The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tipaday2323, 2019-05-29 03:24:35

Plain film

Plain film

Plain film

X-ray คอื ?

• x-ray ถกู คน้ พบโดย นักฟสิ ิกส์ชาวเยอรมันชอื่ Roentgen ในปี 1895
รังสที ี่นามาใช้ในทางการแพทย์ มีความยาวคลน่ื ประมาณ 0 - 0.1 angtrom

• เป็นคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงและความยาวคลนื่ สน้ั สามารถ
ทะลุทะลวงวัตถุได้ และเมื่อรงั สีผ่านวัตถุ ความเขม้ ของรังสีจะลดลง
เรยี กว่า attenuation โดยการถูกดูดกลนื ซง่ึ ขึ้นกับความหนาแนน่ ของ
ตัวกลาง

• ทาใหส้ สารเร่ืองแสงได้ (luminescence)

• สามารถทาใหเ้ กิดการแตกตัวของโมเลกลุ ได้ (ionization)

X-ray คอื ?

• X-ray มผี ลต่อฟลิ ์มทาใหเ้ กิดภาพได้ เม่ือนาไปผ่านขบวนการลา้ งฟิล์ม
• X-ray ทาให้เกิดการเปลยี่ นแปลงท้ังด้าน somatic และ genetic
• เม่อื เซลลไ์ ด้รับในปรมิ าณมากพอทาให้เซลล์ตายได้ จึงนามาใช้รักษามะเรง็ บาง

ชนิดได้ดี

Plain film คอื อะไร ?

• Plain film คอื การถ่ายภาพรังสเี อก็ ซโ์ ดยไม่ใช้สารทึบรงั สี ตัวอยา่ ง
plain film เช่น

– Chest X-ray
– Plain Abdomen
– Plain KUB
– Etc.

ทำไมจงึ เลอื กทำChest X-ray

• เปน็ การตรวจเบ้อื งตน้ ที่ทาได้ง่าย และราคาถูก plain film จึงมักเปน็ ตัวเลือก
แรกๆทชี่ ่วยในการตรวจหาความผิดปกตทิ ่ีมองเห็นได้ทางรังสี

• สามารถถ่ายไดห้ ลายทา่ เช่น AP, Lateral, Oblique และทา่ อน่ื ๆ ขน้ึ อยกู่ บั
ตาแหนง่ ความผิดปกติท่ีตอ้ งการจะมองหา

• สามารถตรวจหาความผิดปกตหิ ลายๆอยา่ งกส็ ามารถมองเห็นไดใ้ น plain film
เชน่ heartโต, mass, lymph node, rib ฯลฯ

• ความผิดปกติบางอย่างกส็ ามารถมองเหน็ ไดด้ ีกว่า investigate อื่นๆ เช่น bone
fracture

• เน่ืองจากความสะดวก แม้ผปู้ ่วยทน่ี อนอยู่กับเตยี งก็สามารถทาได้
• สามารถใชป้ ระกอบการตรวจสขุ ภาพ ใช้ monitor การรกั ษาหรือว่าทากอ่ น

procedure ตา่ งๆได้

ทำไมจึงเลอื ก Plain abdomen?

• Plain film มกั ใชต้ รวจหาความผดิ ปกตใิ นช่องทอ้ งเป็นอนั ดับแรก
เน่อื งจากเปน็ การตรวจท่ที าได้งา่ ย สะดวก รวดเรว็ และมีราคาถกู

• เป็นการตรวจแรกสดุ กอ่ นทจี่ ะทา procedure อยา่ งอน่ื เช่น barium enema
หรอื intravenous pyelography เปน็ ต้น

• เพ่อื ช่วยหาความผดิ ปกตทิ อี่ ยใู่ นชอ่ งท้องได้อยา่ งคร่าว ๆ โดยเฉพาะใน
ผ้ปู ว่ ยฉกุ เฉินทีม่ ีอาการปวดท้องอยา่ งรนุ แรง สงสยั ภาวะลาไส้อดุ ตัน
หรอื มีรูทะลุ มองหาลมในช่องท้อง(pneumoperineum) สงสยั น่ิวในถุง
นา้ ดี นว่ิ ในทางเดนิ ปัสสาวะ หนิ ปนู ทอ่ี ยใู่ นอวัยวะตา่ ง ๆ ในชอ่ งท้อง
รวมท้งั มองหาส่งิ แปลกปลอม(foreign body)

ข้อจำกัดของ Plain film

• มี Sensitivity และ Specificity ตา่ plain film ที่ปกติ
ไม่ไดแ้ ปลวา่ ไม่มีโรค เพราะความผิดปกตบิ างอยา่ งกไ็ ม่สามารถพบใน
plain filmได้ เช่น

– lesion ที่เลก็ ๆ
– lesion ทซี่ ่อนอยู่ใน blind area
– Blood clot

• Plain film ที่คุณภาพไม่ดีทาให้แปลผลผิดพลาดไดง้ า่ ย
• ต้องใช้ประสบการณ์ในการอา่ นค่อนข้างมาก

Chest X-ray

ท่ำที่ใชใ้ นกำรถ่ำยภำพรงั สที รวงอก

1.Posteroanterior(PA)
ขน้ั ตอน ผู้ปว่ ยยนื หันหนา้ เขา้ หาฟลิ ์มเงยคางขน้ึ

เอาหลงั มอื แตะสะโพกง้มุ ไหลเ่ ข้าหาฟิลม์ เพอื่ ให้เงาชองกระดกู
สะบกั หลบจากเงาของปอด

• ถา้ ผปู้ ว่ ยยืนไมไ่ ด้ ใหผ้ ปู้ ่วยนั่งปลายเตียง ถ่ายท่าPA เอาฟลิ ม์ ไว้
ด้านหนา้ กอดตลบั ฟลิ ม์

• ถา้ ผ้ปู ว่ ยนง่ั ลอ้ เขน็ ให้เอาฟิลม์ ไวห้ ลงั ผู้ป่วย ช้หมอนหนนุ ให้ลาตวั อยู่ใน
ท่าตรงถ่ายทา่ AP

• ถา้ ผู้ป่วยอาการหนักไม่ สามารถลกุ ได้ ใหถ้ า่ ยท่า AP supine แทน

Lateral

ให้ผู้ปว่ ยเอาข้างทสี่ งสัยมีพยาธิสภาพชดิ ฟิล์ม จัดให้ยนื ในทา่ ตรงยกแขน
ข้ึนเหนือศรี ษะ ลาแสงเขา้ ดา้ นตรงขา้ มฟิล์ม

ถ้าแพทยไ์ มร่ ะบดุ ้านใดควรเอาดา้ นซ้ายชดิ ฟลิ ม์ เนือ่ งจากหวั ใจอยู่คอ่ นมา
ทางดา้ นซ้ายเพอ่ื ไมใ่ หภ้ าพขยายมากนกั

ถ้าบรเิ วณทส่ี งสัยอยดู่ ้านบนซง่ึ ปกตจิ ะมองไมเ่ หน็ เนอ่ื งจากมีเงาของตน้
แขนและกระดกู สะบกั บังอยู่ ให้ผู้ป่วยงมุ้ ไหลเ่ อาแขนมาข้างหนา้ หรือ
เอามอื ไปดา้ นหลงั เพอ่ื ใหเ้ ห็นรอยโรคได้ชดั เจน

Left anterior oblique

• ใช้เมือ่ ต้องการถา่ ยภาพหวั ใจ เนื่องจากหวั ใจอยดู่ ้านหน้า จงึ ตอ้ งถา่ ยใน
ท่า anterior oblique ใหผ้ ู้ปว่ ยยืนเอาดา้ นหน้าข้างซา้ ยชดิ ฟิลม์
ตะแคงตวั ประมาณ55องศาเพื่อหลบเงาหวั ใจแสงเข้าข้างหลังดา้ นขวา

Right anterior oblique

• ให้ผูป้ ว่ ยเอาดา้ นหนา้ ข้างขวาชิดฟลิ ์มเอียงตวั ประมาณ45องศาแสงเข้า
ดา้ นหลงั ข้างซา้ ย

Lateral decubitus

• เป็นท่าทใ่ี ชถ้ า่ ยดู air fluid level ในท่านอนตะแคง โดยเอาข้างท่ี
สงสยั ว่ามนี ้าลงหรือด้านทมี่ ีลมข้ึนด้านบน

• แพทยค์ วรระบวุ ่าตอ้ งการภาพถา่ ยรงั สที า่ Left หรอื Right
lateral decubitus เพ่ือจะได้ผลฟลิ ม์ ตามต้องการ

Apical lordotic

เปน็ ท่าสาหรบั ดยู อดปอด
ทา่ นี้ผู้ปว่ ยยนื หา่ งฟลิ ์มหลังเอนเทา้ ชดิ ฟิลม์
แสงเอ็กซ์เรย์จะเอยี งผา่ นใต้ระดบั ของประดกู ไหปลารา้ เพื่อใหเ้ งาของ
กระดกู นีห้ ลบไปจากเงาของยอดปอด ทาให้เห็นยอดปอดไดช้ ัดเจน

หลักการแปลผลภาพรังสี

1.Identification
2.Placing the film
3.Techniques

-over/under exposure
-หายใจเข้าเต็มที่ กะบงั ลมขา้ งขวาควรอยูท่ ่รี ะดบั กระดซู ่โี ครงชอ่ งท่ี6
ด้านหนา้ (anterior right 6 rib) หรอื ช่องที่9ด้านหลัง (posterior
right 9-10 rib)
-ปลายกระดกู clavicle จะห่างจากขอบกระดูก spinouts process
of thoracic spine เป็นระยะเทา่ กันท้ัง2ขา้ ง

4.อา่ นตามหลักการ ABCDEF

A:airway>>> trachea

A midline structure that generally ranges in

length from 6-9cm., diameter~1.5cm
-แยกเปน็ หลอดลมซา้ ยและขวา
carina(black arrow) ที่ระดบั

-T4-5 vertebral body

Carinal angle ~ 75-85

degree

B:lung parenchyma

upper lung zone เหนอื ICS2
middle lung zone ICS2-ICS4
lower lung zone อยู่ใต้ middle lung zone

C: Cardiac

• Heart : Cardiothoracic ratio normally <0.5 in
adult

• Aortic knob : normally its caliber is ~ 3cm (
4cm in elder )

D:diaphragm
อยู่ทรี่ ะดบั ICS 6ดา้ นหนา้
อยรู่ ะดบั ICS9-10ดา้ นหลัง
diaphragmข้างขวาสงู กว่าดา้ นซา้ ยประมาณคร่งึ ช่องของ

Intercostal space
Left hemi diaphragm: จะเห็นเงาลมในกระเพาะ อยู่หา่ งจาก

กระบังลม ~1cm. แต่ไมเ่ กนิ 2cm.

E: bone structure& soft tissue shadows

Radiological sign

• Air bronchogram
an air-filled bronchus against surrounding
opacified alveoli. It is indicative of an airspace
process, and will not be seen when a bronchus is
filled with fluid or when the opacification of the
alveoli is due to obstruction (as air is resorbed).

Found in
- Pneumonic consolidation
- Pulmonary edema
- Neonatal respiratory distress syndrome



• Silhouette sign

Two substances of the same density, cannot be
differentiated from each other on X-ray. This
phenomenon, the loss of the normal
radiographic silhouette (contour),is called the
Silhouette sign.

Silhouette/structure Contact with lung
Upper right heart/asc. Ao Ant. Segment RUL
Right heart border RML(medial)
Upper left heart border Ant. Segment LUL
Left heart border Lingula(Ant.)
Aortic knob Apical portion LUL
Hemi diaphragm Lower lobe

• Cervicothoracic sign

The location of a lesion at the inlet of the
thoracic cavity. In this anatomical space, the posterior
portions of the lung apices are located more superiorly
than the anterior portions . For this reason, a lesion
clearly visible above the clavicles on the frontal view
must lie posteriorly and be entirely within the thorax. If
the cranial border of the lesion is obscured at or below
the level of the clavicles, it is located at the anterior
mediastinum. The borders are not clearly delineated
because the lesion is far from the air filled lung and
there are cervical soft tissues at this level.



Radiological lung disease

• Predominately airspace disease
1. Acinar shadow

A round or ovoid, poorly defined pulmonary
opacity 4-8 mm in diameter, presumed to
representa pulmonary acinus rendered opaque
by consolidation. This term is usually used in
the presence of many such opacities.



2. Consolidation

The process by which air in the lung is
replaced by the products of disease rendering the
lung solid (as in the case of pneumonia).
Radiographically, consolidation is seen as
relatively homogeneous

opacity in the lung with little or no volume loss,
effacement of pulmonary blood vessels, and
sometimes the presence of the air bronchogram



3. Air bronchogram
4. Butterfly or Bat’s wings distribution

Ex.
- Pulmonary edema
- Pneumonia
- Pneumocystis infection
- Intraalveolar hemorrhage

• Predominately interstitial disease
1. Septal pattern
ex. Hydrostatic pulmonary edema, malignancy

- Kerley A line
- Kerley B line

2. Reticular pattern
ex. Asbestosis, Idiopathic pulmonary fibrosis

3. Nodular pattern
ex. Silicosis, Miliary fungal infection

4. Reticulonodular pattern
ex. Langerhans’ cell histiocytosis, Lymphangitic

carcinomatosis

5. Ground glass pattern
ex. PCP, pulmonary hemorrhage

Diffuse pulmonary hemorrhage.
Chest radiograph shows ground-glass
opacities involving mainly the lower
lung zones. The patient was an 18-
year-old woman with diffuse
pulmonary hemorrhage due to
vasculitis.

• Parenchymal atelectasis

- Direct sign: Displacement of
interlobar fissure (white arrow)

- Indirect sign:

– Displacement of hilar vessels
– Elevation of diaphragm

(black arrow)
– Mediastinal shift
– Compensatory emphysema
– Approximation of the ribs
– Tracheal shift (arrowhead)

• Pneumonia

1. Lobar pneumonia
- Consolidation
- Air bronchogram
- S. pneumoniae, K. pneumonia

2. Round pneumonia
- Soft tissue mass
- Air bronchogram
- S.pneumoniae, H. influenzae

3. Lobular pneumonia

- Multifocal patchy opacities

- Peribronchial infiltration(Thickening of
peribronchial wall)

- Volume loss

- S. aureus, gram negative bacilli,
Mycobacterium tuberculosis, Mycoplasma
pneumonia



4.Interstitial pneumonia
- Ground glass infiltration– PCP

- Peribronchial thickening and perihilar
infiltration– Viral pneumonia, Mycoplasma
pneumonia

- Reticulonodular shadowing of lung/localized or
wide spread—Pulmonary tuberculosis

- Miliary pattern—Miliary tuberculosis

• Pulmonary edema

1. Cardiogenic pulmonary edema
- Interstitial pattern:
septal line; peribronchial
thickening;subpleural
pulmonary edema
- Alveolar edema:
air space shadow,
bat-wing
- Cardiomegaly

2. Non cardiogenic pulmonary edema
- Patchy ill-defined density

- Normal heart
- Normal upper
lobe blood distribution
- No pleural effusion

• Lung mass
1. Solitary pulmonary nodule

- less than 2 cm
ex. Malignant neoplasm, Infectious granuloma(TB,

Fungus), Benign tumor(hamartoma)

Solitary pulmonary nodule.
Cavitating nodule secondary
to an abscess

2. Multiple nodule

- small sized nodule(2-5 mm)
ex. Pulmonary tuberculosis

- medium sized nodule(5-20 mm)
ex. Metastatic lesion

- large sized nodule(>20 mm) ex. Lung metastatic

• Lung cancer
- Golden S sign
- Large spiculated border
- Lobulate or notching
- Eccentric calcification
- Irregular inner wall of cavity
- Multiple lung nodule(Lung to lung metastasis)

Central mass
Golden S sign

• Cystic and cavitary lesion

- Foci of decreased lung density with definable wall

1. Pulmonary air cyst

- wall < 4 mm

Ex. Post staphylococcal pneumatocele, Post
traumatic cyst

2. Pulmonary cavitary lesion

- wall > 4 mm

- air fluid level in active infection

Ex. Necrotizing pneumonia, Bronchogenic
carcinoma(Squamous cell type)

- Mass in cavity—Fungal ball


Click to View FlipBook Version