หนวยท่ี 10 ไฟฟาและวงจรไฟฟา
ทฤษฏีไฟฟา เบ้ืองตน
1. ระบบสง จายไฟฟา ในการผลิตไฟฟา แบงตามลักษณะการแปรรูปพลังงานได 2 แบบ
- โรงไฟฟาทผี่ ลิตจากพลงั งานท่ีทสี่ ามารถนาํ กลบั มาใชไดอกี เชน พลงั น้ํา แสงอาทิตย ลม พลังงานไฟฟาใตพ ภิ พ
- โรงไฟฟา ทีผ่ ลติ จากพลังงานทีใ่ ชแ ลว หมดไป เชน โรงไฟฟาถา นหนิ นาํ้ มนั เตา กา ซ พลงั งานนิวเคลียร
ในการสงจา ยพลงั งานไฟฟาจะมีการลดทอนแรงดันตํา่ จนมคี าเหมาะกบั ผูใช ระดบั แรงดนั ทีใ่ ชใ นประเทศไทย
1.1 ระดับแรงดนั สําหรับสายสง แรงสูง สง จากโรงไฟฟา ระหวา งสถานไี ฟฟา 69kv 115kv 230kv 500kv อยูในความรับผดิ ชอบ
ของ การไฟฟา ฝา ยผลิต
1.2 ระดบั แรงดันสําหรับระบบจําหนา ยแรงสงู สถานีไฟฟา ยอยระบบจาํ หนา ย ไปยงั หมอ แปลงระบบจําหนา ย 11kv 22kv 33kv
22kv 24kv
1.3 ระดับแรงดนั สําหรบั ระบบจาํ หนายแรงตํา่ 1 เฟส 2 สาย 220 โวลต ความถี่ 50 เฮริ ตซ
และ ระบบแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 380 โวลต 50 เฮริ ตซ
2 ประจุไฟฟา มี 2 ชนดิ คือ ประจุบวก ถกู พาเคล่ือนท่ดี ว ยโปรตอน และประจุลบถูกพาเคล่อื นที่ดวยอิเลคตรอน ประจเุ หมอื นกนั
จะผลกั กันประจุตา งกนั จะดดู กัน เม่อื ประจุลบหรอื อเิ ลคตรอนเคล่ือนทภี่ ายในตวั นําไฟฟาจะทําใหเ กิดกระแสไฟฟาข้ึน
กระแสไฟฟาแบงไดเ ปน 2 ประเภทคือ
2.1 ไฟฟา กระแสตรง (direct current : DC) คือการเคลอื่ นทขี่ องอิเลคตรอนมที ศิ ทางการไหลในทศิ ทางเดียวจากขวั้ ลบไปยงั
ขัว้ บวก เชน แบตเตอร่รี ถยนต 24 volt ถานไฟฉาย 1.5 volt
2.2 ไฟฟา กระแสสลับ (alternating current: AC) เปน การเคลื่อนท่ขี องอเิ ลคตรอนมีทศิ ทางไหลกลบั ไปกลับมาตลอดเวลา โดย
การเคลอ่ื นทีป่ ระจุไฟฟาบวกและลบสลบั กนั ในตวั นาํ สาย เชน ไฟฟาตามบา น220 โวลต 50 เฮิรตซ
3. หลักการเบอื้ งตนของการกาํ เนดิ ไฟฟา เมือ่ เสนแรงแมเ หล็กเคล่อื นทตี่ ดั ขดลวด หรอื ขดลวดเคล่อื นท่ตี ัดเสนแรงแมเ หล็ก จะ
ทําใหเ กดิ แรงเคลื่อนเหน่ยี วนําในขดลวด ขนาดของแรงเคล่อื นเหนยี่ วนาํ จะมากหรอื นอยขึ้นอยกู บั ขนาดของสนามแมเ หลก็
จํานวนรอบของขดลวด ความเร็วของการเคล่ือนท่ี และตาํ แหนง ขดลวดในสนามไฟฟา แบงออกเปน 2 แบบ คอื 1 เฟส และ 3
เฟส
3.1 การกําเนดิ ไฟฟา 1 เฟส แรงเคลือ่ นไฟฟา 1 เฟส เกดิ จากการเคลอื่ นทขี่ องขดลวด 1 ขด ตดั สนามแมเหล็กคงที่ ทําใหเกดิ
แรงเคล่ือนไฟฟา เหนย่ี วนําทเ่ี ปน กระแสสลบั ที่มกี ารเปลยี่ นขนาดทิศทางเปน รูปคลื่นไซน
การกําเนดิ ไฟฟา 1 เฟส ท่ีเวลาตา งๆ
3.2 การกาํ เนดิ ไฟฟา 3 เฟส แรงเคลอ่ื นไฟฟา 3 เฟสเกดิ จากการเคลอื่ นทข่ี องแกนแมเหล็ก ตกั ขดลวดตัวนาํ 3 ชดุ มีมมุ องศา
ตา งกัน 120 องศาทางไฟฟา
หนว ยวดั และสมการทางไฟฟา
1. หนวยวัดทางไฟฟา
1.1 ความตานทานไฟฟา (resistance) เปน คณุ สมบัตขิ องสสารท่ตี อตานการไหลของกระแสไฟฟา สสารที่มคี วามตา นทาน
ไฟฟานอยกวา เรยี กวา ตัวนําไฟฟา สวนสสารที่มีความตานทานไฟฟามากกวา เรยี กวา ฉนวนไฟฟา ความตา นทานมหี นว ยเปน
โอหม
1.2 แรงดนั ไฟฟา (voltage) เปนแรงทท่ี ําใหอเิ ลคตรอนเกดิ การเคลอ่ื นท่ี หรือแรงที่ทาํ ใหเกิดการไหลของไฟฟา มีหนว ยเปน
โวลท V
1.3 กระแสไฟฟา (current) เกดิ จากการเคลือ่ นท่ีของอิเลคตรอนจากจดุ หนง่ึ ไปยังอีกจดุ หน่ึง ภายในตัวนาํ ไฟฟา หนวยเปน
แอมแปร A
1.4 กาํ ลังงานไฟฟา (power) อัตราการเปลย่ี นแปลงพลังงาน หรืออดั ตราการทาํ งาน มหี นว ยเปน วตั ต watt W
1.5 พลงั งานไฟฟา (energy) คอื กาํ ลงั ไฟฟา ที่ใชไประยะหน่งึ มหี นว ยเปน วัตต- ช่ัวโมง (watt-hour) หรอื ยูนติ (unit)
1.6 ความถี่ (frequency) คอื จาํ นวนรอบของกระแสไฟฟา สลบั มีหนวยเปน เฮริ ตซ Hz
1.7 รอบ (cycle) คือการเปล่ียนแปลงทางไฟฟาครบ 360 องศาซง่ึ เปน การเปลี่ยนแปลงไฟฟาคา บวกและคาลบไดส มบูรณ
1.8 แรงมา (horse power) หรือกาํ ลังมา เปนหนว ยวดั กาํ ลังหรืออัตราการทํางาน 1 แรงมา = 550 ฟุต-ปอนด หรือ 745.7 วัตต
ประมาณ 746 วตั ต
2. สมการไฟฟา
2.1 กฎของโอหม (ohm’s low) ค.ศ. 1862 นกั ฟสิกสชาวเยอรมัน George Simon Ohm กลาววากระแสไฟฟา ทีไ่ หลในวงจรจะ
แปรผนั ตรงกบั แรงดนั ไฟฟา และแปรผกผนั กับคา ความตานทาน E = IR
2.2 สมการคา กาํ ลังไฟฟา มหี นว ยเปน วตั ต P=EI
2.3 สมการคา พลงั งานไฟฟา W = Pt กิโลวัตตต อชั่วโมง หรอื ยนู ิต(unit)
อุปกรณไ ฟฟา พื้นฐานและวงจรไฟฟา เบื้องตน
1. อปุ กรณไฟฟา พ้ืนฐาน
- ตัวตานทาน (resistor) เปน อปุ กรณท่ีทาํ หนาทต่ี อ ตา นการไหลของกระแสไฟฟา ความตานทานมหี นว ยเปนโอหม มชี นดิ คงที่
ปรบั คาได ชนดิ เปลย่ื นคาได
- ตวั เก็บประจุ (capacitor) เปนอปุ กรณท าํ หนา ทปี่ อ งกนั การไหลของกระแสไฟฟา สามารถเก็บประจุไฟไวไ ด มชี นิด คาคงที่
ปรบั คาได และชนิดเลือกคา ได
- ตัวเหนยี่ วนาํ (inductor) เปน อุปกรณนาํ มาใชในวงจรไฟฟาอเิ ลคทรอนิกลสเก่ียวขอ งกับสนามแมเ หลก็ ไฟฟา นํามาใชเกยี่ วกบั
ความถีว่ ิทยุ หนวยเปน เฮนร่ี H มีชนดิ ตวั เหนย่ี วนําแบบโชก แกนเหลก็ ในยานความถต่ี ํา่ ๆ แบบโชก แกนอากาศใชใ นยาน
ความถีว่ ทิ ยุ แบบโชก แกนเฟอรไรท ใชในยานความถ่ีสงู
2. วงจรไฟฟา เบือ้ งตน
- วงจรอนกุ รม กระแสไฟฟาตลอดวงจรมีคา เดยี วกันตลอด แรงเคลื่อนไฟฟาเทา กบั แรงดนั ท่ีตกครอมอปุ กรณแ ตล ะตวั
- วงจรขนาน(parallel circuit) กระแสไฟฟา ไหลผา นอปุ กรณแตล ะตัว รวมกนั จะเทากับกระแสไฟฟาที่ไหลออกจาก
แหลงจา ย แรงดนั ตกครอ มอปุ กรณแ ตล ะตวั มคี าเทากับแรงเคลื่อนไฟฟา ของแหลงจา ย
- วงจรผสม เปนการตอ ท้ังอนกุ รมและขนานในวงจรเดยี วกนั
-
สายไฟฟา และอปุ กรณป องกนั ระบบไฟฟา
1. สว นประกอบของสายไฟฟา ประกอบดว ย 2 สว นคอื ตวั นาํ และฉนวน
- ตวั นาํ (conduction) ทําจากโลหะท่มี คี วามนําไฟฟา สูง อาจเปนสายเดยี่ ว หรอื สายตีเกลยี ว นยิ ม ทองแดงและอลูมเิ นยี ม
ทองแดง นาํ ไฟฟาไดด ี นํ้าหนักมาก ราคาแพง เหมาะกบั การใชในอาคารท่วั ไป อลมู เิ นียม นาํ ไฟฟา รองจากทองแดง นาํ้ หนัก
เบา ราคาถูกกวา เหมาะกบั อาคารและแรงดนั สงู
- ฉนวน (insulator) ทําหนา ทหี่ อ หุมตวั นาํ นิยมใช PVC (polyvinyl chloride) ไมซ ับนาํ้ เหนยี วทนทาน ทนตอการกดั กรอน ไมม ี
ปฏิกริ ยิ ากบั กรดดาง และ XLPE (cross link polyethylene) มคี วามแขง็ แรงทนความรอนและถา ยเทความรอนไดด ีกวา
2. ประเภทของสายไฟฟา แบง เปน 2 ประเภทคือ สายไฟฟา แรงดนั สูง และสายไฟฟาแรงดนั ตํา่
- สายไฟฟาแรงดันสงู มีสายเปลอื ย และสายหุมฉนวน
- สายไฟฟาแรงดันตาํ่ ใชกบั แรงดนั ไมเ กนิ 750 โวลท
การเลอื กสายไฟฟาทเี่ หมาะสม
1. ขอพิจารณาในการเลือกสายไฟฟา
- พิกดั แรงดนั มอก. 11-2531 ไดก าํ หนดแรงดนั 2 ระดบั คือ 300 โวลต และ 750 โวลต การใชงานตอ งคาํ นงึ พิกัดแรงดนั ให
เหมาะสม
- พิกดั กระแส ความสามารถของสายไฟฟา ในการนํากระแส มตี วั แปรไดแ ก ขนาดสายไฟฟา ชนดิ ของฉนวน อณุ หภ฿ม
โดยรอบ ลกั ษณะการตดิ ตงั้
- สายควบ สายหลายเสน ตอ ขนาน
- แรงดนั ตก (voltage drop) ความแตดตางระหวา งแรงดนั ตน ทางและปลายทาง
2. การเลอื กสายไฟฟา ใหเหมาะสมกบั วงจรตางๆ แบง เปน สามวงจร ไดแ ก วงจรยอย วงจรสายปอน และวงจรประธาน
2.1 วงจรยอย (branch circuit) เปน สว นของวงจรไฟฟา ทตี่ อมาจากบรภิ ณั ฑป อ งกนั ตวั สดุ ทายกบั จดุ ตอ โหลด เชน วงจรยอย
แสงสวาง วงจรยอยมอเตอร
2.2 วงจรสายปอ น (feeder circuit) วงจรทร่ี บั ไฟจากสายประธานไปจนบริภัณฑปองกนั วงจรยอ ย
2.3 วงจรประธาน ( main circuit) หมายถึง ตัวนํา และอุปกรณไฟฟาตางๆ ท่ีรบั ไฟจากการไฟฟา มีตวั นาํ ประธานอากาศ และ
ตัวนําประธานใตดนิ
อปุ กรณ ปอ งกนั ระบบไฟฟา และการเลือกใชอ ุปกรณป องกนั ระบบไฟฟา ที่เหมาะสม
1. อุปกรณปอ งกนั ระบบไฟฟา
- ฟว ส (fuse) อุปกรณปองกนั กระแสเกิน ทาํ มาจากโลหะผสมสามารถนําไฟฟา ไดด ี มจี ุดหลอมละลายตาํ่ ฟว สท ดี่ ี เมอื่ กระแส
ไหลเกิน 2.5 ของขนาดทนกระแสของฟว ส ฟว สตองขาด
- เซอรก ิตเบรกเกอน (circuit breaker :CB) อุปกรณท ําหนา ท่ีตดั กระแสไฟฟา เมอ่ื กระแสเกนิ หรือลัดวงจร สามารถกลับมาใช
ใหมไดไ มเ ปลย่ี นใหมเหมอื นฟวส การทาํ งานมี 2 แบบคอื เชิงความรอ น และเชงิ แมเหลก็
2. การเลือกขนาดของอุปกรณปอ งกนั ระบบไฟฟาท่ีเหมาะสม
- อุปกรณป อ งกันวงจรยอย ตองมอี ปุ กรณป องกนั กระแสเกิน สอดคลองกบั โหลดสงู สดุ ท่คี ํานวณได นยิ มใชเซรก ติ เบรกเกอร
ตามมาตรฐาน IEC (International Electrotechnical Commission)
- อปุ กรณปองกนั วงจรสายปอน ตอ งมกี ารปอ งกนั กระแสเกนิ และขนาดของอปุ กรณป อ งกันกระแสเกนิ ตอ งสอดคลอ งกับ
โหลอดสงู สุดทคี่ าํ นวณได
- อปุ กรณปอ งกนั วงจรประธาน หมายถงึ อุปกรณไ ฟฟาที่ทาํ หนา ที่ปลดวงจรบริภณั ฑป ระธาน ประกอบดว ย อปุ กรณปลด
วงจร และอปุ กรณปอ งกนั กระแสเกนิ
วงจรพนื้ ฐานสาํ หรบั ควบคมุ อุปกรณไฟฟา
วงจรไฟฟา แสงสวา ง
- ประเภทของหลอดไฟฟา มหี ลอดไส หลอดทัวสเตนฮาโลเจน หลอดเรอื งแสง เชน หลอดฟลอู อเรสเซนต หลอดคอมแพค
ฟลูออเรสเซนต
ระบบควบคุมมอเตอรไฟฟา ขนาดของมอเตอรเรยี กเปน แรงมา 1 Hp = 764 วัตต ในการควบคมุ มอเตอร ประกอบดวยวงจร
ควบคมุ และวงจรกําลงั
1. ประเภทของมอเตอร
- มอเตอรเ หนย่ี วนํา (induction motor) นิยมใชมา มี 1 เฟส และ 3 เฟส แบบกรงกระรอก และ แบบวาวดโรเตอร
- มอเตอรซงิ โครนสั (synchronous motor) เปนมอเตอร 3 เฟส มขี ดลวดอารเมเจอร และขดลวดสนาม ความเรว็ คงท่ี
- มอเตอรไฟฟา กระแสตรง (DC motor) มีขดลวดสนามอยบุ นสเตเตอรแ ละขดลวดอารเมเจอรอ ยบู นสเตเตอร สามารถควบคมุ
ความเรว็ ไดด ี แรงบดิ เรม่ิ เดนิ เครอื่ งสงู
2. วงจรยอยของมอเตอร (motor branch circuit)
2.1 กรณมี อเตอรใ ชง านทั่วไป โหลดมอเตอรถือวา เปน โหลดตอเนอ่ื ง ดงั น้ันสายวงจรมอเตอรตองมีขนาดไมน อ ยกวา 125%
ของพิกนั กระแสมอเตอร
2.2 กรณมี อเตอรห ลายตัว (multi speed motor) แตละความเร็วจะมคี า พิกดั กระแสตา งกนั ใหใชคากระแสสงู สุด
2.3 กรณีมอเตอรใ ชงานไมต อ เน่ือง เปน ระยะ หรอื เปน คาบ ตองไมต าํ่ กวาคาเปอรเ ซ็น คณู พิกดั กระแสของมอเตอร
3. อุปกรณท ส่ี ําคัญในการควบคุมมอเตอร
3.1 สวิทชปมุ กด (push button) เปน อุปกรณส ง สัญญาณโดยการกดจากตคู วบคุม
3.2 สวิทชควบคุม (selector switch) สวิทชทเ่ี ลอื กการทํางานของอปุ กรณที่จะควบคมุ อาจมี 2 หรอื 3 ตําแหนง
3.3 หลอดไฟ (pilot lights) เปน อุปกรณทใ่ี ชแ สดงสญั ญาณการทํางานหรือหยุดทาํ งานของอุปกรณ
3.4 อปุ กรณป อ งกันวงจรควบคมุ นิยมใชเ ซอรก ิตเบรกเกอร
3.5 คอนแทคเตอร เปน อุปกรณสี ําหรบั ตัดวงจรไฟฟา ควบคมุ โดยแมเหล็กไฟฟา
3.6 โอเวอรโ หลด (overload relay) เปน อุปกรณป องกนั มอเตอรไ มใ หไ ดรับความเสยี หาย เม่ือเกดิ โอเวอรโหลด
อปุ กรณท ี่สําคัญในการควบคมุ มอเตอร
4. วงจรควบคมุ พน้ื ฐาน
4.1 วงจรสตารทและควบคมุ มอเตอรโดยตรง
4.2 วงจรกลบั ทางหมุนมอเตอร
4.3 วงจรเริม่ เดินแบบสตารเดลตา ใชก บั มอเตอรที่มกี าํ ลังแรงมาสงู ๆ เพือ่ ลดกระแสในชว งสตารทมอเตอร กระแสเรมิ่ หมนุ จะ
ประมาณ 7 เทา ของกระแสตอนทาํ งานปกติ
การตอ ลงดนิ หมายถงึ การตอ สายไฟฟา จากอปุ กรณไฟฟา ไปยังสายดนิ โดยสายดนิ คอื แทง ตัวนาํ ทองแดงทตี่ อดลงไปในดนิ
เพ่ือปองกนั ไฟรวั่ ซอ ตบคุ คลผูใชง าน
1. ประเภทของการตอ ลงดิน แบงเปน 2 ประเภท
1.1 การตอ ลงดินทร่ี ะบบไฟฟา หมายถึง การตอสว นใดสวนหนึง่ ของระบบไฟฟา ทมี่ กี ระแสไหลผานลงดิน เชน การตอ จุด
นวิ ทรัล (neutral point) ลงดิน
1.2 การตอ ลงดินท่อี ุปกรณไ ฟฟา หมายถงึ การตอ สวนทเี่ ปนโลหะ ทไ่ี มม กี ระแสไฟฟา ไหลผา นของอปุ กรณต า งๆ ลงดนิ
2. สวนประกอบการตอลงดิน
- หลักดนิ หรือระบบหลกั ดิน (grounding electrode) เปน หลกั ดนิ นยิ มใชทองแดง
- สายตอหลกั ดิน
ความตา นทานระหวา งหลักดนิ กบั ดิน ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดความตา นทานหลักดินกับดนิ ไมเกนิ 5 โอหม การไฟฟา
นครหลวง ไมเกิน 25 โอหม หารวัดแลวเกนิ ตองปก เพม่ิ อีก 1 แทง
ฟาผา และระบบปองกนั ฟาผา
ปรากฏการฟา ผาและอันตรายจากฟาผา
1. ฟาผา เกิดขน้ึ เน่อื งจากการเกิดประจไุ ฟฟา อิสระทล่ี ะอองน้าํ ในอากาศ เมื่อละอองนํ้าเหลา น้ีรวมตัวกนั หนาแนน เปน กอ นเมฆ
โดยเฉพาะเมฆฝนทม่ี ีประจไุ ฟฟา อสิ ระรวมกันอยมู ากมาย หากกอ นเมฆท่ีประจุในขว้ั ทต่ี า งกนั เคลือ่ นตวั เขา ใกลก ันจะทําให
จนทาํ ใหประจไุ ฟฟา ทัง้ สองชนิดกระโดดเขา หากัน ดวยความเร็ว เสยี ดสีกบั อากาศ เกดิ ความรนุ แรงและเผาไหม แสงสวา ง
เรียกวา ฟาแลบ แตถาประจไุ ฟฟา อิสระกระโดดไปมาระหวางกอนเมฆกับแผน ดนิ เรยี กวา ฟาผา อาจเกิดจากประจไุ ฟฟา ว่ิงอยา ง
รวดเร็วไปยังแผน ดิน หรือกลับกนั จากแผน ดินไปยังกอนเมฆไดเชน กนั
2. อนั ตายจากฟา ผา
- ถูกฟาผาโดยตรง
- ถกู ฟาผา โดยออม แรงดันชว งกา ว แรงดนั สัมผสั
หลักการปอ งกนั ฟา ผา
1. การปองกนั ฟาผา ภายนอก ประกอบดว ยการติดต้ัง ตวั นําลอฟา ตวั นาํ ลงดนิ รากสายดิน
2. การปองกนั ฟา ผา ภายใน ตดิ ตง้ั อุปกรณป อ งกนั ไฟกระชากในแผงไฟฟาตา งๆ เพอ่ื ปอ งกนั มใิ หแ รงดนั กระชากหรอื
คา กระแสสงู ไหลเขา ไปหาอปุ กรณไฟฟา
สว นประกอบและแนวทางการออกแบบระบบปอ งกนั ฟาผา ภายนอก
1. สว นประกอบระบบปองกนั ฟา ผาภายนอก
- ตวั นาํ หรือลอฟา มีหลักลอ ฟา สายขึงตัวนํา ตวั นําลงดนิ
manasu