The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบทำความเย็น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerachart Khoudkaew, 2022-04-20 23:49:24

ระบบทำความเย็น

ระบบทำความเย็น

2-8 ระบบทาํ ความเยน็

2-8.1 ระบบทําความเยน็ ทํางานอยางไร?
(1) ระบบทําความเย็นนําไปใชประโยชนอะไร?
(2) มาตรฐานการแชแขง็ ในอตุ สาหกรรมเปน อยา งไร?
(3) แผนภมู ิความดนั -เอนทาลปข องสารทําความเย็นเปนอยางไร?
(4) แผนภูมไิ ซโครเมติกซม ปี ระโยชนกับระบบทําความเยน็ อยา งไร?
(5) แผนภูมไิ ซโครเมตกิ ซใชงานอยางไร?

2-8.2 ระบบทาํ ความเยน็ ในอุตสาหกรรมมีแบบใดบาง?
(1) อุปกรณในระบบทําความเย็นมีอะไรบาง?
(2) ระบบทาํ ความเย็นและระบบแชแ ข็งในอุตสาหกรรมมีแบบใดบาง?
(3) การหาสมรรถนะของระบบทําความเยน็ ทําอยางไร?
(4) ระบบละลายน้าํ แข็ง (Defrost) ในอุตสาหกรรมมีแบบใดบา ง?

2-8.3 เราจะเลอื กระบบทําความเยน็ ใหเหมาะสมไดอ ยา งไร?
(1) ระบบทําความเยน็ แตล ะแบบเหมาะกับงานในอุตสาหกรรมประเภทใด?
(2) การพจิ ารณาเลอื กใชสารทําความเย็นอยางไรใหเ หมาะสม?
(3) ภาระการทําความเย็นมีอะไรบา ง?

2-8.4 ระบบทาํ ความเย็นสามารถประหยดั พลังงานไดอยางไรบา ง?
(1) จัดการเดินเครอื่ งอยา งไรใหเหมาะสมและประหยัดพลงั งาน?
(2) การลดความดันสารทําความเย็นดา นคอนเดนเซอรชว ยประหยดั พลังงานอยางไร?
(3) การเพ่ิมความดันดา นอวี าโปเรเตอรใหส ูงขึน้ ชวยประหยัดพลังงานอยางไร?
(4) เลอื กใชระบบละลายนาํ้ แข็งอยางไรใหเ หมาะสมและประหยดั พลงั งาน?
(5) การลดภาระการทาํ ความเยน็ ท่ไี มจําเปนหรือปรับปรงุ ไดเ พ่ือประหยดั พลังงานมีอะไรบา ง?

2-8.5 การตรวจวินิจฉัยและบํารุงรกั ษาระบบทําความเย็นเพอื่ การอนรุ ักษพลงั งานทาํ อยางไร?
(1) การตรวจวินิจฉยั ระบบทําความเยน็ เพ่อื การอนุรักษพลงั งานทาํ อยางไร?
(2) การบํารุงรกั ษาระบบทาํ ความเยน็ เพ่ือการประหยดั พลงั งานมีอะไรบาง ?

2-8.1 ระบบทาํ ความเยน็ ทํางานอยางไร?

(1) ระบบทาํ ความเยน็ นาํ ไปใชประโยชนอะไร?
อุตสาหกรรมอาหารมคี วามจําเปนในการใชระบบทาํ ความเย็นเปน อยางมากเพื่อการเก็บรักษาคุณภาพอาหาร ถนอม

อาหารใหสามารถเก็บไวไ ดนาน รวมทั้งขนสงไปยงั ลกู คา และผูบรโิ ภค แชแข็ง ผลติ น้ําแข็ง และอุตสาหกรรมอีกหลายประเภทได
นาํ เอาระบบทําความเยน็ ไปประยุกตใชในการกระบวนการ เชน อตุ สาหกรรมเคมี เพ่ือแบงแยกกา ซ ควบแนน กาซ รวมทั้งระบบ
ปรับอากาศ สามารถกลาวไดวาทั้งระบบทําความเย็นและระบบปรบั อากาศมีพัฒนาการควบคูก ันมา โดยมีพื้นฐานในการทํางาน
และอุปกรณห ลักของระบบเหมือนกัน แตกตา งเพียงแคการนําไปใชป ระโยชนเทานัน้

239

การทาํ ความเยน็ หมายถงึ การทําใหอณุ หภมู ิของบริเวณโดยรอบหรอื บริเวณควบคุมลดตา่ํ ลงจนถงึ ระดับท่ตี องการใช
ประโยชน โดยอาศยั หลักการดูดความรอ นในบรเิ วณดังกลา วหรือจากสงิ่ ที่ตอ งการทาํ ใหเยน็ ผานอุปกรณท ี่เราเรียกวา อวี า
โปเรตอร (Evaporator) เขา สูตัวกลางหรอื สารทาํ งานเพอื่ นําความรอ นสว นนั้นไประบายทิง้ ในแหลง ท่ีมีอุณหภมู ิสูงบริเวณ
อปุ กรณท ีเ่ รียกวา คอนเดนเซอร (Condenser) โดยมอี ุปกรณทท่ี าํ หนา ทขี่ ับเคล่ือนสารทาํ งานในระบบท่ีเรียกวา เครื่องอัด
(Compressor) และมีอุปกรณสําคญั ทีจ่ ะทาํ ใหเ กิดการทําความเย็นในระบบไดโ ดยทาํ หนา ทีล่ ดความดนั ของสารทาํ ความเย็น
นน่ั คือ ลิ้นลดความดนั (Expansion Valve) ซง่ึ ในระบบทําความเยน็ จะนยิ มเรียกวา วาลวควบคมุ การไหลสารทาํ ความเย็น
(Refrigeration Flow Control) และในระบบใหญท ีใ่ ชงานจริงจะมีการติดตั้งถงั เกบ็ สารทําความเยน็ (Receiver Tank) เพ่ิมข้นึ

อวี าโปเรเตอร คอนเดนเซอร
ลิน้ ลดความดัน

เครื่องอดั

ถังเกบ็ สารทาํ ความเยน็

รปู ที่ 2-8.1 วงจรพ้นื ฐานระบบทําความเยน็ แบบ Indirect Contact

ที่กลา วมานัน้ เปนระบบทําความเยน็ แบบไมส มั ผัสตรง (Indirect Contact) คือ สารทําความเย็นจะมสี ารตวั กลางในการ
ทําใหอุณหภมู ขิ องผลิตภัณฑเย็นลง แตใ นอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งหรอื อตุ สาหกรรมบางประเภทจะมกี ารใชง านระบบทํา
ความเยน็ แบบที่มีการสัมผัสตรง(Direct Contact) ระหวางสารทาํ ความเย็นกบั ผลิตภัณฑโ ดยตรง สารทําความเยน็ เหลวจะ
สมั ผัสและดึงความรอนจากผลิตภณั ฑเ พื่อเปลย่ี นสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ สงผลใหอุณหภมู ขิ องผลิตภณั ฑลดต่าํ ลง
ซ่ึงสามารถลดต่ําลงถึงจุดเยือกแข็งไดโ ดยใชเวลาเพียงส้ันๆ เทา นน้ั สารทําความเย็นทนี่ ยิ มใชคอื ไนโตรเจนเหลว(N2) และ
คารบอนไดออกไซดเหลว(CO2) เราเรียกวา Cryogenic Refrigeration ระบบน้ีมคี า ใชจ า ยในการดาํ เนนิ การสูงกวาระบบอัดไอ
แตม คี วามเหมาะสมกับงานทมี่ ีการเปลีย่ นแปลงผลิตภณั ฑอยเู สมอและการผลิตไมต อ เน่อื ง(ดงั รูปที่ 2-8.2)

พั ด ล ม ห มุ น เ วี ย น

หั ว จ า ย ก า ซ

เสลาี ยยงพ า น ล ำ
ว า ล ว ป รั บ ค ว า ม ดั น

ถั ง บ ร ร จุ ก า ซ เห ล ว ถั ง บ ร ร จุ ก า ซ เ ห ล ว
( C O 2 ห รื อ N 2 ) ( C O 2 ห รื อ N 2 )

รปู ที่ 2-8.2 พน้ื ฐานระบบทําความเยน็ แบบ Direct Contact

ซ่งึ ในทนี่ ีจ้ ะขอกลาวในรายละเอียดของระบบทําความเยน็ แบบไมส ัมผัสตรงโดยเฉพาะวฎั จกั รอดั ไอ (Compression Cycle)
ซง่ึ เปน ทน่ี ิยมใชโดยทั่วไปในอุตสาหกรรม และเปนระบบทม่ี กี ารใชพ ลงั งานไฟฟามากอกี ทั้งยังอปุ กรณใ นการทาํ งานหลายจดุ ท่ี
ความซบั ซอน ทงั้ นีห้ ากไมม คี วามรใู นการใชง านและดูและรักษาจะสง ผลตอ การใชพ ลงั งานท่ีส้ินเปลืองเพ่มิ ข้นึ อยางมาก

240

(2) มาตรฐานการแชแข็งในอตุ สาหกรรมเปน อยางไร?

ตารางท่ี 2-8.1 ความรอ นจําเพาะและความรอนแฝงของผลไม ผัก เน้อื สตั วและอาหาร

โภคภัณฑ อุณหภมู ิเยอื กแข็ง ความรอนจําเพาะ BTU/lb/ °F ความรอนแฝง
(oF) เหนือเยอื กแข็ง ใตเ ยอื กแขง็ หลอมเหลว
Water (น้าํ )
Fruits (ผลไม) 32 1.0 0.5 114
Apples (แอปเปล )
Apricots 28.4 0.86 0.45 121
Bananas(กลว ย) 28.1 0.88 0.46 122
Blackberries 28 0.80 0.42 108
Bluesberries 28.9 0.88 0.46 122
Cantaloupes(แคนตาลปู ) 28.6 0.86 0.45 118
Cherries(เชอรร)่ี 29 0.94 0.48 132
Cranberries 26 0.87 0.45 120
Dates(dry)(อนิ ทผลัมแหง) 27.3 0.90 0.46 124
Dates(fresh)(อนิ ทผลมั สด) -4.1 0.36 0.26 29
Grapefruit(ผลไมจ ําพวกสม) 27.1 0.82 0.43 112
Grapes(องนุ ) 28.4 0.91 0.46 126
Lemons(มะนาวเขียว) 116
Limes(มะนาวเหลือง) 26.3 0.86 0.44 127
Oranges(สม) 28.1 0.92 0.46 122
Peaches(ลกู ทอ ) 29 0.89 0.46 124
Pears(ลูกสาล)่ี 28 0.90 0.46 124
Pineapples (สับปะรด) 29.4 0.90 0.46 118
Plums (ลูกพลัม) 28.5 0.86 0.45 122
Prunes (fresh) (ลกู พรนุ สด) 29.4 0.88 0.45 123
Raspberries 28 0.88 0.45 123
VEGETABIES(ผัก) 28 0.88 0.45 122
Asparagus(หนอไมฝ รงั่ ) 30.1 0.85 0.45
Beans, String(ถว่ั ) 134
Beans, lima (สารพัดถ่ัว) 29.8 0.94 0.48 128
Beans, dried (ถว่ั แหง ) 29.7 0.91 0.47 94
Beets(ผักบที ) 30.1 0.73 0.40 18
Proccoli (กะหลํา่ ปลจี ๋ิว) 129
Brussols Sprouts 0.30 0.24 130
Cabbage (กะหลา่ํ ปลี) 31.1 0.86 0.47 122
Carrots (หัวแครอท) 29.2 0.92 0.47 132
Cauliflower (กะหลาํ่ ดอก) 31 0.88 0.46 126
Corn (green) (ขา วโพด-สด) 31.2 0.94 0.47 132
Corn (dried) (ขาวโพด-แหง ) 29.6 0.86 0.45 108
Cucumbers (แตงกวา,แตงราน) 30.1 0.93 0.47 15
Eggplant (มะเขอื ยาว) 28.9 0.80 0.43 137
132
0.28 0.23
30.5 0.97 0.49
30.4 0.94 0.47

241

โภคภัณฑ อณุ หภมู เิ ยอื กแข็ง ความรอนจาํ เพาะ BTU/lb/ °F ความรอนแฝง
(oF) หลอมเหลว
Peas (green) (ถวั่ ลนั เตาสด) 30 เหนอื เยอื กแข็ง ใตเ ยอื กแขง็
Peas (dried) (ถวั่ ลนั เตาแหง ) 106
Potatoes (มันฝรงั่ ) 28.9 0.79 0.42 14
Potatoes (sweet) (มันหวาน) 28.5 0.28 0.22 111
Spinach (ผกั ขม) 30.3 0.82 0.43 97
Squash (ผกั ชนดิ หน่งึ ) 30.1 0.75 0.40 132
Tomatoes (green) (มะเขอื เทศ) 30.4 0.94 0.48 130
Tomatoes (ripening) (มะเขอื เทศ) 40.4 0.92 0.47 134
Turnips (ผักกาดชนดิ หนึ่ง) 30.5 0.95 0.48 134
Vegetables (mixed) (ผักผสม) 30 0.95 0.48 137
MEATS AND FISH 0.93 0.40 130
Becon (หมเู บคอน) 29 0.90 0.45
Beef (dried) (เนอื้ ววั แหง) 28 29
Beef (fresh-lean) (เนอื้ ววั สด) 28 0.50 0.30 7-22
Beef (fresh-fat) (เนอ้ื วัวตดิ มัน) 28 0.22-0.34 0.19-0.26 100
Cod fish (fresh) (ปลาคอดสด) 79
Fish (frozen) (ปลาสด) 27 0.77 0.40 119
Fish (iced) (ปลาแชแขง็ ) 0.60 0.35 101
Fish (dried) (ปลาแหง ) 29 0.90 0.49 101
Hame and loins (สะโพกหลงั ,ลําตัว 29 0.76 0.41 65
ของหมู) 27 0.76 0.41 86.5
Lamb (เน้ือแกะ) 27 0.56 0.34
Livers (ตับสตั ว) 0.68 0.38 83.5
Oysters (shell) (หอยนางรม) 28 93.3
Oysters (tub) (หอยนางรมท้ัง 0.67 0.30 116
เปลือก) 27 0.72 0.40 125
Pork (fresh) (เน้ือหมสู ด) 27 0.83 0.44
Pork (smoked) (เน้อื หมรู มควนั ) 26 0.90 0.46 86.5
Poultry (fresh) (เปด ไกสด) 29
Poultry (frozen) (เปด ไก แชแขง็ ) 26 0.68 0.38 106
Sausage (drying) (ใสก รอกแหง) 25 0.60 0.32 106
Sausage (franks) 28 0.79 0.37 93
Sausage (fresh) (ใสกรอกสด) 28 0.79 0.37 86
Sausage(smoked) 29 0.89 0.56 93
Scallops (หอยแครง) 0.86 0.56 86
Shrimp (กงุ ) 30 – 0 0.89 0.56 116
Veal (เนอ้ื ลกู ววั ) 17 0.86 0.56 119
MISCELLANEOUS 0.89 0.48 91
Bread (ขนมปง ) 0.83 0.45
Bread (dough) 0.71 0.39 46-53
Butter (เนยสด)
0.70 0.34 15
0.75
0.64 0.34

242

โภคภัณฑ อณุ หภมู ิเยอื กแขง็ ความรอนจําเพาะ BTU/lb/ °F ความรอนแฝง
(oF) หลอมเหลว
Cheese (American) (เนยแขง็ ) เหนือเยอื กแข็ง ใตเ ยอื กแขง็
Egg (crated) (ไขสด) 27 79
Egg (frozen) (ไขแ ชนํา้ แข็ง) 27 0.64 0.36 100
Milk (นม) 31 0.76 0.40 100
Yeast (เชื้อราทาํ ขนมปง ) 124
0.41 102
0.93 0.49
0.77 0.41

การใชตารางท่ี 2-8.1 พจิ ารณาการเปล่ียนสถานะของนํ้าเปนแนวทาง นํา้ มอี ณุ หภูมิเยือกแข็งท่ี 32oF คาความรอน

จําเพาะของนํา้ ขณะเปนของเหลว 1 BTU/lb/ °F คาความรอนใตจดุ เยอื กแข็ง 0.5 BTU/lb/ °F และคาความรอ นแฝงของการ
หลอมเหลว (Latent Heat of Fusion) 144 BTU/lb

(3) แผนภูมิความดัน-เอนทาลปของสารทําความเยน็ เปนอยา งไร?

แผนภมู คิ วามดัน-เอนทาลป หรือที่เราเรยี กวา P-H Diagram แสดงถงึ สภาวะและคุณสมบัติของสารทําความเย็นที่
จดุ ตา งๆ ของระบบทําความเย็นชว ยใหเ ราสามารถวเิ คราะหร ะบบไดงา ยข้นึ ดังรูป

รูปที่ 2-8.3 แผนภมู คิ วามดนั -เอนทาลปของสารทําความเยน็
จากรปู ท่ี 2-8.3 เปน สภาวะทางเทอรโมไดนามคิ สของสารทําความเย็นที่จุดใดๆ เราสามารถทจ่ี ะแทนจดุ นี้บน
แผนภมู ิ P-H ได โดยแบง เปนเสนของเหลวอิม่ ตัวและเสนไออิม่ ตัว พน้ื ทีท่ างดา นซายมือของเสน ของเหลวอิม่ ตัว เรียกวา
Sub-cooled liquid ซึ่งในพื้นท่ีนีอ้ ณุ หภูมิของสารทาํ ความเย็นเหลวจะต่าํ กวา อณุ หภมู ขิ องสารทําความเยน็ อ่ิมตัวทีม่ คี วามดนั
เดียวกัน สวนพ้ืนที่ทางดา นขวามอื ของไออิม่ ตวั เรยี กวา ไอรอ นยวดยิง่ หรอื Super Heat ในพน้ื ทีน่ ้ีอุณหภมู ิของสารทําความ
เย็นในสถานะไอจะมอี ณุ หภูมิสูงกวา ไออมิ่ ตัวท่ีมีความดันเทา กัน บรเิ วณพ้นื ท่ีระหวางเสนของเหลวอ่ิมตัวและไออม่ิ ตัวเรา
เรียกวา ไอเปย ก ซ่ึงมีสว นผสมของไอและของเหลว
ในการวิเคราะหร ะบบทาํ ความเยน็ จริง สามารถตรวจวดั ความดันและอณุ หภูมิ ณ จดุ ตา งๆ ของระบบได จะมกี าร
ติดต้ังเครอ่ื งวัดความดันและอุณหภูมิในตําแหนง พืน้ ฐานที่สาํ คัญไวเสมอ ดังน้ี

- Discharge Line (Pressure, Temperature Gauge)
- Suction Line (Pressure, Temperature Gauge)

243

คา ท่ีควรตอ งทราบ คอื คาความดันและอณุ หภูมขิ องสารทําความเย็นทัง้ สองดาน วธิ กี ารใชโ ดยละเอียดและตัวอยาง
การวิเคราะหจ ะนาํ เสนอในหัวขอการหาสมรรถนะของระบบทําความเยน็ ทาํ อยางไร?

(4) แผนภมู ิไซโครเมตกิ ซมีประโยชนกบั ระบบทาํ ความเยน็ อยางไร?

การปรบั สภาวะอากาศโดยทั่วไปมี 8 กระบวนการ แตท ี่ใชก บั ระบบทําความเยน็ โดยเฉพาะในอตุ สาหกรรมอาหาร
คือ กระบวนการทาํ ใหเย็นและควบคุมความชนื้ เพือ่ ใชอากาศเปน ตวั กลางใหเ กดิ การแขง็ ตวั ของผลิตภัณฑท ี่ตองการ
ถนอมหรอื ตองการใหแ ข็งตัวไดภ ายในเวลาท่ีกาํ หนด เพอื่ ใหไดคุณคา รสชาติ คุณภาพของผลิตภัณฑต ามทีต่ องการ แผนภูมิ
ไซโครเมตริกสจะชวยใหท ราบไดถงึ คณุ สมบัตติ างๆ ของอากาศไดท ุกคุณสมบตั ิมีความสําคญั ต้ังแตก ารออกแบบจนถึงการ
วเิ คราะหหาสาเหตขุ องปญ หาในการใชงานหรอื แกไขปรบั ปรุงระบบการทํางานใหเหมาะสมกับผลติ ภัณฑทจี่ ะทาํ การแชแขง็
ในอุตสาหกรรมแตละประเภท รูปภาพแผนภมู ไิ ซโครเมตริกสดูไดจ ากเรือ่ งระบบปรบั อากาศหัวขอ 2-7.1

(5) แผนภูมไิ ซโครเมติกซใ ชง านอยา งไร?

วธิ ีการใชงานดไู ดใ นหวั ขอ 2-7.1 ในเรื่อง แผนภูมิไซโครเมตริกใชง านอยา งไร?

2-8.2 ระบบทําความเย็นในอตุ สาหกรรมมีแบบใดบา ง?

(1) อุปกรณใ นระบบทําความเย็นมอี ะไรบาง?

จากรปู ที่ 2-8.1 แสดงถงึ ระบบพ้ืนฐานของการทําความเยน็ อุปกรณหลกั ในการทํางานมดึ งั น้ี

1. เครื่องอดั สารทาํ ความเย็น (Compressor) ทาํ หนาทีส่ รางความดนั ในระบบโดยอดั สารทําความเยน็ ในสถานะไอ
ทําเกิดการไหลเวียนไปยังอปุ กรณต างๆ เครอ่ื งอดั สารทําความเยน็ ที่ใชก นั มี 3 แบบ คือ 1) แบบลูกสูบ (Reciprocating
Compressor) 2) แบบโรตาร่ี (Rotary Compressor) 3) แบบแรงเหวี่ยงหนีศนู ยกลาง (Centrifugal Compressor) ปจจุบนั
เคร่อื งอัดแบบลูกสูบนิยมใชก ันเพราะสามารถใชทาํ ความเยน็ ขนาดเล็กทใ่ี ชตามบานหรือรา นคา ทวั่ ไปจนถงึ ขนาดใหญสาํ หรบั
งานอุตสาหกรรม และสามารถใชไ ดก บั สารทําความเย็นหลายชนดิ เชน R-12, R-22, R-500, R-717 (แอมโมเนีย) เปน ตน
รวมทง้ั มีการพัฒนาใหใ ชอณุ หภมู ใิ นชวงการทํางานท่กี วางมากขึน้ มีท้งั แบบอดั ขน้ั ตอนเดียว (Single Stage) สาํ หรบั ระบบทาํ
ความเยน็ ทั่วไปและแบบอัดหลายข้นั ตอน (Multi Stage) สาํ หรบั ระบบทาํ ความเยน็ ท่ตี องการใชง านทอี่ ุณหภมู ิตํา่ มากๆ

ก) แบบลูกสบู ข) แบบโรตาร่ีสกรู ค) แบบแรงเหว่ียง

รูปท่ี 2-8.4 เครื่องอัดสารทาํ ความเย็นแบบตา งๆ

2. เครอื่ งควบแนน (Condenser) ทําหนา ท่รี ะบายความรอนสารทําความเย็นหลังผานการอัดจากเครื่องอดั ซึ่งสารทํา
ความเย็นดังกลาวจะมสี ถานะเปน ไอความดันสงู อณุ หภมู ิสูง เมอ่ื ผานเครื่องควบแนนจะมีอุณหภูมลิ ดต่าํ ลงและกลน่ั ตัวเปน
ของเหลวท่อี ยภู ายใตความดันสูง ซ่งึ แบงประเภทเคร่ืองควบแนน ได 3 แบบคอื 1) แบบระบายความรอนดวยอากาศ (Air
Cooled) 2) แบบระบายความรอนดวยน้าํ (Water Cooled) 3) แบบระเหยตัวของนา้ํ (Evaporative Condenser) ปจจยั สาํ คัญ
ในการเลือกข้ืนกับวัสดุท่ีใชและขนาด ยงิ่ มีขนาดใหญจ ะสามารถควบแนนไดดีซึง่ หมายถึงความดันควบแนนในการทํางานกจ็ ะ
ตํา่ ลงดว ยสงผลใหระบบมปี ระสิทธภิ าพสูงข้นึ อยางไรกต็ ามราคาจะสงู ขนึ้ เปน สัดสวนกับขนาดของเครอื่ งควบแนน ดว ย

244

ก) ระบายความรอนดว ยอากาศ ข) ระบายความรอนดวยนํา้ ค) แบบระเหยตวั

รูปท่ี 2-8.5 เครื่องควบแนนแบบตา งๆ

3. ถงั เก็บสารทําความเยน็ (Receiver Tank) ทาํ หนา ท่กี ักเก็บ พัก แยกสารทาํ ความเย็นในสถานะไอกับของเหลว
ของสารทาํ ความเย็น มที ง้ั ถังพกั ดานความดนั สูงและถงั พักดา นความดันตํา่ จะจาํ เปน อยา งมากในการใชร ว มกับระบบลด
อณุ หภมู แิ บบ Flooded Coil และระบบเครือ่ งทําความเยน็ แบบรวมศนู ย โดยทาํ งานรวมกบั เครอื่ งระเหยหลายชุด หรอื มกี าร
ใชง านท่อี ุณหภูมแิ ตกตางกนั ซึ่งในบางชว งเวลาจะมีความตอ งการใชสารทาํ ความเย็นปรมิ าณมากจงึ จําเปนตองมถี งั เก็บสาร
ทําความเยน็ ทมี่ ีขนาดใหญเพ่ือใหเพียงพอกับเครอ่ื งระเหยหลายชุด

4. ล้ินลดความดัน (Expansion Valve) หรอื วาลว ควบคมุ การไหลของสารทําความเย็น ทําหนา ท่ีลดความดันสารทาํ
ความเย็นจากสถานะของเหลวจากถังเก็บสารทําความเยน็ ใหล ดตา่ํ ลงเพ่ือสงเขา สูเครือ่ งระเหยตอ ไป โดยล้ินลดความดนั จะ
นยิ มใชก บั ระบบทําความเย็นที่มขี นาดเล็กควบคุมอุณหภูมกิ ารทาํ งานโดยอาศัยการเดนิ -หยดุ ของเครอื่ งอัด หากเปน ระบบ
ขนาดใหญจ ะตองใชการควบคมุ อตั ราการไหลของสารทาํ ความเยน็ ทเ่ี ขาสูเคร่ืองระเหยใหเพียงพอกบั ความตองการในการทํา
ความเยน็ หรอื ควบคมุ อณุ หภมู ใิ หไดตามทีต่ องการ

5. เคร่ืองระเหย (Evaporator) ทําหนา ทีแ่ ลกเปล่ยี นความรอนระหวางวัตถุหรอื ผลิตภณั ฑกับสารทาํ ความเย็น โดย
เมอ่ื สารทําความเยน็ เหลวถกู ลดความดนั ลงจะดดู ความรอนจากบริเวณโดยรอบเคร่ืองระเหยเพอ่ื เปลีย่ นสถานะจากของเหลว
เปนไอ จึงสงผลใหอ ณุ หภมู ิในบรเิ วณทต่ี อ งการลดตา่ํ ลง และโดยปกติการดึงความรอ นระหวางผลิตภณั ฑกับเคร่ืองระเหยมกั
ไมส ามารถทาํ ไดโ ดยตรงจงึ มกั จะมสี ารทตุ ยิ ภมู ิเปนตวั กลางถายเทความรอ นท่ีเหมาะสม เชน อากาศทอี่ าศัยการเคล่อื นทดี่ วย
พดั ลมในหอ งเย็น หรือชน้ั โชวอาหารในซปุ เปอรม าเกต็ ในการนําความเย็นไปใชน้ันมีหลายลักษณะ ซงึ่ จะไดกลา วไวในหวั ขอ
ตอไป

รปู ท่ี 2-8.6 เคร่ืองระเหยสารทาํ ความเย็น
(2) ระบบทาํ ความเย็นและระบบแชแขง็ ในอตุ สาหกรรมมแี บบใดบาง?

หากแยกระบบทาํ ความเยน็ ตามลักษณะของการนาํ ความเยน็ ไปใชประโยชน แบงไดด งั นี้
หองเย็น (Cool Room) นิยมใชม ากในอุตสาหกรรมอาหารหมายถึงหองซ่งึ ไดร บั การควบคมุ อณุ หภมู ิ ตลอดจน
ความชื้นท่ีเหมาะสมกับสินคาที่จะจดั เก็บ ซงึ่ ชว ยชะลอการเจริญเตบิ โตของจลุ ินทรียและแบคทีเรีย
หองแชแ ข็ง (Frozen Room) จะเปน หอ งท่ีใชลดอุณหภูมขิ องสินคาในระยะเวลาอันสัน้ ตามหลักการถนอมอาหาร เชน
กงุ อณุ หภมู เิ ริ่มตน 5oC จะลดจนถงึ –18oC ภายใน 10 ชัว่ โมง หลักการออกแบบหองเย็นทุกประเภท จะคํานงึ ถงึ สิ่งตอไปนี้

245

- อุณหภูมิและหมนุ เวยี นอากาศสมาํ่ เสมอท่ัวหอ ง
- การควบคุมความชนื้ ไดต ามกาํ หนด
- การเคล่ือนไหวของลมเยน็ ไมกระทบตอ การทํางานของคนในหอง
- มกี ารระบายอากาศท่เี หมาะสม
- อณุ หภมู ขิ องสินคาท่จี ะเขา เกบ็ ในหองเยน็
- ระยะเวลาในการเก็บ
- อุณหภูมขิ องสินคา ท่จี ะออกจากหองเยน็
ในการลดอณุ หภมู ิมอี ยูหลายวิธี อาจจะข้ึนกับสารทาํ ความเย็นทใี่ ชม ีทงั้ แบบฟรอี อน (Freon R12, R22, R502) และ
แอมโมเนยี (Ammonia: R717) สารแอมโมเนยี มกี ารใชมากท่สี ดุ เพราะราคาถกู ไดค ณุ ภาพความเยน็ ตอ นา้ํ หนักมาก แตม ี
ขอ เสียคือเปน สารพษิ ผูติดตัง้ ตองมคี วามชํานาญเปนพเิ ศษ สวน R12, R502 จะมีผลตอปฏิกริ ยิ าเรือนกระจก สว น R22 ยงั มี
การใชอ ยู แตจ ะถกู แทนท่ีโดยสารทาํ ความเย็นท่ปี ราศจากคลอรีนในอนาคต โดยกรรมวิธีในการทําความเยน็ จะเปน ตวั กําหนด
รูปแบบเครือ่ งระเหยหรอื โดยทั่วไปเรียกวา คอลย เยน็ (Evaporator) และระบบสงสารทาํ ความเย็นใหแ กคอลย เย็น โดยแยกได
เปน แบบตางๆ ดังน้ี
แบบขยายโดยตรง (Direct Expansion) เปนระบบซึง่ สารทาํ ความเยน็ จะสง จากคอลย รอน (Condenser) หรือถัง
พักความดนั สูง ผา นวาลว ลดความดัน (Expansion Valve) เขาสคู อลย เยน็ โดยตรง ดงั รูป 2-8.7 ระบบขยายโดยตรงระบบน้ี
เหมาะสําหรบั หอ งเก็บหรอื หองเย็นทม่ี ีปริมาณการถายรับความรอ นไมม าก ดงั นั้นจงึ เปนที่นิยมใชก ันมากทําใหค อลย เยน็ ชนิด
น้ีมขี ายท่วั ไปในทองตลาด

รปู ที่ 2-8.7 วงจรระบบขยายตวั โดยตรง
แบบทวมคอลย (Flooded Coil) เปน ระบบซึ่งสารทําความเย็นสงจากคอลยรอนหรอื ถังพักความดันสูงผานวาลว ลด
ความดนั สถู ังเก็บความดันต่ํากอน จากนัน้ สารทําความเย็นจากถังความดนั ต่ําจะไหลเขา คอลยเย็นโดยอาศัยการที่ของเหลวไหล
ไปแทนทีก่ าซ ดังรปู ที่ 2-8.8 คอลย เย็นสําหรบั ระบบน้ีจะตองมปี รมิ าตรของทอซึ่งบรรจุสารทําความเย็นมากกวาระบบขยาย
โดยตรง เพราะจะตอ งมีท่ีสาํ หรับใหกา ซของสารทาํ ความเย็นแยกตัวออก และลอยตัวข้ึนจากคอลยเย็น

รูปท่ี 2-8.8 วงจรระบบทวมคอยล
แบบปม หมนุ เวยี น (Pump Recirculation) เปน ระบบคลา ยกบั ระบบทว มคอลย ยกเวนสารทาํ ความเยน็ จากถัง
ความดนั ตา่ํ จะถูกปมเขาสูคอลยเย็น ทาํ ใหประสิทธภิ าพในการถายรบั ความเย็นไดม ากขน้ึ กวาระบบทว มคอลย โดยอัตราการ

246

ไหลของสารทําความเยน็ ผา นคอลย เยน็ จะตองอยูในชวง 3-5 เทาของปริมาตรการกลายเปน ไอ โดยคํานวณจากปริมาณความ
เยน็ ท่ีตองการ ดังรูป 2-8.9

รูปที่ 2-8.9 วงจรระบบปม หมนุ เวยี น
ระบบความเยน็ ที่กลา วมาในขางตน สามารถนํามาใชใ นการใหความเยน็ กบั วัตถุดิบทต่ี องการลดอุณหภมู โิ ดยวธิ ีทใี่ ช
กนั แพรหลายมีดังนี้

¾ ระบบลดอณุ หภมู แิ บบ Sharp Freezer คือ ภายในหอ งเย็นจะมขี ดทอความเยน็ หลายๆ ชนั้ การใชงานจะนํา
วตั ถดุ บิ มาวางบนขดทอเยน็ นี้ วตั ถุดิบดานท่สี มั ผัสกับขดทอจะเยน็ เร็วและแขง็ ตวั เรว็ กวาอกี ดานหน่งึ เปน วิธีทค่ี อ นขางโบราณ
มขี อ ดีคือ มีคา ใชจายในการบาํ รงุ รักษาไมสูงนกั แตมขี อเสยี คือ น้าํ แข็งเกาะขดทอ ไดง า ย ใชเวลาในการแชน าน 8-10 ชว่ั โมง และ
ตอ งเสยี เวลาในการจัดเรยี งวัตถดุ บิ บนขดทอดงั กลา ว เหมาะกับการแชแ ข็งผลิตภัณฑท ่ีมีรูปรางไมแ นนอนคร้ังละมากๆ

รปู ที่ 2-8.10 การลดอุณหภูมิแบบ Sharp Freezer
¾ ระบบลดอุณหภูมิแบบ Contact Freezer มที ้ังแบบ Plate และ Block Freezer คอื วัตถุดบิ ทีจ่ ะทาํ การแชแขง็
จะวางบนช้นั ซึ่งชั้นทกุ ชั้นทําหนา ทเ่ี ปนคอลยเย็น เมอ่ื วางวตั ถดุ บิ จนเตม็ แลว ระบบไฮโดรลิกจะทําการกดแผน โลหะดานบน
ลงมาสมั ผัสกับวัตถดุ ิบ เพื่อใหค วามเยน็ ทง้ั สองดาน จะมีอัตราการถา ยเทความรอ นทด่ี ีกวาแบบ Sharp Freezer แตม ี
ขอ จํากัดคอื ผลติ ภณั ฑท ี่แชแ ข็งจะตองมขี นาดและรูปรางสมํ่าเสมอ นิยมทาํ เปนตมู ากกวา ทาํ เปนหองเย็นขนาดใหญ ใชเวลา
ในการแชแ ตล ะครงั้ ไมเกิน 4 ชัว่ โมง ดงั นัน้ การถายเทความเย็นระหวา งคอลยเย็นและวัตถุดบิ จะเปน โดยการนําความรอน
โดยตรง ดงั รูป 2-8.11

รูปท่ี 2-8.11 การลดอุณหภูมิแบบ Contact Freezer

247

¾ ระบบลดอุณหภูมแิ บบ Air Blast Freezer คือ กรรมวิธีการลดอุณหภมู ิโดยทวี่ ัตถุดบิ จะถูกบรรจภุ ายในหอง ซ่ึง
ลมเยน็ พัดผา นวัตถุดิบนน้ั โดยทว่ั ไปวัตถุดิบจะถูกบรรจุจนเต็มหองและถกู ทาํ ใหลดอณุ หภูมิในคราวเดยี วกนั ขอ กาํ หนดการ
ออกแบบ คอื 1) ความเรว็ ลมผา นวัตถดุ ิบมากกวา 3 เมตร/วนิ าที 2) คา สัมประสิทธิภ์ าระพาความรอนที่ผวิ ของวตั ถุดิบ
ประมาณ 38 W/m2–K 3) ปริมาณลม 1-3 ลิตร/วนิ าที-กโิ ลกรัมของวัตถุดิบ การแชแขง็ วธิ นี แี้ บง ตามลกั ษณะการใชงานไดอีก
ดังนี้

Tunnel Freezer วัตถุดบิ จะถกู เรียงใสถาดหรอื รถเข็น วธิ ีน้ีจะตองมีชอ งวา งระหวา งวัตถุดิบเพื่อใหม ีทว่ี างสําหรบั ลม
พดั ผา นใชเ วลาในการแชแข็งประมาณ 4-6 ชั่วโมง

รปู ที่ 2-8.11 การลดอณุ หภูมแิ บบ Air Blast Freezer ในลกั ษณะ Tunnel Freezer
Belt Freezer เหมาะสาํ หรับการแชแข็งแบบแยกเปนช้ิน/ตวั หรือทเ่ี รียกวา IQF (Individual Quick Freezing) โดยท่ี
วตั ถดุ ิบที่จะทําการแชแ ข็งจะถกู ลําเลียงเขาหองโดยสายพานลําเลยี ง มักจะใชกบั ผัก และผลไม หรือวตั ถดุ ิบทีใ่ ชเ วลาในการ
แข็งตวั ไมม ากกวา 30 นาที ดังรปู 2-8.12

Air Flow

รปู ท่ี 2-8.12 การลดอณุ หภูมแิ บบ Air Blast Freezer ในลักษณะ Belt Freezer
Fluidized Bed Freezer ลักษณะเหมือน Belt Freezer แตแ ตกตา งตรงทสี่ ายพานจะส่ันสะเทอื นตลอดเวลา ทาํ ให
สง่ิ ของทีว่ างไมตดิ กับสายพาน วิธนี ้ีเหมาะกับวัตถดุ บิ ท่ีมขี นาดเลก็ นํ้าหนกั เบา ผลิตภณั ฑท ีไ่ ดถือวา เปน IQF
ขอ ดีของ Air Blast สามารถผลิตผลิตภณั ฑแ บบ IQF และใชเ วลาในการแชแ ข็งส้นั สวนขอเสียคอื หากไมม กี ารบรรจุ
หีบหอ กจ็ ะสูญเสียนํา้ หนกั เพราะมีการระเหยของไอนํ้าออกจากผลิตภัณฑ

¾ ระบบลดอณุ หภูมแิ บบ Cryogenic Freezer การแชแข็งแบบน้ีอาศัยสารทมี่ จี ุดเดือดต่าํ และไมปนเปอนกบั
ผลิตภณั ฑ สารทนี่ ยิ มใชค อื ไนโตรเจนเหลว(จุดเดือด-196oC)และคารบ อนไดออกไซด (จุดเดอื ด -78oC) ลักษณะระบบนี้
เหมือนกบั Air Blast ชนิดสายพาน ในการแชแขง็ จะมกี ารพนสารทาํ ความเยน็ เหลวลงมาสัมผัสกับผลิตภัณฑแทนการใชล ม
เย็นเปา ผวิ ดา นนอกผลติ ภณั ฑจะแข็งตัวอยา งรวดเรว็ บางครั้งอาจมกี ารแตกรา วของผิวไดงาย วิธนี ไ้ี มเหมาะกบั ผลิตภัณฑท่ี
มคี วามหนามาก เพราะทําใหสิ้นเปลอื งสารทําความเย็นมากข้ึน

248

รูปท่ี 2-8.13 การลดอุณหภูมิแบบ Cryogenic Freezer

ตารางท่ี 2-8.2 แสดงคาสัมประสทิ ธิ์การถา ยเทความรอนของเครอ่ื งแชแขง็ ชนิดตา งๆ

ชนดิ เครอ่ื งแชแ ขง็ สมั ประสทิ ธก์ิ ารถา ยเทความรอ น (W/m2K)

Contact Freezer 100-1,000

Tunnel Freezer 15-50

Belt Freezer (Spiral Freezer) 35-40

Evaporating Liquid / Solid Freezer 140-280

ตารางท่ี 2-8.3 แสดงลกั ษณะเฉพาะทเ่ี หมาะสมในการใชงานของเครื่องแชแขง็ ชนดิ ตา งๆ

ชนดิ ของเคร่ืองแชแ ข็ง ช่อื เรยี กผลิตภัณฑ ลักษณะการผลิต
1.Contact Freezer Block - วัตถุดบิ ที่มเี ปยก (Wet product)
- สนิ คาท่ีไดทํา Pre-Packaged
2.Air Blast Freezer - สนิ คา ที่มีราคาไมส งู นัก
2.1 Tunnel - วตั ถุดบิ ท่มี ขี นาดไมห นามากนกั
- อตั ราการผลิตปานกลาง
2.2 Belt - วัตถุดิบจําพวก ปลา ปลาหมกึ กุง ซรู ูมิ กุง
2.3 Fluidization
3.Cryogenic IQF - วตั ถดุ บิ ทม่ี ขี นาดเล็ก บาง
- สินคาท่ีไดท ํา Pre-Packaged
- อัตราการผลติ ตาํ่
- วัตถดุ บิ จาํ พวก ปลา ปลาหมึก กุง สนิ คามลู คา เพมิ่

IQF - วตั ถดุ บิ ท่ีมีขนาดเล็ก บาง
- อัตราการผลติ ตํ่า
- วัตถุดบิ จาํ พวก ปลา ปลาหมกึ กุง สนิ คามูลคา เพ่ิม

IQF - วตั ถดุ ิบที่มีขนาดเล็ก นา้ํ หนักนอย
- อัตราการผลิตสงู กวาและราคาเครอ่ื งสงู กวา Tunnel และ Belt

IQF - สินคา ท่มี ีมูลคาสงู
- สินคาท่มี ีอัตราการสญู เสยี นํ้า (Dehydration) สงู
- สนิ คาท่ไี ดทาํ Pre-Packaged
- อตั ราการผลิตสูง
- วตั ถุดบิ จาํ พวก กุง สินคาที่มมี ลู คาสูง

249

(3) การหาสมรรถนะของระบบทําความเย็นทําอยา งไร?

สมั ประสทิ ธส์ิ มรรถนะการทําความเยน็ (Coefficient of Performance: COP) หมายถงึ ปรมิ าณความเย็นทีท่ าํ ได( Q)
เทียบกบั พลงั งานทีใ่ ชขับคอมเพรสเซอร(W) โดยจะเก่ียวขอ งกบั แผนภมู คิ วามดัน-เอนทาลปข องสารทําความเย็น(P-H diagram)
แผนภูมคิ วามดนั -เอนทาลปของสารทาํ ความเยน็ แตล ะชนิด เชน R-12, R-22, R-502 หรือ R-717 จะคลา ยกนั แตใ ชแ ทนกนั ไมไ ด
ใชว เิ คราะหห รือออกแบบเครอ่ื งทาํ ความเย็นทาํ ใหทราบถึงภาระของอปุ กรณใ นระบบ โดยแผนภมู คิ วามดนั -เอนทาลปใ ชส าํ หรบั
การออกแบบระบบเมอื่ ใชส ารทาํ ความเยน็ ทีม่ ีนา้ํ หนัก 1 กโิ ลกรัม ดงั น้ันเมอ่ื ตองการปรบั ลด/เพิม่ ขนาดการทําความเยน็ ก็
สามารถทาํ ไดโดยลด/เพิ่มปรมิ าณสารทําความเยน็ เพอื่ ใชง านตามตอ งการ ในการหาคา COP เราควรเก็บขอ มลู 4 คา คอื

1. ชนดิ นํ้ายาสารทาํ ความเยน็
2. ความดนั ทางดานออกของเคร่ืองอดั (ความดนั สัมบูรณ)
3. ความดนั ทางดานดดู ของเคร่ืองอดั (ความดนั สัมบูรณ)
4. กําลงั ไฟฟาท่ีเคร่ืองอัดใชงาน
จากคาความดนั ดานสงู และความดนั ดา นต่ํา เรานาํ ไปกําหนดลงในแผนภูมิความดนั -เอนธาลปข องสารและหาคา
อ่นื ๆ ตามขน้ั ตอนดังน้ี

ขั้นตอนท่ี 1. ลากเสน ความดนั สูง FE และความดันตาํ่ AC ลงบน P-H diagram
ขน้ั ตอนที่ 2. จากจดุ F ลากเสน ลงมาตรงๆ (ตามเสน อุณหภมู คิ งที่) ตัดกบั เสน AC ท่ี B
ขั้นตอนที่ 3. จากจดุ C ลากเสน ตามเสนเอนโทรป (S) คงท่ี ตัดกบั เสนความดนั FE ท่จี ดุ D

ความดันสมั บูรณ

F E Dปตรัวมิ คาวณบสคาุมร คอนเดนเซอร เครอื่ งอัด
AB C อีวาโปเรเตอร

AB C D
เอนทาลป

รูปท่ี 2-8.14 แสดงอุปกรณก บั จุดตา งในแผนภมู ิความ-เอนทาลป

การวเิ คราะหร ะบบทําความเยน็ โดยแผนภมู ิความดนั -เอนทาลป

สามารถหาคา เอนธาลป (h) ซ่ึงเปนคาความรอ นใชง านในแตละอุปกรณข องระบบทําความเย็นดังน้ี

hC – hB = ความเยน็ ท่อี ีวาโปเรเตอรท าํ ไดตอ 1 kg สารทําความเยน็

hD – hC = กําลังไฟฟาทค่ี อมเพรสเซอรใชง านตอ 1 kg สารทําความเย็น

hD - hF = ความรอ นท่ีคอนเดนเซอรร ะบายออกไปจากระบบตอ 1 kg สารทําความเย็น

และ COP = hC − hB = ความเยน็ ทรี ะบบทําได(Q) (2-8.1)
hD − hC กาํ ลังไฟฟาทคี่ อมเพรสเซอรใ ชง าน(W) (2-8.2)

= 0 (hC − hB )
(hD − hC )
m⋅

0

m⋅

โดย o = อตั ราการไหลของสารทาํ ความเย็น kg/sec

m

250

ขอควรสังเกต

1. จากแผนภูมิความดัน-เอนทาลปร ปู สามเหลี่ยม ABF บอกสภาพไอท่ีเกิดจากการขยายตัวของสารทาํ ความเย็นขณะ
ผา นตัวควบคมุ ปรมิ าณสารทําความเยน็ ถา เราสามารถทําใหจุด F อยูในสภาวะ Sub Cooled Liquid จะสามารถเพิม่ ความ
เยน็ ทีอ่ วี าโปเรเตอรได และคา COP จะสูงขึน้ ดวย

2. ถาสามารถลดความดนั FED ลงไดกําลังไฟฟาของคอมเพรสเซอรจะลดลง

3. จดุ C เปนสภาวะไออ่มิ ตวั และเปนตาํ แหนงปลายสดุ ของอวี าโปเรเตอร บางครงั้ อาจมีโอกาสที่จุด C จะมขี องเหลว
หลงเหลืออยู ถาคอมเพรสเซอรซึ่งมหี นา ทอ่ี ดั ไอตอ งอัดไอเปย กจะเกดิ ความเสียหายตอ คอมเพรสเซอรมาก จงึ ควรทําสภาวะ
ที่จดุ C ใหเ ปน ไอรอ นยิง่ ยวด (Superheated Vapor) เล็กนอ ย

4.ความตอ งการในขอ 1 และขอ 3 สามารถนาํ เครื่องแลกเปลย่ี นความรอนมาสรางภาวะ Sub Cooled และ
Superheated ไดอ ยา งสอดคลอ งกัน

การหาคา hC, hF และ hB หาไดโดยใชตารางคุณสมบัติสารนํ้ายาทสี่ ภาวะของเหลวและไออ่ิมตวั สําหรบั hD จะใช
ตารางหรอื กราฟของ Superheated Vapor ดงั รายละเอยี ดดงั น้ี

- hC เปดตารางสารนา้ํ ยาทีค่ วามดนั ดานต่ํา และใชช อง hg เนื่องจากเปนสภาวะไออิม่ ตัว

- hF เปดตารางสารนา้ํ ยาท่คี วามดนั ดานสูง และใชชอง hf เนื่องจากเปน สภาวะของเหลวอม่ิ ตัว และ hF = hB เนื่องจาก
เปนกระบวนการลดความดนั โดยคา เอนทาลปค งที่

- hD สามารถพิจารณาโดยใชแผนภูมิหรือตารางของ Superheated Vapor ของสารทําความเย็นซ่งึ จากตารางจะใช
หลักเอนโทรปท ี่จดุ C เทากบั เอนโทรปทจ่ี ุด D และเปดที่ความดนั ดานสงู จะได hD หรอื ถา ใชก ราฟใหก าํ หนดจุด C กอน
จากนน้ั ลากเสนเอนโทรปท ี่ C ไปตัดกับเสน ความดนั ดานสงู FE จะไดจุด D ซ่ึงสามารถอา นคา hD ได

ตวั อยางขอ มูลการตรวจวัดและหาคา COP

ชนดิ สารนา้ํ ยา = R-717 (แอมโมเนยี )

ความดันเฉลยี่ ดานดดู = 2.8 Bar (g)

(ความดนั สัมบูรณ = Pg+Patm : เมือ่ Patm = 1.013 บาร) = 3.813 Bar (abs)

ความดนั เฉล่ียดานจา ย = 15 Bar (g) = 16.013 Bar (abs)

กําลังไฟฟาทใี่ ชในคอมเพรสเซอร = 114 kW

32

41

รูปที่ 2-8.15 แผนภมู คิ วามดนั -เอนทาลปสารทําความเย็น R-717 (แอมโมเนีย)
การคาํ นวณ

จากขอมลู การตรวจวดั สามารถนาํ ไปหาคาเอนทาลป h ของน้ํายาแอมโมเนยี ที่ตําแหนง ตา งๆดังนี้

251

- ตาํ แหนง 1 เปน ตาํ แหนงไออ่มิ ตัว หาจาก hg ทค่ี วามดัน 3.813 บาร จะได h1 = 1,758 kJ/kg
- ตาํ แหนง 2 เปนตาํ แหนง ของไอยง่ิ ยวด จึงหา h โดยลากเสนเอนโทรปท ี่ตําแหนง 1 ไปตัดเสนความดนั ที่ 16.013
บารจ ะได h2 = 1,967 kJ/kg
- ตําแหนง 3 เปน ตาํ แหนง ของเหลวอม่ิ ตวั หาจาก hf ท่ีความดัน 16.013 บาร จะได h3 = 692 kJ/kg
- ตาํ แหนง 4 เปนกระบวนการเอนทาลปคงท่ี จึงได h4 = h5 = 692 kJ/kg

COP = (h1 – h4) / (h2 – h1) = (1,758 – 692) / (1,967 – 1,758) = 5.10
หรือ พิจารณาไดในรปู ของดัชนีการใชพ ลงั งาน kW/TR

kW / TR = [COP x 3.14 x (1,000 / 12,000)] –1 = 0.75

ดังนั้น ความเย็นท่ีระบบทําได = COP x กําลังไฟฟา ทคี่ อมเพรสเซอรใชง าน = 5.10 x 114
= 581.4 kWth = 165.31 ตนั ความเยน็

(หนวยความเยน็ 1 ตนั ความเยน็ = 12,000 Btu / hr = 3.517 kWth)

เราสามารถจะวิเคราะหร ะบบไดแ มน ยาํ มากยิง่ ขึน้ ถา เราสามารถทราบถึงอุณหภูมิท่ีจดุ ตา งๆ เพ่ือกําหนดเขา ไปใน
แผนภูมคิ วามดนั -เอนทาลปจ ะไดวัฎจักรของระบบท่ีทาํ งานเปนจริงมากย่งิ ขึ้น

เครอื่ งทําความเยน็ ท่ีประหยัดพลังงานจะตองมคี า COP สูง แปรเปลีย่ นตามสภาวะการออกแบบ สภาวะการทํางาน
และสภาวะการใชง านของเคร่อื ง ผอู อกแบบเครื่อง สรางเครื่อง ทาํ การบาํ รุงรกั ษาและใชเ คร่อื งจึงเกีย่ วขอ งกับคา COP ปจ จัย
ทางปฏบิ ตั ิ ทมี่ ีผลตอ COP มดี งั น้ี

ตารางท่ี 2-8.4 การออกแบบและการใชงานเพ่ือใหเกิดการประหยัดพลังงาน

ผอู อกแบบระบบ ผูใ ชง านและบํารงุ รกั ษาระบบ

1) ออกแบบเคร่ืองใหมอี ุณหภูมิทาํ ความเยน็ สงู ทส่ี ุด 1) ปรบั ตั้งอุณหภมู ทิ าํ ความเยน็ ใหส ูงเทา ที่ทาํ ได

เทา ที่ทําได แตอ ณุ หภูมยิ งั คงต่าํ พอทจี่ ะใชง านนั้นๆ ไดด ี แตอ ณุ หภมู ยิ งั คงต่ําพอท่ีใชง านนน้ั ๆไดแ ละไมม ีผลเสยี ตอ เครอื่ ง

2) เพม่ิ ความสามารถการถายเทความรอ นของ 2) คงระดับความสามารถในการถา ยเทความรอ นของอวี าโปเร

อวี าโปเรเตอร เตอรใ หสงู ตลอดเวลาโดย

- เพม่ิ พนื้ ทถ่ี ายเทความรอ น - ลางทําความสะอาด

- เพิ่มคาสมั ประสิทธกิ์ ารถายเทความรอ น - หวีครีบ (Fin) ทล่ี ม ใหเปน ระเบียบ

- เพิม่ อณุ หภมู ทิ าํ ความเยน็ - ปอ งกนั ลมรว่ั หรอื ลัดวงจร

3) เพม่ิ ความสามารถของคอนเดนเซอร - ถา ยน้ํามนั หลอลนื่ ท่สี ะสมในอวี าโปเรเตอร

- เพ่ิมพ้นื ทร่ี ะบายความรอน 3) คงระดบั สภาพการระบายความรอ นทค่ี อนเดนเซอรใ หสงู

- เพิม่ สมั ประสทิ ธกิ์ ารถายเทความรอ น ตลอดเวลาโดย

- ใชสารระบายความรอ นคอนเดนเซอร - ลางทําความสะอาดคอนเดนเซอร

ทม่ี อี ณุ หภมู ติ ่ํา(น้าํ มีอณุ หภมู ติ ํ่ากวาอากาศ) - หวีครีบ (Fin) ระบายความรอ นทีล่ ม ใหเ ปน

4) ลดแรงเสยี ดทานการไหลของสารทําความ ระเบยี บ(กรณรี ะบายความรอ นดวยอากาศ)

เยน็ ในอีวาโปเรเตอร และในระบบทอ ความดนั ตํ่า - ปอ งกนั ลมรว่ั หรอื ลดั วงจร

5) ลดแรงเสยี ดทานการไหลของสารทาํ ความ - บาํ รุงรักษาหอทํานํ้าเยน็ ใหมคี วามสามารถ

เยน็ ในคอนเดนเซอร และในระบบทอความดนั สูง ในการระบายความรอ นสูง

6) ออกแบบใหสารทาํ ความเยน็ ไหลในระบบใหมีปรมิ าณ 4) ตรวจสอบปรมิ าณของสารทําความเยน็ ในระบบ

ทีเ่ หมาะสม 5) ถายอากาศในระบบออก (Air Bleed)

252

(4) ระบบการละลายนํา้ แขง็ (Defrost) ในอตุ สาหกรรมมแี บบใดบาง ?
หากตอ งการใชงานอุณหภมู ติ ํ่ากวา 0๐C ที่ความดนั บรรยากาศ ซงึ่ ทีอ่ ุณหภมู ินีน้ ้ําจะมีสถานะเปน นา้ํ แข็ง เมอื่ นาํ

วตั ถดุ ิบหรือผลิตภณั ฑเขา มารักษาอุณหภมู ิ ก็จะมีความชืน้ ระเหยจากผวิ สูบรรยากาศ นอกจากนี้ยังมีความชื้นจากบรรยากาศ
ภายนอกอันเนอื่ งมาจากการเปด -ปดประตูบอย ความช้นื เหลา นีเ้ ม่อื ไดรับความเยน็ จากสวนทําความเยน็ ก็จะกลายเปนน้ําแข็ง
เกาะสว นทาํ ความเยน็ ซงึ่ จะสง ผลใหก ารถา ยเทความเย็นภายในหองเย็นลดลง สง ผลใหไมส ามารถทําอุณหภูมใิ นหอ งทํา
ความเย็นไดต ามคาทต่ี องการ จงึ ตองมกี ารละลายนาํ้ แข็งที่เกาะสวนทําความเยน็ น้ีทงิ้ วิธกี ารละลายนํา้ แขง็ ท่งี ายที่สดุ คือ การ
ปดระบบทาํ ความเยน็ แตใ นทางปฏบิ ัตเิ ราไมส ามารถปด ระบบทาํ ความเยน็ ได จึงตองดําเนนิ วิธกี ารตา งๆ ดงั นี้

1. การละลายนาํ้ แขง็ ดวยนํา้ (Water Defrost) โดยการฉดี นา้ํ อุนเขาไปภายในหอ งเยน็ อยางเร็ว และฉีดหลายๆ
จุดโดยกอ นฉดี จะตอ งปดเครอ่ื ง และตอ งคํานึงถึงทอนํ้าระบายท้งิ ตอ งเหมาะสมกับปรมิ าณนํ้าทใ่ี ชในการละลายน้ําแขง็ รวมกับ
นํา้ แขง็ ท่ลี ะลายออกจากสวนทาํ ความเยน็ ใชเ วลา 5-10 นาที การทํางานสามารถควบคมุ ไดโ ดยผูใ ชงานหรือแบบอตั โนมัติ
โดยใชอ ปุ กรณต้งั เวลา (Timer)

2. การละลายนา้ํ แขง็ ไฟฟา (Heater Defrost) วธิ ีน้ีมักใชในการละลายนํ้าแข็งสาํ หรบั การทาํ ความเย็นแบบครีบโดย
ใชขดลวดความรอน(Heater) การทํางานสามารถควบคมุ ไดโ ดยผูใชงานหรือแบบอตั โนมัตโิ ดยใชอ ุปกรณตั้งเวลาปรบั ตั้งให
ระบบทาํ งานไดเอง

3. การละลายนํา้ แขง็ ดวยกา ซรอน (Hot Gas Defrost) วธิ ีนจ้ี ะนําความรอ นจากสารทาํ ความเยน็ ทีผ่ านเครื่องอดั
เขา ไปยังสว นทําความเยน็ แทนทีส่ ารทาํ ความเยน็ เหลวที่ผา นการระบายความรอนมาแลว เปน วธิ ที ีเ่ หมาะสม ประสิทธิภาพใน
การละลายดี รวดเร็วและสนิ้ เปลืองพลงั งานตํา่ ท่ีสุด ดงั รปู ท่ี 2-8.16

รูปท่ี 2-8.16 ระบบละลายนํ้าแข็งดวยกาซรอ น
ถึงแมวาการละลายนํ้าแขง็ โดยวิธีท่ีกลา วขางตนเปนการเพิม่ ภาระการทํางานของระบบการทําความเย็น แตก ม็ ี
ความจําเปนเพราะถาไมมีการละลายนํา้ แข็งก็จะทําใหป ระสิทธภิ าพการแลกเปลยี่ นความรอ นของสวนทาํ ความเย็นลดลง
สงผลใหไมส ามารถรักษาอณุ หภมู ิใหไดตามที่ตองการ อันจะสง ผลตอ ผลิตภัณฑ นอกจากน้ียงั ทาํ ใหเครอ่ื งอัดสารทาํ ความเย็น
และใชพลงั งานส้ินเปลืองมากขนึ้ ดวย และที่สําคญั ในการใชระบบละลายน้ําแข็งแบบตา งๆ คอื ความเหมาะสมของเวลาในการ
ละลายนาํ้ แข็ง ซึ่งหากมากเกินไปจะเปน การเพิ่มภาระความรอ นกับหองเยน็ ได แตถา เวลานอ ยเกินไปนา้ํ แขง็ ท่ีเกาะติดอยอู าจ
ละลายไมห มดเชน กนั

253

2-8.3 เราจะเลือกระบบทาํ ความเยน็ ใหเ หมาะสมไดอยา งไร?

(1) ระบบทําความเยน็ แตละแบบเหมาะกับงานในอุตสาหกรรมประเภทใด?

ตารางที่ 2-8.5 การใชระบบทําความเย็นแตล ะแบบในอตุ สาหกรรม

ระบบทาํ ความเย็น ลักษณะ / อุตสาหกรรมในการใชง าน
Direct Expansion
- นยิ มใชกับระบบทําความเยน็ ท่ีมขี นาดการทําความเยน็ ไมม ากนัก
Flood Coil - สวนใหญมกั เปน ระบบแบบ Individual Unit
- การใชงานไดแ ก หอ งเยน็ ขนาดเลก็ ตแู ชโชวสนิ คาตามหา งสรรพสินคา
Pump Recirculation - ใชก ับระบบทาํ ความเย็นทม่ี ขี นาดการทําความเยน็ สงู
- การใชง านเปนแบบรวมศนู ย ซึ่งมชี วงอุณหภมู ิในการทาํ งานไมกวา งมาก
- การใชง านไดแก อตุ สาหกรรมผลติ นํ้าแข็งซอง นาํ้ แข็งหลอด
- ใชกับระบบทาํ ความเย็นที่มขี นาดการทําความเยน็ สงู
- การใชง านเปนแบบรวมศนู ย ซงึ่ มรี ะดับอณุ หภูมใิ นการทาํ งานกวา งมากหลายระดับอณุ หภมู ิ

เชน หอ งเยน็ 0, -18, -30 oC เปน ตน
- ใชงานกับระบบทมี่ ีเครอ่ื งระเหยหลายๆ ชุด
- การใชง านไดแก อุตสาหกรรมอาหาร หอ งเยน็ แชแ ข็ง

(2) การพจิ ารณาเลือกใชส ารทําความเย็นอยางไรใหเหมาะสม?

ในการเลอื กใชตองเลือกใหเหมาะสมสําหรับงานแตละประเภทและมคี วามปลอดภยั ควรพจิ ารณาดงั นี้

- ไมเ ปน พิษ ไมเ ปนอนั ตรายตอระบบหายใจและผวิ หนังของมนษุ ย
- ไมต ิดไฟ และไมก ดั กรอ น ความดันทาํ งานไมสูงเกนิ ไป
- หากมกี ารรว่ั ไหลสามารถทราบไดทนั ทหี รอื ตรวจสอบไดงายและไมปนเปอนกับสิ่งบรโิ ภค
- ขณะอยูในสภาพแกสตอ งมเี สถียรภาพคงท่ี และขณะอยใู นสภาพของเหลวตอ งไหลงาย
- คา ความรอ นแฝงตอ หนวยนา้ํ หนักสูง
สารทําความเย็นมหี ลายชนิด สารในกลมุ CFCs (Chlorofluorocarbons) มีผลทําลายบรรยากาศชัน้ โอโซน จงึ มกี าร
พฒั นาสารทําความเยน็ ที่ทําลายสิง่ แวดลอมนอยหรอื HCFCs (Hydrochlorofluorocarbons) ในปจจบุ ันสารทาํ ความเย็นท้ัง
สองกลุมถูกใหล ดปรมิ าณการใชและจะถกู ยกเลิกการใชในอนาคต

ตารางที่ 2-8.6 แสดงชนิด คุณลกั ษณะ และผลกระทบตอสิง่ แวดลอ มของสารทําความเยน็

สารทาํ ความเยน็ ช่ือทางเคมี สตู รทางเคมี ODP1 GWP2
1.0
R-11 Trichloromonofluoromethane CCl3F 1.0
R-12 Dichlorodifluoromethane CCl2F2 0.34
R-22 Monochlorodifluoromethane CHClF2 0.05 0.34
R-134a 0 0

R-290 Propane CH3CH2CH3 0 0

R-500 Azeotropic Mixture Refrigerant R-12/R-152a 78.3/26.2 wt% CCl2F2/CH3CHF2

R-502 Azeotropic Mixture Refrigerant R-22/R-115 48.8/51.2 wt% CHClF2/CClF2CF3

R-717 Ammonia NH3 0

หมายเหตุ
1 ODP: Ozone Depression Potential คอื ศักยภาพการทําลายโอโซนเทยี บกบั R-11 เมือ่ R-11 มคี า ODP = 1
2 GWP: Global Warming Potential คือ ศกั ยภาพการทาํ ใหเกดิ สภาวะเรือนกระจกเทยี บกับ R-11 (R-11 มคี า GWP =1)

254

การพิจารณาเลือกใชส ารทาํ ความเยน็ จะตองสอดคลองกับรนุ ของเครือ่ งอดั ดังนัน้ ในปจจบุ นั ซ่ึงกาํ ลงั ลดปริมาณการ
ใชและยกเลิกการใชสารทําความเยน็ ในกลุม CFCs และ HCFCs ตามขอ ตกลงนานาชาติเกยี่ วกบั สารทีท่ ําลายโอโซนท่ีจะตอ ง
เลิกใชงานสาร CFCs ในวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2539 ทผี่ า นมา และจะยกเลิกการใชงานสาร HCFCs ในป พ.ศ.2573 ซึง่ สาร
HCFCs เชน R-22 กาํ ลังอยใู นชว งเปลี่ยนแปลงและยกเลิกการใชอ ยา งถาวรในอนาคต ทผ่ี านมาไดมีการพฒั นาสารทาํ ความ
เยน็ ตวั ใหมเ พ่อื ทดแทน เชน R-123 ปจ จบุ นั ไดนํามาใชง านแทน R-11, R-143a ไดนาํ มาใชงานแทน R-12, R-407c ได
พัฒนาเพื่อนาํ มาใชงานแทน R-22

โดยในแงของการประหยัดพลังงาน คณุ สมบัติทสี่ าํ คัญซึง่ มีผลตอประสิทธภิ าพและความสามารถ คอื

1) ความรอ นแฝงของการกลายเปนไอ (Latent Heat) 3) ปริมาตรจาํ เพาะ (Specific Volume)

2) อัตราสวนการอัด (Compression Ratio) 4) ความรอนจําเพาะ (Specific Heat)

ระบบทําความเยน็ ทวั่ ไปจะตองการคาความรอนแฝงสูง เพื่อใหมีอตั ราการไหลเชิงมวลตอหนวยความสามารถในการ
ทาํ ความเย็นมีคา ตาํ่ ๆ ประกอบกบั คา ปริมาตรจําเพาะตํ่าจะยิ่งชว ยทาํ ใหประสิทธิภาพและคาความสามารถในการทาํ ความ
เยน็ เพ่มิ สงู ขน้ึ ประสทิ ธภิ าพและความประหยดั ในการใชงานไมไ ดเ ปน องคป ระกอบในการตัดสนิ ใจในการเลือก เน่ืองจาก
พลังงานที่ตอ งการตอ หนวยความสามารถทาํ ความเยน็ น้ันมีคาใกลเคยี งกันมาก สง่ิ ที่สําคัญคอื คณุ สมบัติซงึ่ ชว ยลดขนาด
นาํ้ หนัก ราคาของระบบทําความเยน็ ราคาและสารทําความเย็นทีห่ าไดง า ย เหลา น้เี ปน เหตุในการเลอื กใชม ากกวา

(3) ภาระการทาํ ความเยน็ (Load of Refrigeration) มอี ะไรบาง?

ภาระการทําความเย็น คอื ปริมาณความรอ นรวมทง้ั หมดทเ่ี ครอ่ื งทําความเย็นจะตอ งเอาออกจากพื้นที่ควบคมุ หรือ
ผลติ ภณั ฑ ซงึ่ ไดแก 1) ความรอนท่ผี านผนังโดยการนาํ ความรอ นผา นฉนวนกนั ความรอ น 2) ความรอ นจากการแผร งั สี
โดยตรงจากผนงั โปรง แสงทสี่ ามารถผานได 3) ความรอนจากอากาศภายนอกทเ่ี ขา สูพื้นท่ีควบคุมผานทางชองเปด 4) ความ
รอ นจากผลติ ภัณฑท มี่ ีอณุ หภมู ิสูงเขา มาภายในบริเวณทาํ ความเยน็ 5) ความรอนจากคนและอปุ กรณใ นบรเิ วณทาํ ความเย็น
เชน แสงสวา ง มอเตอร

2-8.4 ระบบทาํ ความเยน็ สามารถประหยัดพลังงานไดอ ยางไรบาง?

แนวทางในการลดการใชพลังงาน จะตอ งทําการตรวจวนิ ิจฉัยและวิเคราะหในแตล ะปจจยั

Cooling Load (kW) c

Electric Power = x Operating
Consumption of Time (hr)

Refrigeration C.O.P. of x Motor x Trans g
(kWh) Eff Eff η t
System d
η me f

Power of Operating

+ Auxilary x Time (hr)

(kW) h i

Pump, Cooling fan, FCU

ปจ จัยทสี่ ง ผลตอการใชพ ลังงานไฟฟา ในระบบทําความเยน็ มดี ังนี้

255

แนวทางการประหยดั พลงั งาน มาตรการท่ดี าํ เนนิ การ
1. ลดภาระการทาํ ความเยน็ จาก
- เลือกใชว สั ดทุ ่มี คี ณุ สมบัตเิ ปนฉนวนความรอนทีด่ ีสําหรับผนงั และมกี ารตรวจสอบสมาํ่ เสมอ
ภายนอกใหเหลือนอยท่สี ดุ - ลดการร่ัวไหลอากาศภายนอกเขาสภู ายในระบบหอ งเย็น
2. ลดภาระการทําความเย็น - ปอ งกนั มใิ หแสงแดดกระทบผนงั โดยตรง
- สอบเทยี บเครื่องวดั และปรับตัง้ อณุ หภูมใิ หเหมาะสมกบั การใชงาน
ภายในใหน อยทสี่ ุด - ปรับปรงุ ระบบแสงสวา งภายในหองใหมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขึน้
- เลอื กใชอ ุปกรณไฟฟาภายในหอ งเย็นทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพสงู
3. เพิ่มสมั ประสิทธส์ิ มรรถนะ - เลือกใชร ะบบการละลายและปรับตั้งเวลาการละลายนํ้าแข็งใหเ หมาะสม
(COP) ใหสูงทีส่ ดุ - ควบคมุ ปรมิ าณสารทําความเยน็ ในระบบใหเ หมาะสม
- ทําความสะอาดพื้นทผ่ี ิวแลกเปล่ียนความรอนระหวางสารทําความเยน็ กับนํา้ หรอื อากาศ
4. เพ่มิ สัมประสทิ ธ์ิสมรรถนะ - ควบคุมปรมิ าณนาํ้ หรืออากาศใหไ หลผา นขดทอ แลกเปลยี่ นความรอนในอัตราท่เี หมาะสม
(COP) ใหส ูงที่สดุ - เพิม่ ขนาดพื้นทผ่ี วิ แลกเปล่ยี นความรอ น
- ปรบั ตัง้ หรอื เลอื กใชล น้ิ ลดความดนั ทีม่ ขี นาดเหมาะสม
5. เพ่ิมประสทิ ธิภาพของมอเตอร - ปรับตัง้ อณุ หภมู กิ ารทําความเยน็ ใหเหมาะสม
(ηm ; Motor Efficiency) ท่ี - ใชน้ําหรอื อากาศทีม่ ีอณุ หภูมติ ่าํ เขา ระบายความรอ น
ขบั คอมเพรสเซอรใหสูงที่สดุ - ใชระบบระบายความรอนดว ยนาํ้ แทนอากาศ
- เลอื กใชเ ครอ่ื งอัดทมี่ ีประสทิ ธภิ าพสงู
6. เพิ่มประสทิ ธิภาพระบบสง - เม่ือมอเตอรไ หมห รือมีอายกุ ารใชง านมากกวา 5 ป ควรเปลีย่ นใหมโ ดยเลือกใช
กาํ ลงั (ηt) ระหวา งเครอื่ งอัด
สารทาํ ความเยน็ กบั มอเตอร คอมเพรสเซอรประสทิ ธภิ าพสูง
ใหสูงทีส่ ดุ - คอมเพรสเซอรข นาดใหญควรซอ มมอเตอรไ มเ กนิ 3 คร้ัง เพราะมอเตอรไหมแ ตละครง้ั

ประสิทธภิ าพจะลดลง 4%
- อดั จารบีหรือสารหลอ ลืน่ เปนประจาํ
- เปล่ียนลกู ปน เมอ่ื หมดอายกุ ารใชง าน
- เปลีย่ นไปใชม อเตอรประสทิ ธิภาพสูง
- ปรับความตงึ สายพานใหเหมาะสม
- เปล่ียนสายพานเมอ่ื หมดอายุการใชงาน
- ใสส ายพานใหครบตามจาํ นวนทอ่ี อกแบบ
- เลือกใชสายพานทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง

256

แนวทางการประหยัดพลงั งาน มาตรการท่ีดาํ เนนิ การ

7. ลดช่ัวโมงการใชง าน - เปดใชงานใหช าทสี่ ดุ (Optimum Start)
(Operating Time) - ปดกอ นเลกิ ใชง านเรว็ ท่ีสดุ (Optimum Stop)
- ลดจํานวนเดนิ เครอ่ื งทําความเยน็ เมอื่ ภาระการของระบบตํา่
8. ลดพลงั ไฟฟาท่ใี ชก บั อปุ กรณ
ประกอบของระบบ เชน ปม - เปดใชง านในจาํ นวนทเ่ี หมาะสม
นา้ํ หอผึ่งเย็น เคร่อื งสง หรือ
จายลมเยน็ - เลอื กใชงานอุปกรณช ดุ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสูงเปนหลกั
- ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงอุปกรณใหม ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ขึ้น
9. ลดช่ัวโมงการใชงาน - ใชงานอปุ กรณใ นจุดท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด
(Operating Time) อปุ กรณ - ควบคมุ ชดุ ระบายความรอ นใหท าํ งานตามการทํางานของเคร่อื งอดั (ระบบทาํ งานเปนชดุ ๆ)
ประกอบ - เดินอปุ กรณป ระกอบใหเ หมาะสมกบั ภาระ
- ควบคมุ เวลาการเปด โดยไมเ ปด กอ นเวลาทํางานนานเกนิ ไป และปด ทนั ทเี มอื่ เลกิ งาน

แนวทางการประหยัดพลงั งานในระบบทําความเย็นมีดังนี้
(1) จดั การเดนิ เคร่ืองอยา งไรใหเหมาะสมและประหยดั พลังงาน?
(2) การลดความดันสารทําความเย็นดา นคอนเดนเซอรชวยประหยัดพลังงานอยางไร?
(3) การเพ่มิ ความดันดานอวี าโปเรเตอรใ หสงู ขน้ึ ชว ยประหยดั พลังงานอยางไร?
(4) เลอื กใชร ะบบละลายนาํ้ แข็ง (Defrost System) อยางไรใหเ หมาะสมและประหยัดพลังงาน?
(5) การลดภาระการทําความเยน็ ที่ไมจําเปนหรอื ปรับปรงุ ไดเพ่อื ประหยดั พลังงานมอี ะไรบา ง?

(1) จดั การเดินเครื่องอยางไรใหเหมาะสมและประหยัดพลงั งาน?

โรงงานสวนใหญจะตดิ ตั้งเคร่ืองทาํ ความเยน็ หลายชุดและใชง านสลับหรือพรอมกันในบางชดุ ตอนชว งภาระระบบสูง
โดยไมคํานึงถึงประสิทธภิ าพของเคร่ืองทาํ ความเย็นแตล ะชุด ดงั น้ันในชว งเวลาทภี่ าระระบบต่าํ หรอื เดินเครื่องเพยี งบางชุดแต
ชดุ ทเ่ี ลอื กเดนิ เปน ชุดท่มี ีประสทิ ธภิ าพตา่ํ จะสง ผลตอ การใชพลังงานที่สูงตามไปดวย อกี ทั้งอาจเกดิ ปญหาอัตราการทาํ ความ
เยน็ อาจไมเ พยี งพอกบั ภาระระบบทาํ ใหต องเดินเครือ่ งทาํ ความเย็นเพิ่มซึง่ มากเกนิ จาํ เปนไดเชนกัน โรงงานควรตรวจวัดและ
วเิ คราะหประสิทธภิ าพของเครื่องทําความเย็นอยา งนอ ยทกุ 2 เดือน โดยใชคา COP เปนตวั ชี้วดั ถงึ ประสิทธภิ าพของเคร่ือง
ทาํ ความเยน็ แตละชดุ เพื่อจัดทาํ เปน แผนการเดนิ เครื่องอยา งเหมาะสมและประหยดั พลงั งาน โดยทําการเลอื กเดินชุดท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพสูงเปน หลกั ทั้งนกี้ อนจัดการเดนิ ใหมต อ งปรับปรุงเครอื่ งแตล ะชุดใหอ ยใู นสภาพสมบรู ณที่สุดกอน

สมการท่ใี ชในการคาํ นวณ ใชส มการ (2-8.1) COP = (hC – hB) / (hD – hC)

ดูตัวอยา งเพ่อื ใหเ กิดความเขาใจ

โรงงาน ECON ติดต้งั ระบบทาํ ความเย็นขนาดพกิ ดั มอเตอรข ับเครอื่ งอดั 450 กโิ ลวัตต จาํ นวน 2 ชุด โดยปกติจะเดนิ
สลับกนั ในสดั สวนช่วั โมงการทํางานเทากัน หลังจากปรับปรุงสภาพของเครือ่ งทง้ั 2 ชดุ ดงั กลาวแลว ไดท าํ การตรวจวัดและ
วิเคราะหหาประสทิ ธิภาพเพื่อนํามาจดั การเดนิ เพอื่ ประหยดั พลังงานโดยการเลือกเดินเครื่องชุดทม่ี คี า COP สูงสุดเปนหลัก
จาก 50% เปน 75% โดยมผี ลการตรวจวดั ดังน้ี (ระบบทํางาน 24 ช่ัวโมง 350 วนั ตลอดปร ะบบมีภาระจากการใชพน้ื ท่หี อ ง
เยน็ เปลย่ี นแปลงโดยเฉล่ยี มภี าระ 80% โดยโรงงานมคี า ไฟฟา 3 บาทตอ หนวย) [วธิ คี าํ นวณ 1) กรอกขอมลู ลงไปในตารางใน
สว นของขอมูลเบ้ืองตนใหค รบถวน 2) ทําการคาํ นวณตามหัวขอ 2 การวิเคราะหข อมลู ]

257

รายละเอียด ความดันสารทาํ ความเย็น ความดันสารทาํ ความเย็น พลงั ไฟฟาทใี่ ชขณะ
ดา นสูง (Barg) ดา นตํ่า(Barg) เดินเครอ่ื ง(kW)
เครอื่ งทําความเยน็ ชุดท่ี 1 15.5 2.0
เครอื่ งทาํ ความเยน็ ชุดที่ 2 14.0 2.0 400
360

รายการ สัญลักษณ หนว ย ปรมิ าณ แหลงท่มี าของขอมูล

1. ขอมูลเบอ้ื งตน WCL kW 400 ตรวจวัด
WCH kW 360 ตรวจวัด
-พลังไฟฟา ทัง้ ระบบเมือ่ เดนิ เคร่ืองอดั ชดุ ทีม่ สี มรรถนะตํา่ No.1
-พลงั ไฟฟา ทัง้ ระบบเม่อื เดนิ เครือ่ งอดั ชดุ ทีม่ ีสมรรถนะสูง No.2 h1 kJ/kg 1,751 คุณสมบตั สิ ารทําความเยน็
-สารทําความเยน็ ท่ใี ช R-717
-เอนธาลปก อนเขา เครอ่ื งอัดชดุ ที่มีสมรรถนะตํา่ ทีค่ วามดนั h2 kJ/kg 2,005 คณุ สมบัตสิ ารทําความเยน็
เฉลีย่ 3.0 Bar
-เอนธาลปอ อกจากเครื่องอดั ชุดที่มีสมรรถนะต่าํ ทค่ี วามดัน h4 kJ/kg 696 คณุ สมบตั ิสารทําความเย็น
เฉล่ยี 16.5 Bar
-เอนธาลปก อนเขา อีแวปอเรเตอรชดุ ทีม่ สี มรรถนะต่าํ ที่ความ h1N kJ/kg 1,751 คณุ สมบตั ิสารทําความเยน็
ดันเฉล่ยี 16.5 Bar
-เอนธาลปกอ นเขาเครื่องอัดชุดที่มสี มรรถนะสูงทคี่ วามดัน h2N kJ/kg 1,989 คณุ สมบัติสารทําความเย็น
เฉลี่ย 3.0 Bar
-เอนธาลปอ อกจากเครื่องอดั ชดุ ท่ีมีสมรรถนะสูงทคี่ วามดัน h4N kJ/kg 682 คุณสมบัตสิ ารทําความเย็น
เฉลีย่ 15.0 Bar LF % 80 สอบถามโรงงาน
-เอนธาลปกอนเขา อแี วปอเรเตอรชดุ ที่มสี มรรถนะสูงทค่ี วาม hS hr/y 8,400 สอบถามโรงงาน
ดนั เฉลีย่ 15.0 Bar h1O hr/y 4,200 สอบถามโรงงาน
-แฟกเตอรภ าระ (Load) ที่เปลีย่ นแปลงตลอดทั้งป h2O hr/y 4,200 สอบถามโรงงาน
-ชัว่ โมงการใชงานของระบบทาํ ความเปน ตลอดทั้งป h1N hr/y 2,100 สอบถามโรงงาน
-ช่ัวโมงการใชงานของเครอ่ื งอัดท่ีมีสมรรถนะตา่ํ เดิม h2N hr/y 6,300 สอบถามโรงงาน
-ชัว่ โมงการใชงานของเครอ่ื งอัดทมี่ ีสมรรถนะสูงเดิม CE B/kWh 3.00 ใบแจงหนี้คาไฟฟา
-ชั่วโมงการใชงานของเครอื่ งอัดทีม่ ีสมรรถนะตา่ํ ใหม
-ชว่ั โมงการใชง านของเครอ่ื งอดั ท่ีมีสมรรถนะสงู ใหม COPL 4.15
-คาพลงั งานไฟฟาเฉลย่ี ตอหนวย
2. การวิเคราะหขอมูล m kg/s 1.57

-สัมประสทิ ธ์สิ มรรถนะรวมทงั้ ระบบเมอื่ เดินชดุ ที่มสี มรรถนะตา่ํ COPH 4.49
No.1 COPL = (h1 - h4) / (h2 - h1)
%COP % 8.19
-อัตราการไหลของสารทําความเยน็ ทั้งระบบ
-m = (COPL x WCL) / (h1 - h4) WS kW 40.00
-สัมประสิทธ์ิสมรรถนะรวมทง้ั ระบบเมอ่ื เดินชุดทม่ี ีสมรรถนะสงู EO kWh/y 2,553,600
No. 2 COPH = (h1N - h4N) /(h2N - h1N)
-รอ ยละของสัมประสทิ ธ์สิ มรรถนะทเี่ พ่มิ ขนึ้ EN kWh/y 2,486,400
%COP = ((COPH - COPL) / COPL) x 100
-พลงั ไฟฟาที่ใชลดลง WS = WCL - WCH
-พลังงานไฟฟาท่ีใชก บั ระบบเดิมกอ นปรับปรงุ ระบบการเดนิ
ตลอดป EO = (WCL x h1O) + (WCH x h2O) x LF/100
-พลงั งานไฟฟาทใ่ี ชกบั ระบบใหมห ลังปรบั ปรงุ ระบบการเดิน
ตลอดป EN = (WCL x h1N) + (WCH x h2N) x LF/100

258

รายการ สญั ลกั ษณ หนวย ปรมิ าณ แหลงท่มี าของขอมูล
ES kWh/y 67,200
-พลังงานไฟฟาทีใ่ ชล ดลงของระบบ ES = (EO - EN) CSS B/y 201,600
-คา พลงั งานไฟฟาที่ลดลง CSS = ES x CE

(2) การลดความดันสารทําความเยน็ ดานคอนเดนเซอรช วยประหยัดพลงั งานอยางไร?

โรงงานสวนใหญม กั ละเลยและไมค อยใหค วามสําคัญตอเรือ่ งความสะอาดของเครอื่ งควบแนนหรอื คอนเดนเซอรม าก
นัก มีเพียงการกําหนดเวลาในการดแู ลไวเทานัน้ ซึ่งสวนใหญกาํ หนดเวลาในการทําความสะอาดและตรวจเช็คไวเพยี งปละ 1
ครั้งเทานน้ั ในบางลักษณะงานทีม่ กี ารใชง านระบบตลอดเวลาและข้ึนอยกู ับคณุ ภาพของอากาศหรือนา้ํ ทใ่ี ชในการระบาย
ความรอน ควรตอ งใหความสําคัญมากขึน้ โดยปล ะ 1 คร้ังท่เี คยดาํ เนนิ การอยจู ะไมเ พียงพอกับการรกั ษาระดบั ประสทิ ธิภาพ
ของเครอ่ื งควบแนนเพื่อใหร ะบบมีประสิทธิภาพในการทาํ งานสูงไดดีพอ ความถใี่ นการทําความสะอาดจะมากนอ ยเพยี งใด
สามารถใชขอ มลู ทวี่ ดั ไดจ ากระบบน่ันคือ ผลตางของอุณหภูมิสารทาํ ความเยน็ ทอี่ อกจากเคร่อื งควบแนนกบั อณุ หภูมิของ
อากาศหรือนํา้ ระบายความรอ นท่ีออกเครอ่ื งควบแนน (Condenser Approach Temperature) เปน ตวั กาํ หนดความถี่ในการ
ทําความสะอาดดงั กลา ว ซ่ึงอุณหภูมิควรแตกตางกันไมเ กิน 2-3oC หรือ 4-6oF หรืออาจใชการเกบ็ ขอ มูลผลตางดังกลา วหลัง
การลา งทาํ ความสะอาดแลวเปน คา ตงั้ ตนก็ไดเ ชนกนั

COP
COP

0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
Time
Time

ก) ทาํ ความสะอาดปละ 1 ครง้ั ข) ทําความสะอาดปละ 2 ครั้ง

รูปที่ 2-8.17 ผลของคา COP ของเครือ่ งทาํ ความเยน็ กับเวลาการทํางาน

จากรูปที่ 2-8.17 จะเห็นวา เม่อื ใชง านระบบทาํ ความเย็นไปเร่อื ยๆ คา COP จะคอ ยๆ ลดลงเชน กนั และเมอื่

ดําเนนิ การลา งทําความสะอาดคา COP กจ็ ะมีคา เพ่มิ สูงขนึ้ ซ่ึงคา COP จะขึ้นอยกู ับประสทิ ธิภาพในการระบายความรอนของ

เคร่อื งควบแนน ดังนนั้ หากเพมิ่ ความถจ่ี ากปล ะ 1 ครั้ง เปน 2 คร้งั จะสามารถประหยดั พลงั งานลงจากเดิมไดอีกคร่ึงหนงึ่

สมการทใี่ ชในการคํานวณ ใชส มการ (2-8.1) COP = (hC – hB) / (hD – hC)

พลังงานไฟฟาที่ใชก อนลา ง = พลังไฟฟา ท่ใี ชเ ดิม x ช่ัวโมงทํางานในชว งทําความสะอาดเดมิ
x ตวั ประกอบการทาํ งาน

พลงั งานไฟฟา ท่ีสูญเสียเดมิ = [(COPกอ นทาํ ความสะอาด- COPหลงั ทาํ ความสะอาด)/ COPกอ นทําความสะอาด] x พลงั ไฟฟาที่ใชกอ น
ลา ง x 0.5

พลังไฟฟาทป่ี ระหยดั ได = 1-1 / (จาํ นวนช่ัวโมงในรอบความถี่เดมิ / จํานวนชวั่ โมงในรอบความถใี่ หม) x
พลงั งานไฟฟาท่สี ญู เสยี เดมิ

ดตู ัวอยางเพื่อใหเ กดิ ความเขาใจ

โรงงาน ECON ตดิ ต้ังระบบทาํ ความเยน็ ขนาดพกิ ดั มอเตอรขบั เครอ่ื งอดั 450 กโิ ลวัตต เดมิ มแี ผนในการทาํ ความ
สะอาดปละ 1 คร้ัง พบวา Condenser Approach Temperature มีคาสูงกวา มาตรฐานมากแสดงวา ความถใ่ี นการทาํ ความ
สะอาดนอ ยเกินไป จึงไดก ําหนดใหมีการทาํ ความสะอาดถ่ขี ึ้นเปนปล ะ 2 ครัง้ และไดท ําการตรวจวัดและวิเคราะหหา
ประสทิ ธิภาพกอนและหลงั เพ่อื นาํ มาเปนขอมลู สาํ หรบั การวเิ คราะห โดยมีผลการตรวจวดั ดังนี้ (ระบบทํางาน 24 ชัว่ โมง 350

259

วนั ระบบมภี าระจากการใชพื้นท่หี องเยน็ เปลีย่ นแปลงโดยเฉลี่ย 80% คาไฟฟา 3 บาทตอ หนวย) [วธิ ีคาํ นวณ 1) กรอกขอ มลู
ลงไปในตารางในสวนของขอมูลเบือ้ งตน 2)ทําการคาํ นวณตามหัวขอ 2 การวเิ คราะหข อ มูล]

รายละเอียด ความดันดาน สารทาํ ความเย็นดานสูง นา้ํ ระบายความรอ น พลังไฟฟา ทใี่ ชข ณะ
ต่ํา (Barg) ความดนั (Barg) อณุ หภมู ิ (oC) เขา (oC) ออก (oC) เดนิ เครื่อง (kW)
กอนทําความสะอาด 2.0
หลงั ทําความสะอาด 2.0 15.5 40 32 35.5 400
14.0 38 32 37 360

รายการ สัญลกั ษณ หนว ย ปรมิ าณ แหลง ท่มี าของขอมูล
kW
1. ขอ มูลเบือ้ งตน WCO 400 ตรวจวดั
kJ/kg
-พลงั ไฟฟา ท้งั ระบบเมื่อเดนิ เครือ่ งอดั กอนลา งทําความสะอาด h1 kJ/kg คณุ สมบตั ิสารทําความเย็น
-สารทาํ ความเย็นที่ใช R-717 kJ/kg 1,751
-เอนธาลปก อนเขาเคร่อื งอดั กอนลางทาํ ความสะอาดทีค่ วามดนั h2 kJ/kg
เฉล่ีย 3.0 Bar kJ/kg คุณสมบัตสิ ารทําความเยน็
-เอนธาลปอ อกจากเคร่อื งอัดกอนลางทาํ ความสะอาดท่คี วามดนั h4 kJ/kg 2,005
เฉลย่ี 16.5 Bar %
-เอนธาลปก อนเขาอีแวปอเรเตอรกอนลา งที่ความดนั เฉลีย่ 16.5 h1N h/y คุณสมบัตสิ ารทําความเย็น
Bar 696
-เอนธาลปกอนเขาเคร่อื งอัดหลังลางทาํ ความสะอาดทค่ี วามดนั h2N B/kWh
เฉลยี่ 3.0 Bar h4N คณุ สมบัติสารทําความเย็น
-เอนธาลปออกจากเครือ่ งอดั หลังลางทําความสะอาดท่คี วามดนั LF % 1,751
เฉล่ีย15.0 Bar hS kWh/y
-เอนธาลปก อ นเขา อแี วปอเรเตอรหลงั ลางทคี่ วามดันเฉล่ีย 15.0 Bar nO kWh/y คณุ สมบตั สิ ารทําความเย็น
-แฟกเตอรภาระ (Load) ทีเ่ ปลยี่ นแปลงตลอดทัง้ ป hn B/y 1,989
-ชั่วโมงการใชง านของระบบทาํ ความเปน ตลอดท้งั ป nn 682 คณุ สมบัติสารทําความเย็น
-จาํ นวนคร้ังในการลา งทาํ ความสะอาดเดมิ ตอป hn 80 สอบถามโรงงาน
-จาํ นวนชั่วโมงการลางทําความสะอาดเดิมตอป CE 8,400 สอบถามโรงงาน
-จํานวนครง้ั ในการลา งทาํ ความสะอาดใหมต อป
-จํานวนชวั่ โมงการลา งทําความสะอาดใหมต อ ป COPO 1 สอบถามโรงงาน
-คาพลงั งานไฟฟาเฉล่ียตอหนวย COPN 8,400
2. การวเิ คราะหขอ มลู
%COP 2 สอบถามโรงงาน
-สมั ประสิทธสิ์ มรรถนะกอ นลางทาํ ความสะอาดคอนเดนเซอร 4,200
COPO = (h1 - h4) / (h2 - h1) EO 3.00 ใบแจงหนี้คาไฟฟา

-สัมประสิทธิส์ มรรถนะหลังลางทําความสะอาดคอนเดนเซอร ES 4.15
COPN = (h1N - h4N) /(h2N - h1N) 4.49
-รอยละของสมั ประสิทธิ์สมรรถนะทีเ่ พิ่มข้ึน CSS
COP = ((COPH - COPL) / COPL) x 100 8.19
-พลังงานไฟฟาท่ีสญู เสยี ในชว งความถี่การทาํ ความสะอาดเดิม
EO = 0.5 x (%COP/100) x WCO x hS x LF/100 110,074
-พลงั งานไฟฟาทปี่ ระหยดั ไดจ ากการเพ่ิมความถี่ในการทาํ ความ
สะอาด ES = 1-[1/(hO - hN)] x EO 55,037
-คา พลงั งานไฟฟาทล่ี ดลง CSS = ES x CE
165,110

260

(3) การเพม่ิ ความดันดา นอีวาโปเรเตอรใหสูงขึ้นชว ยประหยัดพลงั งานอยางไร?

การที่โรงงานปรับต้ังอุณหภูมิการทําความเย็นตํ่ากวาอุณหภูมิใชงานมากจะสงผลใหเครื่องอัดสารทําความเย็นใช
พลังงานมากขึ้นและประสิทธิภาพของระบบจะลดต่ําลง เน่ืองจากเครื่องอัดจะตองใชกําลังมากในการดูดสารทําความเย็น
ดังนั้นการเพ่ิมความดันสารทําความเย็นดานต่ําใหสูงข้ึนจะสงผลใหคา COP ของระบบสูงข้ึน ซ่ึงอาจทําไดโดยวิธีการดังตอน้ี
1) การทําความสะอาดพื้นท่ีผิวแลกเปลี่ยนความรอนของ Evaporator 2)การเพ่ิมความเร็วลมใหกับ Evaporator 3) การลด
การเกาะของนํ้าแข็งที่พ้ืนผิว Evaporator 4) การเพ่ิมขนาดของ Evaporator 5)การปรับต้ังอุณหภูมิใชงานใหสูงข้ึนหรือให
เหมาะสมกับการใชงาน

อณุ หภมู ทิ ่ีเหมาะสม
อณุ หภมู ิท่ีทํางานจรงิ

จากภาพจะเห็นวาเมื่อเราปรบั เพม่ิ ใหเ คร่อื งทาํ ความเยน็ ทาํ งานท่รี ะดับอณุ หภูมสิ งู ขนึ้ จะชว ยใหกําลังท่เี ครอื่ งอัด
(ความยาวเสน h1-h2 สั้นลง) ใชมคี าลดตา่ํ ลง สงผลใหคา COP ของเครื่องทําความเย็นสูงข้นึ
สมการทใ่ี ชในการคํานวณ ใชส มการ (2-8.1) COP = (hC – hB) / (hD – hC)

ดตู วั อยา งเพื่อใหเกดิ ความเขาใจ

โรงงาน ECON ตดิ ต้ังระบบทาํ ความเยน็ ขนาดพกิ ัดมอเตอรข ับเคร่อื งอัด 150 กโิ ลวตั ต เพอื่ ใชงานกับหอ งเย็นที่มกี าร
ควบคมุ อณุ หภูมไิ วที่ -5oC แตจ ากการตรวจวัดอุณหภูมิจรงิ โดยใชเครือ่ งวัดทีไ่ ดผานการสอบเทยี บแลว พบวา อณุ หภมู ทิ ่ีวัด
ไดคือ -10oC ซงึ่ ต่ํากวาทีก่ ําหนดไว จึงไดสอบเทยี บเครื่องวัดอณุ หภมู ิของระบบทต่ี ดิ ตั้งภายในหอ งเยน็ ใหมและดาํ เนนิ การ

ปรบั ตัง้ ใหระดบั อุณหภูมจิ รงิ สูงขึ้นเทากบั ที่มาตรฐานกาํ หนด ในขณะเดยี วกนั ไดตรวจวัดและวเิ คราะหหาประสิทธภิ าพกอน

และหลังเพื่อนาํ มาเปนขอ มลู สาํ หรับการวิเคราะห โดยมีผลการตรวจวัดดังนี้ (ระบบทํางาน 24 ช่วั โมง 350 วัน ระบบมีภาระ

จากการใชพื้นทห่ี อ งเย็นเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย 80% คา ไฟฟา 3 บาทตอหนว ย) [วธิ คี าํ นวณ 1) กรอกขอ มลู ลงไปในตารางใน

สวนของขอ มูลเบอื้ งตน 2)ทาํ การคํานวณตามหวั ขอ 2 การวเิ คราะหข อมูล]

รายละเอียด ความดันดานสูง(Barg) ความดนั ดา นตาํ่ อณุ หภูม(ิ oC) พลงั ไฟฟาทใี่ ช
กอ นดําเนนิ การ (Barg) ขณะเดินเครื่อง(kW)

14.0 2.0 -10 147

หลังดําเนนิ การ 14.0 2.5 -5 -

261

รายการ สญั ลกั ษณ หนวย ปริมาณ แหลงทีม่ าของขอมลู

1. ขอมลู เบอ้ื งตน

-พลงั ไฟฟา ทง้ั ระบบเม่ือเดนิ เครื่องอดั กอ นลา งทาํ ความสะอาด WCO kW 147.0 ตรวจวดั
-สารทาํ ความเย็นทใ่ี ช R-717

-เอนธาลปก อ นเขา เคร่ืองอดั กอนดําเนินการที่ความดนั เฉลยี่

3.0 Bar h1 kJ/kg 1,751.0 คณุ สมบัติสารทําความเยน็

-เอนธาลปออกจากเคร่ืองอัดกอนดาํ เนินการทีค่ วามดนั เฉลี่ย

15.0 Bar h2 kJ/kg 1,989.0 คณุ สมบตั สิ ารทําความเยน็
-เอนธาลปก อ นเขาอแี วปอเรเตอรกอนดาํ เนินการที่ความดนั

เฉล่ีย 15.0 Bar h4 kJ/kg 682.0 คุณสมบตั ิสารทําความเยน็
-เอนธาลปกอ นเขาเคร่อื งอดั หลังดําเนินการที่ความดนั เฉลยี่

3.5 Bar h1N kJ/kg 1,757.0 คุณสมบตั ิสารทําความเย็น
-เอนธาลปออกจากเครอ่ื งอดั หลงั ดําเนินการท่คี วามดันเฉล่ยี

15.0 Bar h2N kJ/kg 1,963.0 คุณสมบัติสารทําความเยน็
-เอนธาลปก อนเขาอีแวปอเรเตอรหลังดาํ เนินการที่ความดัน

เฉลย่ี 15.0 Bar h4N kJ/kg 682.0 คณุ สมบัตสิ ารทําความเยน็
-แฟกเตอรภาระ (Load) ท่เี ปลีย่ นแปลงตลอดท้ังป LF % 80.0 สอบถามโรงงาน

-ชัว่ โมงการใชง านของระบบทําความเย็นตลอดทงั้ ป hS hr/y 8,400.0 สอบถามโรงงาน
-คาพลงั งานไฟฟาเฉล่ียตอหนว ย CE B/kWh 3.0 ใบแจงหนีค้ าไฟฟา
2. การวเิ คราะหขอ มูล

-สมั ประสิทธิ์สมรรถนะกอ นดาํ เนินการ

COPO = (h1 - h4) / (h2 - h1) COPO 4.5
-สมั ประสทิ ธิ์สมรรถนะหลังดาํ เนินการ

COPN = (h1N - h4N) /(h2N - h1N) COPN 5.2
-รอ ยละของสมั ประสิทธสิ์ มรรถนะท่ีเพ่มิ ขึ้น

%COP = ((COPH - COPL) / COPL) x 100 %COP % 16.3

-พลังงานไฟฟาทปี่ ระหยัดไดห ลังดําเนนิ การ

ES = (%COP/100) x WCO x hS x LF/100 ES kWh/y 80,311.4
-คาพลงั งานไฟฟาท่ีลดลง CSS = ES x CE CSS B/y 240,934.2

(4) เลอื กใชร ะบบละลายนาํ้ แข็งอยา งไรใหเหมาะสมและประหยดั พลงั งาน?

โรงงานหลายแหง ใชขดลวดความรอ นในการละลายนํา้ แข็งในหองเยน็ ซึ่งขดลวดจะเพ่มิ ภาระความรอ นของหอ งเยน็
ดว ยเชน กัน ดังนัน้ ควรใชเวลาในการละลายใหเ พียงพอตอการละลายนํา้ แข็งไดห มดเทา นน้ั และควรเลือกใชระบบละลายทิใ่ ช
พลังงานนอ ยที่สดุ ซ่ึงสามารถใชแกสรอนของระบบทําความเย็นเองมาใชล ะลายนาํ้ เข็งแทน จะประหยดั คาใชจา ยและ
ประหยดั พลงั งานตอ ระบบทาํ ความเยน็ ไดอกี ดวย ซ่งึ เรียกระบบนว้ี า Hot Gas Defrost
สมการท่ีใชในการคาํ นวณ ใชส มการ (2-8.1) COP = (hC – hB) / (hD – hC)

พลังงานความรอ นท่ีใชในการละลายนา้ํ แขง็ ดวยไฟฟาตอ คร้ัง (Btu/hr)
= [3,412 x พลังไฟฟา ของ heater (kW) x เวลาท่ีละลายนา้ํ แขง็ (min)] / 60

พลังงานความรอ นท่ีใชใ นการละลายนํ้าแขง็ ดวย Hot Gas (Btu/hr)
= [(3,412 x COP x พลงั ไฟฟาของเคร่อื งอัด (kW)) / (เอนทาลปกอ นเขา เคร่ือง อดั (kJ/kg) –เอนทาลป
กอนเขา อวี าโปเรเตอร (kJ/kg)] x (เอนทาลปอ อกจากเครื่องอัด – เอนทาลปกอ นเขา อวี าโปเรเตอร)

262

ดตู วั อยา งเพ่ือใหเกิดความเขาใจ

โรงงาน ECON ติดตั้งระบบทําความเยน็ ขนาดพกิ ดั มอเตอรขับเครอื่ งอัด 22 กโิ ลวตั ต เพ่ือใชง านกับหองเยน็ ที่
กาํ หนดใหมกี ารควบคมุ อณุ หภูมไิ วที่ 0oC ซ่ึงไดต ิดต้ังระบบละลายนํา้ แข็งแบบใชข ดลวดความรอ น จงึ มีแนวคดิ ปรบั ปรงุ ระบบ
ละลายนํ้าแขง็ จากการใชข ดลวดความรอน มาใชแกส รอ นจากระบบทาํ ความเยน็ ทม่ี อี ยแู ลว ซงึ่ ไดตรวจวดั และวเิ คราะหหา
พลังงานท่ีใชก อ นและหลังเพื่อนํามาเปนขอมูลสําหรบั การวิเคราะห โดยมผี ลการตรวจวัดดังน้ี (ระบบทํางาน 24 ชว่ั โมง 350
วนั ระบบมภี าระจากการใชพ้นื ท่ีหองเย็นเปลย่ี นแปลงโดยเฉล่ีย 80% คาไฟฟา 3 บาทตอหนวย) [วิธีคํานวณ 1) กรอกขอ มูล
ลงไปในตารางในสว นของขอมลู เบอื้ งตน 2)ทาํ การคํานวณตามหวั ขอ 2 การวเิ คราะหขอมูล]

รายละเอียด ความดนั ดา น ความดันดา น เวลาท่ใี ช พลังไฟฟา ที่ใชกับ พลังไฟฟาท่ีใชขณะ
สงู (Barg) ตา่ํ (Barg) ละลาย(min) Heater (kW) เดินเคร่อื ง(kW)
ละลายดวย heater 19 2.7
ละลายดวย Hot Gas 19 2.7 20 11.5 22.4
- - -

รายการ สญั ลกั ษณ หนวย ปริมาณ แหลงท่มี าของขอมลู

1. ขอมูลเบอ้ื งตน

-พลงั ไฟฟา ท่ี Heater ใชล ะลายน้ําแข็ง WH kW 11.5 ตรวจวดั
-เวลาทใ่ี ชละลายน้ําแข็ง T1 min 20.0 ตรวจวัด
-พลงั ไฟฟาทเี่ ครื่องอดั สารทําความเยน็ ใช WCO kW 22.4 ตรวจวดั
-สารทาํ ความเยน็ ท่ีใช R-717

-เอนธาลปกอ นเขา เครอ่ื งอัดกอ นดําเนินการที่ความดนั เฉล่ีย 3.7 Bar h1 kJ/kg 1,218.0 คุณสมบัตสิ ารทําความเยน็
-เอนธาลปออกจากเคร่ืองอดั กอ นดําเนินการที่ความดันเฉล่ีย 20.0 Bar h2 kJ/kg 1,245.0 คณุ สมบัติสารทําความเย็น
-เอนธาลปกอนเขาอีแวปอเรเตอรกอ นดําเนินการทคี่ วามดันเฉล่ีย
20.0 Bar h4 kJ/kg 1,066.0 คุณสมบตั ิสารทําความเย็น
-อณุ หภมู ขิ องสารทําความเยน็ ออกจากเคร่อื งอัด t oC 83.0 ตรวจวดั

-เวลาท่ีเครอื่ งทําความเย็นเดนิ จนไดอ ุณหภมู ทิ ีป่ รับตัง้ ไวในการใชงาน T2 min 40.0 ตรวจวัด
-ชัว่ โมงการใชงานของระบบทาํ ความเปน ตลอดทงั้ ป hS hr/y 8,400.0 สอบถามโรงงาน
-คา พลงั งานไฟฟาเฉล่ียตอ หนว ย CE B/kWh 3.0 ใบแจงหน้คี าไฟฟา
2. การวิเคราะหขอ มลู

-สัมประสิทธิส์ มรรถนะกอนดาํ เนนิ การ COPO = (h1 - h4) / (h2 - h1) COPO 5.6
EH kWh/y 32,200.0
-พลงั งานไฟฟาที่ใชร ะบบ Heater ละลายนา้ํ แขง็ ทงั้ ป EH1 Btu/hr 13,079.3
EH = WH x hS x (T1/(T1+T2))
-พลังงานความรอนท่ีใชใ นการละลายนา้ํ แข็งดว ย Heater ตอคร้งั
EH1 = (3,412 x WH x T1)/60

-พลงั งานความรอ นท่ีใชใ นการละลายน้ําแข็งโดย Hot Gas ตอ ECO1 Btu 506,728.0
คร้ัง ECO1 = (3,412 x WCO x COPO)/(h1-h4)) x (h2-h4)
-เวลาท่ีใชในการละลายนํา้ แขง็ ตอครัง้ เมอื่ ใช Hot Gas T3 min 1.5
T3 = (EH1/ECO) x 60
ECO kWh/y 7,013.5
-พลังงานไฟฟาทเ่ี คร่ืองทําความเย็นใชในการละลายท้ังป
ECO = WCO x hS x (T3/(T3+T2) ES kWh/y 25,186.5
CSS B/y 75,559.6
-พลังงานไฟฟาที่ประหยัดไดท ั้งสน้ิ เมื่อเปล่ียนระบบการละลาย
น้ําแขง็ ES = EH - ECO

-คาพลงั งานไฟฟาทีล่ ดลง CSS = ES x CE

263

(5) การลดภาระการทาํ ความเย็นทไี่ มจ ําเปนหรอื ท่ปี รบั ปรงุ ไดเพือ่ ประหยัดพลังงานมอี ะไรบาง?

- ลดจาํ นวนหลอดแสงสวา งทต่ี ิดตง้ั เกินจําเปน
- แยกสวิทซแ สงสวา งเพือ่ ใหเปด ใชง านเฉพาะบริเวณพน้ื ทที่ ีใ่ ชงานเทานั้น
- ใชหลอดและอุปกรณป ระสิทธิภาพสงู เพอื่ ลดความรอนภายในหองเย็น
- ซอ มแซมมา นพลาสติกหรือประตทู ีช่ ํารดุ ปอ งกันอากาศรอนเขา สหู อ งเยน็
- ต้งั เวลาการละลายนา้ํ แขง็ ใหเหมาะสม
- ตรวจสอบฉนวนหองเย็นและฉนวนหมุ ตา งๆ ใหอ ยใู นสภาพดเี สมอ
ในที่น้เี สนอกรณตี วั อยางท่เี ปนการลดการใชง านหลอดแสงสวา งในสวนทเี่ กินจาํ เปนเพ่อื เปน แนวทางในการวิเคราะห

สมการทีใ่ ชในการคาํ นวณ ใชส มการ (2-8.1) COP = (hC – hB) / (hD – hC)

อตั ราการไหลของสารทาํ ความเย็น (kg/s)
= (COP x พลังไฟฟา ที่เคร่อื งอัดใช (kW)) / (เอนธาลปก อ นเขา เครือ่ งอัด (kJ) - เอนธาลปก อนเขา อีวาโปเรเตอร (kJ))

ความสามารถในการทาํ ความเยน็ (kWth)
= อตั ราไหลของสารทาํ ความเย็น (kg/s) x (เอนธาลปก อนเขา เครือ่ งอัด (kJ) - เอนธาลปกอ นเขาอีวาโปเรเตอร (kJ))

ดูตัวอยางเพ่อื ใหเกดิ ความเขาใจ

โรงงาน ECON ติดต้ังระบบทําความเย็นขนาดพิกัดมอเตอรขับเครื่องอัด 22 กิโลวัตต เพ่ือใชงานกับหองเย็นท่ี
อุณหภูมิ 0oC ซึ่งใชเก็บวัตถุดิบโดยภายในมีการใชการใหแสงสวางจากหลอดแสงจันทรขนาด 250 วัตต จํานวน 15 หลอด
ซ่ึงจากการวัดคาความสวางพบวามากเกินความจําเปน จึงมีแนวคิดปรับปรุงโดยการแยกสวิทซควบคุมแสงสวางเพื่อเลือก
เปดใชงานทําใหสามารถลดการใชหลอดไฟฟาลงได 6 หลอด ซึ่งหากตองการใชแสงสวางมากเฉพาะจุดสามารถเลือกเปดใช
งานไดเชนกัน ซ่ึงไดเก็บขอมูลตรวจวัดกอน-หลังเพ่ือนํามาเปนขอมูลสําหรับการวิเคราะห โดยมีรายละเอียดการตรวจวัด
ดังนี้ (ระบบทํางาน 24 ชั่วโมง 350 วัน คาไฟฟา 3 บาทตอหนวย) [วิธีคํานวณ 1) กรอกขอมูลลงไปในตารางในสวนของ
ขอมลู เบือ้ งตน 2) ทําการคาํ นวณตามหวั ขอ 2 การวเิ คราะหข อ มูล]

รายละเอียด ความดนั ดา นสงู ความดนั ดา นตาํ่ ขนาดหลอด จาํ นวนหลอด พลงั ไฟฟาท่ีใชข ณะ
(Barg) (Barg) (W) (Unit) เดนิ เครื่อง(kW)
กอ นปรับปรงุ 19 3.5
หลงั ปรบั ปรุง 19 3.5 250 15 22.4
- 9 -

รายการ สญั ลกั ษ หนวย ปรมิ าณ แหลง ท่มี าของขอมลู
1. ขอ มูลเบ้ืองตน ณ
kW 22.4 ตรวจวดั
-พลังไฟฟาที่เครอื่ งอัดสารทําความเย็นใช WCO
-สารทาํ ความเย็นทีใ่ ชR-717 kJ/kg 1,204 คณุ สมบัติสารทําความเย็น
-เอนธาลปกอ นเขา เครือ่ งอัดกอ นดําเนินการท่ีความดันเฉล่ีย 4.5 Bar h1 kJ/kg 1,243 คณุ สมบตั ิสารทําความเยน็
-เอนธาลปออกจากเคร่อื งอดั กอ นดําเนินการที่ความดนั เฉลีย่ 20.0 Bar h2
-เอนธาลปก อ นเขา อแี วปอเรเตอรกอ นดาํ เนินการที่ความดันเฉล่ยี kJ/kg 1,066 คณุ สมบัตสิ ารทําความเยน็
20.0 Bar h4 Watt 250 สํารวจ/ตรวจวดั
-ขนาดหลอดไฟฟา ทีต่ ดิ ตงั้ ใชงาน WL unit 15 สํารวจ
-จํานวนหลอดไฟฟา ที่ใชงานเดิม nO unit 9 สาํ รวจ
-จาํ นวนหลอดไฟฟาท่ีใชงานใหมหลงั ปรับลดจํานวนการเปดใชงาน nN

264

รายการ สญั ลกั ษ หนว ย ปริมาณ แหลงที่มาของขอมลู
ณ
-ตวั คูณกรณีหลอดไฟฟาท่มี บี ัลลาสต h/y 1.25 หนงั สือระบบทําความเย็น
FC B/kWh 8,400 สอบถามโรงงาน
-ช่วั โมงการใชง านของระบบทําความเปน ตลอดท้งั ป hS 3.00 ใบแจงหนคี้ าไฟฟา
CE
-คาพลังงานไฟฟาเฉล่ยี ตอหนว ย
2. การวเิ คราะหขอมูล COPO 3.54

-สมั ประสทิ ธส์ิ มรรถนะกอ นดาํ เนินการ COPO = (h1 - h4) / (h2 - h1) mR kg/s 0.57
อัตราการไหลของสารทาํ ความเยน็ ในระบบ Q1 kWth 79.30
mR = (COP x WCO) / (h1-h4) ReP kW/TR 0.99
ความสามารถในการทําความเย็น Q1 = mR x (h1-h4)
คา kW/TR ของเคร่อื งทําความเยน็ ReP = WCO/(Q1/3.517) QS1 Btu/hr 6,397.50
พลงั งานความรอ นลดลงจากการลดหลอดไฟฟา แสงสวาง
QS1 = 3.412 x WL x (nO-nN) x FC QS Btuh/y 3,739,000
พลังงานความรอ นลดลงจากการลดหลอดไฟฟาแสงสวางทงั้ ป ES kWh/y 4,449.15
QS = QS1 x hS CSS B/y 13,347.46
พลงั งานไฟฟาทีป่ ระหยัดไดทั้งส้ิน ES = ReP x (QS/12,000)
คาพลังงานไฟฟาทลี่ ดลง CSS = ES x CE

2-8.5 การตรวจวินิจฉยั และบํารุงรักษาระบบทําความเยน็ เพ่อื การอนุรักษพ ลังงานทําอยา งไร?

(1) การตรวจวินิจฉยั ระบบทาํ ความเย็นเพอื่ การอนุรกั ษพลังงานทาํ อยา งไร?

แนวทางการตรวจ แนวทางการวนิ จิ ฉยั

รายการตรวจ ผลการตรวจ เคร่อื งอดั แบบแรงเหว่ียงมีประสิทธภิ าพ
สูงสดุ ที่ Load ประมาณ 80-90%
1. เครอ่ื งอดั สารทาํ ความเยน็ ควรเดินเครอื่ งอัดชุดท่ีมีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
ใหม ากกวา ชุดอนื่ ๆ โดยโรงงานจะตอ ง
1.1 เคร่อื งอัดแบบแรงเหวี่ยงปรบั ต้ัง ˆ สูงกวา 90% ตรวจวัดประสทิ ธภิ าพอยาสมํา่ เสมอ
load ทเ่ี ทาไร ˆ ตาํ่ กวา 80 % เคร่อื งอัดชุดทม่ี ผี ลตางของความดนั มากจะ
มีประสทิ ธภิ าพตา่ํ ดงั น้นั ควรทําการ
1.2 เลอื กเดนิ เคร่อื งอดั ชุดท่มี ี ˆ เลอื กเดิน ตรวจสอบและเดนิ ใชงานนอ ยลง
ประสิทธภิ าพสงู เปนหลกั ˆ สลบั ไปมา
เครือ่ งอัดทผี่ านการบํารงุ รกั ษาใหญม าใหม
1.3 ผลตางความดันของสารทาํ ความ ˆ แตกตา งกนั จะมีประสทิ ธิภาพสงู กวา เครื่องทไี่ มผาน
เยน็ ดานสงู (High pressure) และ ˆ ไมแตกตา งกนั การบํารุงรกั ษาดงั นั้นควรเดินใชง าน
ดานต่าํ (Low pressure) ของเคร่ือง มากกวา เครือ่ งอน่ื
อัดแตล ะชดุ แตกตา งกนั หรอื ไม ˆ มี อุณหภมู สิ ารทาํ ความเยน็ กอ นเขา เครอื่ งดดั
ˆ ไมมี จะมอี ณุ หภมู ิสงู กวาอณุ หภมู อิ ม่ิ ตวั ทีค่ วาม
1.4 มเี ครอ่ื งอดั ชดุ ใดผา นการ ดนั ดานต่ํา (Low pressure) เกินกวา 10 ๐C
บํารงุ รักษามาหรอื ไม เพราะจะทาํ ใหพลังงานทใี่ ชในการอดั สารทํา
ความเยน็ เพม่ิ ขน้ึ ปญหานี้อาจเกิดจาก
1.5 อุณหภมู สิ ารทําความเย็นกอ นเขา ˆ มี
เครือ่ งอดั เครื่องใดสูงกวา อุณหภมู ิ ˆ ไมม ี
อิ่มตวั ของสารทาํ ความเยน็ เกนิ
10๐C หรือไม

265

แนวทางการตรวจ ผลการตรวจ แนวทางการวนิ จิ ฉัย
รายการตรวจ
ปริมาณสารทําความเย็นรับภาระความรอน
1.6 เคยมีมอเตอรเครอ่ื งอัดชดุ ใดเคย ˆ เคยไหม นอยเกินไป หรืออปุ กรณล ดความดนั เล็ก
ไหมม าแลว ˆ ไมเคยไหม เกินไปหรือมีปญหา
มอเตอรไ หมแตล ะเครือ่ งจะสงผลให
1.7 เครือ่ งอดั แบบลูกสบู มีการเดินปลด ˆ มาก ประสิทธภิ าพลดลงประมาณ 4 % ดงั น้ัน
ควรนาํ มาใชงานใหนอ ยทีส่ ุด แตถา
ภาระ (Unload)มากหรอื ไม ˆ ไมม าก จาํ เปนตอ งใชงานมากควรพิจารณาใช
มอเตอรป ระสทิ ธภิ าพสูง
1.8 ในบางชว งเวลามปี ญ หาเรือ่ ง ˆ มี ขณะเคร่ืองอดั เดนิ Unload จะใชพลงั ไฟฟา
อุณหภมู จิ นตอ งเดินเครอื่ งอัดเพม่ิ ˆ ไมมี ประมาณ 40-50% ดงั นนั้ อาจแกไ ขโดยการ
มหี รือไม ลดขนาดเครอื่ งไมไ ดห ลอลนื่ โดยใชค วาม
ดนั นาํ้ มนั (Oil free)
1.9 เคร่ืองอดั หมดอายุการใชงานแลว ˆ หมดอายุ บางชวงเวลาภาระการทาํ ความเยน็ สงู เปน
หรือยงั ˆ ยังไมหมดอายุ ระยะเวลาส้ันๆ สง ผลใหป ริมาณสารทําความ
เยน็ ไมเ พยี งพอในการรบั ภาระ ดงั นนั้ ควร
1.10 มีการจัดการเดินใชงานตามภาระ ˆ มี แกไ ขโดยการเพิ่มขนาดถงั เกบ็ สารทาํ ความ
ในแตล ะชว งเวลาและคาไฟหรอื ไม ˆ ไมม ี เยน็ ใหใ หญข้ึนแทนการเดนิ เครอ่ื งอดั เพม่ิ
เครอ่ื งอดั ทผ่ี านการใชงานมากจะมี
1.11 กรณีเครอ่ื งอัดแบบสองขน้ั ความ ˆ มากกวาครึ่ง ประสิทธภิ าพลดลง ดังน้ัน เมอ่ื หมดอายุ
ดันสารทาํ ความเยน็ กอนเขา ขน้ั ที่ ˆ นอยกวาคร่ึง การใชง านควรพจิ ารณาเปลี่ยนใหมโดย
สองเทา กับครง่ึ หน่ึงของความดนั เลือกชนิดและขนาดท่เี หมาะสม
สูงสดุ หรือต่ําสุดหรือไม ควรจดั การเดินเครอ่ื งอัดและอุปกรณ
ประกอบตางๆ ตามภาระจริงในแตล ะเวลา
2. ปมน้ําระบายความรอนและปม สารทําความเย็น และควรบรหิ ารจดั การใชต ามอตั ราคา ไฟ
โดยชวงเวลาทีค่ า ไฟถูกใหเ ดินใชง านเต็มที่
2.1 มกี ารหรี่วาลวเขา /ออกปม หรือไม ˆ หรี่วาลว ดา น…… นอกจากนนั้ ถาเปน หอ งเย็นเก็บสนิ คาควร
ลดอุณหภูมใิ หต ่ําลงในชว งเวลาทค่ี า ไฟถูก
ˆ ไมห รว่ี าลว สง ผลใหล ดคาใชจ า ย
เครือ่ งอดั แบบอัดสองขนั้ จะมปี ระสทิ ธิภาพ
2.2 ทําความสะอาดสเตนเนอรห รือไม ˆ ทาํ ทกุ ๆ …………. สงู สดุ เม่อื ความดันสารทาํ ความเย็นกอ น
ˆ ไมเคยทํา เขา เครื่องอัดขั้นทสี่ องเทา กบั ครงึ่ หนง่ึ ของ
ความดันสงู สดุ และต่ําสุด ดังนนั้ โรงงาน
266 ควรปรับจนู ความดันใหม

การหรี่วาลวทางดานเขา จะประหยัดพลงั งาน
ไดมากกวาการหรี่วาลวทางดานออก แตใหดี
ควรลดขนาดปม หรือเจียใบพัดหรือเปล่ยี น
ใบพดั หรือรอรอบการหมนุ ของมอเตอร
สเตเนอรตนั จะสง ผลใหป มดูดของเหลวใช
พลงั งานมากขนึ้ และอัตราการไหลที่ให

แนวทางการตรวจ ผลการตรวจ แนวทางการวินจิ ฉัย
รายการตรวจ
ลดลง ประสิทธภิ าพของปม ลดลง
2.3 ปมมีเสยี งดงั ผดิ ปกติหรอื ไม ˆ ดงั ผิดปกติ
ˆ ไมด งั เสียงดังผดิ ปกตแิ สดงถึงปญหาท่เี กิดขึน้
เชน ใบพัดเกิดการแตกหัก ลกู ปน ชาํ รุด
2.4 การเชื่อมตอ ระบบทอของปม ˆ ถกู ตอง สเตนเนอรต นั ปรมิ าณนํา้ ท่ดี ดู นอ ยเกินไป
ˆ ไมถ ูกตอ ง หรือเกดิ อากาศในตัวปม

2.5 มกี ารเดนิ กลุมปม มากกวา 1 ชุด ˆ มพี รอมกนั ........ชุด กรณีปม ตอ ขนานกบั ทอ ท่ตี อ รวมกนั ท่ที อ
พรอมกันโดยสลบั กนั ไปมาหรอื ไม ˆ เดินคร้ังละ 1 ชดุ รว ม (Header) ควรมขี นาดใหญพอ เพือ่
ไมใหเ กดิ การอั้นขณะทํางานพรอ มกนั และ
2.6 มกี ารเดนิ ปมสลบั กันไปมาหรอื ไม ˆ สลบั กนั ไปมา ปม ที่อยูใ นตําแหนงดดู จาก Header กอ น
ˆ ไมมีการสลับ ปมชดุ อ่ืนเพอื่ ใหค วามดนั ตกครอ มทตี่ ัวปม
แตล ะชุดเทา กนั
2.7 มีปม ชดุ ใดทผี่ านการซอมบาํ รุงมา ˆ มี
ใหมหรือไม ˆ ไมม ี การตอ ปม แบบขนานกันเมือ่ เดินปม นํา้
มากกวา 1 ชดุ จะสง ผลใหอ ตั ราการไหล
2.8 มอเตอรเ คยไหมห รอื ไม ˆ เคย..........ครง้ั ของนํา้ โดยรวมลดต่ําลงเรื่อยๆ ตามจาํ นวน
ˆ ไมเคย ปม ทีเ่ ดนิ เนื่องจากการไมส มดลุ กนั ในการ
ตดิ ตง้ั และประสิทธิภาพของปมแตล ะชดุ ไม
2.9 มีมอเตอรปม ชุดไดใชกระแสไฟฟา ˆ มี เทากนั ดังน้ันควรหลีกเล่ยี งและถา
สูงกวา ชุดอื่นหรือไม ˆ เทากนั จาํ เปนตอ งเดนิ ควรทําการวดั ประสิทธิภาพ
ของกลมุ ปม แตละกลมุ โดยวัดอตั ราการ
2.10 มปี มนํ้าชุดไดทคี่ วามดันตกครอ ม ˆ มี ไหลรวมและพลังไฟฟา ที่ใชรวม เพ่อื นาํ ไป
หาคา GPM/kW โดยถากลมุ ใดมคี า
ดงั กลา วมีคาสงู สดุ ควรทาํ การเดนิ ใหมาก

ปม แตละชดุ มปี ระสทิ ธิภาพไมเทา กนั เพราะ
มีการสกึ หรอและการเช่ือมตอ ทแ่ี ตกตา งกนั
ดังน้นั ควรตรวจวัดประสทิ ธิภาพแลว เดิน
ใชงานชุดทีม่ ีคา GPM/kW ทสี่ ูงทสี่ ดุ ให
มากข้ึน

ปม ท่ีผา นการซอ มบาํ รุงจะอยใู นสภาพที่
ดกี วาปม ชุดอนื่ ดงั น้นั จงึ ควรนาํ มาเดนิ
มากกวา ชดุ อ่นื

มอเตอรไ หมแ ตละคร้ังจะสง ผลให
ประสทิ ธภิ าพลดลงประมาณ 4 % ดังน้ัน
มอเตอรขนาดเลก็ ควรเปลย่ี นใหมแ ละถา
เปน มอเตอรขนาดใหญไ มค วรไหมเกิน 3
ครั้งหรอควรนาํ มอเตอรทไี่ หมสลบั ไปใชใน
จุดทมี่ ีการใชง านนอ ย

ที่สภาวะทเี่ ทากนั ถามอเตอรชดุ ใดใช
กระแสไฟฟาสูงกวาชดุ อนื่ แสดงวาผิดปกติ
ควรลดการใชง านและตรวจสอบแกไ ข

ปม น้ําความดนั ตกครอ มสูงกวา ชดุ อืน่ แสดง

267

รายการตรวจ แนวทางการตรวจ แนวทางการวินจิ ฉัย
สงู กวาชดุ อนื่ ผลการตรวจ
วาสามารถสงน้าํ ไดน อ ยกวา ชุดอนื่ ดังน้ัน
ˆ เทา กัน ควรทาํ การตรวจสอบแกไข
การลดรอบมอเตอรจ ะสง ผลใหก ารใชพ ลงั
2.11 ใชอุปกรณป รบั ลดรอบมอเตอรไ ด ˆ ได ไฟฟา ท่มี อเตอรเปนกาํ ลงั สามของรอบ
หรือไม ˆ ไมไดเ พราะ......... มอเตอรท ีล่ ดลงสาํ หรับปม แบบแรงเหวยี่ ง
แตไมค วรลดตา่ํ กวา 40% เพราะจะทาํ ให
2.12 ใชม อเตอรป ระสทิ ธิภาพสูงได ˆ ได ประสิทธภิ าพของมอเตอรล ดตํา่ ลงมากและ
หรือไม ˆ ไมไดเ พราะ........ มอเตอรจะระบายความรอ นไดน อย
ˆ สูง เมือ่ ตอ งการเปลย่ี นมอเตอรควรพจิ ารณาใช
2.13 อณุ หภมู ผิ วิ มอเตอรส งู หรือไม ˆ ไมสูง มอเตอรป ระสิทธภิ าพสงู

3. หอผ่งึ เย็น ˆ เหล่ยี ม มอเตอรชุดใดทอ่ี ณุ หภูมสิ งู แสดงวา
3.1 หอผง่ึ เย็นเปนแบบใด ˆ กลม ประสทิ ธภิ าพต่าํ โดยเฉพาะมอเตอรท ่เี คย
ไหมจ ะมีอณุ หภมู สิ ูงกวา มอเตอรท ไ่ี มเ คย
3.2 ขนาดพิกดั ของหอผึง่ เยน็ (CT) ˆ มากกวา 10-20% ไหม ดังนั้นควรนาํ มาใชง านใหนอย
เทียบกบั พกิ ดั ของเครอ่ื งทาํ น้าํ เย็น ˆ มากกวา 20-30%
หอผึ่งเย็นแบบเหล่ยี มจะมีประสทิ ธภิ าพสูง
3.3 ระดบั นํ้าในถาดหอผงึ่ เย็นแบบ ˆ ต่าํ กวา 1/3 ของความสูงถาด กวาแบบกลม โดยทั่วไปประมาณ 2๐ F
เหลีย่ ม ˆ สงู กวา 1/3 ของความสงู ถาด ดงั นน้ั หากตอ งการติดตง้ั หรือเปลี่ยนใหม
ˆ ตันบางสวน ควรเลอื กใชแบบเหล่ียม
3.4 รนู ํา้ ในถาดของหอผง่ึ เยน็ แบบ ˆ ไมต ดั ขนาดพิกดั ของหอผงึ่ เยน็ ควรมขี นาด
เหลย่ี มหรอื รนู ํ้าของ Sprinkle Pipe มากกวา ขนาดพิกดั ของ Chiller 20-30%
ตนั หรือไม ˆ ต่ํากวา มาตรฐาน เพอื่ นใหเ กดิ การระบายความรอ นไดเ พียงพอ
ˆ สูงกวา มาตรฐาน
3.5 รอบการหมนุ ของ Sprinkle Pipe ควรสงู กวา 1/3 ของความสงู เพ่ือจะทําให
ตันหรือไม อัตราการไหลของน้ําเหมาะสม

3.6 อากาศออกดา นบนมีเม็ดน้าํ หรอื ไม ˆ มี รูทุกรไู มควรตนั เพอื่ จะทําใหเกดิ การ
ˆ ไมม ี กระจายน้าํ ไดด ี ประสทิ ธภิ าพในการ
3.7 นํ้ากระเดน็ ออกดา นขาง แลกเปลย่ี นความรอนจะสูงขึ้น
ˆ มี
3.8 มอี ากาศรอนชนื้ ทพ่ี น ออกยอนกลบั ˆ ไมม ี รอบเรว็ กวามาตรฐานแสดงวา ปรมิ าณน้ํา
เขา CT หรือไม มากเกินไปสงผลใหประสทิ ธภิ าพในการ
ˆ มี แลกเปลีย่ นความรอนระหวางนํา้ กบั อากาศ
ˆ ไมม ี ลดลง ถา ชาเกนิ ไปเกิดจากนา้ํ นอ ยเกนิ ไป
มีเมด็ น้ําอาจเกดิ จากความเรว็ ลมสูงเกนิ ไป
หรือที่ Sprinkle Pipe ไมมีแผน กนั น้ําหรือ
ปริมาณน้าํ มากเกินไป
อาจเกิดจากระดบั นาํ้ ในอา งสูงเกนิ ไป หรือ
ปรมิ าณนาํ้ ท่ีตกมากเกินไป หรอื ไมมี
Louver
อากาศทีพ่ น ท้งิ มอี ณุ หภมู ิและความชนื้ สูง
เมื่อยอนกลบั เขา ระบายความรอนจะทาํ ให

268

แนวทางการตรวจ ผลการตรวจ แนวทางการวินจิ ฉยั
รายการตรวจ
ประสทิ ธภิ าพของ CT ลดลง อาจแกไ ขโดย
3.9 มีการปลอ ยนา้ํ ผาน CT โดยไมเปด ˆ มี การตอ ปากทางออกใหสูงขึ้น (Hood)
พดั ลมหรอื ไม ˆ ไมมี ไมควรปลอ ยนํ้าผา น CT ทไี่ มไดเ ปด พดั ลม
เพราะจะทําใหอณุ หภูมนิ า้ํ ทไี่ ดก อ นเขา
3.10 แผน filler สกปรกและลม หรอื ไม ˆ สภาพดี chiller มีอณุ หภมู สิ งู สงผลใหคา kW/TR
ˆ สกปรกและลม สงู ข้นึ
ควรทําความสะอาด filling เปนประจาํ และ
3.11 อณุ หภมู ิน้ําที่ไดส งู กวา อุณหภมู ิ ˆ เกนิ 40F เปลยี่ นเมอื่ หมดอายกุ ารใชง าน อกี ท้ังควร
กระเปาะเปยกของอากาศเขา ˆ ตํา่ กวา 40F ใสใหเ ต็มและไมม ีการลมจะสงผลให
ระบาย ประสทิ ธภิ าพการเปล่ยี นความรอ นดี
อุณหภมู นิ าํ้ ท่ีไดจ ะลดลง
3.12 มีการตรวจวัดอณุ หภมู ิทไ่ี ดจากหอ ˆ ไมเคย อณุ หภมู ิสูงกวาอณุ หภูมกิ ระเปาะเปยกของ
ผ่ึงเย็นแตล ะชดุ หรอื ไม ˆ ตรวจวดั ประจาํ อากาศที่เขาระบายเกนิ 40F อาจเกิดจาก
ปรมิ าณนาํ้ มาก ปรมิ าณอากาศนอ ย รู
3.13 แตละชดุ กระแสไฟฟา ตางกัน ˆ ไมต า งกัน Spinkle pipe ตนั Spinkle head รวั่ หรือ
หรือไม ˆ ตางกนั filling ตัน
หอผงึ่ เยน็ ทท่ี าํ อณุ หภมู ินํ้าไดต ํา่ จะมี
3.14 ใชงานหอผงึ่ เยน็ มากกวาจาํ นวน ˆ มากกวา 1 ชุด ประสิทธภิ าพดี ดงั นน้ั ควรนาํ มาใชใ หม าก
การเดิน chiller 1 ชดุ หรอื ไม ˆ เทากนั ขึ้น (ทนี่ ้าํ ไหลเทากนั )
ชดุ ทใ่ี ชก ระแสไฟฟานอยท่สี ดุ ควรนํามาใช
3.15 บนั ทึกปริมาณน้ําทใี่ ชกับหอผง่ึ ˆ บันทกึ งานใหม ากขนึ้ และควรตรวจสอบวา filling
เยน็ ทกุ วันหรอื ไม ˆ ไมบนั ทกึ ตันหรอื ไม และใบพดั ลมกนิ ลมตา งกันหรอื ไม
เพ่ือใหอ ณุ หภมู นิ า้ํ ระบายความรอ นลดลง
3.16 บนั ทกึ กระแสไฟฟาหรอื พลังไฟฟา ˆ บันทกึ ควรเดินหอผ่งึ เยน็ ใหมากกวา การเดนิ เครอื่ ง
ทีห่ อผง่ึ เย็นใชเ ปน ประจําหรอื ไม ˆ ไมบนั ทกึ ทํานํา้ เยน็ 1 ชดุ หรอื ทดลองเปดเพ่มิ แลว
ตรวจวดั อุณหภมู นิ ํา้ ทีไ่ ดวา ลดลงหรอื ไม
4. อีวาโปเรทพี คอนเดนเซอร ˆ ดี หอผงึ่ เยน็ ทม่ี กี ารใชน ํา้ มากหรือนอ ยเกนิ ไป
ˆ ไมดี จะบอกถึงสิง่ ผดิ ปกตทิ เ่ี กดิ ข้ึนของหอผ่งึ
4.1 การสเปรยน ํ้าออกจากหัวฉดี เปน เยน็ โดยทัว่ ไปไมควรเกนิ 3% ของอัตรา
ฝอยดีหรอื ไม การไหลเวยี นของน้าํ
กระแสไฟฟา ของพลงั ไฟฟา ถามกี ารใชส งู
หรือต่าํ กวาเดมิ จะบอกถึงสิ่งผดิ ปกตทิ ่ี
เกดิ ข้ึน

การสเปรยน ํา้ ไมด ีหรือหวั ฉีดเกอดการอดุ
ตนั จะสงผลใหข ดทอ ความรอ นบริเวณน้นั
ไมไ ดร ับการระบายความรอ น ทําใหค วาม
ดนั สารทําเยน็ ดา นสงู (High pressure)
เพิ่มมากขนึ้ ดังนนั้ ควรทําแผนการ
ตรวจสอบและทาํ ความสะอาด

269

แนวทางการตรวจ แนวทางการวินจิ ฉยั

รายการตรวจ ผลการตรวจ ผลตา งอณุ หภมู ิสงู กวา 60F แสดงวา
ประสทิ ธภิ าพในการแลกเปล่ียนความรอน
4.2 ผลตา งอุณหภมู ินาํ้ ระบายความรอ น ˆ สูงกวา 60F ต่ํา อาจเกิดจากตะกรันบนผวิ ทอ หรอื อัตรา
ทอี่ อกและอุณหภมู สิ ารทําความเยน็ ˆ ต่าํ กวา 60F การไหลของนาํ้ มากเกนิ ไป หรอื ปริมาณ
ใน condenser ที่ภาระสงู สุด อากาศท่ีเขา ระบายนอยเกินไป
อณุ หภูมแิ ตกตา งกันสูงกวา 40F อาจเกดิ
4.3 อุณหภมู นิ ํ้าทีไ่ ดส งู กวา อุณหภูมิ ˆ เกิน 40F จากปรมิ าณนํา้ มากเกนิ ไป หรือปรมิ าณ
กระเปาะเปยกของอากาศที่เขา ˆ ไมเกนิ 40F อากาศนอ ยเกนิ ไป หรอื หัวฉีดสเปรยน ้าํ ไมดี
ระบบ
ˆ มี อากาศทอ่ี อกควรเปน ละอองความชนื้
4.4 อากาศทอี่ อกมีเมด็ นาํ้ ตดิ ออกมา ˆ ไมม ี เทานนั้ การทเ่ี มด็ น้ําออมาดว ยอาจเกิดจาก
หรือไม พดั ลมแรงเกนิ ไปหรือการสเปรยไมเปน
ฝอยที่ดี หรือไมม แี ผนกนั นา้ํ (Eliminator)
4.5 อุณหภมู ิท่ีสารทําความเยน็ ทไี่ ด ˆ ตา งกันมาก
หลังจากระบายความรอนในแตล ะ ˆ ใกลเ คยี งกัน อณุ หภมู สิ ารทําความเย็นที่ออกจาก EV ใน
ทอใกลเ คียงกนั หรอื ไม แตละทอ ควรจะใกลเคียงกนั ดงั นนั้ ถา
ตางกนั มาก อาจเกดิ จากการระบายความ
4.6 อากาศท่เี ขาระบายมีอณุ หภมู แิ ละ ˆ สูงกวา รอนบรเิ วณทอนา้ํ ผดิ ปกติ เชน อากาศนอย
ความชนื้ สงู กวา อากาศแวดลอมอน่ื ˆ เทากัน หรือนํา้ นอ ยหรอื ตะกรนั มาก
หรือไม
อากาศทีเ่ ขา ระบายควรมอี ณุ หภมู แิ ละ
4.7 ผวิ ทอคอนเดนเซอรสะอาดหรอื ไม ˆ สะอาด ความชืน้ เทากบั อากาศแวดลอ มอน่ื ๆ
ˆ มตี ะกรนั ดงั นนั้ ถาสูงกวาควรหาสาเหตุซ่งึ อาจเกิด
จากอากาศรอ นทร่ี ะบายออกเกิดลดั วงจร
4.8 มีการสเปรยน าํ้ โดยไมเ ปดพัดลม ˆ มี หรอื ความรอ นจากบรเิ วณรอบขาง
หรอื ไม ˆ ไมมี
แตล ะชุดจะมีประสทิ ธิภาพไมเ ทา กนั โดย
4.9 นํ้าหมนุ วนเขาระบายความรอ นทสี่ ูบ ˆ สงู ชุดที่สามารถทาํ อุณหภมู ิสารท่อี อก
มอี ณุ หภมู ิสงู หรอื ไม ˆ ไมส งู อณุ หภมู ติ ่าํ สุด เปน ชุดท่ีมีประสิทธภิ าพ
สงู สดุ ดงั นั้นควรนํามาใชง านใหมาก
4.10 มี EV หลายชุดแลวสลบั กนั เดินใช ˆ สลบั กนั เดิน
งานหรอื ไม ˆ ใชส ลับ การสเปรยน ้ําโดยไมเ ปดพัดลมจะสงผลให
อุณหภมู นิ าํ้ สูงข้นึ เรื่อยๆ ทําใหการระบาย
4.11 มีมอเตอรท ี่เคยไหมหรือไม ˆ มี ความรอนใหก บั สารทําความเยน็ นอ ยลง
ˆ ไมมี
นํา้ เขาระบายความรอ นมีอณุ หภูมิสงู อาจ
แกไ ขโดยการเพมิ่ ปริมาณอากาศเขา ระบาย
หรืออาจติดต้งั หอผึ่งเยน็ เมอื่ ดดู นา้ํ ไป
ระบายความรอ นอกี ครงั้ กอ นนาํ ไปใชสเปรย

ผวิ ทอดา นสมั ผสั นํ้าควรทาํ ความสะอาด
เปน ประจาํ เพราะตะกรนั ทเ่ี กาะจะเปน
ฉนวนความรอ นสงผลใหป ระสทิ ธภิ าพการ
แลกเปลยี่ นความรอ นลดลง

มอเตอรไ หมแ ตล ะครงั้ ประสิทธิภาพจะ
ลดลงประมาณ 4% ดังนัน้ ควรลดการใช
งานหรือทาํ งานเปลยี่ นใหม

270

แนวทางการตรวจ แนวทางการวนิ จิ ฉยั

รายการตรวจ ผลการตรวจ กรองอากาศตนั จะทําใหปรมิ าณลมไหล
5. อวี าโปเรเตอร ผา นขอทอ ความเย็นนอ ยลง สง ผลให
5.1 กรองอากาศตันหรอื ไม ˆ ตัน ประสิทธภิ าพการแลกเปล่ยี นความรอน
ˆ ไมตนั ลดลง และอาจเกดิ นาํ้ แขง็ เกาะได
การทําความสะอาดเปนประจําในความถท่ี ่ี
5.2 ทาํ ความสะอาดขดทอและพดั ลม ˆ ทาํ เปนประจาํ เหมาะสม จะสงผลใหป ระสทิ ธภิ าพ
เปนประจําหรอื ไม ˆ ไมเ คยทํา แลกเปล่ียนความรอนสงู
มภี าระนอ ย อตั ราการเกดิ นาํ้ แขง็ จะนอ ย
5.3 การละลายนาํ้ แขง็ บอยหรอื ไม ˆ เหมาะสม กวาทีภ่ าระมาก ดังนนั้ ควรละลายน้าํ แขง็ ให
ˆ ไมเหมาะสม เหมาะสม เพราะการละลายน้ําแขง็ จะเปน
การเพมิ่ ภาระในการทําความเยน็
5.4 การละลายน้าํ แขง็ นานไปหรือไม ˆ เหมาะสม เม่ือน้าํ แข็งละลายหมด ควรหยุดใหค วาม
ˆ ไมเหมาะสม รอ นทันที เมอ่ื ลดภาระการทําความเยน็
5.5 อุณหภมู ิใชง านในพ้นื ทต่ี ่ํากวา ˆ ต่ํากวา
มาตรฐานหรอื ไม ˆ สูงกวา อุณหภมู ิในพืน้ ทค่ี วรเปน ไปตามท่ี
ˆ มาตรฐาน มาตรฐานกาํ หนด ถา ตาํ่ เกินไปจะสงผลให
มกี ารใชพลังงานมากข้นึ เนอื่ งจากการ
5.6 ตําแหนง ตดิ ตง้ั อุปกรณตรวจวดั ˆ เหมาะสม สูญเสยี ในทางตา งๆ จะมากข้นึ รวมท้งั
อณุ หภมู เิ หมาะสมหรือไม ˆ ไมเ หมาะสม ระบบจะมปี ระสทิ ธิภาพลดลง
อปุ กรณตรวจวดั อณุ หภมู ิเปนส่งิ สาํ คัญมาก
5.7 การตดิ ตง้ั พัดลมทําใหเกดิ การ ˆ ดี ดงั น้ันนอกจากอปุ กรณจะตอ งมีความ
กระจายลมดหี รอื ไม ˆ ไมดี เที่ยงตรงแลว ยังจะตอ งตดิ ตง้ั ในตาํ แหนงท่ี
เหมาะสมท่จี ะบอกไดวา อุณหภูมนิ าํ้ หยด
5.8 มีปญ หาเมอื่ ภาระมากไมส ามารถทํา ˆ มี ของพ้นื ที่ไมไ ดส งู เกนิ มาตรฐานท่กี าํ หนด
อุณหภมู ิไดตามตอ งการหรือใชเ วลา ˆ ไมม ี การกระจายลมภายในหอ งเปน ส่ิงที่สาํ คัญ
มากหรือไม มาก เนือ่ งจากบางครัง้ การกระจายลมไมดี
ˆ ใช สงผลใหบ างจุดอณุ หภมู ิสูง และบางจดุ
5.9 พดั ลมใชม อเตอรป ระสิทธภิ าพสูง ˆ ไมใ ช เพราะ ....................... อณุ หภมู ติ ํา่ กวา มาตรฐาน
หรอื ไม ผใู ชแ กไขไดโดยการลดอุณหภูมิควบคมุ ให
ต่าํ ลง สง ผลใหป ระสิทธภิ าพของระบบ
6. อนื่ ๆ ˆ ดี โดยรวมลดลง
ปญ หาอาจเกดิ จากประสทิ ธภิ าพของอวี าโปเร
6.1 สภาพฉนวนหมุ ทอ และอปุ กรณด ี เตอรล ดลง การกระจายลมไมดี ปรมิ าณการ
หรอื ไม ทําความเยน็ นอ ยกวาภาระ ความเรว็ ลมตํ่า
เกนิ ไป ขนาดของอวี าโปเรเตอรเล็กเกินไป
การจดั วางผลติ ภณั ฑไ มดี อุปกรณล ดความ
ดันมีปญหา หรือมีอากาศอยูภ ายในระบบ

ระบบทําความเยน็ จะมีอณุ หภูมิตา่ํ กวา
อณุ หภมู ิอากาศแวดลอ มมาก ดงั นนั้ เมอ่ื

271

แนวทางการตรวจ แนวทางการวินจิ ฉัย

รายการตรวจ ผลการตรวจ ฉนวนสภาพจะสง ผลใหเ กดิ การสญู เสยี
ความเยน็ มาก
ˆ ชํารุด
ที่ภาวะตางๆ โรงงานควรมีมาตรฐานการ
ˆ เส่ือมสภาพ เดินเพอื่ ใหผ คู วบคมุ ทกุ คนเดินใหเ หมาะสม
กับภาระตลอดเวลา ถา เดินมากเกนิ ไปจะ
6.2 จัดการเดินอุปกรณตา งๆ ในระบบ ˆ จัดการเดินตามภาระ สิน้ เปลอื งพลงั งาน
ตามภาระมากหรอื ไม ˆ เดินคงที่ตลอดเวลา
ควรทําแผนตรวจสอบและซอ มแซมรูรัว่ อยา ง
6.3 มีการรั่วของสารทําความเยน็ ใน ˆ ร่ัว สมาํ่ เสมอ เพราะมีผลตอ ประสทิ ธภิ าพของ
ระบบมากหรอื ไม ˆ ไมร ว่ั ระบบและสน้ิ เปลอื งสารทาํ ความเยน็

6.4 มอี ากาศรั่วเขา ไปในระบบมาก ˆ รั่ว สารทําความเยน็ ทค่ี วามดันต่าํ กวา
หรอื ไม ˆ ไมรั่ว บรรยากาศ มกั จะมกี ารร่วั ของอากาศเขา
ไปในระบบเสมอ ซ่งึ อากาศจะเปนฉนวน
6.5 หอ งเยน็ ใชป ระตู 2 ชั้นหรอื ไม ˆ ใช ความรอ น สง ผลใหป ระสทิ ธิภาพโดยรวม
ˆ ไมใช ลดลง ดังน้นั ควรตรวจสอบและซอมแซม
อยางสม่าํ เสมอ
6.6 ประตูหอ งเยน็ มีมา นพลาสติกหรือไม ˆ มี
ˆ ไมม ี หอ งเยน็ โดยทัว่ ไปจะมอี ณุ หภมู ิตา งจาก
อณุ หภมู แิ วดลอมมาก ดงั น้ันเพอ่ื ปอ งกัน
6.7 มีการเปด ประคูหอ งเย็นบอ ยหรอื ˆ มี ความรอน ควรตดิ ตัง้ ประตู 2 ชน้ั
เปดประตทู ้ิงไวหรอื ไม ˆ ไมมี
เมอ่ื เปด ประตูหอ งเยน็ ความรอ นจะผา นเขา
6.8 มีการตดิ ตัง้ อุปกรณล ดความชน้ื ˆ มี มาอยางรวดเร็ว ดงั นั้นเพอ่ื ชะลอการผา น
ภายในหอ งเย็นหรอื ไม ˆ ไมม ี ความรอ น ควรตดิ มานพลาสตกิ หรือมานลม

6.9 มกี ารติดตัง้ สวิทชป ด ไฟฟาแสงสวาง ˆ มี การเปดประตแู ตล ะครัง้ จะมคี วามรอ นเขาสู
หอ งเยน็ ดงั นนั้ ควรลดการเขา/ออกให
อตั โนมตั ิหรือไม ˆ ไมม ี นอ ยลง และอาจติดสญั ญาณเตือนเมอ่ื
ประตเู ปดทิ้งไวเ ปนเวลานาน
6.10 ใชห ลอดไฟฟา ประสิทธภิ าพสูงใน ˆ มี
หองเยน็ หรอื ไม ˆ ไมม ี อุปกรณล ดความชนื้ จะชวยลดการเกดิ
ˆ มี นํ้าแขง็ ภายในหองและท่ขี ดทอ ความเยน็
6.11 มรี ะบบการจดั วางสงิ่ ของในหองเยน็ ˆ ไมมี ซ่ึงจะสง ผลใหป ระสิทธิภาพของหอ งเย็น
ท่ีเปนมาตรฐานหรอื ไม สูงขึ้น

6.12 การใชห อ งเย็นหรอื อปุ กรณทําความ ˆ เตม็ พิกัดทุกครง้ั การเปด ไฟฟาแสงสวางทง้ิ ไวจ ะเปน การเพ่มิ
เย็นตา งๆ มกี ารบริหารการใชทเี่ ตม็ ˆ บางครงั้ ไมเ ตม็ พกิ ัด ภาระการทาํ ความเยน็ ดงั น้ันควรตดิ ตง้ั สวทิ ช
พิกัดทกุ ครั้งหรือไม ไฟฟา อตั โนมตั ิเพอื่ ปดเมื่อไมม ีการใชง าน

หลอดไฟฟาแสงสวา งที่มีประสิทธภิ าพสูง
จะลดภาระการทาํ ความเยน็ ได

หอ งเยน็ จําเปน ทจี่ ะตองมีมาตรฐานการจัด
วาง เพอื่ ใหเกดิ การกระจายลมที่ดี สง ผลถงึ
อณุ หภมู แิ ละระยะเวลาทใ่ี ช

หองเยน็ และอปุ กรณตา งๆ ท่ีใชความเยน็
จะมกี ารสญู เสยี ทค่ี งท่ี ดังน้ันเม่อื ใชงานที่
ภาระตา่ํ กวา พิกัดตนทนุ จะสงู ข้นึ

272

แนวทางการตรวจ แนวทางการวนิ จิ ฉัย

รายการตรวจ ผลการตรวจ ถา อปุ กรณสวนนอ ยใชอ ณุ หภูมติ า่ํ และ
อุปกรณสว นใหญใ ชอณุ หภมู สิ ูง ควรทาํ การ
6.13 แยกระบบตามระดบั อุณหภูมทิ ่ใี ช ˆ แยก แยกระบบทาํ ความเยน็ เปน ระบบทใี่ ช
งานหรือไม ˆ ไมแยก อณุ หภมู สิ ูงและระบบทําความเย็นเปน
ระบบทใี่ ชอณุ หภมู ติ ํา่ เพ่อื ไปใชกบั อุปกรณ
6.14 มกี ารใชอุปกรณก าํ จหั รือปอ งกนั การ ˆ มี สวนนอ ยเพราะตน ทนุ ตางกนั
เกิดตะกรนั ในอวี าโปเรทีพ ˆ ไมมี ปจจุบันมีการใชโ อโซนและอุปกรณเปลีย่ น
คอนเดนเซอรแ ละหอผงึ่ เยน็ หรอื ไม ประจมุ าใชใ นการปองกนั การเกิดตะกรนั ใน
อุปกรณแ ลกเปลย่ี นความรอ นตา งๆ

(2) การบํารงุ รักษาระบบทําความเย็นเพือ่ การประหยัดพลงั งานมีอะไรบาง ? ระยะเวลาท่เี หมาะสม
ทกุ วนั
รายละเอียดการดําเนนิ การ
ทุก 6 เดอื น
1. เครอ่ื งอดั สารทาํ ความเยน็ เมอ่ื หมดอายุการใชงาน
1.1 ตรวจสอบการทาํ งานของอปุ กรณต า งๆ ตอไปนี้
ทุกวนั
- เทอรโ มมเิ ตอร
- เกจวัดความดนั ทกุ วนั
1.2 ทาํ ความสะอาดอปุ กรณแลกเปลีย่ นความรอ นดา นคอนเดนเซอร ตรวจสอบสภาพ สี และปรมิ าณ
ของสารทาํ ความเย็นและนํ้ามนั หลอ ล่ืน ทกุ 6 เดอื น
1.3 เปลย่ี นสารและอปุ กรณ ทุกวัน
- Refrigerant dryer ทกุ เดอื น
- น้าํ มันหลอ ล่ืน
- ไสกรอง
1.4 ตรวจวัดและจดบนั ทึกคา ตวั แปรตา งๆ ตอไปน้ี เพ่ือใชวเิ คราะหประสิทธิภาพการทํางานของเครอื่ ง
- กระแสแรงดนั และกําลงั ไฟฟา ที่ใช
- ความดัน และอณุ หภมู ิของสารทาํ ความเย็น
- อณุ หภมู ิและความดนั ของน้ําเยน็ / นา้ํ หลอเยน็ ท้งั ดา นเขา และออก
- อัตราการไหลของนํ้าเยน็ / นํ้าหลอ เยน็
2. เครือ่ งสูบนํา้ และเครอื่ งสบู นาํ้ หลอ เย็น
2.1 ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณต างๆ ตอไปนี้
- เกจวดั ความดนั
- วาลว ปรับอตั ราการไหล
- Automatic air vent
2.2 ทาํ ความสะอาดตวั กรองสารแขวนลอย (Strainer)
2.3 ตรวจวัดและบันทึกคา ตวั แปรตางๆ ตอไปน้ี
- กระแสและแรงดนั ไฟฟา ทใี่ ช
- ความดันของนํา้ เยน็ และนาํ้ หลอเยน็ ทั้งดานดดู และดานจาย
2.4 ตรวจสอบความรอ นทตี่ วั มอเตอร

273

รายละเอียดการดาํ เนินการ ระยะเวลาที่เหมาะสม
ทุกวนั
3. หอผึง่ เยน็
ทุกวัน
3.1 ลา งทาํ ความสะอาดอปุ กรณตา งๆ ตอ ไปน้ี
- PVC Filling ทกุ เดือน
- ถาดรบั นา้ํ ทุกเดือน
- ชดุ จายนาํ้ ทุก 6 เดือน
ทุกวัน
3.2 ตรวจสอบการทาํ งานของอุปกรณต างๆ ตอไปน้ี
- วาลวลูกลอย ทกุ 6 เดือน
- ชุดจายน้ํา-พดั ลม
- วาลว ปก ผเี สื้อ (butterfly valve) ตางๆ เชน วาลวนํ้าเขา วาลวน้ําออก วาลวปรับสมดลุ เปน ตน

3.3 ตรวจสอบสภาพและปรบั แตง ความตงึ ของสายพาน (ถา มี) หรอื ชดุ เกยี รส งกาํ ลัง (ถา ม)ี
4. เครื่องสง ลมเย็น

4.1 ลา งทาํ ความสะอาดอปุ กรณตา งๆ ตอไปนี้
- แผงกรองอากาศ (Air filter)
- ขดทอความเยน็ (Cooling coil)

4.2 ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณต า งๆ ตอ ไปนี้
- เทอรโมมเิ ตอร
- พดั ลม
- เกจวัดความดัน
- เทอรโมสตทั

4.3 ตรวจวัดและบนั ทกึ คา ตวั แปรตา งๆ ตอไปน้ี
- อณุ หภมู ิและความชื้นสัมพัทธ
- กระแสและแรงดนั ไฟฟา ทใ่ี ช

274


Click to View FlipBook Version