64 65 129 35
อนบุ าล 3 5 77 80 157 35
14 181 185 366
รวม

7

13. ขอ้ มลู ผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา

ประเภท/ตำแหนง่ จำนวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา รวม
ตำ่ กว่า ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก
๑. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 1
- ผู้รบั ใบอนุญาต - -1- -
- ผู้จดั การ - --- 1
- ผูอ้ ำนวยการ - -1- 1
- รอง/ผอู้ ำนวยการ - --1 3
- -21
รวม 1๔
๒. ผู้สอนการศึกษาปฐมวัย - 1๔ - - -
- --- ๑๔
- ครบู รรจุ - ๑๔ - -
- ครูตา่ งชาติ 28
รวม 1 27 - - 3
๓. ผสู้ อนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ระดับประถมศกึ ษา - 3- - -
- ครบู รรจุ -
- ครตู ่างชาติ - --- ๓๑
ระดับมัธยมศกึ ษา - ---
- ครูบรรจุ 1 ๓๐ - - 3
- ครตู ่างชาติ 10
รวม 3 ๑๓
๔. บคุ ลากรทางการศกึ ษา 10 ๖๑
- เจ้าหนา้ ท่ี 10 3 - -
๕. อ่นื ๆ (ระบ)ุ แมบ่ า้ น รปภ. 1๑ 4๗ 2 1
รวม
รวมท้งั สิ้น

8

/

1. 1. / 1. 1. 1.
2. 2. 2. 2.
3. 2.
4. 3. 3. 3.
5. 8 4. 4. 3. 4.
6. 5.
7. 6. 5. 4.

8. 7. 6. 5.
9. 7. 6.
10. 8.
11. 8. 7.
12. 9. 9. 8.
10. 10. 9.SAR

11.

12.
13.
14.

9

10

14. โครงสรา้ งหลกั สูตร
โรงเรียนกรณุ าศึกษา ได้จัดทำหลักสตู รสถานศึกษา ระดับปฐมวยั ที่สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรการศึกษา

ปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 มโี ครงสรา้ งดงั น้ี

โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรยี นกรณุ าศึกษา

อายุ 3 – 4 ปี ระดบั ชั้นอนุบาลปที ่ี 1

ชว่ งอายุ/การจดั ชั้นเรยี น อายุ 4 – 5 ปี ระดบั ช้ันอนุบาลปีที่ 2

อายุ 5 – 6 ปี ระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ่ี 3

ประสบการณส์ ำคัญ สาระท่คี วรเรียนรู้

ดา้ นรา่ งกาย เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก

สาระการเรยี นรู้ ด้านอารมณแ์ ละจิตใจ เรอ่ื งราวเก่ยี วกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็

ดา้ นสงั คม ธรรมชาติรอบตวั

ด้านสตปิ ัญญา ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

3 ปีการศึกษา

ระยะเวลาการเรียน ปีการศึกษา 1 ระดับชน้ั อนุบาลปีท่ี 1 ระยะเวลาเรียน 40 สปั ดาห์
ปีการศกึ ษา 2 ระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ระยะเวลาเรียน 40 สัปดาห์

ปกี ารศึกษา 3 ระดบั ชนั้ อนุบาลปที ่ี 3 ระยะเวลาเรียน 40 สปั ดาห์

กำหนดการจัดกจิ กรรม ระดับช้ันอนบุ าลปีท่ี ๑-๓

ประจำวนั เวลาเรยี น 2 ภาคเรยี นรวมกันไม่นอ้ ยกวา่ 200 วนั ตอ่ 1 ปีการศึกษา

ระยะความสนใจ อายุ 3-4 ปี มคี วามสนใจประมาณ 8 - 12 นาที

อายุ 4-5 ปี มคี วามสนใจประมาณ 12 - 15 นาที

อายุ 5-6 ปี มคี วามสนใจประมาณ 15 - 20 นาที

ในแต่ละวันใชเ้ วลาไม่น้อยกวา่ ๕ ชว่ั โมง ในการจัดกจิ กรรม

หมายเหตุ กจิ กรรมท่เี ด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี คดิ แก้ปัญหาคดิ สร้างสรรค์ เชน่ เลน่ ตามมุม เล่นกลางแจ้ง ใช้
เวลาประมาณ 40 – 60 นาที

ตารางกำหนดเวลาเรียน

ภาคเรยี นที่ เวลาเรยี น (วัน) หมายเหตุ

๒ 100
รวม
100 1 ปีการศกึ ษา เวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 200 วัน

200

11

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย

การศึกษาปฐมวัย เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐาน
การอบรมเลีย้ งดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละ
คน ตามศักยภาพภายใตบ้ รบิ ทสงั คมและวัฒนธรรม ทเี่ ดก็ อาศยั อย่ดู ว้ ยความรักความเอื้ออาทรและความเข้าใจ
ของทุกคน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิต ให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง
ครอบครัว สงั คมและประเทศชาติ

15. มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนกรุณาศึกษา ได้กำหนดจุดมุ่งหมายหรือมาตรฐาน

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นการกำหนดความคาดหวังที่จะเกิดกับเด็ก หลังจากจบหลักสูตรการศึกษาใน
ระดับปฐมวัยของโรงเรียน โดยการนำเอาจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซึ่งเป็น
หลักสูตรแกนกลาง มากำหนดเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของ
โรงเรียน และพิจารณาเชื่อมโยง หลอมรวมตัวบ่งชี้ของมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยมาตรฐานการประเมิน
คุณภาพภายนอกสถานศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัย สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการของชุมชนมา
กำหนดเป็นตัวบ่งชี้ และสภาพทพี่ งึ ประสงค์จดั ทำเป็นหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรียน ดังนี้

โรงเรียนกำหนดจุดมุ่งหมายหรือมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของโรงเรียนตามหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
๒๕๖๐ : ๙) โดยคาดหวงั ให้เด็กท่ีจบหลักสูตรการศึกษาในระดับปฐมวัยของโรงเรยี น มีพฒั นาการด้านร่างกาย
อารมณ์ – จิตใจ สงั คมและสติปัญญา ทเ่ี หมาะสมกบั วัย ความสามารถและความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ดงั น้ี

๑. รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย มสี ขุ นิสัยท่ีดี
๒. กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละกลา้ มเน้ือเลก็ แข็งแรง ใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่วและประสานสมั พนั ธ์กัน
๓. มีสุขภาพจติ ดแี ละมีความสุข
๔. ชน่ื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคล่ือนไหว
๕. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และจิตใจท่ีดีงาม
๖. มที ักษะชวี ติ และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๗. รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
๘. อยู่รว่ มกับผ้อู นื่ ได้อย่างมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
๙. ใชภ้ าษาสื่อสารได้เหมาะสมกบั วัย
๑๐. มีความสามารถในการคิดท่ีเปน็ พื้นฐานในการเรยี นรู้
๑๑. มีจินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
๑๒. มเี จตคติท่ีดตี อ่ การเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับวัย

12

16. การจดั ประสบการณ์
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓ - ๖ ปี จัดในรูปแบบของกิจกรรมบูรณาการผ่านการ

เล่นและลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ได้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ -
จิตใจ สังคมและสติปัญญา กิจกรรมที่จัดในแตล่ ะวัน อาจใชช้ อื่ เรียกแตกต่างกันไปในแตล่ ะหน่วยงาน แต่ท้ังน้ี
ประสบการณ์ที่จัด จะต้องครอบคลุมประสบการณ์สำคัญที่กำหนดในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และควร
ยืดหยุ่นให้มีสาระที่ควรเรียนรู้ ที่เด็กสนใจและสาระที่ควรเรียนรู้ที่ผู้สอนกำหนด เมื่อเด็กได้รับประสบการณ์
สำคัญและทำกิจกรรมในแต่ละหัวเรื่องแล้วเด็กจะเกิดแนวคิดตามที่ได้เสนอแนะในหลักสูตร (สำนักวิชาการ
และมาตรฐานการศกึ ษา.๒๕๖๐ : ๔๑)

หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนกรุณาศึกษา ได้ยึดหลักการในการจัด
ประสบการณ์ แนวทางการจัดประสบการณ์ และการจดั กจิ กรรมประจำวนั เพือ่ นำหลกั สตู รลงสู่การปฏิบัติตาม
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และสถานศกึ ษาเพิ่มเติมในบางสว่ น ดงั น้ี

๑. หลักการจัดประสบการณ์
๑. จัดประสบการณ์การเลน่ และการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวยั ทุกคน
๒. ยดึ หลักการอบรมเล้ยี งดูและให้การศึกษา ทเี่ น้นเด็กเป็นสำคญั โดยคำนึงถงึ ความแตกตา่ ง

ระหว่างบุคคลและวถิ ีชีวิตของเด็กตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กเป็นองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมี

กจิ กรรมท่หี ลากหลาย ได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้เหมาะสมกับวัย และมีการพักผ่อน
เพียงพอ

๔. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ คนดี มีวนิ ยั และมีความสขุ

๕. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และประสานความร่วมมือในการพฒั นาเดก็ ระหว่างสถานศกึ ษา
กับพ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา่ ยที่เกย่ี วข้องกบั การพฒั นาเด็กปฐมวยั

๒. แนวทางการจดั ประสบการณ์
๑. จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการ คือ เหมาะสมกับอายุวุฒิภาวะ

และระดับพัฒนาการ เพอื่ ให้เด็กทุกคนได้รบั การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
๒. จดั ประสบการณใ์ หส้ อดคล้องกบั การเรยี นรขู้ องเด็กในวัยน้ี คอื เด็กไดล้ งมือกระทำ เรยี นรู้

ผ่านประสบการณ์ทงั้ ๕ ได้เคลอื่ นไหว สำรวจ เล่น สังเกต สืบคน้ ทดลอง และคิดแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง
๓. จดั ประสบการณ์ในรปู แบบบรู ณาการ คอื บรู ณาการทง้ั ทกั ษะและสาระการเรียนรู้
๔. จัดประสบการณ์ให้เด็กได้ริเริ่ม คิด วางแผน ตัดสินใจเลือก ลงมือกระทำและนำเสนอ

ความคิดโดยผู้สอนเปน็ ผสู้ นบั สนุน อำนวยความสะดวก และเรยี นรู้ร่วมกนั กบั เดก็
๕. จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ

การเรยี นรูใ้ นบรรยากาศท่ีอบอุ่น มคี วามสขุ และเรียนร้กู ารทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะตา่ ง ๆ
๖. จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายและอยู่ในวิถีชีวิตของ

เด็ก

13

๗. จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมลักษณะนิสัยที่ดีและมีทักษะการใช้ชีวิตประจำวัน โดยน้อมนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมให้
เป็นส่วนหนึ่งของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างตอ่ เน่ืองสมำ่ เสมอ

๘. จัดประสบการณ์ทั้งในลักษณะที่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและประสบการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
ในสภาพจริง โดยไมไ่ ดค้ าดการณ์ไว้

๙. ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์ทั้งการวางแผน การสนับสนุน
ส่อื การสอน การเขา้ รว่ มกิจกรรม และการประเมนิ พฒั นาการ

๑๐. จัดทำสารนิทัศน์ ด้วยการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเป็น
รายบุคคล นำขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าไตรต่ รองและใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเดก็ และการวิจัยในช้นั เรยี น

๓. การจดั กจิ กรรมประจำวนั
กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันไดห้ ลายรปู แบบ

เป็นการช่วยให้ทั้งผู้สอนและเด็กทราบว่า แต่ละวันจะทำกิจกรรมอะไร เมื่อใด และอย่างไร (กรมวิชาการ.
๒๕๖๐ : ๕๓) การจัดกิจกรรมประจำวนั ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยของโรงเรยี นกรณุ าศึกษา ยึดหลกั การ
จัดและขอบข่ายของกิจกรรมประจำวัน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (สำนักวิชาการ
และมาตรฐานการศกึ ษา.๒๕๖๐ : ๔๒) ดงั น้ี

๑.หลกั การจัดกจิ กรรมประจำวัน
๑.๑ กำหนดระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรมให้เหมาะสมกับวยั ของเดก็
๑.๒ กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดทั้งในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกิน
กวา่ ๒๐ นาที
๑.๓ กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ใช้เวลา
ประมาณ ๔๐ – ๖๐ นาที
๑.๔ กจิ กรรมควรมีความสมดุลระหว่างกิจกรรมในห้อง และนอกหอ้ ง กจิ กรรมที่ใช้กล้ามเน้ือ
ใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบคุ คล กลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่เด็กเป็นผู้ริเร่ิมและผู้สอน
เป็นผู้ริเริม่ และกิจกรรมที่ใช้กำลังและไมใ่ ช้กำลัง จดั ใหค้ รบทุกประเภท ทั้งนกี้ ิจกรรมท่ีต้องการออกกำลังกาย
ควรจัดสลบั กบั กิจกรรมท่ีไม่ตอ้ งออกกำลงั มากนกั เพื่อเด็กจะไดไ้ มเ่ หนอ่ื ยเกินไป
๒. ขอบข่ายของกิจกรรมประจำวัน การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวันต้องให้
ครอบคลุมส่ิงต่อไปนี้
๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อใหญ่
การเคลื่อนไหว และความคล่องแคล่วในการใช้อวัยวะต่าง ๆ จึงควรจัดกิจกรรม โดยให้เด็กได้เล่นอิสระ
กลางแจง้ เลน่ เครอื่ งเล่นสนาม เคลื่อนไหวรา่ งกายตามจังหวะดนตรี
๒.๒ การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก
การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือและตา จึงควรจัดกิจกรรมโดยให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่นเกมต่อภาพ
ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกายหยิบจับช้อนส้อม ใช้อุปกรณ์ศิลปะ เช่น สีเทียน กรรไกร พู่กัน ดินเหนียว
ฯลฯ

14

๒.๓ การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้เด็กมีความรู้สึกที่ดี
ต่อตนเองและผู้อื่น มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา
เออ้ื เฟื้อ แบ่งปัน มมี ารยาทและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาทน่ี ับถือ จึงควรจัดกิจกรรมต่าง ๆ ผ่าน
การเล่น ให้เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือก ได้รับการตอบสนองตามความต้องการ ได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรก
คุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดเวลาทโี่ อกาสเอื้ออำนวย

๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เพื่อให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่างเหมาะสมและอยู่
ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน มีนิสัยรักการทำงาน รู้จัก
ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น จึงควรจัดให้เด็กได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสมอ เชน่
รบั ประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขบั ถา่ ย ทำความสะอาดร่างกาย เลน่ และทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื ปฏิบัติตาม
กฎกติกาข้อตกลงของสว่ นรวม เกบ็ ของเขา้ ทเ่ี มือ่ เล่นหรือทำงานเสร็จ ฯลฯ

๒.๕ การพัฒนาการคิด เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความคิดรวบยอด สังเกต จำแนก เปรียบเทียบ
จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับเหตุการณ์ แก้ปัญหา จึงควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้สนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ ประกอบ
อาหาร หรือจัดให้เด็กได้เล่นเกมการศึกษาที่เหมาะสมกับวัยอย่างหลากหลาย ฝึกการแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวันและในการทำกจิ กรรม ท้งั ทีเ่ ป็นกลุ่มยอ่ ย กลุ่มใหญ่ หรอื รายบคุ คล

๒.๖ การพัฒนาภาษา เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึก ความนึกคิด
ความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เด็กมีประสบการณ์จึงควรจัดกิจกรรมทางภาษา ให้มีความหลากหลายใน
สภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่านและบุคลากรที่แวดล้อม ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี
ในการใชภ้ าษา ทง้ั นตี้ ้องคำนึงถงึ หลักการจดั กจิ กรรมทางภาษาทเี่ หมาะสมกับเด็กเป็นสำคัญ

๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้เด็กได้พัฒนาความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ ได้ถ่ายทอดอารมณค์ วามรู้สกึ และเหน็ ความสวยงามของส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัว โดยใช้กิจกรรมศลิ ปะและ
ดนตรเี ปน็ สื่อ ใชก้ ารเคล่อื นไหวและจงั หวะตามจินตนาการ ใหป้ ระดิษฐ์สงิ่ ตา่ ง ๆ อยา่ งอิสระตามความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์ของเด็ก เล่นบทบาทสมมติในมุมเล่นต่าง ๆ เล่นน้ำ เล่นทราย เล่นก่อสร้างสิ่งต่าง ๆ เช่น แท่งไม้
รูปทรงตา่ ง ๆ ฯลฯ

๓. รูปแบบการจดั กิจกรรมประจำวนั
โรงเรยี นกรณุ าศึกษา จัดกจิ กรรมประจำวนั ตามตารางกิจกรรม เพ่ือใหผ้ ูส้ อนและ

เดก็ ทราบวา่ แต่ละวันจะทำกจิ กรรมอะไรบ้าง เมื่อใดและอย่างไร โดยมีรายละเอียดดังน้ี

15

ตารางกจิ กรรมประจำวนั กจิ กรรม
รับเด็กเป็นรายบคุ คล/ถงึ โรงเรยี นเลน่ ตามใจปรารถนา
เวลา เขา้ แถวเคารพธงชาติ ไหว้พระ สวดมนต์
o๖.๓๐ - ๐๘.๐๐ สำรวจการมาโรงเรยี น สนทนาและตรวจสขุ ภาพ
๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ ดนตรีกบั การเคล่ือนไหวและจังหวะ แสดงหุน่ และเล่านิทาน
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ กิจกรรมสนทนาขา่ วและเล่าประสบการณ์
๐๘.๔๕ - ๐๙.๐๐ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งประสบการณ์
๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๕ กจิ กรรมเสรแี ละเล่นตามมุมประสบการณ์
๐๙.๑๕ - ๐๙.๓๕ เก็บของเลน่ ลา้ งมือ รับประทานอาหารว่างเชา้
๐๙.๓๕ - ๐๙.๕๕ กิจกรรมกลางแจ้ง/กิจกรรมผจญภัยนอกหอ้ งเรยี น/ว่ายนำ้
๐๙.๕๕ - ๑๐.๑๐ กิจกรรมสรา้ งสรรค์ โสตทัศนศกึ ษา/คอมพิวเตอร์
๑๐.๑๐ - ๑๐.๓o ล้างมือ รบั ประทานอาหารกลางวนั อาบน้ำ แปรงฟัน
๑๐.๓๐ - ๑๐.๕๕ นอนหลบั พักผ่อน
๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ เก็บทีน่ อน ลา้ งหนา้ แตง่ กายให้เรยี บร้อย
๑๒.๐๐ - ๑๔.๐๐ พักรับประทานอาหารว่างบา่ ย
๑๔.๐๐ - ๑๔.๒๐ กจิ กรรมเกมการศึกษา
๑๔.๒๐ - ๑๔.๔๐ สรุปกิจกรรมประจำวัน เตรียมตวั กลับบ้าน
๑๔.๔๐ - ๑๕.๐๐
๑๕.๐๐ - ๑๕.๓๐

กิจกรรมประจำวันเป็นกิจกรรมที่เด็กต้องฝึกปฏิบัติ ตั้งแต่เข้ามาโรงเรียนจนถึงเวลาเลิกเรียน เป็นการ
พัฒนาให้เด็กมีความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา ให้เด็กได้เป็นคนดี และมีความสุข
ในสงั คมต่อไป

16

การปฏิบตั กิ ิจกรรมตามตารางกจิ กรรมประจำวนั

๑. การรบั เด็กเป็นรายบุคคล
เมื่อผู้ปกครองมาส่งเด็กที่โรงเรยี น บรรยากาศที่ครูได้สร้างให้เกิดแกผ่ ู้ปกครองและเด็ก คือ ความเปน็

มิตรและอบอุ่นใจ ครูกล่าวทักทายสวัสดี โดยการยกมือไหว้ผู้ปกครองและเด็กสวัสดีครู และนำกระเป๋าและ
ของใช้ส่วนตัวไปเก็บเข้าชั้นและหยิบสัญลักษณ์การมาเรียนใส่ไว้ที่ช่องของตนเอง หลังจากนั้นเด็กก็จะเล่น
ตามใจปรารถนา โดยมคี รูดแู ลอย่างใกล้ชดิ เดก็ จะมคี วามรู้สึกเปน็ ส่วนหนึง่ ของห้องเรียนและมีอารมณ์ทีม่ ่ันคง

๒. เขา้ แถวเคารพธงชาติและไหว้พระสวดมนต์
เป็นกจิ กรรมทโ่ี รงเรียนจัดเพื่อให้เด็กเกิดความรักในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตลอดจนมี

มารยาทที่ดีงามปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรม ฝึกจิตใจและฝึกระเบียบวินัยให้แก่เด็ก รู้จักการรอคอย
ตามลำดับกอ่ น –หลัง และการเปน็ ผู้นำ – ผตู้ ามที่ดี มคี วามรกั ในความเปน็ ไทย สืบสานวัฒนธรรมไทย

๓. สำรวจการมาโรงเรียนและตรวจสขุ ภาพ
ครูสำรวจการมาโรงเรียนของเด็กทุกวัน เด็กคนใดที่ขาดเรียนติดต่อกันหลายวันโดยไม่ทราบสาเหตุ

หรือขาดเรียนเนื่องจากไม่สบาย ครูก็จะไปเยี่ยมที่บ้านและเด็กที่ไม่สบาย เมื่ออยู่ที่โรงเรียนก็จะได้รับการดูแล
รกั ษาอยา่ งทนั ท่วงที

การตรวจสขุ ภาพเด็กเป็นการส่งเสรมิ ให้เด็กมีสุขนิสยั ท่ีดี ในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ครูจะตรวจ
สขุ ภาพของเด็กเป็นรายบุคคลและบันทึกลงแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ เด็กคนใดทมี่ ีสุขภาพอนามัยท่ีสะอาด
แข็งแรง ก็จะได้รับการชมเชย สำหรับเด็กที่ไม่ได้รับการดูแลรักษาด้านสุขภาพครูก็จะให้คำแนะนำ ตลอดจน
ประสานกับผู้ปกครองให้ร่วมมอื กันดูแลรักษา นอกจากนี้ครูก็ไดจ้ ัดทำบันทึกการเจรญิ เตบิ โตของเด็ก จากการ
ชงั่ น้ำหนักและวดั สว่ นสูงอย่างสมำ่ เสมอ มกี ารทดสอบสมรรถภาพนักเรยี นทุกภาคเรียนและจดั กิจกรรมเพ่ือให้
เด็กมีสุขภาพร่างกายท่ีสมบรู ณแ์ ขง็ แรง

๔. ดนตรีกับการเคล่ือนไหว แสดงหนุ่ และเล่านทิ าน
เปน็ กิจกรรมทีจ่ ัดเพ่ือสง่ เสริมการพฒั นาด้านกลา้ มเน้อื ใหญ่ กลา้ มเนอื้ เล็ก ให้สามารถประสานสัมพันธ์

กันได้อย่างคล่องแคล่ว เกิดสุนทรียภาพทางดนตรี รักดนตรีและมีจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้
นักเรียนกล้าพูด กล้าแสดงออก สนทนาและตอบคำถามง่าย ๆ ได้จากนิทาน เล่นบทบาทสมมติเรียนแบบ
ตัวละครในนิทานที่ตนเองประทับใจ ฝึกการมีสมาธิในการฟัง ฝึกทักษะการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ในการ
เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ตลอดจนปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ให้แก่เด็กโดยอาศยั สื่อประเภท
นิทานเพอ่ื เป็นการกระต้นุ การเรยี นรู้แก่เด็ก สง่ เสริมความฉลาดทางอารมณใ์ ห้แก่เด็กดว้ ย ( EQ )

๕. กจิ กรรมสนทนาขา่ วและเล่าเหตกุ ารณ์
เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นความสนใจใฝ่เรียนรู้ให้แก่เด็ก ฝึกการสนทนาโต้ตอบและตอบคำถาม

มีความสามารถในการสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย ฝึกทักษะด้านการเรียงลำดับเหตุการณ์ การติดต่อสื่อสาร
และสง่ เสรมิ นิสยั รกั การอา่ นแกเ่ ด็ก ใหร้ ู้จกั แสวงหาความรจู้ ากสอ่ื ตา่ ง ๆ ส่งเสริมทกั ษะการพูด กระบวนการคิด
วิเคราะหแ์ ละคิดสงั เคราะหแ์ ละการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน

17

๖. กิจกรรมเสริมประสบการณ์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ทำให้เด็กมีความพร้อมด้านทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา ความคิดรวบยอด การกระตุ้นให้เด็กได้สนใจธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รอบตัว เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมและวัฒนธรรมที่ดีงาม ฝึกให้เด็กยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เน้นการ
เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๕ การลงมือปฏิบัติจริง การถาม การตอบ การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ จากประสบการณ์ ได้แก่ กิจกรรมการทักทายธรรมชาติ การค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุด การเรียน
คอมพิวเตอร์จากห้องปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ การทำโครงงานต่าง ๆ Project approach การทัศนศึกษา
นอกสถานท่ี กจิ กรรม Leader of arena การทดลองวทิ ยาศาสตรแ์ ละกิจกรรมต่าง ๆ ทโ่ี รงเรยี นจัดทำขึ้น เช่น
กิจกรรมไหว้ครู กิจกรรมวันสุนทรภู่ กิจกรรมวันเข้าพรรษา กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ
กิจกรรมกีฬาสีภายใน กิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมวันภาษาอังกฤษท่องศัพท์วันละคำ กิจกรรมการ
ปลกู ผกั ตามแนวความคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๗. กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ กจิ กรรมเสรีและเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์
เปน็ กิจกรรมท่สี ่งเสรมิ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ – จิตใจ ด้านสงั คมและด้านสติปัญญาครบ

ทุกด้าน ทำให้เด็กได้ฝึกกล้ามเนื้อเล็ก การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา การสังเกต การจดจำ การคิด
พัฒนาความคิดจินตนาการและภาพการเล่าเรื่อง การสร้างสรรค์ งานศิลปะ การฉีกตัดปะ การปั้น การแสดง
บทบาทสมมติตลอดจนการเลือกเล่นตามมุมประสบการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์
ตรงในการเล่น เกดิ ทักษะทางสงั คมท่ีดี

๘. กิจกรรมกลางแจง้ และกจิ กรรมผจญภัยนอกห้องเรยี น
เป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาด้านร่างกาย ฝึกให้เดก็ มีความคล่องตัวและว่องไว การเดิน การวิ่ง การ

กระโดด การทรงตวั โดยไดจ้ ดั กจิ กรรมการละเล่นแบบไท ย เช่น มอญซอ่ นผา้ รรี ขี า้ วสาร ชกั เย่อ ม้าก้านกลว้ ย
กินหาง การเล่นน้ำ เล่นทราย เล่นเครื่องเล่น เล่นเครื่องเล่นสนาม การเล่นอุปกรณ์กีฬาประเภทต่าง ๆ เช่น
การรับ – ลูกบอล ฝึกให้เด็กรู้จักรักษาความปลอดภัยในขณะเล่น และยังมีโครงการกีฬาสีภายในเพื่อส่งเสริม
พัฒนาการเดก็ ทั้ง ๔ ด้าน

๙. กิจกรรมโสตทัศนศกึ ษา
เป็นกจิ กรรมที่เดก็ ๆ ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นทางการไดย้ นิ และการดู โดยครูไดใ้ ชส้ ื่อวิดที ศั นใ์ ห้นักเรียนได้เรียนรู้

ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น VDO เพลงต่าง ๆ ทั้งเพลงภาษาไทยและเพลงภาษาอังกฤษ VCD นิทานต่าง ๆ
VCD สารคดเี รอ่ื งสนั้ และอืน่ ๆ ทน่ี ่าสนใจจากอนิ เทอร์เน็ต ท่เี ปน็ ประโยชนแ์ ละเหมาะกบั วัยของเด็ก

๑๐. กิจกรรมคอมพิวเตอรส์ ำหรับเด็กปฐมวัย
บทบาทของการเรียนคอมพิวเตอร์ในระดับปฐมวัยนั้น เป็นการปูพื้นฐานการเรียนรู้ให้กับเด็กใน

เบื้องต้น เพื่อให้ปรับตัวและมีโอกาสได้เรียนรู้ถึงสิ่งที่มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกปัจจุบัน โดยการ
เรยี นการสอนนน้ั จะเริม่ ตง้ั แต่ อนบุ าล ๑ – อนบุ าล ๓ ( อายุ ๓ - ๕ ปี ) การกำหนดการสอนทส่ี อดคล้องกับวัย
และหลักสูตรการเรยี นรู้ปฐมวัยตามหน่วยการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น การเรียนรูช้ ื่ออุปกรณค์ อมพิวเตอร์ ฝึกการใช้
เมาส์ ฝึกพมิ พ์อักษร A –Z , ก-ฮ หรอื หรอื ข้อความสน้ั ๆ ฝึกการใช้โปรแกรม Paint เป็นตน้

18

๑๑. กิจกรรมเกมการศกึ ษา
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ฝึกให้เด็กมีความสามารถในการสังเกตและ

เปรียบเทียบ รู้ค่าจำนวน การจัดหมวดหมู่มิติสัมพันธ์ การคิดและการแก้ปัญหาได้เหมาะสมตามวัย
มีจินตนาการและมีความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์

๑๒. พักรับประทานอาหารวา่ งเช้า – บ่าย
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ฝึกให้เด็กเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

เป็นประจำเพื่อประโยชน์ต่อร่างกาย รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง
เหมาะสมกับวัย มีสุขนิสัยที่ดีและมารยาทที่ดีในการรับประทานอาหาร ฝึกให้ล้างมือและเก็บภาชนะที่ ใส่
อาหารรับประทาน ฝึกระเบียบวนิ ยั ในการเขา้ แถวให้เด็กร้คู ณุ คา่ ของอาหาร ร้จู ักรักษาความสะอาด โดยลา้ งมือ
กอ่ นและหลงั รบั ประทานอาหารทกุ ครั้ง

๑๓. สรุปกจิ กรรมประจำวนั /เตรียมตัวกลับบ้าน
เป็นการทบทวนการเรียนรู้ตลอดทั้งวันทุกกิจกรรม เป็นการย้ำซ้ำทวนก่อนกลับบ้านและฝากรอยย้ิม

กลับบ้านไปฝากคุณพ่อคุณแม่ที่บ้าน ทำให้เด็กมีความสุข สนุกสนานร่าเริง และมีความฉลาดทางอารมณ์
มีความรู้สึกว่า โรงเรียนกรุณาศึกษา คือบ้านหลังที่สองของหนู พร้อมคุณครูคือพ่อแม่คนที่สองของเด็กตาม
คตพิ จนข์ องโรงเรยี น

17. รายละเอยี ดกิจกรรมหลัก ๖ กจิ กรรมและกิจกรรมเพิ่มเติมของสถานศึกษา
1. กิจกรรมเสรี / การเล่นตามมุม
กิจกรรมเสรี / การเล่นตามมุมเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระตามมุมเล่นหรือ

มุมประสบการณ์หรือศูนย์การเรียน ที่จัดไว้ในห้องเรียน เช่น มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ มุมปั้นดนิ
น้ำมัน เป็นต้น มุมต่าง ๆ เหล่านี้ เด็ก ๆ มีโอกาสเลือกเล่นได้อย่างเสรีตามความสนใจและความต้องการของ
เด็ก ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม อนึ่ง กิจกรรมเสรีนอกจากให้เด็กเล่นตามมุมแล้ว อาจให้เด็กเลือกทำ
กิจกรรมที่ผู้สอนจัดเสริม เช่น เกมการศึกษา เครื่องเล่นสัมผัส กิจกรรมสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ โรงเรียน
กรุณาศึกษา จัดกิจกรรมเสรี / การเล่นตามมุม ดังนี้ จัดกิจกรรมเสรี / เล่นตามมุมต่อเนื่องจากกิจกรรม
สรา้ งสรรค์ โดยใหเ้ ด็กเลอื กปฏิบัตกิ ิจกรรมสรา้ งสรรค์อยา่ งน้อย ๒ กิจกรรม แล้วเลอื กเล่นกจิ กรรมเสรี / เล่น
ตามมมุ ตามความสนใจ โดยมีมุมประสบการณ์หลกั ๆ ทจ่ี ัดไว้ ดงั น้ี

๑) มุมหนงั สอื
๒) มมุ บล็อก
๓) มมุ บทบาทสมมติ
๔) มมุ เกมการศึกษา
๕) มมุ ดนตรี
๖) มุมนิทาน
๗) มุมบ้าน
๘) มมุ ศลิ ปะ
๙) มุมอ่นื ๆ ตามความสนใจของเดก็ หรือผสู้ อนต้องการจัด เชน่ มุมรา้ นค้า มุมอ่านและ

เขยี น มุมบันเทิง ฯลฯ

19

แนวทางการปฏิบตั ิ
๑. ขณะเด็กเล่น ผู้สอนต้องคอยสังเกตความสนใจในการเล่นของเด็ก หากพบว่ามุมใด เด็กส่วนใหญ่
ไม่สนใจที่จะเล่นแล้ว ควรสับเปลี่ยนจัดสื่อมุมเล่นใหม่ อาจดัดแปลงหรือเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนเป็นมุมร้านค้า
มุมบา้ น มมุ หมอ ฯลฯ
๒. หากมุมใดมีเด็กเล่นในมุมมากเกินไป ผู้สอนควรให้เด็กมีโอกาสในการคิดแก้ปัญหา หรือผู้สอน
ชกั ชวนให้แกป้ ญั หาในการเลือกเล่นมมุ ใหม่
๓. การเลือกเล่นมุม การเล่นมุมเดียวเป็นระยะเวลานาน อาจทำให้เด็กขาดประสบการณ์การเรียนรู้
ดา้ นอ่นื ผสู้ อนควรชกั ชวนใหเ้ ด็กเลือกมุมอืน่ ๆ ดว้ ย
๔. สื่อเครื่องเลน่ ในแต่ละมุม ควรมีการสับเปลีย่ นเพิ่มเติมเป็นระยะ เพื่อไม่ให้เด็กเกดิ ความเบ่ือหน่าย
เช่น เก็บหนงั สือนทิ านบางเล่มทีเ่ ด็กหมดความสนใจและนำหนังสอื นทิ านใหม่มาวางแทน ฯลฯ
2. กิจกรรมสรา้ งสรรค์

กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการโดยใช้ศิลปะ เช่น การเขียนภาพ ปั้น ฉีก ติด ปะพิมพ์ภาพ การร้อย การ
ประดิษฐ์ หรือวิธีการอื่นที่ให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์และเหมาะกับพัฒนาการ กิจกรรมสร้างสรรค์จัดเป็นประจำ
ทุกวัน โรงเรียนได้กำหนดกิจกรรมสร้างสรรค์วันละ ๓ – ๕ กิจกรรม โดยให้เด็กเลือกทำอย่างน้อย ๒ กิจกรรม
ตามความสนใจหรอื โดยการกำหนดร่วมกันระหวา่ งครูและนักเรยี น

แนวทางการปฏบิ ัติ
๑. การจัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ ควรพยายามหาวัสดุในท้องถ่ินมาใชเ้ ปน็ อนั ดบั แรก
๒. ก่อนให้เด็กทำกิจกรรมต้องอธิบายวิธีใช้วัสดุที่ถูกต้องให้เด็กทราบพร้อมท้ังสาธิตให้ดูจน

เขา้ ใจ
๓. ให้เดก็ ทำกิจกรรมสรา้ งสรรคป์ ระเภทใดประเภทหน่ึงร่วมกนั ในกลุ่มย่อยเพ่ือฝกึ ให้เด็กรู้จัก

การวางแผน และการทำงานร่วมกับผ้อู นื่
๔. แสดงความสนใจในงานของเด็กทุกคน ไม่ควรมองผลงานเด็กด้วยความขบขันและควร

นำเสนอผลงานเดก็ ทุกคนหมนุ เวยี นจัดแสดงท่ปี ้ายนิเทศ
๕. หากพบว่าเด็กคนใดสนใจทำกิจกรรมอย่างเดียวตลอดเวลา ควรกระตุ้นเร้าและจูงใจให้

เด็กเปลี่ยนทำกิจกรรมอื่นบ้าง เพราะกิจกรรมสร้างสรรค์แต่ละประเภทพัฒนาเด็กแต่ละด้านแตกต่างกัน
และเมื่อเดก็ ทำตามทแี่ นะนำได้ ควรใหแ้ รงเสรมิ ทุกครัง้

๖. เก็บผลงานที่แสดงความก้าวหน้าของเด็กเป็นรายบุคคลเพื่อเป็นข้อมูลสังเกต พัฒนาการ
เด็ก

3. กจิ กรรมการเคล่ือนไหวและจังหวะ
การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่าง

อิสระตามจังหวะโดยใช้เสียงเพลง คำคล้องจองซึ่งจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ ได้แก่เสียงตบมือ เสียงเพลง
เสียงเคาะไม้ เคาะเหล็ก รำมะนา กลอง ลูกกะพรวน ฯลฯ มาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมให้เด็ก
เกิดจนิ ตนาการ ความคดิ สร้างสรรค์ เด็กวยั น้รี า่ งกายกำลังอยใู่ นระหวา่ งพฒั นา การใชส้ ว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย
ยงั ไมผ่ สมผสานหรือประสานสัมพนั ธอ์ ย่างสมบูรณ์ การเคลอ่ื นไหวของเดก็ มลี ักษณะตา่ งๆ ดังนี้

20

๑. ชา้ ได้แก่ การคืบ การคลาน
๒. เร็ว ได้แก่ การว่ิง
๓. นุม่ นวล ไดแ้ ก่ การไหว้ การบิน
๔. ขงึ ขัง ได้แก่ การกระทบื เท้าดงั ตกี ลองดงั ๆ
๕. รา่ เรงิ มีความสขุ ได้แก่ การตบมือ หวั เราะ
๖. เศร้าโศกเสยี ใจ ไดแ้ ก่ สีหน้า ทา่ ทาง
ทิศทางการเคล่อื นไหว
๑. เคล่ือนไหวไปข้างหน้าและข้างหลัง
๒. เคลือ่ นไหวไปขา้ งซ้ายและขา้ งขวา
๓. เคลอ่ื นตวั ขึ้นและลง
๔. เคลื่อนไหวรอบทิศ
รูปแบบการเคลือ่ นไหว
๑. การเคลื่อนไหวพืน้ ฐาน ไดแ้ กก่ ารเคล่อื นไหวตามธรรมชาติของเด็ก มี ๒ ประเภท

๑.๑ การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ได้แก่ ตบมือ ผงกศีรษะ ขยิบตา ชันเข่า เคาะเท้า
เคลอ่ื นไหวมอื และแขน มือและนิ้วมอื เท้าและปลายเท้า

๑.๒ การเคลอ่ื นไหวเคลื่อนท่ี ได้แก่ คลาน คืบ เดิน ว่ิง กระโดด ควบมา้ ก้าวกระโดด
๒. การเลยี นแบบ มี ๔ ประเภท

๒.๑ เลียนแบบท่าทางสัตว์
๒.2 เลียนแบบทา่ ทางคน
๒.๓ เลยี นแบบเครือ่ งยนต์กลไกและเครื่องเล่น
๒.๔ เลยี นแบบปรากฏการณ์ธรรมชาติ
๓. การเคลื่อนไหวตามเพลง ได้แก่ การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางประกอบเพลง เช่น เพลงไก่
เพลงข้ามถนน ฯลฯ
๔. การทำทา่ ทางกายบริหารประกอบเพลง ได้แก่ การทำทา่ ทางตามจังหวะและทำนองเพลง
หรือคำคลอ้ งจอง
๕. การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์ ได้แก่ การเคลื่อนไหวที่ให้เด็กคิดสร้างสรรค์ท่าทางขึ้นเอง
อาจช้นี ำดว้ ยการปอ้ นคำถามเคลื่อนไหวโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น ห่วงหวาย แถบผ้า รบิ บนิ้ ถุงทราย
๖. การเล่นหรอื แสดงท่าทางตามคำบรรยาย เรื่องราว ได้แก่การเคลื่อนไหวหรือแสดงท่าทาง
ตามจนิ ตนาการจากเรอ่ื งราวหรือคำบรรยายท่ีผสู้ อนเล่า
๗. การปฏิบัติตามคำสั่งและข้อตกลง ได้แก่ การเคลื่อนไหวหรือทำท่าทางตามสัญญา หรือ
คำสง่ั ตามท่ไี ดต้ กลงกนั ไวก้ อ่ นเรมิ่ กจิ กรรม
๘. การฝกึ ทา่ ทางเปน็ ผู้นำ ผู้ตาม ไดแ้ ก่ การเคลอื่ นไหวหรือทำทา่ ทางจากความคดิ สร้างสรรค์
ของเด็กเอง แลว้ ให้เพอ่ื นปฏบิ ัติตาม

21

แนวทางการปฏบิ ัติ
๑. ควรเริ่มจากกิจกรรมการเคลื่อนไหวที่เป็นอิสระ และวิธีการที่ไม่ยุ่งยากมากนัก เช่น

ให้เด็กไดก้ ระจายอยู่ภายในห้องหรือบริเวณทีฝ่ ึก และให้เคลอ่ื นไหวไปตามธรรมชาตขิ องเด็ก
๒. ควรให้เด็กได้แสดงออกด้วยตนเองอย่างอิสระและเป็นไปตามความนึกคิดของเด็กเอง

ผ้สู อนไมค่ วรชีแ้ นะ
๓. ควรเปิดโอกาสให้เด็กคิดหาวิธีเคลื่อนไหวทั้งที่ต้องเคลื่อนที่และไม่ต้องเคลื่อนที่

เปน็ รายบุคคล เปน็ คู่ เป็นกลุ่ม ตามลำดับและกลุ่มควรไมเ่ กนิ ๕– ๖ คน
๔. ควรใช้สิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวเด็ก เศษวัสดุต่างๆ เช่น กระดาษหนังสือพิมพ์ เศษผ้า ท่อนไม้

เข้ามาชว่ ยในการเคลอื่ นไหวและใหจ้ ังหวะ
๕. ควรกำหนดจังหวะสัญญาณ นัดหมายในการเคลื่อนไหวต่าง ๆ เช่น การเปลี่ยน ท่าทาง

หรือหยุดใหเ้ ด็กทราบเมอ่ื ทำกจิ กรรมทกุ ครงั้
๖. ควรสร้างบรรยากาศอยา่ งอิสระ ช่วยให้เดก็ ร้สู กึ อบอุ่น เพลดิ เพลนิ และรสู้ กึ สนกุ สนาน
๗. ควรจัดให้มีการเลน่ เกมการละเล่นบ้าง เพื่อชว่ ยใหเ้ ด็กสนใจมากขึน้
๘. กรณีเด็กไม่ยอมเข้าร่วมกิจกรรม ผู้สอนไม่ควรใช้วิธีการบังคับ ควรให้เวลาและโน้มน้าว

ใหเ้ ดก็ สนใจเขา้ รว่ มกิจกรรมดว้ ยความสมัครใจ
๙. หลังจากเดก็ ไดอ้ อกกำลังเคลื่อนไหวร่างกาย ตอ้ งใหเ้ ดก็ ได้พักผ่อน โดยอาจให้นอนเล่นบน

พื้นห้อง นั่งพัก หรือเล่นสมมติเป็นตุ๊กตา อาจเปิดเพลงจังหวะช้า ๆ เบา ๆ ที่สร้างความรู้สึกให้เด็กอยาก
พกั ผอ่ น

4. กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม เป็นกิจกรรมที่มุ่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาทักษะการ
เรียนรู้ ฝึกการทำงานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มทั้งกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่จัดมุ่งเปิดโอกาสให้เด็กได้มี
โอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผลและฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
โดยจดั กจิ กรรมด้วยวิธกี ารต่าง ๆ เชน่ สนทนา อภิปราย สาธติ ทดลอง เล่านิทาน เล่นบทบาทสมมติ ร้องเพลง
ท่องคำคล้องจอง ศกึ ษานอกสถานท่ี เชญิ วิทยากรมาให้ความรู้ การจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ สามารถจัด
ได้หลากหลายวธิ ีดังน้ี
๑. การสนทนา อภิปราย เป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ในการพูด การฟัง รู้จักแสดงความ
คิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งสื่อที่ใช้อาจเป็นของจริงหรือของจำลอง รูปภาพ สถานการณ์
ตา่ ง ๆ ฯลฯ
๒. การเล่านทิ าน เป็นการเลา่ เร่ืองต่าง ๆ ส่วนมาเปน็ เรอื่ งท่ีเน้นการปลูกฝังให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม
วิธีการนี้จะช่วยให้เด็กเข้าใจได้ดีขึ้น ในการเล่านิทานสื่อที่ใช้อาจเป็นรูปภาพ หนังสือนิทานหุ่น การแสดง
ทา่ ทางประกอบการเล่าเรื่อง
๓. การสาธิต เป็นการจัดกิจกรรมท่ีต้องการใหเ้ ด็กได้สังเกตและเรียนรู้ตามขั้นตอนของกิจกรรมนั้น ๆ
ในบางครั้งผ้สู อนอาจให้เด็กอาสาสมัครเป็นผสู้ าธิตร่วมกับผู้สอนเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติจริง เช่น การเพาะเมล็ด
การเป่าลูกโปง่ การเล่นเกมการศึกษา ฯลฯ

22

๔. การทดลอง / ปฏิบัติการ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เพราะได้ทดลองปฏิบัติ
ด้วยตนเอง ได้สังเกตการเปลี่ยนแปลง ฝึกการสังเกต การคิดแก้ปัญหาและส่งเสริมให้เด็กมีความอยากรู้อยาก
เห็นและคน้ พบด้วยตนเอง เชน่ การประกอบอาหาร การทดลองวทิ ยาศาสตรง์ า่ ย ๆ การปลูกพชื ฯลฯ

๕. การศึกษานอกสถานที่ เป็นการจดั กิจกรรมที่ทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงอีกรูปแบบหนึ่ง ด้วย
การพาเด็กไปทัศนศึกษาสิ่งต่าง ๆ รอบสถานศึกษาหรือนอกสถานศึกษาเพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์
แกเ่ ด็ก

๖. การเลน่ บทบาทสมมติ เป็นการใหเ้ ด็กเลน่ สมมตติ นเองเป็นตวั ละครต่าง ๆ ตามเน้อื
เรื่องในนิทานหรือเรื่องราวต่าง ๆ อาจใช้สื่อประกอบการเล่นสมมติเพ่ือเร้าความสนใจและก่อให้เกิดความ
สนุกสนาน เช่น หุ่นสวมศีรษะ ที่คาดศีรษะรูปคน รูปสัตว์รูปแบบต่าง ๆ เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ของจริง
ชนดิ ตา่ ง ๆ

๗. การรอ้ งเพลง เล่นเกม ทอ่ งคำคล้องจอง เป็นการจดั ให้เดก็ ได้แสดงออกเพื่อความ
สนกุ สนาน เพลดิ เพลินและเรยี นร้เู กย่ี วกับภาษาและจงั หวะ เกมทน่ี ำมาเลน่ ไม่ควรเน้นทีก่ ารแข่งขัน

แนวทางการปฏิบตั ิ
๑. ควรยดึ หลักการจัดกิจกรรมทีเ่ น้นให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงและมโี อกาสได้คน้ พบด้วยตนเองให้
มากทส่ี ุด
๒. ผู้สอนควรยอมรับความคดิ เห็นท่ีหลากหลายของเด็กและให้โอกาสเด็กได้ฝกึ คดิ
๓. อาจเชิญวทิ ยากรมาใหค้ วามรู้แทนครูผ้สู อน เชน่ พ่อแม่ ตำรวจ หมอ ฯลฯ จะช่วยใหเ้ ดก็ สนใจและ
สนุกสนานมากยง่ิ ขึน้
๔. ในขณะที่เด็กทำกิจกรรม หรอื หลังจากทำกจิ กรรมเสรจ็ แล้ว ผู้สอนควรใช้คำถามปลายเปิดทีช่ วนให้
เด็กไดค้ ดิ ไมค่ วรใช้คำถามท่ีมคี ำตอบ “ใช่” “ไมใ่ ช่”หรือมคี ำตอบให้เลือกและผ้สู อนควรใจเย็นให้เวลาเด็กคิด
หาคำตอบ
๕. ช่วงระยะเวลาจัดกิจกรรมสามารถยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความสนใจของ
เด็กและความเหมาะสมของกิจกรรมนั้น ๆ เช่น กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ การประกอบอาหาร การ
ปลกู พชื อาจใชเ้ วลานานกว่าทก่ี ำหนดไว้
5. กิจกรรมกลางแจ้ง
กิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กไดอ้ อกไปนอกห้องเรียนเพื่อออกกำลัง เคลื่อนไหว
ร่างกายและแสดงออกอย่างอิสระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็กแต่ละคนเป็นหลัก กิจกรรม
กลางแจ้งที่ผูส้ อนจัดใหเ้ ด็กได้เลน่ เชน่

๑. การเล่นเครอ่ื งเลน่ สนาม
เครือ่ งเล่นสนาม หมายถงึ เคร่อื งเลน่ ที่เด็กอาจปีนป่าย หมนุ โยก ซึง่ ทำออกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น

- เครอื่ งเลน่ สำหรบั ปนี ปา่ ย หรือตาขา่ ยสำหรับปนี เลน่
-เครือ่ งเลน่ สำหรบั โยกหรือไกว เช่น ม้าไม้ ชงิ ช้า ม้าน่งั โยก กระดานหก
-เครื่องเล่นสำหรบั หมุน เช่น มา้ หมุน พวงมาลยั รถสำหรับหมนุ เล่น
-ราวโหนขนาดเล็กสำหรบั เดก็
-ต้นไมส้ ำหรบั เดนิ ทรงตวั หรอื ไม้กระดานแผน่ เดียว

23

-เคร่ืองเลน่ ประเภทลอ้ เลอ่ื น เช่น รถสามลอ้ รถลากจงู
๒. การเล่นทราย
ทรายเป็นสิ่งที่เด็ก ๆ ชอบเล่น ทั้งทรายแห้ง ทรายเปียก นำมาก่อเป็นรูปต่าง ๆ ได้และ
สามารถนำวัสดุอื่นมาประกอบการเล่นตกแต่งได้ เช่น กิ่งไม้ ดอกไม้ เปลือกหอย พิมพ์ขนม ที่ตักทราย ฯลฯ
ปกติบ่อทรายจะอยู่กลางแจง้ โดยอาจจดั ให้อยูต่ ามรม่ เงาของต้นไม้หรือสร้างหลงั คา ทำขอบกั้น เพอื่ มิให้ทราย
กระจัดกระจาย บางโอกาสอาจพรมน้ำให้ชื้น เพื่อเด็กจะได้ก่อเล่น นอกจากนี้ควรมีวิธีปิดก้ันไม่ให้สัตว์เลี้ยงลง
ไปทำความสกปรกในบ่อทรายได้
๓. การเล่นนำ้
เด็กทั่วไปชอบเล่นน้ำมาก การเล่นน้ำนอกจากสร้างความพอใจและคลายความเครียดให้เด็ก
แล้วยังทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้อีกด้วย เช่น เรียนรู้ทักษะการสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบปริมาตร
ฯลฯ อุปกรณ์ที่ใส่น้ำอาจเป็นถังที่สร้างขึ้นโดยเฉพาะหรืออ่างน้ำวางบนขาตั้งที่มั่นคง ความสูงพอที่เด็กยืนได้
พอดี และควรมพี ลาสติกกันเสอ้ื ผ้าเปยี กใหเ้ ด็กใช้คลมุ ระหว่างเลน่
๔. การเลน่ สมมตใิ นบ้านตกุ๊ ตาหรือบ้านจำลอง
เป็นบ้านจำลองสำหรับให้เด็กเล่น จำลองแบบจากบ้านจริง ๆ อาจทำด้วยเศษวัสดุประเภท
ผ้าใบ กระสอบป่าน ของจริงที่ไม่ใช้แล้ว เช่น หม้อ เตา ชามอ่าง เตารีด เครื่องครัว ตุ๊กตาสมมติเป็นบุคคลใน
ครอบครวั เสื้อผา้ ผู้ใหญ่ทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้วสำหรับผลัดเปล่ยี น มกี ารตกแตง่ บรเิ วณใกล้ ๆ เหมอื นบ้านจรงิ บางครั้งอาจ
จดั เป็นร้านขายของ สถานท่ีทำการต่าง ๆ เพอ่ื ให้เด็กไดเ้ ลน่ สมมตติ ามจนิ ตนาการของเดก็ เอง
๕. การเล่นในมมุ ชา่ งไม้
เด็กต้องการออกกำลังในการเคาะ ตอก กิจกรรมการเล่นในมุมช่างไม้นี้จะช่วยในการพัฒนา
กล้ามเนื้อให้แข็งแรง ช่วยฝึกการใช้มือและการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา นอกจากนี้ยังฝึกให้รัก งาน
และสง่ เสริมความคดิ สรา้ งสรรค์อกี ดว้ ย
๖. การเลน่ กับอปุ กรณ์กฬี า
เป็นการนำอุปกรณ์กีฬามาเล่นอย่างอิสระหรือใช้ประกอบเกมการเล่นที่ให้โอกาสแก่เด็กให้
มากที่สุด ไม่ควรเน้นการแข่งขันเพื่อมุ่งหวังผลแพ้ ชนะ อุปกรณ์กีฬาที่นิยมนำมาให้เด็กเล่น เช่น ลูกบอล
ห่วงยาง ถงุ ทราย ฯลฯ
๗. การเล่นเกมการละเล่น
กิจกรรมการเล่นเกมการละเล่นที่จัดให้เด็กเล่น เช่น เกมการละเล่นของไทย เกมการละเล่น
ของท้องถิ่น เช่น มอญซ่อนผ้า รีรีข้าวสาร แม่งู โพงพาง ฯลฯ การละเล่นเหล่านี้ต้องใช้บริเวณที่กว้าง การ
เลน่ อาจเล่นเปน็ กลุ่มเล็กหรือกลุ่มใหญ่ก็ได้ ก่อนการเลน่ ผ้สู อนควรอธบิ ายกติกาและสาธิตใหเ้ ด็กเข้าใจ ไม่ควร
นำเกมการละเลน่ ท่ีกติกายุ่งยากและมุ่งเนน้ ผลแพช้ นะมาจดั กิจกรรมให้เด็กในวัยน้ี เพราะเดก็ เกิดความเครียด
และสร้างความรูส้ กึ ที่ไมด่ ตี อ่ ตนเอง
แนวทางการปฏิบัติ
๑. หมั่นตรวจตราเครื่องเล่นสนามและอุปกรณ์ประกอบให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและใช้การได้ดีอยู่
เสมอ
๒. ให้โอกาสเด็กเลน่ กลางแจง้ อยา่ งอิสระทุกวัน อย่างน้อยวันละ 30 นาที

24

๓. ขณะที่เด็กเล่นกลางแจ้ง ผู้สอนต้องคอยดูแลอยา่ งใกล้ชดิ เพ่ือระมดั ระวังความปลอดภัยในการเล่น
หากพบว่าเด็กแสดงอาการเหนือ่ ย ออ่ นลา้ ควรใหเ้ ดก็ หยุดพกั

๔. ไม่ควรนำกิจกรรมพลศึกษาสำหรับเด็กระดับประถมศึกษา มาใช้สอนเด็กระดับปฐมวัยเพราะยงั ไม่
เหมาะสมกับวยั

๕. หลังจากเลิกกิจกรรมกลางแจ้ง ควรให้เด็กได้พักผ่อนหรือนั่งพัก ไม่ควรให้เด็กรับประทานอาหาร
กลางวันหรือดื่มนมทันที เพราะอาจทำให้เดก็ อาเจียน เกิดอาการจกุ แนน่ ได้

6. เกมการศึกษา
เกมการศึกษาเป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา มีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเล่นได้คน
เดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้ช่วยให้เด็กรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผล รูปร่าง จำนวน ประเภท และความสัมพันธ์
เกี่ยวกับพื้นที่/ระยะ เกมการศึกษาที่เหมาะสมสำหรับเด็กวัยนี้ เช่น เกมจับคู่ แยกประเภท จัดหมวดหมู่
เรยี งลำดบั โดมิโน ลอตโต ภาพตัดตอ่ ตอ่ ตามแบบ ฯลฯ
แนวทางการปฏบิ ตั ิ
๑. การสอนเกมการศึกษาในระยะแรก ควรเริ่มสอนโดยใช้ของจรงิ เชน่ การจบั คกู่ ระปอ๋ ง ทเี่ หมือนกัน
หรือการเรยี งลำดบั กระป๋องแป้งตามลำดบั สงู ตำ่
๒. การเล่นเกมการศึกษาในแต่ละวนั อาจจัดให้เล่นทั้งเกมการศกึ ษาชุดใหม่และชดุ เก่า ผู้สอนอาจให้
เดก็ หมุนเวยี นกนั มาเล่นเกมการศกึ ษากบั ผสู้ อนทลี ะกลุ่มหรือเลน่ ท้ังชน้ั ตามความเหมาะสม
๓. ผู้สอนอาจให้เด็กที่ได้เล่นแลว้ มาช่วยแนะนำกติกาการเล่นในบางโอกาสได้
๔. การเล่นเกมการศึกษา นอกจากใช้เวลาในช่วงกิจกรรมเกมการศึกษาตามตารางกิจกรรมประจำวนั
แล้ว อาจให้เด็กเลือกเล่นอิสระในช่วงกิจกรรมเสรีได้
๕. การเก็บเกมการศึกษาที่เล่นแล้ว อาจเก็บใส่กล่องเล็ก ๆ หรือใส่ถุงพลาสติกหรือใช้ยางรัดแยกแต่
ละเกมแล้วจดั ใสก่ ลอ่ งใหญ่รวมไว้เป็นชุด
๗ กจิ กรรมสง่ เสริมด้านภาษา
กิจกรรมส่งเสริมด้านภาษาเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้มีโอกาสใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึก
ความนึกคิด ความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ที่เด็กมีประสบการณ์จึงควรจัดกิจกรรมทางภาษาให้มีความ
หลากหลายในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เดก็ รักการอ่านและบุคลากรที่แวดล้อมต้องเป็น
แบบอยา่ งทด่ี ใี นการใช้ภาษา ท้ังน้ีตอ้ งคำนึงถึงหลกั การจดั กิจกรรมทางภาษาท่ีเหมาะสมกับเดก็ เป็นสำคัญ และ
สอดคลอ้ งกับการทำงานของสมองเดก็ ระดับปฐมวัย ดงั ต่อไปนี้
๗.๑ สาระ/ประสบการณ์สำคัญของการพัฒนาภาษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ดงั น้ี

7.1.1 การให้เด็กมีโอกาสไดฟ้ ังอย่างหลากหลาย
7.1.2 การจัดกิจกรรมใหเ้ ด็กมีโอกาสพดู หลายลักษณะ
7.1.3 การอธบิ ายเก่ียวกบั ส่งิ ของ เหตุการณแ์ ละความสมั พันธ์ของสงิ่ ตา่ ง ๆ
7.1.4 การจัดกิจกรรมการอ่านหลายลักษณะ เช่น อ่านประกอบภาพ อ่านเรื่องราวสั้น ๆ
ไม่มีภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท่มี ีความหมายตอ่ เด็ก เป็นตน้
7.1.5 การเขียนภาพในหลายรปู แบบผ่านประสบการณ์ทีส่ อื่ ความหมายต่อเด็ก

25

7.1.6 จัดประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มปี ฏิสัมพนั ธ์กับสื่อและแหลง่ เรียนรู้ทหี่ ลากหลายและอยู่ในวิถี
ชีวิตของเดก็

๗.๒ สาระ/ประสบการณ์สำคัญของการพัฒนาภาษาที่สอดคล้องกับการทำงานของสมองเด็กระดับ
ปฐมวยั ดงั น้ี

7.2.1 การจัดกิจกรรมอ่าน เขียน เด็กควรได้รับการกระตุ้นทัง้ ทางหู ตา จมูก และสัมผัสอ่ืน
ให้สอดคลอ้ งกบั วงจรของสมอง

7.2.2 พัฒนาใหเ้ ดก็ ม่นั ใจท่จี ะแสดงความคิดเห็นและความรูส้ กึ
7.2.3 จัดกจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมภาษาแกเ่ ดก็ ต้ังแต่เยาวว์ ัย ด้วยวิธกี ารให้เดก็ ไดเ้ ขา้ สกู่ ระบวนการ
เรยี นรผู้ า่ นการฟัง การอ่านให้ฟัง และใหอ้ า่ นเรอื่ งทส่ี นใจจะช่วยใหเ้ ดก็ ประสบผลสำเร็จสูง
แนวทางการปฏบิ ัติ
๑. การจดั กิจกรรมการฟงั นิทาน บทกลอน เร่อื งราวสัน้ ๆ การอา่ นหนงั สอื ให้ฟัง ฯลฯ
๒. จัดกิจกรรมใหเ้ ด็กได้พดู เก่ยี วกบั เร่อื งราวหรอื ประสบการณ์ของตนเอง และการพูดแสดงความรสู้ กึ
๓. การใชค้ ำถามปลายเปิดให้เด็กมีโอกาสอธบิ าย
๔. การจดั มุมหนงั สือ
๕. จดั กิจกรรมเสริมประสบการณ์/โครงการ
๖. การเล่นบทบาทสมมติ
๗. จัดมุมประสบการณ์ใหเ้ ด็กไดร้ เิ ร่ิม คิด วางแผน ตัดสินใจลงมือกระทำและนำเสนอความคิดโดยครู
เปน็ ผู้สนบั สนุนอำนวยความสะดวกและเรยี นรรู้ ่วมกับเดก็
๘. จดั กิจกรรมวาดภาพและเขียนภาพในลักษณะตา่ ง ๆ ท่มี คี วามหมายตอ่ เด็ก
๙. จัดการศึกษานอกสถานที่
๑๐. ใหเ้ ด็กทำกจิ กรรมที่เชือ่ มโยงการฟัง การพดู การอ่าน การเขียน
๑๑. การใชเ้ พลงบรรเลงชว่ ยส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรู้
๑๒. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมประสบการณ์การอ่านหลายลักษณะ เช่น อา่ นใหฟ้ ัง อา่ นดว้ ยกัน (ครูกับเด็ก)
อ่านเปน็ กลุม่ อา่ นเป็นคู่ อ่านเดยี่ ว
๘ กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อ่ืน
มีความเชื่อมั่น กล้าแสดงออก มีวินัยในตนเอง รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ประหยัด เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน
มีมารยาทและปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาทีน่ บั ถือ เดก็ เรยี นรอู้ ารมณ์ของตนเองผ่านเหตุการณ์ใน
ชีวิต ในบ้าน ในโรงเรียน และสถานการณ์ต่าง ๆ เด็กเรียนรูอ้ ยู่บ้างแลว้ วา่ ตนเองได้รับการยอมรับจากเพื่อนฝงู
ญาตมิ ิตรเพยี งใด ซ่งึ เปน็ รากฐาน ในการยอมรบั การพัฒนาของเด็ก
การก่อตัวของอารมณ์ คือ ส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ เด็กยังต้องการความรักความอบอุ่น การโอบกอด
การสัมผัส เล่นบทบาทสมมติ อารมณ์เป็นปฏิกิริยาที่สัมพันธ์กับโลกภายนอก การช่วยขัดเกลาและพัฒนา
ทางด้านอารมณ์-จิตใจ นอกจากจะอาศัยการมีเหตุผลแล้ว ต้องอาศัยแรงบันดาลใจ เช่น ความประทับใจ
ความเหน็ ใจ ความเสยี ใจ ความกังวล เปน็ ตน้

26

การให้เด็กฟังนทิ าน เรื่องเล่า เรื่องจริง เรื่องที่น่าสะเทือนใจ เป็นการจำลองวิถีชวี ติ และการตัดสินใจ
ของคนเราในแบบต่าง ๆ และผลของการตดั สินใจน้นั ทำให้เดก็ เข้าใจและยึดถือเปน็ แบบอย่างในการปฏิบัติตน
จึงควรจัดกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเล่นให้เด็กได้มีโอกาสตัดสินใจเลือกได้รับการตอบสนองตามความต้องการ
ได้ฝึกปฏิบัติโดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ตลอดเวลาที่โอกาสเอื้ออำนวย (สำนักวิชาการและมาตรฐาน
การศกึ ษา.๒๕๖๐ : ๑๕) และสอดคลอ้ งกับพัฒนาการทางสมองทางดา้ นอารมณ์-จิตใจ และสงั คม ดงั ต่อไปน้ี

๘.๑ สาระ/ประสบการณ์สำคัญของการส่งเสริมพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่สอดคล้องกับหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ คือ การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนาท่ตี นนบั ถือ

๘.๒ สาระ/ประสบการณ์สำคญั ของการพฒั นาดา้ นอารมณ์-จิตใจ และสงั คมทสี่ อดคลอ้ งกับการทำงาน
ของสมองเด็ก ระดับปฐมวัย ดงั นี้

8.2.1 การจัดประสบการณ์หรอื กิจกรรมให้เดก็ มคี ุณธรรม จริยธรรม
1) ความมวี ินัย
2) ความประหยดั และความพอเพยี ง
3) การมมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย
4) การปฏิบตั ติ นในการเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี องสังคม

8.2.2 การพัฒนาอารมณ์-จิตใจไม่ได้ผ่านเหตุผลอย่างเดียว แต่ต้องอาศัยแรงบันดาลใจ
ความประทบั ใจ ความเห็นใจ ความเสยี ใจ ความสะเทือนใจ

8.2.3 เด็กจะมีพัฒนาการการรับรู้คุณค่าของตนเอง ซึ่งจะช่วยในเรื่องปฏิกิริยาทางอารมณ์
จะนำไปสกู่ ารเรียนรตู้ ลอดชวี ิต

แนวทางการปฏบิ ัติ
๑. การจัดกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม เช่น การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ ได้แก่
การไปทำบุญทีว่ ัด ไปโบสถ์ ฯลฯ
๒. การจัดกิจกรรมฟังหรือเลา่ นทิ านเชงิ คณุ ธรรม
๓. การจัดกิจกรรมเชิงคุณธรรม เช่น เล่นบทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง สถานการณ์จริง
ซงึ่ เป็นบทบาทในครอบครวั และบทบาทในสถานการณอ์ ่นื ๆ ฯลฯ
๔. กิจกรรมตอบสนองการรู้ถูก รู้ผิด เช่น การชมเชย การรู้ผิด โดยการหยุดยั้งในสิ่งที่ผิดและบอกให้
ทำในสิง่ ท่ถี กู ฯลฯ
สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรยี น
จะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยความสะอาดเป้าหมายการพัฒนาเด็กความเป็นระเบียบความเป็น
ตัวของเด็กเอง ให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่นมั่นใจและมีความสุข ซึ่งมีการจัดแบ่งพื้นที่ให้เหมาะสมกับการ
ประกอบกจิ กรรมตามหลกั สูตรดงั นี้

๑. พ้ืนที่อำนวยความสะดวกเพ่ือเดก็ และครผู ู้สอน
- ทแ่ี สดงผลงานของเด็กจัดเปน็ แผน่ ป้ายหรอื ทีแ่ ขวนผลงาน
- ทเ่ี ก็บแฟม้ ผลงานของเดก็ จัดทำเปน็ กล่องหรอื จัดใสแ่ ฟม้ รายบุคคล
- ที่เกบ็ เครือ่ งใชส้ ่วนตวั ของเด็กทำเป็นชอ่ งตามจำนวนของเด็ก
- ทเ่ี ก็บเคร่อื งใช้ของครูผูส้ อน เช่น อุปกรณก์ ารสอนจดั เป็นชั้นหรือเป็นกล่อง
- ป้ายนิเทศตามหนว่ ยการสอน ข่าวสาร และสงิ่ ทเี่ ด็กสนใจ

27

๒. พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคลื่อนไหว พื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมและการเคลื่อนไหวต้องเหมาะสม
กับจำนวนเด็กและต้องกำหนดอย่างชัดเจนเพื่อที่เด็กจะสามารถทำงานได้ด้วยตนเองและทำกิจกรรมด้วยกัน
ในกลุ่มเล็กหรือกลมุ่ ใหญ่ เดก็ สามารถเคล่อื นไหวไดอ้ ย่างอสิ ระจากกจิ กรรมหน่ึงไปยงั กิจกรรมหน่งึ

๓. พื้นที่จัดมุมเล่นหรือมุมประสบการณ์ พื้นที่จัดมุมประสบการณ์จัดตามความเหมาะสมซึ่งขึ้นอยู่
กับสภาพของห้องเรียน จัดแยกส่วนที่ใช้เสียงดังและเสียงเงียบออกจากกัน เช่น มุมบล็อกอยู่ห่างจากมุม
หนังสือ มุมบทบาทสมมติอยู่ติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้กับมุมศิลปะ เป็นต้น ที่สำคัญจะต้องมี
ของเล่นวัสดุอุปกรณ์ในมุมอย่างเพียงพอ ต่อการเรียนรู้ของเด็กการเล่นอย่างเสรีประมาณวันละ ๔๐ – ๖๐
นาที การจัดมมุ เลน่ ตา่ ง ๆ ควรคำนึงถงึ สง่ิ ตอ่ ไปนี้

๓.๑ ในหอ้ งเรยี นจะตอ้ งมมี ุมเล่นอย่างนอ้ ย 3 – 5 มมุ ทั้งน้ี ข้นึ อยกู่ บั พนื้ ท่ขี องหอ้ งเรียน
๓.๒ ตอ้ งมีการผลัดเปลย่ี นส่ือของเลน่ ตามมุมตามความสนใจของเด็ก
๓.๓ ตอ้ งจัดให้มปี ระสบการณ์ท่ีเด็กได้เรียนรู้ไปแล้ว ปรากฏอยู่ในมมุ เลน่ เช่น เดก็ เรียนรู้
เรือ่ งผีเส้อื ครผู ้สู อนตอ้ งจัดให้มมี ุมธรรมชาติหรือมมุ วทิ ยาศาสตร์ เป็นตน้
๓.๔ ต้องเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการจัดมุมเล่นบ้าง ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เด็กรู้สึก
การเป็นเจ้าของอยากเรยี นรู้ อยากเข้าเลน่
๓.๕ ต้องเสริมสร้างระเบียบวินัยให้กับเด็ก โดยมีการสร้างข้อตกลงร่วมกันว่าเมื่อเล่น
เสร็จแล้วจะตอ้ งชว่ ยกนั จดั เก็บอปุ กรณ์ทุกอย่างเขา้ ท่ีให้เรียบร้อย มมุ เลน่ หรอื มุมประสบการณ์ทจ่ี ดั
การเลือกส่ือมวี ธิ กี ารเลอื กส่ือดงั น้ี

๑. เลอื กใหต้ รงกบั จดุ หมายและเร่ืองทสี่ อน
๒. เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเดก็
๓. เลอื กให้เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ ทเ่ี ด็กอยู่หรือสถานภาพของสถานศกึ ษา
๔. มีวิธีการท่ีใชง้ า่ ยและนำไปใช้ไดห้ ลายกิจกรรม
๕. มคี วามถูกตอ้ งตามเนอ้ื หาและทนั สมยั
๖. มีคณุ ภาพดีเชน่ ภาพชดั เจนขนาดเหมาะสมไมใ่ ช้สสี ะทอ้ นแสง
การจดั หาสอื่ สามารถหาได้หลายวิธีคือ

๑. จดั หาโดยการยืมจากแหลง่ ต่าง ๆ เชน่ ศนู ย์สือ่ ของโรงเรยี นรัฐบาลหรือโรงเรยี นเอกชน
๒. จัดซื้อสื่อและเครื่องเล่นโดยวางแผนการจัดซื้อตามลำดับความจำเป็น เพื่อให้สอดคล้องกับ
งบประมาณที่ทางโรงเรยี นสามารถจัดสรรใหแ้ ละสอดคล้องกบั แผนการจัดประสบการณ์
๓. ผลิตสื่อและเครื่องเล่นขึ้นใช้เอง โดยใช้วัสดุที่ปลอดภัยและหาง่ายเป็นเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีใน
ท้องถิ่นนั้นเช่นกระดาษแข็งจากลังกระดาษรูปภาพจากแผ่นป้ายโฆษณารูปภาพจากหนังสือนิตยสารต่าง ๆ
เป็นต้น
ขัน้ ตอนการดำเนินการผลิตส่ือสำหรับเด็กมีดังน้ี

๑. สำรวจความต้องการของการใช้สื่อให้ตรงกับจุดประสงค์สาระการเรียนรู้และกิจกรรมที่จัด
ขนึ้ กบั เดก็

๒. วางแผนการผลิตโดยกำหนดจุดมุ่งหมายและรูปแบบของสื่อให้เหมาะสมกับวัยและ
ความสามารถของเดก็ สื่อนน้ั จะต้องมีความคงทนแข็งแรงประณตี และสะดวกต่อการใช้ และผลิตส่อื ตามรปู แบบ
ทีเ่ ตรยี มไว้

3. นำสอื่ ไปทดลองใช้หลาย ๆ ครัง้ เพือ่ หาขอ้ ดีขอ้ เสยี จะได้ปรับปรงุ แก้ไขให้ดียิ่งขึ้น และนำส่ือท่ี
ปรบั ปรงุ แก้ไขแล้วไปใชจ้ ริง

28

ข้อควรระวงั ในการใช้สื่อการเรยี นการสอน การใชส้ ่อื ในระดบั ปฐมวัยควรระวงั ในเรือ่ งต่อไปน้ี
๑. วสั ดทุ ใี่ ช้ต้องไม่มพี ิษไม่หกั และแตกง่ายมีพ้ืนผิวเรียบไม่เป็นเสี้ยน
๒. ขนาดไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไปเพราะยากต่อการหยิบยกอาจจะตกลงมาเสียหายแตกเป็น

อันตรายต่อเด็กหรือใช้ไม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โต๊ะเก้าอี้ใหญ่และสูงเกินไป และไม่ควรมีขนาดเล็ก
เกินไป เด็กอาจจะนำมาอมหรอื กลืน ทำให้ติดคอหรอื ไหลลงท้องได้ เช่น ลูกปัดเล็ก ลูกแก้วเลก็

๓. รปู ทรงไมเ่ ปน็ รูปทรงแหลมหรอื รปู ทรงเหลย่ี มเปน็ สัน
๔. น้ำหนักไม่ควรมีน้ำหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยิบไม่ไหวอาจจะตกลงมาเป็นอันตรายต่อตัว
เด็ก
๕. ส่อื ที่เปน็ อนั ตรายตอ่ ตัวเดก็ เชน่ สารเคมีวตั ถุไวไฟ เปน็ ตน้
๖. สีที่เปน็ อนั ตรายตอ่ สายตา เชน่ สีสะท้อนแสง เป็นตน้
การเก็บรักษา และซอ่ มแซมสือ่

การจัดเก็บสื่อเป็นการส่งเสริมให้เด็กฝึกการสังเกตการเปรียบเทียบ การจัดกลุ่มส่งเสริม

ความรบั ผดิ ชอบ ความมนี ้ำใจ ช่วยเหลือครูผู้สอน ไม่ควรใชก้ ารเกบ็ สอ่ื เป็นการลงโทษเด็กโดยดำเนนิ การดงั น้ี

๑. เก็บสื่อให้เป็นระเบียบและเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะประเภทของสื่อ สื่อที่เหมือนกันจัดเก็บ
หรือจดั วางไวด้ ว้ ยกัน

๒. วางสอื่ ในระดบั สายตาของเด็ก เพ่อื ใหเ้ ด็กหยบิ ใชจ้ ัดเกบ็ ไดด้ ้วยตนเอง
๓. ภาชนะที่จัดเก็บควรโปร่งใส เพื่อให้เด็กมองเห็นสิ่งที่อยู่ภายในได้ง่ายและควรต้องมีมือจับ
เพ่ือใหส้ ะดวกในการขนย้าย
๔. ฝึกให้เด็กรู้ความหมายของรูปภาพหรือสีที่เป็นสัญลักษณ์แทนหมวดหมู่ประเภทส่ือ
เพอื่ เดก็ จะได้เกบ็ เข้าท่ีได้ถูกต้อง การใช้สัญลักษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนรู้ของเด็ก สัญลักษณ์ควรใช้ส่ือ
ของจริงภาพถ่ายหรือสำเนาภาพวาดภาพโครงร่างหรือภาพประจุด หรือบัตรคำติดคกู่ บั สัญลกั ษณ์อย่างใดอย่าง
หน่ึง
๕. ตรวจสอบสื่อหลังจากท่ีใชแ้ ลว้ ทกุ ครั้งว่ามีสภาพสมบูรณ์จำนวนครบถ้วนหรือไม่
๖. ซ่อมแซมส่ือชำรุดและทำเติมส่วนทีห่ ายไปให้ครบชุด
การพัฒนาส่อื
การพัฒนาสื่อเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมในระดับปฐมวัยนั้นก่อนอื่นควรได้สำรวจข้อมูลสภาพ

ปัญหาตา่ ง ๆ ของส่อื ทุกประเภททีใ่ ช้อยวู่ า่ มีอะไรบ้างทจี่ ะต้องปรบั ปรุงแก้ไข เพอ่ื จะไดป้ รบั เปล่ียนให้เหมาะสม

กับความต้องการแนวทางการพฒั นาส่ือควรมลี ักษณะเฉพาะ ดงั นี้

๑. ปรับปรุงสอื่ ใหท้ ันสมัยเข้ากับเหตุการณ์ ใช้ไดส้ ะดวกไมซ่ ับซอ้ นเกินไป เหมาะสมกับวยั ของเดก็
๒. รกั ษาความสะอาดของส่ือ ถา้ เป็นวัสดทุ ่ีล้างน้ำได้เม่ือใช้แล้วควรไดล้ ้างเช็ดหรือปัดฝุ่นให้สะอาด
เก็บไว้เปน็ หมวดหมู่ และวางเป็นระเบียบ หยบิ ใชง้ ่าย

29

กำหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณร์ ะดับปฐมวัย โรงเรยี นกรณุ าศึกษา

ชั้นอนุบาลปีที่ 1–๓ ปีการศึกษา ๒๕๖2

สาระการเรียนรู้ จำนวน/สัปดาห์

๑. เรื่องราวเกีย่ วกบั ตัวเดก็ 8

โครงงาน 1

๒. บคุ คลและสถานที่แวดล้อมเด็ก 9

โครงงาน 1

๓. ธรรมชาตริ อบตัว 8

โครงงาน 1

๔. สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก 9

โครงงาน 1

ประเมินพฒั นาการ 2

รวม ๔๐

30

ตารางแสดงกำหนดการจัดประสบการณ์โรงเรียนกรุณาศึกษาช้นั อนุบาลปีท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 2563

สัปดาห์ที่ ช่อื หน่วย วันทีท่ ำการสอน สาระการเรียนรู้

1 สนกุ สุขใจฉันไปโรงเรยี น 1 - 3 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตวั เดก็

2 นี่แหละตัวฉนั 6 - 10 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตัวเดก็

3 อารมณ์ของฉนั 13 - 17 ก.ค. 63 เรื่องราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก

4 ร่างกายของฉัน 20 - 24 ก.ค. 63 เรื่องราวเกย่ี วกับตวั เด็ก

5 อวยั วะรบั สมั ผสั 27 - 31 ก.ค. 63 เรื่องราวเกีย่ วกับตัวเดก็

6 เดก็ น้อยสุขภาพดี 3 – 7 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเดก็

7 เด็กดมี มี ารยาท 10 - 14 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเก่ยี วกับตัวเดก็

8 โครงงานขา้ ว 17 - 21 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตัวเด็ก

9 โครงงานข้าว 24 – 28 ส.ค. 63 เรือ่ งราวเกี่ยวกับตวั เด็ก

10 ครอบครวั ของฉนั 31 ส.ค. - 4 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานท่แี วดล้อมเดก็

11 บา้ นแสนรกั 7 - 11 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็

12 โรงเรียนของฉนั 14 – 18 ก.ย. 63 บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ มเด็ก

13 ชมุ ชนของฉนั 21 - 25 ก.ย. 63 บุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

14 จงั หวดั ของเรา 28 ก.ย. – 2 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเด็ก

15 เรารกั ประเทศไทย 5 – 9 ต.ค. 63 บุคคลและสถานทแี่ วดลอ้ มเด็ก

16 ประเทศเพอ่ื นบา้ น 1 12 - 16 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็

17 ประเทศเพ่อื นบา้ น 2 19 - 23 ต.ค. 63 บุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

18 ประเทศเพ่ือนบา้ น 3 26 – 30 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแี่ วดล้อมเด็ก

19 โครงงานบา้ นแสนสขุ 1 2 – 6 พ.ย. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเด็ก

20 โครงงานบา้ นแสนสขุ 2 9 – 13 พ.ย. 63 บุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็

21 สัตว์นา่ รัก 1 – 4 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

22 ต้นไม้ 7 – 11 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

23 ส่ิงแวดลอ้ มตามธรรมชาติ 14 – 18 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

24 กลางวัน กลางคนื 21 - 25 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

25 ร้อน ฝน หนาว 28 - 30 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

26 เด็กนอ้ ยผ้พู ทิ กั ษ์ 4 - 8 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

27 อวกาศ 11 - 15 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตัว

28 โครงงานชา้ ง 18 - 22 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

29 โครงงานชา้ ง 25 – 29 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

30 สสี นั อันสดใส - วันพอ่ แห่งชาติ 1 - 5 ก.พ. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตวั เดก็

31 รปู ทรงและผิวสมั ผสั 8 - 12 ก.พ. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็

32 สิ่งของเครอ่ื งใช้ 15 - 19 ก.พ. 64 สิง่ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

33 เคร่อื งทุ่นแรง 1 22 - 25 ก.พ. 64 สง่ิ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

34 คมนาคม 1 - 5 มี.ค. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตวั เด็ก

35 การตดิ ต่อสอ่ื สาร 8 - 12 มี.ค. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

36 เทคโนโลยี 1 15 - 19 ม.ี ค. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

37 เทคโนโลยี 2 22 - 26 ม.ี ค. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเดก็

38 เทคโนโลยี 3 29 ม.ี ค. – 2 เม.ย. 64 สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

39 โครงงานรถยนต์ 5 – 9 เม.ย. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

40 โครงงานรถยนต์ 12 – 16 เม.ย. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเดก็

31

ตารางแสดงกำหนดการจัดประสบการณ์โรงเรียนกรุณาศกึ ษาช้นั อนบุ าลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2563

สปั ดาห์ที่ ชือ่ หน่วย วันที่ทำการสอน หมายเหตุ

1 เมอื่ ฉนั ไปโรงเรยี น 1 - 3 ก.ค. 63 เร่ืองราวเกี่ยวกับตวั เด็ก

2 เมอื่ ฉันโตขนึ้ 6 - 10 ก.ค. 63 เรื่องราวเก่ียวกบั ตัวเดก็

3 อารมณ์ของฉัน 13 - 17 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเก่ียวกบั ตัวเดก็

4 อวัยวะของฉัน 20 - 24 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเดก็

5 ประสาทสัมผัสท้งั ๕ 27 - 31 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก

6 สขุ ภาพดมี ีสขุ 3 – 7 ส.ค. 63 เรอื่ งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก

7 เด็กน้อยมารยาทงาม 10 - 14 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก

8 โครงงานกระดูกดกุ๊ ด๊กิ 17 - 21 ส.ค. 63 เรื่องราวเกย่ี วกับตวั เด็ก

9 โครงงานกระดูกด๊กุ ดิก๊ 24 – 28 ส.ค. 63 เรื่องราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก

10 ครอบครัวแสนรกั 31 ส.ค. - 4 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานท่ีแวดลอ้ มเดก็

11 บา้ นของฉนั 7 - 11 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็

12 โรงเรียนของเราน่าอยู่ 14 – 18 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก

13 เรารักชมุ ชน 21 -25 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเด็ก

14 จงั หวดั ของเรา 28 ก.ย. – 2 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็

15 ฉันรกั ประเทศไทย 1 5 – 9 ต.ค. 63 บุคคลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็

16 ฉันรักประเทศไทย 2 12 - 16 ต.ค. 63 บุคคลและสถานท่แี วดลอ้ มเด็ก

17 มติ รประเทศของไทย 1 19 - 23 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานที่แวดล้อมเดก็

18 มติ รประเทศของไทย 2 26 – 30 ต.ค. 63 บุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็

19 โครงงานตลาด 2 – 6 พ.ย. 63 บุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

20 โครงงานตลาด 9 – 13 พ.ย. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

21 ชวี ติ สตั ว์นา่ รู้ 1 – 4 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

22 พชื 7 – 11 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

23 ธรรมชาติแสนสวย 14 – 18 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

24 วันและคืน 21 - 25 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

25 ฤดูกาล 28 - 30 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตวั

26 เมอื่ ฉนั รกั โลก 4 - 8 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

27 อวกาศ 11 - 15 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

28 โครงงานขา้ วโพด 18 - 22 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตัว

29 โครงงานขา้ วโพด 25 – 29 ม.ค. 64 สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก

30 สีผสมแสนสวย 1 - 5 ก.พ. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

31 รูปทรง รปู ร่าง ผวิ สมั ผสั 8 - 12 ก.พ. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

32 เครอื่ งมือ เครือ่ งใช้ 15 - 19 ก.พ. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตวั เดก็

33 เครอ่ื งท่นุ แรง ๒ 22 - 25 ก.พ. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็

34 คมนาคม 1 - 5 ม.ี ค. 64 สง่ิ ต่าง ๆ รอบตัวเดก็

35 การติดตอ่ สือ่ สาร 1 8 - 12 ม.ี ค. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

36 การติดตอ่ ส่ือสาร 2 15 - 19 มี.ค. 64 สิง่ ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก

37 เทคโนโลยี 1 22 - 26 ม.ี ค. 64 สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

38 เทคโนโลยี 2 29 ม.ี ค. – 2 เม.ย. 64 ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

39 โครงงานรองเท้า 1 5 – 9 เม.ย. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็

40 โครงงานรองเทา้ 2 12 – 16 เม.ย. 64 ส่งิ ต่าง ๆ รอบตวั เดก็

32

ตารางแสดงกำหนดการจดั ประสบการณโ์ รงเรยี นกรุณาศึกษาชั้นอนุบาลปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563

สปั ดาหท์ ี่ ชื่อหนว่ ย วนั ทท่ี ำการสอน หมายเหตุ

1 เรามาโรงเรยี น 1 - 3 ก.ค. 63 เรื่องราวเกี่ยวกบั ตวั เดก็

2 เมือ่ ฉนั เติบโต 6 - 10 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเกย่ี วกับตัวเดก็

3 อารมณ์ของฉนั 13 - 17 ก.ค. 63 เรอ่ื งราวเก่ยี วกับตวั เดก็

4 อวัยวะภายในของฉัน 20 - 24 ก.ค. 63 เรื่องราวเกี่ยวกบั ตวั เด็ก

5 อวยั วะรบั สมั ผสั 27 - 31 ก.ค. 63 เรือ่ งราวเกีย่ วกับตัวเด็ก

6 อนามัยดมี สี ขุ 3 – 7 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเก่ียวกับตวั เด็ก

7 ฉันมีมารยาทดี 10 - 14 ส.ค. 63 เรื่องราวเกย่ี วกับตวั เด็ก

8 โครงงาน ฟ ฟัน 17 - 21 ส.ค. 63 เรอื่ งราวเก่ียวกบั ตัวเด็ก

9 โครงงาน ฟ ฟนั 24 – 28 ส.ค. 63 เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก

10 ครอบครวั ของเรา 31 ส.ค. - 4 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเดก็

11 บา้ นของเรา 7 - 11 ก.ย. 63 บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ มเดก็

12 โรงเรียนของเรา 14 – 18 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานทีแ่ วดล้อมเดก็

13 ชมุ ชนของเรา 21 -25 ก.ย. 63 บคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

14 จังหวัดของฉนั 28 ก.ย. – 2 ต.ค. 63 บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก

15 ฉนั รกั ประเทศไทย 1 5 – 9 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแ่ี วดล้อมเด็ก

16 ฉันรกั ประเทศไทย 2 12 - 16 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานทแี่ วดลอ้ มเดก็

17 นานาประเทศ 1 19 - 23 ต.ค. 63 บคุ คลและสถานที่แวดล้อมเดก็

18 นานาประเทศ 2 26 – 30 ต.ค. 63 บุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

19 โครงงานอาเซยี น 1 2 – 6 พ.ย. 63 บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก

20 โครงงานอาเซยี น 2 9 – 13 พ.ย. 63 บคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก

21 ชีวติ สตั ว์โลก 1 – 4 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

22 พืชนา่ รู้ 7 – 11 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

23 ส่งิ แวดล้อมตามธรรมชาติ 14 – 18 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

24 คนื วันท่ีเปลีย่ นแปลง 21 - 25 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

25 ฤดูกาลน่ารู้ 28 - 30 ธ.ค. 63 ธรรมชาตริ อบตัว

26 รกั โลกกนั เถอะ 4 - 8 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

27 อวกาศ 11 - 15 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

28 โครงงานกลว้ ย 18 - 22 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตวั

29 โครงงานกลว้ ย 25 – 29 ม.ค. 64 ธรรมชาตริ อบตัว

30 สีกับสญั ลกั ษณ์ 1 - 5 ก.พ. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็

31 รูปร่างรปู ทรง 8 - 12 ก.พ. 64 ส่ิงต่าง ๆ รอบตัวเดก็

32 เครื่องมือ เคร่อื งใช้ 15 - 19 ก.พ. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

33 เครอื่ งทุน่ แรง ๓ 22 - 25 ก.พ. 64 สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก

34 การเดินทางแสนสนุก 1 - 5 มี.ค. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก

35 การตดิ ต่อสอื่ สาร 1 8 - 12 มี.ค. 64 ส่งิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก

36 การตดิ ตอ่ ส่ือสาร 2 15 - 19 มี.ค. 64 ส่งิ ต่าง ๆ รอบตัวเดก็

37 เทคโนโลยี 1 22 - 26 ม.ี ค. 64 สิ่งตา่ ง ๆ รอบตัวเด็ก

38 เทคโนโลยี 2 29 ม.ี ค. – 2 เม.ย. 64 สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตวั เด็ก

39 โครงงานจกั รยาน 5 – 9 เม.ย. 64 สิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเดก็

40 โครงงานจักรยาน 12 – 16 เม.ย. 64 สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตวั เดก็

หมายเหตุ กำหนดการนสี้ ามารถปรับเปลย่ี นไดต้ ามสถานการณแ์ ละความเหมาะสม

33

จากการจดั กจิ กรรมประจำวันเดก็ ไดร้ บั การพฒั นาดังนี้

พัฒนาการด้านร่างกาย
ฝึกให้นักเรียนมีพัฒนาการแสดงสมรรถภาพเหมาะสมตามวัย พัฒนาให้นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูง

เป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข มีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อใหญ่
ได้อย่างคล่องแคล่ว สัมพันธ์กันและเหมาะสมตามวัยควบคุมและบังคับการทรงตัวได้ดี มีทักษะในการใช้
ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ มีสุขภาพโดยรวมที่แข็งแรง อยู่ในสภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย มีสุขนิสัยที่ดี
รับประทานอาหารทีเ่ ป็นประโยชน์ครบทั้ง ๕ หมู่ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอและเป็นเวลารักษาสุขภาพของ
ตนเอง การลา้ งมือ ลา้ งหนา้ อาบนำ้ แปรงฟัน การใชห้ อ้ งนำ้ ห้องสว้ ม อยา่ งถกู สุขลักษณะ รกั ษาความสะอาด
ของร่างกาย และดูความปลอดภัยของตนเองได้
พัฒนาการด้านอารมณ์ – จติ ใจ

ฝึกให้นักเรียนเป็นผู้มีอุปนิสัย บุคลิกภาพและสุนทรียภาพ โดยแสดงออกถึงความร่าเริง ยิ้มแย้ม
แจ่มใส มีความสุข มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รักการออกกำลังกาย รักดนตรี และชื่นชมศิลปะ
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมีความมั่นใจตนเอง และกล้าแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมตามวัย เช่น โกรธ
หรือเสียใจก็รอ้ งไห้ ดีใจก็ยิ้มหวั เราะ สามารถแสดงออกทางอารมณไ์ ด้สอดคล้องกับสถานการณ์ มีความอดทน
และร้จู ักรอคอย มคี วามสนใจและใฝ่รู้ รกั การอ่าน
พฒั นาการด้านสังคม

ฝึกให้นักเรียนสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ เช่น การแต่งตัว ใส่รองเท้า
รับประทานอาหารและรู้จกั เก็บจานเองได้ อบรมให้มีสงั คมที่ดสี ามารถเล่นและทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ร่วมกับผู้อ่ืน
ได้อยา่ งมีความสุข มีระเบียบวนิ ัย รู้จักรบั ผิดชอบต่องานและหน้าที่ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย รู้จักเปน็ ผู้นำและผู้ตามที่
ดี สามารถปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของกลุ่มและชั้นเรียน สอนให้รู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ปฏิบัติ
ตนตามข้อตกลงร่วมกันได้เรียนรู้จักการประหยัด รู้จักใช้ และรักษาทรัพยากรต่าง ๆ ให้คุ้มค่าและรักษา
สิ่งแวดล้อม รู้จักทิ้งขยะให้ถูกที่ รู้จักการช่วยเหลือและแบ่งปันผู้อื่นตามโอกาส มีมารยาทอ่อนน้อมถ่อมตน
สามารถปฏิบัตติ นตามศลิ ปวัฒนธรรมไทยได้เหมาะสมกบั วัย
พัฒนาการด้านสติปัญญา

ฝึกให้เด็กมีความสามารถในการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย บอกความต้องการของตนเองได้
ตั้งคำถามโดยใช้คำว่าอะไร สนทนาหรือเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ฝึกการสังเกตและเปรียบเทียบ เช่น รู้จัก
จำแนกและจัดหมวดหมู่สิ่งของ ได้รู้จักค่าและจำนวน รู้จักน้ำหนักและรูปร่างรูปทรงต่าง ๆ ได้ถูกต้อง
บอกเวลากลางวัน – กลางคืนได้ รู้จักการคาดคะเน สามารถคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจได้เหมาะสมกับวัย
มีจินตนาการและเกิดความคิดสร้างสรรค์ สามารถเชื่อมโยงมติ ิด้านสัมพนั ธ์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง รักการเรยี นรู้

34

โครงการ/กิจกรรมเดน่

โรงเรียนไดม้ กี ารจัดกจิ กรรมและโครงการทส่ี ่งเสรมิ สนบั สนุนพฒั นาการของเด็ก ๆ ดงั น้ี
๑. โครงการ School Visit เป็นโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้าน โดยแยกกิจกรรม

เป็นฐาน ๖ กจิ กรรม ดงั นี้
• กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
• กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
• กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์/การเล่านิทานท่สี ง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
• กจิ กรรมเกมการศึกษา
• กิจกรรมกลางแจ้ง
• กจิ กรรมเสรี ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
โรงเรยี นจดั กจิ กรรม School Visit ใหก้ บั เด็กเทอมละ ๑ คร้งั ในวันศกุ รส์ ัปดาห์แรกของเดือนหรือ

ยืดหยุ่นไปรวมกับกิจกรรมอื่น ในบางเดือน ตามความเหมาะสม โดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมกล้าแสดงออก
ตามความถนัดและความสนใจอย่างม่นั ใจ

๒. โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมอนั พึงประสงค์ มีการจัดกิจกรรม ดงั นี้
• กิจกรรมประกวดมารยาทไทย ไหว้สวย พูดเพราะ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีมารยาทที่ดีงาม อนุรักษ์
วัฒนธรรมและความเป็นไทย มรี ะเบียบวินยั
• กิจกรรมการปลูกพชื และผัก ดำเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
• กิจกรรมฝึกสมาธิ ฝึกโยคะ เพ่อื ฝึกจติ ใจให้สบายผ่อนคลายกล้ามเน้ือและสมองพร้อมท่ีจะเรียนรู้ในส่ิง
ใหม่ ๆ
๓. โครงการพฒั นาแหลง่ เรยี นร้แู ละส่งเสริมรกั การอา่ น ซึ่งโรงเรยี นมีกจิ กรรม ดังนี้
• กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่ (Experience Out of School) ฝึกให้เด็กได้เรียนรู้จากการ
สงั เกต เปรยี บเทยี บ การปฏิบตั ติ น เป็นผนู้ ำ ผ้ตู ามท่ดี ี และยังเสรมิ สรา้ งพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ
สังคม และสติปัญญา ของนกั เรียนมพี ัฒนาการท่เี หมาะสมกบั วัยและรู้จกั สถานทสี่ ำคัญตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชน
• กิจกรรมท่องคำศัพท์ ส่งเสริมทักษะการอ่านที่ถูกต้อง และให้รู้จักภาษาไทยที่เป็นภาษาประจำชาติ
และส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษ ให้เด็กได้ฝึกทั้งทักษะการเขียน การอ่าน เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการด้าน
สติปญั ญา และเหมาะสมตามวยั
• กิจกรรมเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) โรงเรยี นกรุณาศึกษา ไดร้ บั คดั เลือกให้เป็นโรงเรียน
นำร่อง โครงการเสริมสร้างความฉลาดทางอารมณ์แก่เด็กและวัยรุ่น โดยจัดกิจกรรมเวทีคนเก่ง และกิจกรรม
ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เด็กเรยี นรู้ที่จะดำเนินชีวิต ปรับตัวเขา้ กับสิ่งแวดลอ้ มอย่างมีความสขุ โดยรู้จัก
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีการควบคุมตนเอง มีความรับผิดชอบ มีการตัดสินใจและแก้ปัญหาได้เหมาะสม พร้อมมี
ความภาคภมู ใิ จในตนเอง โดยยดึ หลักความสขุ สงบทางจติ ใจ

35

๔. โครงการการเรียนรู้แบบโครงงาน PROJECT APPROACH ซึ่งโรงเรียนมีกิจกรรมสนับสนุน
โครงการดังต่อไปน้ี โดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนผ่านการเรียนรู้ และลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ อย่างมีแบบแผน
ในรูปแบบโครงงานตลอดจนการเชิญวิทยากรจากชุมชนมาให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การทำขนมไทย
การทำอาหารจากสมุนไพร การประดษิ ฐ์ชนิ้ งานจากเศษวัสดตุ า่ ง ๆ

๕. โครงการ LEADER OF ASEAN หรือโครงการเปิดประตูสู่อาเซียน เพื่อการดำเนินการด้านการ
จัดการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องต่อการเป็นประชาคมอาเซียนและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้พื้นฐาน
สำหรับการดำเนนิ ชีวิตในสงั คม และนำความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

๖. โครงการบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย
เป็นการจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้สัมผัสกับกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในชีวิตประจำวันตลอดชีวิต ส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในระดับพื้นฐานที่มีประสิทธิภาพอย่างย่ิง
สามารถปลูกฝังนิสัยรักวิทยาศาสตร์ พัฒนาทักษะในด้านการคิดอย่างเป็นขั้นตอน สามารถคิดวิเคราะห์
คดิ แบบมีเหตุผล บรู ณาการให้เขา้ กับชีวิตประจำวันได้ เกิดความคิดรวบยอดกับผเู้ รียนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
๗. โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
ได้จัดกิจกรรมแอโรบิกเพื่อสุขภาพ มีการเต้นแอโรบิกทุกวันพุธ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมสี ุขภาพร่างกาย
แข็งแรง รักการออกกำลังกาย โรงเรียนได้รับเกียรติบัตรเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ระดับจังหวัด
๓ สมยั
๘. โครงการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (SUFFICIENCY ECONOMIC)
เป็นแนวทางการปฏิบตั ิตนให้ดำรงชีวิต โดยยึดหลกั ทางสายกลาง ให้รู้จักความพอประมาณ ความมี
เหตุผลและรู้จักสร้างภูมิคุ้มกัน โรงเรียนได้นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนทุก
ระดับช้ัน ไดแ้ ก่
๑. อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มภายในโรงเรียนตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒. รู้จกั การเก็บออม
๓. จำลองเกษตรทฤษฎีใหมเ่ พ่อื เนน้ แหลง่ เรียนรเู้ ดก็ ไดล้ งมือปฏิบัติจรงิ
๔. ดำเนนิ ชวี ิตโดยใช้คุณธรรมนำความรู้โดยเน้นการชว่ ยเหลอื ตนเองและรจู้ ักแบ่งปัน
๕. อนุรกั ษแ์ ละเผยแพรภ่ ูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ของชุมชน
๖. โครงงานการเรียนรตู้ ามภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ เช่น การทำไขเ่ ค็ม การทำการบรู หอมไลย่ ุง ฯลฯ
โรงเรียนได้เข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนได้ส่งบุคลากรเข้ารับการ
อบรม/ประชุม/ศึกษา ดูงาน พัฒนาการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนำกรอบแนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดการเรียนการสอนตลอดจนทรัพยากร สื่อการเรียนการสอนและ
สภาพแวดล้อมโดยยึดหลักการท่วี ่ามีเหตผุ ล พอประมาณ มภี ูมิคุ้มกนั ในตัวท่ีดี
• กิจกรรมสืบสานไทย กรุณาศึกษา ชีวิตรักษ์ไทย โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้

นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสืบสานไทย เช่น การเข้าร่วมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา การเข้าร่วม

กิจกรรมประเพณีไทยกับชุมชน งานวันเข้าพรรษา วันลอยกระทง และเสริมการเรียนด้วยการจัดแหล่งเรียนรู้

ที่เกี่ยวกับความเป็นไทย การละเล่นไทย ทุกวันศุกร์ให้เด็กได้สวมเครื่องแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ไทย คือ

สวมเครือ่ งแตง่ กายดว้ ยชดุ เสือ้ เหลืองดอกคูณ เปน็ ต้น

36

โรงเรยี นได้มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยแตล่ ะหน่วยการเรียนรเู้ ด็กไดท้ ำใบงาน เมอื่ เด็กทำ
ใบงานเสร็จแล้ว ครูจะมีการประเมินผลและจัดเข้าแฟ้มสะสมผลงาน เพื่อให้ผู้ปกครองและชุมชนได้รับทราบ
ตลอดจนมสี ว่ นร่วมในการประเมินผลงานของเด็ก เพ่ือครจู ะได้นำมาเป็นข้อมูลในการเรียนการสอนและพัฒนา
เด็กต่อไป เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับเอกลกั ษณ์และอัตลักษณข์ องโรงเรียน

การจัดการเรียนรู้ยึดหลักการของวอลดอร์ฟ และหลักพื้นฐานของ (BBL) จัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนเพ่อื ให้เด็กเปน็ คนดี คนเก่งและมคี วามสขุ โดยใช้เทคนิค 6 Q มาเป็นหลกั ในการพฒั นาเดก็ ทกุ คน

แนวคดิ แบบวอลดอร์ฟ

วอลดอร์ฟเชื่อว่าการเรียนการเขียนอ่าน ควรเริ่มเมื่อเด็กมีความพร้อมอย่างแท้จริง ดังนั้น ในช่วง
แรก ๆ ของวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิด ถึง ๖ ปี จึงเป็นการสอนที่เนน้ การพัฒนาเด็กตามวัย โดยเด็กเรียนรู้จากสือ่ ท่ี
เป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ เรียนรู้จากพฤติกรรมของผู้ใหญ่ เน้นความสัมพันธ์ที่อบอุ่น อ่อนโยน เพื่อพัฒนา
ความรู้สึกที่ดีงาม ความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมความมุ่งมัน่ ในการทำงานให้เสรจ็ แล้วพึงพอใจในผลงานของตน
โดยผา่ นการเลน่ การปฏบิ ตั ิตนในชีวติ ประจำวัน ซึ่งทางโรงเรยี นมีการจัดกจิ กรรม ดังน้ี

• กิจกรรมปลกู ผักสวนครวั เดก็ ได้เรยี นรูว้ ิธกี ารปลูก การดูแลรกั ษา การเกบ็ ผลผลติ และดำเนิน
ชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

• กจิ กรรมอนรุ ักษ์และพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มภายในโรงเรียน เด็กไดม้ ีส่วนรว่ มในการรกั ษาความสะอาด
และดูแลตน้ ไมภ้ ายในโรงเรยี น

37

หลักพ้นื ฐาน ๓ ข้อ การเรียนรโู้ ดยให้สมองเป็นฐาน (BBL)

๑. การทำให้เด็กเกิดการต่ืนตัวแบบผอ่ นคลาย สรา้ งบรรยากาศให้เดก็ ไม่รู้สึกเหมอื นถกู กดดัน แต่มี
ความท้าทาย ชวนให้ค้นหาคำตอบ

๒. การทำใหเ้ ด็กจดจอ่ ในสิง่ เดียวกัน การใช้สอ่ื หลายๆ แบบ
๓. ทำให้เกิดความรู้จากการกระทำด้วยตนเอง การให้เด็กได้ลงมือทดลอง ประดิษฐ์หรือเล่น
ประสบการณจ์ ริงท่ีเกย่ี วขอ้ ง

ความฉลาด ๖ ดา้ น (6 Quotient)

๑. IQ : Intelligence Quotient ความฉลาดทางสติปญั ญา
เป็นความสามารถในการคิด วิเคราะห์ การคำนวณ การใช้เหตุ การเชื่อมโยงปัจจัยที่มีผลต่อ IQ

ส่วนหนึ่ง เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมได้ คือ พันธุกรรม ส่วนที่สามารถควบคุมได้ คือ ภาวะโภชนาการ
สภาพแวดล้อมที่ดแี ละเหมาะสม จะเหน็ ว่าเราควบคุม IQ ไดเ้ พยี งส่วนหนึ่งเท่านั้น ต่างจาก Q อืน่ ๆ ซึง่ ควบคุม
ได้ง่ายกว่า เพราะเกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูโดยตรง ปัจจุบันนักวิจัยยืนยันว่า IQ มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
ความสำเร็จในชวี ติ เช่น การทำงาน การเรยี นแค่ ๒๐% เท่านน้ั

๒. EQ : Emotional Quotient ความฉลาดทางอารมณ์
เป็นความสามารถในการรับรู้ เข้าใจอารมณ์ตนเองและผู้อื่น สามารถควบคุมอารมณ์และยบั ยั้งช่งั ใจ

ตนเองและแสดงออกอย่างเหมาะสม รูจ้ ักเอาใจเขามาใส่ใจเรา ร้จู ักการรอคอย รจู้ กั กฎเกณฑร์ ะเบียบวินยั
มีจิตใจร่าเริงแจ่มใส มองโลกในแง่ดี สามารถปรับตัวเข้ากับสังคม สถานการณ์รอบข้างได้ดี มีความคิด
สร้างสรรค์ กระตือรือร้น มีแรงจูงใจ อยากประสบความสำเร็จ เห็นคุณค่าและเชื่อมั่นในตนเอง รายงาน
การศึกษาหลายชิ้นสรุปตรงกันว่า คนที่ประสบความสำเร็จในชีวิตและอาชีพการงาน ซึ่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก
ทว่ั ไปล้วนแตม่ ี EQ ดีท้งั สิ้น และสิง่ ท่ีน่าดใี จกค็ อื EQ สามารถปรับเปลีย่ นเรยี นร้แู ละพัฒนาข้ึนได้ ด้วยเหตุผลนี้
คนจึงหันมาให้ความสำคัญกับ EQ กันมาก ว่ากันจริง ๆ แล้ว EQ ค่อนข้างกว้างมาก น่าจะเป็นหัวข้อใหญ่
ที่ ควบคุม Q ต่าง ๆ ได้ทั้งหมด และโรงเรียนจะได้ประโยชน์มากที่สุด แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าจะลงรายละเอียด
ในประเด็นต่าง ๆ มากน้อยแค่ไหน เพราะมีคนจำนวนไม่น้อยที่พอพูดถึง EQ ก็มักจะมุ่งไปที่การเป็นเด็ก
อารมณ์ดีมากจนอาจมองข้ามรายละเอียดบางข้อที่มีประโยชน์กับเด็ก เช่น การปลูกฝังกฎเกณฑ์ระเบียบวินัย
เด็กจะสามารถควบคุมตัวเองได้ตอ่ เมื่อพ่อแม่ฝกึ ระเบียบวินัยให้ รู้จักควบคุมเด็กและพ่อแม่ไม่ตามใจในเรื่องท่ี
ไม่ถูกต้อง ซึ่งพบความสัมพันธ์ว่า เด็กที่พ่อแม่และครูสอนเรื่องระเบียบวินัยดี ๆ มักจะเป็นเด็กซึ่งมี EQ ดี
ตามมา

๓. CQ : Creativity Quotient ความฉลาดในการริเร่มิ สร้างสรรค์
มีความคิด จินตนาการหรือแนวความคิดใหม่ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเล่น งานศิลปะ

การประดิษฐ์สิ่งของ CQ จะสัมพันธ์กับเรื่องการเล่น ถ้าเด็กได้เล่นอย่างอิสระตามความชอบและเหมาะกับวัย
เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์ การปลูกฝังเรื่องนี้จึงอยู่ที่พ่อแม่และครู มีเวลา เล่นและทำกิจกรรมที่ส่งเสริม
จนิ ตนาการกับเด็ก เชน่ การเล่นศลิ ปะ การหยบิ จับของใกลต้ ัวมาเปน็ ของเลน่ การเล่านิทาน เปน็ ตน้

38

๔. MQ : Moral Quotient ความฉลาดทางศีลธรรม จรยิ ธรรม
มีความประพฤติดี รู้จักผิดชอบ มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจริยธรรม เป็นแนวคิดที่มุ่งตอบคำถาม

ว่าการที่เรามีคนที่ IQ ดี EQ สูง แต่ถ้ามีระดับคุณธรรมจริยธรรมต่ำก็อาจใช้ความฉลาดไปในทางที่ไม่ถูกต้อง
กเ็ ป็นได้ MQ จงึ เนน้ เร่อื งการปลูกฝังความดงี ามใหก้ ับเด็ก ซึง่ ตรงกบั หลกั ศาสนาหลายศาสนาทีส่ อนให้เด็กเป็น
คนดี เด็กที่มี MQ ดี มักเป็นเด็กเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เห็นอกเห็นใจผู้อื่นและเมื่อโตขึ้นจะเป็นคนที่เข้ากับคนอื่นได้
ง่าย การที่เด็กจะมี MQ เกิดขึ้นได้นั้นต้องเริ่มต้นจากการที่เด็กรู้จักถูกผิด สิ่งไหนควรทำไม่ควรทำ ซึ่งจะใช้
วิธีการบอกด้วยคำพดู อยา่ งเดียวไมไ่ ด้ ตอ้ งแสดงให้เด็กเห็นอยา่ งสม่ำเสมอ ควบคู่ไปกับการสอนของครูและพ่อ
แมด่ ว้ ยจึงจะได้ผล

๕. PQ : Play Quotient ความฉลาดที่เกิดจากการเล่น
เกิดจากความเชื่อทีว่ า่ การเล่นพัฒนาความสามารถของเด็กได้หลายด้าน ทั้งพัฒนาการด้านร่างกาย

ความเฉลียวฉลาด ความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์และสังคม PQ จึงเน้น ให้พ่อแม่และครูเล่นกับเด็ก ถึงกับมี
คำพูดที่ว่า พ่อแม่เป็นอุปกรณก์ ารเล่นที่ดีทีส่ ุดของลกู การที่พ่อแม่ให้ลูกขี่คอ เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นซ่อนหาและคณุ ครู
ช่วยเล่านิทาน สามารถสร้างเสริมพัฒนาลูกได้ดีกว่าของเล่นพัฒนาการแพง ๆ เพราะนอกจากพัฒนาการด้าน
ร่างกายและสติปัญญาที่เกิดข้ึนแล้ว เด็กยังได้รับความรู้สึกอบอุน่ มีความสุขไปพร้อมกับคำสอนหลักคิดต่าง ๆ
ท่ีสอดแทรกระหว่างทีเ่ ล่นด้วย

๖. AQ : Adversity Quotient ความฉลาดในการแกป้ ญั หา
มีความยืดหยนุ่ สามารถปรับตวั ในการเผชิญปัญหาได้ดี และพยายามหาหนทางแก้ไขปญั หา เอาชนะ

อุปสรรคความยากลำบากด้วยตัวเอง ไม่ย่อท้อง่าย ๆ จริง ๆ แล้วความฉลาดในด้านน้ี เริ่มก่อตัวขึ้นตั้งแต่เป็น
เด็ก เพราะเด็กจะเรียนรู้วิธีการมองและจัดการปัญหาจากบุคคลรอบข้าง ว่าปัญหานั้นเป็นปัญหาที่ต้องยอม
จำนน เปน็ โอกาสหรือเปน็ เร่อื งน่าท้าทาย แต่ก็อย่ทู พี่ ่อแมแ่ ละครูดว้ ยวา่ จะเปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้ฝกึ เผชิญกับการ
แกป้ ัญหาด้วยตวั เองหรือไม่

39

กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร

๑. กิจกรรมพลศึกษา
พลศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาทีเ่ กี่ยวกับเคลื่อนไหว และเป็นกิจกรรมทางกาย ที่เป็นสื่อในการ

เรียนรู้ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคมและสติปัญญา ครบถ้วนตามวัย
โดยทางโรงเรียนจะจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทุกวนั พุธแยกตามระดบั ความสามารถของเด็ก อนบุ าลปีท่ี ๑ อนุบาล
ปีที่ ๒ อนุบาลปีที่ ๓ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรและพัฒนาการตามวัย โดยครูมีการจัดทำกำหนดการ
จัดประสบการณใ์ นแต่ละภาคเรยี น มกี ารจดั กจิ กรรมทั้งในร่มและกลางแจง้ ซึง่ สอดคล้องตามโครงการโรงเรียน
ส่งเสรมิ สุขภาพ

๒. กิจกรรมเสริมหลักสูตรการเรียนคอมพิวเตอร์
การนำคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อฝึกให้เด็กมีพัฒนาการด้าน

ร่างกาย เช่น การสร้างสัมพันธภาพการเรียนรู้ทางพุทธิปัญญา การคิดเลข และฝึกความคิดสร้างสรรค์
นอกจากนี้การเรียนคอมพิวเตอร์ยังช่วยในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง มือกับตา ( Eye Hand
Coordination ) การสังเกต ( Visual Discrimination ) ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ – จิตใจ เมื่อเด็ก
ได้เรยี นรู้การใชค้ อมพิวเตอร์แลว้ เด็กจะมีพัฒนาการใช้คอมพวิ เตอร์ ทถี่ กู ตอ้ งดว้ ยตนเองตอ่ ไป

๓. กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรการเรียนวา่ ยนำ้
เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งการเรียน

ว่ายน้ำ เด็กจะเกิดทักษะในด้านต่าง ๆ เช่น ฝึกการลอยตัวโดยใช้ Kick Board ฝึกการทรงตัวในน้ำ ฝึกการ
หายใจในนำ้ ฝกึ การเตะขาในน้ำ ซ่งึ ทักษะพ้ืนฐานการเรียนวา่ ยน้ำท่ีทำให้เด็กเกิดทักษะและมีความสามารถใน
การว่ายนำ้ ท่ถี กู ต้องและไมเ่ กดิ อนั ตรายในขณะว่ายนำ้

๔. กิจกรรมสง่ เสริมทกั ษะการเรยี นดนตรี – นาฏศิลป์
การนำกจิ กรรมการเรียนดนตรี – นาฏศิลป์ มาใช้เพื่อเป็นส่ือประกอบการเรียนการสอนให้สัมพันธ์กับ

พัฒนาการ ทำให้เด็กเรียนด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน เสริมสร้างคุณค่าในการเรียนรู้ เกิดพัฒนาการทั้ง
๔ ด้าน และช่วยส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจของเด็กได้ดีส่งผลให้เด็กได้แสดงออกทางด้านดนตรี – นาฏศิลป์
โดยการแสดงบนเวที เด็กได้แสดงมีความมัน่ ใจ กลา้ แสดงออกมากข้นึ

๕. กจิ กรรมสง่ เสริมการอนรุ ักษ์ไทย
การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอนุรักษ์ไทย เพื่อปลูกฝังและมงุ่ ม่ันเน้นให้เดก็ แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ

เห็นคุณค่าและร่วมกันอนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย
สามารถใช้ภาษาไทยสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยสอดแทรกการปลูกฝัง ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้
และกิจกรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งจัดขึ้นภายนอกสถานศึกษาทุก ๆ วันศุกร์ การนั่งสมาธิ
การสวดมนต์ไหว้พระ แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย กิจกรรมประเพณีวันสำคัญต่าง ๆ ( วันเข้าพรรษา) ซ่ึง
ปลูกฝังค่านยิ มท่ีดีงาม พรอ้ มเปน็ การอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณไี ทย ตามโครงการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
และค่านยิ มทพ่ี งึ ประสงคข์ องโรงเรียน

40

๖. กิจกรรมการเรยี นร้ภู าษาจนี สำหรบั เด็กปฐมวัย
การเรียนการสอนภาษาจีนอย่างสร้างสรรค์ เปน็ การเตรียมความพร้อมด้านภาษาจีนให้กบั เดก็ ๆ โดย

เน้นการพัฒนาทักษะ ๔ ทกั ษะ พร้อมกับการปูพื้นฐานเชงิ วิชาการอยา่ งถูกต้อง เพือ่ ให้เกิดการซมึ ซับทางภาษา
ซึ่งเป็นผลดีสำหรับการเรียนภาษาจีนในระยะยาวต่อไป โดยการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะจีน โรงเรียนได้จัด
กจิ กรรมในรูปแบบกิจกรรมศิลปะ การเรียนระบายสภี าพ การวาดภาพ กิจกรรมดนตรี เช่น การรอ้ งเพลง การ
เต้นเข้าจังหวะประกอบเพลง การออกกำลังกายตามจงั หวะ กิจกรรมเกมและเล่านทิ าน เช่น ทายบัตรคำ จับคู่
ตัวเลขหรือ ฟงั นทิ าน

๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้ดนตรี
ดนตรีเป็นสื่อสร้างเสริมพัฒนาการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัยที่เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน

ผ่อนคลาย เป็นการเรียนรู้ด้วยความสุข ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจความจำของเด็กได้ดีขึ้น พัฒนาการทาง
ภาษา สังคม คณิตศาสตร์ และยังบูรณาการไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนดนตรี
ในระดบั ต่อไป

การจดั สง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื การเรยี นรู้

โรงเรียนได้จัดการสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ เช่น แหล่งเรียนรู้ สื่อ พื้นที่สนามเด็กเล่น และมุม
ประสบการณ์ และทางจินตนาภาพ เช่น บรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็ก เด็กกับเด็ก ครูกับครู
จัดและใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อภายนอกห้องเรียนได้มีความหลากหลาย ตอบสนองความสนใจ ความต้องการ
ของเด็กเป็นรายบุคคลบรรยากาศที่เป็นมิตร อบอุ่น ส่งเสริมให้เด็กรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชั้นเรียน
สร้างบรรยากาศใหเ้ กดิ การยอมรบั นับถือ เคารพซง่ึ กนั และกนั ระหว่างครกู ับเดก็ และเด็กกบั เด็ก

การประเมนิ ผลพัฒนาการ

ครไู ดม้ ีการประเมินผลพฒั นาการของเดก็ เป็นรายบุคคลอยา่ งเป็นระบบ โดยครอบคลุมพฒั นาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคมและสติปัญญา การเก็บข้อมูลใช้วิธีการสังเกตและจดบันทึก การสัมภาษณ์
และผลงานของนักเรียน เน้นการประเมนิ ผลตามสภาพจริง ( ไมใ่ ชแ้ บบทดสอบ ) และมีการนำผลประเมนิ มาใช้
ปรับปรุงการจัดการประสบการณ์การเรียนการสอน โดยมีสมุดรายงานประจำสัปดาห์และสมุดรายงาน
ประจำตวั เดก็ และแฟ้มสะสมผลงาน รายงานใหผ้ ูป้ กครองรบั ทราบ


Click to View FlipBook Version