The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การติดตั้งอุปกรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Weerachart Khoudkaew, 2022-04-26 02:34:52

การติดตั้งอุปกรณ์

การติดตั้งอุปกรณ์

2

3. การเดนิ สายไฟฟ้าในบ้าน

3.1 ความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั ไฟฟ้า

3.1.1 กระแสไฟฟา้ (Electrical Current) เกิดจากการเคล่ือนที่ของอเิ ล็กตรอนจากจุดหนง่ึ ไปยงั
อีกจดุ หน่งึ ภายในตัวนาไฟฟา้ ซง่ึ การเคล่ือนท่ขี องอิเลก็ ตรอนเกดิ จากการนาวัตถุที่มีประจุไฟฟา้ ตา่ งกนั มา
วางใกล้กนั ทาให้เกิดการเคลื่อนทข่ี องอิเลก็ ตรอน

3.1.2 ชนิดของกระแสไฟฟ้า
1) ไฟฟา้ กระแสตรง (Direct Current หรือเรียกวา่ DC) กระแสไฟฟา้ ที่มีอิเลก็ ตรอน

ไหลไปทางเดียวกันตลอด การไหลของไฟฟา้ กระแสตรงชนิดนี้ทีเ่ รารู้จักกนั เช่น ถ่านไฟฉาย ดซี ีไดนาโม
เป็นต้น

ประโยชน์ของไฟฟ้ากระแสตรง
- ใช้ในงานโลหะ เช่น การชุบโลหะ การเชอ่ื มโลหะ
- ใช้ในการประจกุ ระแสไฟฟา้ เข้าแบตเตอร่ี เช่น แบตเตอรี่รถยนต์
- ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์
- ใชส้ าหรบั ไฟฟา้ นาทาง เชน่ ไฟฉาย
- ใชใ้ นการทดลองทางเคมี
2) ไฟฟ้ากระแสสลบั (Alternating Current หรือเรียกวา่ AC) กระแสไฟฟ้าท่ีมี
อเิ ล็กตรอนไหลสลบั ท่ไี ปมาตลอดเวลา ซงึ่ ขนาดของกระแสและแรงดันเปลีย่ นแปลงอยู่เสมอ การไหล
สลบั ไปมา 1 รอบ เรียกว่า 1 ไซเกลิ (Cycle) และความถี่ หมายถงึ จานวนไซเกลิ หรือการแกวง่ กวดั หรือ
การส่นั สะเทอื นหรอื คลื่นใน 1 วนิ าที

3

ประโยชน์ของไฟฟา้ กระแสสลบั
- ใช้กบั ระบบแสงสว่างได้ดี
- ประหยดั และผลติ ได้ง่าย
- ใช้กบั ตู้เชื่อมหรือเครื่องเชอ่ื ม
- เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่ีตอ้ งการกาลงั มากๆ
- ใชก้ บั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ไดเ้ กอื บทกุ ชนิด

3.2 ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั วงจรไฟฟา้

3.2.1 ความหมายของวงจรไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟา้ ซ่ึงไหลมาจากแหลง่ กาเนิดผ่านไปยงั ตัวนา

และเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ หรอื โหลด (Load) แลว้ ไหลกลับไปยังแหลง่ กาเนดิ
3.2.2 วิธกี ารต่อวงจรไฟฟ้า
ในงานไฟฟ้า การต่ออุปกรณ์ของวงจรไฟฟ้าต่างๆ เปน็ สง่ิ จาเปน็ เน่ืองจากถา้ ผปู้ ฏิบตั งิ าน

ขาดความรู้และเทคนคิ ในการต่อวงจรแล้วจะเกิดผลเสียอย่างร้ายแรงต่อผูป้ ฏิบัตงิ าน และทรพั ย์สนิ การตอ่
วงจรไฟฟา้ สามารถต่อไดห้ ลายวธิ ี ดังน้ี

1) การต่อไฟฟา้ แบบอนุกรม (Series Circuit) เปน็ การนาเอาตัวตา้ นทานแบบ
อนุกรมแตล่ ะตวั โดยเอาปลายดา้ นหนง่ึ ต่อกบั ปลายอีกดา้ นหนงึ่ ต่อเรียงไปเรอื่ ยๆ การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบ
อนกุ รมส่วนใหญ่จะไม่นิยมใชใ้ นการต่อวงจรทว่ั ไป

ผลจากการต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม
- กระแสไฟฟา้ จะไหลผา่ นในวงจรเท่ากนั หมด
- ความต้านทานรวมของวงจรเท่ากับผลบวกของความตา้ นทานแตล่ ะตวั
- แรงดนั ไฟฟ้ารวมภายในวงจรจะเทา่ กบั ผลบวกของแรงดันตกคร่อมของ
ตวั ตา้ นทานแตล่ ะตัว
- ถ้าจดุ หน่ึงจดุ ใดภายในวงจรขาด ไฟฟ้าจะดับหมดทุกจุด

4

ภาพท่ี 3.1 การต่อไฟฟา้ แบบอนุกรม
(ทม่ี า : www.atom.rmutphysics.com/charud/...s-01.htm)

2) การตอ่ วงจรไฟฟ้าแบบขนาน (Parallel Circuit) เป็นการนาเอาตัวต้านทาน
แต่ละตวั มาต่อคร่อมกันไปเรื่อๆ จนครบวงจร การต่อวงจรไฟฟา้ แบบขนานเปน็ การตอ่ วงจรท่ีใช้ทัว่ ไปกับ
ไฟฟา้ แสงสว่าง และเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ภายในบา้ นเรือน เช่น พัดลม หม้อหุงขา้ ว เตารีด เป็นตน้

ผลจากการตอ่ วงจรไฟฟา้ แบบขนาน
- ความตา้ นทานรวมของวงจรจะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่นอ้ ยท่สี ดุ
- กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นในวงจรจะเทา่ กบั กระแสไฟฟา้ ทไี่ หลผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่
ละชนิดรวมกัน
- แรงดนั ไฟฟา้ ทไ่ี หลผา่ นอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทกุ จุดจะเท่ากนั ฉะนนั้ กาลงั สอ่ งสวา่ งจะไม่
ตก
- ถ้าอุปกรณ์ไฟฟา้ จดุ หน่งึ จดุ ใดขาดไป จดุ อืน่ ๆ ยงั ใชง้ านได้ จงึ นิยมวธิ กี ารตอ่
วงจรไฟฟา้ แบบขนานในบา้ นเรือน

5

ภาพที่ 3.2 การต่อไฟฟา้ แบบขนาน
(ทมี่ า : www.atom.rmutphysics.com/charud/...l-01.htm)

3) การต่อวงจรแบบผสม (Compound Circuit) การต่อโดยการนาแบบอนุกรมและ
ขนานต่อร่วมเข้าไปในวงจรเดยี วกัน

การต่อวงจรแบบผสม เป็นการต่อวงจรแบบขนานและแบบอนกุ รมรวมกัน การต่อ
แบบนี้นิยมใชก้ ับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เชน่ โทรทศั น์ วทิ ยุ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น

ผลจากการต่อวงจรแบบผสม
- กระแสไฟฟ้าทไี่ หลผา่ นในวงจรท้งั หมด จะเทา่ กบั แรงดนั ไฟฟา้ ทีแ่ หลง่ จา่ ยภายใน
วงจรหารด้วยความตา้ นทานในวงจร
- ในกรณีที่อปุ กรณไ์ ฟฟ้าจดุ ใดขาด จุดอ่ืนๆจะยังคงใช้งานไดเ้ ปน็ บางจดุ และ
การตรวจซอ่ มจะยุ่งยาก เนอื่ งจากอปุ กรณไ์ ฟฟ้าบางจุดจะต่อเขา้ รวมเป็นวงจรเดยี วกนั จึงไมน่ ยิ มการตอ่
วงจรไฟฟา้ แบบผสมในบ้านเรอื น
3.2.3 วิธกี ารต่อวงจรไฟฟ้าเชื่อมกับอุปกรณไ์ ฟฟ้า
การต่อวงจรไฟฟา้ เชื่อมกับอปุ กรณไ์ ฟฟ้า เป็นการใชส้ ายไฟฟา้ ต่อเชื่อมกบั
อุปกรณ์ไฟฟา้ แต่ละตัวเขา้ ด้วยกนั แล้วตอ่ เข้ากบั แหล่งจ่ายไฟ 220 โวลท์ ทีอ่ ยภู่ ายในบ้าน เพ่อื ให้วงจร
ทางานถูกตอ้ ง ไม่เกดิ การลดั วงจร

6

1) การตอ่ วงจรไฟฟา้ ทใ่ี ชก้ ับหลอดไส้

220 โวลท์
ภาพท่ี 3.3 วงจรสวิตช์ (Switches) ทางเดยี วควบคมุ หลอดไส้ 1 หลอด
(ที่มา : สชุ าติ ยอดเกล้ียง. การตดิ ตง้ั ไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน. กรงุ เทพฯ : เอมพันธ์, 2547 : หน้า 205)
2) การตอ่ วงจรไฟฟา้ ทใี่ ช้กับหลอดฟลูออเรสเซนต์ การตอ่ วงจรไฟฟ้าจะประกอบเป็น
ชดุ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ซึ่งในชดุ วงจรจะประกอบดว้ ย หลอด บลั ลาสต์ สตาร์ตเตอร์ เพอ่ื ใหง้ ่ายและ
สะดวกตอ่ การใชง้ าน บริษัทผ้ผู ลิตมกั จะประกอบสาเร็จลงในรางหลอด สามารถจะต่อเชอื่ มกบั แหล่ง
จา่ ยไฟ 220 โวลท์ไดเ้ ลย ขอ้ ระวังคือ กาลังไฟฟ้าของหลอดไฟกบั บาลาสต์จะตอ้ งเท่ากัน เช่น หลอด
18 หรือ 20 วตั ต์ ใช้กับบลั ลาสต์ 20 วัตต์ ส่วนหลอด 36 หรอื 40 วตั ต์ ใช้กับบัลลาสต์ 40 วตั ต์

ภาพท่ี 3.4 วงจรสวิตช์ทางเดียวควบคมุ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ 1 หลอด
(ท่ีมา : สุชาติ ยอดเกลีย้ ง. การติดตง้ั ไฟฟา้ ในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2547 : หนา้ 206)

7

3) การตอ่ วงจรไฟฟ้าท่ีใช้กับสวิตช์สองทางควบคุมหลอดไฟ 1 ดวง การต่อวงจร
ลักษณะน้จี ะใช้กรณี ทีต่ อ้ งการควบคมุ หลอดไฟหลอดเดียว โดยใชส้ วติ ช์ 2 ตวั แต่ตดิ ตั้งอยู่คนละที่
เพื่อควบคมุ เปิด – ปดิ หลอด ส่วนมากจะตดิ ตงั้ ในช่องบนั ไดขนึ้ ลง โดยสวติ ช์ตัวที่ 1 จะตดิ ตั้งก่อนขึ้น
บันได ส่วนสวติ ช์ตวั ท่ี 2 จะติดต้ังชน้ั บนเมอื่ ข้ึนบนั ไดแลว้ ลักษณะพเิ ศษของสวิตช์ จะมขี าต่อ 3 ขา
ภายในตัวเดยี ว การต่อวงจรควรสังเกตขากลางของสวิตชใ์ ห้ได้ เพื่อใหง้ า่ ยในการต่อวงจร

ภาพที่ 3.5 วงจรสวิตช์ 2 ทางแบบที่ 1

ภาพท่ี 3.6 วงจรสวิตช์ 2 ทางแบบที่ 2
(ที่มา : สุชาติ ยอดเกลีย้ ง. การตดิ ตัง้ ไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน. กรงุ เทพฯ : เอมพันธ์, 2547 : หนา้ 207)

8

3.3 ความรู้พื้นฐานเกย่ี วกบั สายไฟฟา้

3.3.1 ความหมายของสายไฟฟ้า
สายไฟฟา้ เป็นตัวนากระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าจนครบวงจร

สายไฟแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื สายเปลือย และสายไฟหมุ้ ฉนวน
1) สายเปลอื ย เป็นสายทไ่ี มม่ ีฉนวนหุ้ม มักจะเป็นสายขนาดใหญ่ ใช้กบั งาน

ไฟฟา้ แรงสงู มีท้ังสายทที่ าด้วยทองแดง และสายชนดิ ผสมอะลูมเิ นียม สายไฟฟ้าตามถนนท่ีเป็นสาย
เปลือย ถา้ สัมผัสแม้โดยทางอ้อมก็อาจเกดิ อันตรายได้

2) สายหุ้มฉนวนท่นี ิยมใชต้ ามอาคารบ้านเรือนมี 2 ชนดิ คือสายเดี่ยวและสายคู่
ฉนวนทใ่ี ชห้ มุ้ สายทาด้วยวสั ดุตา่ งๆ เชน่ ยาง ไหม พวี ีซี เปน็ ต้น

- ยาง สายหุ้มยาง หมายถึง สายทองแดงเสน้ เดยี วหรอื หลายเสน้ หุ้มดว้ ย
ยางนิยมใชก้ บั ปล๊กั ไฟทม่ี ีโหลดสงู ๆ

- ไหม เปน็ สายหมุ้ ไหม หมายถึง สายทองแดงหลายเสน้ หุ้มดว้ ยยาง ถัก
ดว้ ยไหมนิยมใชก้ ับเตารีดไฟฟ้า

- พีวีซี หมายถงึ สายห้มุ ดว้ ยพวี ีซี นิยมใช้ในอาคารบา้ นเรอื น

ภาพที่ 3.6 สายไฟฟา้ ขนาดตา่ งๆ
(ทม่ี า : www.ashleighcontractors.co.uk/el...ical.php)

9

3.3.2 ชนิดและการใช้งานของสายไฟฟ้า

มอก. 11-2531 ชนิดของสาย ช่อื เรยี ก แรงดันไฟฟ้าที่ ลักษณะการติดตัง้

ตารางท่ี กาหนด(V)  เดินลอยต้องยดึ ด้วยวสั ดฉุ นวน
 เดินสายในชอ่ งเดินสายใน
1 สายไฟฟ้าห้มุ ฉนวน IV 300
สถานทแ่ี ห้ง
แกนเดียว HIV  หา้ มร้อยท่อฝังดินหรือฝงั ดิน

2 สายไฟฟา้ หมุ้ ฉนวนมี VAF 300 โดยตรง
สายกลม
เปลือกนอกแกนเดียว VAF-S  เดินสาย
 เดินเกาะผนงั
สายแบน 2 แกนและ  เดินซอ่ น (Conceal) ในผนงั
 เดนิ ในช่องเดินสาย
สายแบน 3 แกน  ห้ามฝังดนิ โดยตรง
 เดนิ รอ้ ยท่อฝงั ดินได้แต่ตอ้ ง
3 สายไฟฟ้าหุม้ ฉนวนมี VVR 300
เปลือกนอกหลายแกน ปอ้ งกันไมใ่ หน้ า้ เขา้ ภายในท่อ
และปอ้ งกันไมใ่ ห้สายมีโอกาส
แช่นา้
สายแบน
 เดินเกาะผนัง
 เดินซ่อน (Conceal) ในผนัง
 เดนิ ในช่องเดินสาย ยกเวน้ ราง
เดนิ สาย
 ห้ามรอ้ ยท่อฝงั ดินหรือฝังดิน
โดยตรง
 ใช้งานทั่วไป
 ห้ามฝงั ดินโดยตรง
 เดนิ รอ้ ยทอ่ ฝังดนิ ได้แต่ตอ้ ง
ป้องกันไม่ให้น้าเขา้ ภายในท่อ
และป้องกันไม่ใหส้ ายมโี อกาส
แช่น้า

10

มอก. 11-2531 ชนิดของสาย ชอ่ื เรียก แรงดันไฟฟ้าที่ ลกั ษณะการติดตงั้
ตารางท่ี THW กาหนด(V)
4 สายไฟฟ้าหมุ้ ฉนวนมี  เดนิ ลอยต้องยดึ ด้วยวสั ดุฉนวน
แกนเดยี ว 750  เดินสายในชอ่ งเดินสายใน

5 สายไฟฟา้ หุ้มฉนวนมี VVF 750 สถานท่ีแหง้
เปลือกนอกแกนเดยี ว VAF - S  ห้ามรอ้ ยท่อฝังดินโดยตรง
สายแบน 2 แกน 750  เดนิ รอ้ ยท่อฝงั ดินได้แต่ต้อง
750
6 สายไฟฟ้าหมุ้ ฉนวนมี NYY ป้องกันไม่ใหน้ า้ เข้าภายในทอ่
เปลอื กนอกแกนเดียว และปอ้ งกนั ไม่ใหส้ ายมโี อกาส
แช่น้า
7 สายไฟฟ้าหุม้ ฉนวนมี NYY สายกลม
เปลอื กนอกหลายแกน  เดนิ สาย
 เดินเกาะผนงั
 เดนิ ซอ่ น (Conceal) ในผนัง
 เดนิ ในช่องเดินสาย
 เดินร้อยท่อฝงั ดนิ ได้แต่ตอ้ ง
ปอ้ งกันไม่ให้น้าเขา้ ภายในทอ่
และป้องกนั ไม่ให้สายมีโอกาส
แชน่ ้า
สายแบน
 เดนิ เกาะผนัง
 เดินซ่อน (Conceal) ในผนงั
 เดนิ ในช่องเดินสาย ยกเวน้ ราง
เดนิ สาย
 หา้ มรอ้ ยท่อฝังดินหรือฝงั ดิน
โดยตรง
 ใช้งานท่วั ไป
 เดนิ ร้อยท่อฝังดนิ
 ฝงั ดนิ โดยตรง
 ใชง้ านทัว่ ไป
 เดินร้อยท่อฝงั ดนิ
 ฝงั ดนิ โดยตรง

11

มอก. 11-2531 ชนิดของสาย ชือ่ เรยี ก แรงดนั ไฟฟ้าที่ ลักษณะการติดต้งั
ตารางที่ กาหนด(V)
8 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนมี NYY-N  ใชง้ านทั่วไป
เปลือกนอก 3 แกนมี 750  เดินร้อยทอ่ ฝังดนิ
สายนวิ ทรลั 750  ฝังดนิ โดยตรง
9 สายไฟฟ้าหุม้ ฉนวนมี VCT 300  ใชง้ านทว่ั ไป
เปลอื กนอก 300  ฝังดนิ โดยตรง
10 สายไฟฟา้ หุ้มฉนวน VSF  ใช้ตอ่ เข้าเครื่องใชไ้ ฟฟ้าชนิด
และเปน็ สายชนิดอ่อน VFF 300
ตวั ได้ VTF 750 หยิบยกได้และใช้ตอ่ เขา้ ดวงโคม
11 สายแบน 2 แกน และ B-GRD
สายแบน 3 แกน มี VAF-G 750  เดนิ เกาะผนงั
สายดนิ 750  เดนิ ซ่อน (Conceal) ในผนงั
 ห้ามเดินในช่องเดนิ สาย ยกเว้น
12 สายไฟฟา้ หุม้ ฉนวนมี VVR-
เปลือกนอกหลายแกน GRD รางเดินสาย
 ห้ามรอ้ ยท่อฝงั ดินหรือฝงั ดิน
13 สายแบน 2 แกน มี VVF-
สายดิน GRD โดยตรง
 ใช้งานท่ัวไป
14 สายไฟฟา้ หุ้มฉนวนมี NYY-  หา้ มร้อยท่อฝงั ดินหรือฝังดิน
เปลอื กนอกหลายแกน GRD
มสี ายดิน โดยตรง
 เดินเกาะผนัง
15 สายไฟฟ้าหมุ้ ฉนวนมี VCT-  เดินซ่อน (Conceal) ในผนงั
เปลอื กนอกมสี ายดิน GRD  หา้ มเดนิ ในช่องเดนิ สาย ยกเวน้

รางเดินสาย
 หา้ มร้อยท่อฝังดินหรือฝงั ดิน

โดยตรง
 ใชง้ านทวั่ ไป
 ฝังดนิ โดยตรง

 ใช้ต่อเข้าเครื่องใชไ้ ฟฟ้าและ
อุปกรณ์ไฟฟ้า

12

มอก. 11-2531 ชนิดของสาย ชื่อเรยี ก แรงดันไฟฟ้าท่ี ลกั ษณะการตดิ ต้งั

ตารางท่ี กาหนด(V)

16 สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนมี VFF- 300  ใชต้ อ่ เข้าเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ชนิด

ชนดิ อ่อนตัวมสี ายดนิ GRD หยิบยกไดแ้ ละใชต้ อ่ เข้าดวงโคม

17 สายไฟฟ้าหมุ้ ฉนวนมี VFF-F 300  ใช้ต่อเขา้ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทวั่ ไป

เปลือกนอกหลายแกน

ตารางท่ี 3.1 ข้อกาหนดการใชง้ านของสายไฟฟา้ ทีผ่ ลติ ตาม มอก. 11-2531

(อุณหภูมิใช้งาน 70 องศาเซลเซียส)

(ท่ีมา : ธารงศักด์ิ หมนิ กา้ หรีม, สมพงศ์ รัชดาธิกลุ . การติดตั้งไฟฟา้ ในอาคารและในโรงงาน.

กรุงเทพฯ : ก.ววิ รรธน์, 2546 : หน้า 32-35)

3.4 หลักการปฏิบตั ิงานเก่ียวกบั การเดนิ สายไฟฟ้าและตอ่ สายไฟฟา้ ในบ้าน

หลกั การปฏิบตั ิงานเกีย่ วกับการเดนิ สายไฟฟา้ และตอ่ สายไฟฟ้าในบ้าน
การปฏบิ ตั งิ านเก่ียวกบั งานเดินสายไฟฟ้าภายในอาคารหรือบ้านเรอื น ควรคานึงถงึ สิ่งต่อไปน้ี

3.4.1 ความปลอดภัย ตอ้ งรู้จักเลอื กใชส้ ายไฟฟ้าใหถ้ กู ตอ้ งกบั ชนดิ ของอุปกรณ์
ไฟฟ้า

3.4.2 ความประหยัด ตอ้ งเผอ่ื ระยะขนาดความยาวสายไดถ้ ูกต้อง จัดวางอปุ กรณ์
เหมาะสม รูจ้ กั เลือกใช้อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทม่ี ีคณุ ภาพ และราคาไม่แพง

3.4.3 ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย ต้องเดินสายไฟฟ้าให้เรียบร้อยสวยงาม โดยติดตงั้
อุปกรณแ์ ละเขา้ หัวสายใหเ้ ป็นระเบียบ

3.4.4 ความเหมาะสม ต้องตดิ ต้ังอุปกรณไ์ ฟฟา้ ใหเ้ หมาะสมกบั ตาแหน่ง และตรงกับ
ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ ทงั้ ควรเผ่ือขนาดสายให้โตเพ่ือการใช้ไฟฟ้าเพ่มิ เตมิ ในอนาคต

13

3.5 สญั ญาณอนั ตรายและขอ้ ควรระวังเกี่ยวกบั การเดินสายไฟฟา้ และต่อสายไฟฟา้

ในการเดินสายไฟฟ้าภายในบา้ น ถา้ ต่อสายไมแ่ น่นหรือใช้สายไฟฟา้ ผิดขนาด อาจจะเกิดการ
ชารุดหรือรั่วได้ ในกรณีท่ีสายร่วั หรือต่อไมแ่ น่นมักจะเกิดไฟชอ็ ตเป็นคร้งั คราว จะทาให้หลอดไฟฟา้ ใน
บา้ นกะพริบ และฟวิ สข์ าดบอ่ ย ๆ ถ้าไมแ่ ก้ไขขอ้ บกพร่องอาจเกิดไฟไหมไ้ ด้

3.5.1 ขอ้ ควรระวงั เก่ยี วกับปล๊ักไฟฟา้
การใชเ้ ครื่องไฟฟา้ หรอื การต่อสายไฟใชช้ ่ัวคราว ตอ้ งใชป้ ลก๊ั ไฟฟา้ ทกุ ครั้ง มขี ้อควร

ระวงั ดงั นี้
1) อย่าใชก้ ารดงึ สายไฟท่ปี ล๊ักตวั ผู้ เม่ือต้องการถอดปล๊กั
2) เวลาต่อสายในปลัก๊ ต้องตรวจสอบให้ดอี ย่าใหส้ ายไฟสัมผัสกันเป็นอันขาด
3) ขนั สกรใู หต้ ะปูควงใหแ้ นน่ ป้องกันสายหลดุ

3.5.2 ขอ้ ควรระวงั ในการใชห้ ลอดไฟฟ้า
1) ไม่ควรให้หลอดไฟถูกกระทบกระเทอื นบ่อย และไม่ควรเปิดไฟท้ิงไว้

ตลอดคืน เพราะอาจทาให้ไสห้ ลอดขาดได้
2) หลอดไฟฟ้าที่ไสห้ ลอดขาด ควรรบี เปล่ยี นหลอดใหม่
3) ถ้าหลอดเรืองแสงแตก ไม่ควรเขา้ ใกล้ เพราะสารและก๊าซทีบ่ รรจุอยู่ในหลอด

เปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ

3.6 เคร่ืองมอื และวัสดอุ ุปกรณ์การเดนิ สายไฟฟ้าในบา้ น

เครอื่ งมืองานเดนิ สายไฟฟ้าภายในบา้ น ทจี่ าเป็นตอ้ งใช้ มีดงั น้ี
3.6.1 ค้อน สาหรับใชง้ านไฟฟา้ มหี ลายชนิด เช่น ค้อนหงอน ทาดว้ ยเหลก็ ด้านหน้าเรยี บ

หงอนดา้ นบนใช้ถอนตะปู ค้อนเหล่ียมเลก็ ใช้ตอกตะปใู นการเดนิ สาย

14

ภาพท่ี 3.7 คอ้ น
(ท่มี า : http://www.thaipipat.com/images/1126606098/1136285324.jpg)

3.6.2 คีม เป็นเครื่องมือที่ใช้ตัด ดัด งอ โค้ง และปอกสายไฟ คมี ที่มดี ้ามเป็นฉนวน
หุ้มจะช่วยให้ ผปู้ ฏิบตั ิงานมีความปลอดภยั ในการทางาน คีมท่ีนิยมใชท้ ่วั ไปในการเดินสายไฟ เช่น คมี ปอก
สายและตดั สาย คีมปากจระเข้ คีมปากจ้งิ จก คมี ย้าหัวต่อสาย เป็นต้น

คีมปากยาว คมี รวม คีมตัด

ภาพที่ 3.8 คมี ประเภทต่าง ๆ

(ทีม่ า : http://www.rujirashop.com/shop/r/rshop/imglib/spd_20050317153155_b.jpg)

3.6.3 ไขควง เปน็ เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ขันสกรู นอต เชน่ ต่อฟวิ ส์ ใสส่ วติ ช์ ใสด่ วงโคม

ขันตะปเู กลียวหรือขนั สกรูให้แนน่ ถอนตะปูเกลียวออกจากทย่ี ึด เป็นตน้ ไขควงมหี ลายชนิดตามลกั ษณะท่ี

ใช้งาน เช่น ไขควงปากแบน ไขควงปากส่แี ฉก ไขควงบล็อก เปน็ ต้น

ภาพท่ี 3.9 ไขควง
(ท่ีมา : http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/pic83.jpg)

15

3.6.4 สว่านเจาะไม้ ใชบ้ า้ งในการเดินสายไฟ เพราะบางคร้ังต้องเจาะรู เพ่ือร้อยสายยึด
อุปกรณ์ไฟฟา้ เช่น พกุ ประกบั ลกู ถว้ ย กลอ่ งไม้ เปน็ ต้น สว่านเจาะไม้มหี ลายแบบหลายขนาด เชน่ สว่าน
เฟือง สวา่ นมือบิดหลา่ สวา่ นไฟฟ้า เปน็ ตน้ สาหรบั สว่านไฟฟา้ สามารถเจาะได้ท้ังไม้ โลหะ และผนัง
คอนกรีต ควรเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั งาน

ภาพท่ี 3.10 สวา่ นเจาะไม้
(ทีม่ า : http://www.arkarnsin.com/item/EE00501038.jpg)
3.6.7 สวา่ นแบตเตอรี่ เป็นสว่านท่ีใชแ้ บตเตอร่ี เคลื่อนย้ายสะดวก ไม่ต้องเสยี บปล๊ัก จะ
ใชก้ บั หวั ขันสกรูแบบส่แี ฉกเพือ่ ขนั ยดึ ตะปเู กลียว กอ่ นใช้ตอ้ งชาร์ตแบตเตอรี่ใหเ้ ต็ม

ภาพที่ 3.11 สวา่ นแบตเตอรี่
(ที่มา : http://i289.photobucket.com/albums/ll213/rumnamchee/02-6.jpg)
3.6.6 เลื่อย มหี ลายชนิดหลายแบบทั้งขนาดและรปู รา่ ง เลื่อยทใี่ ชส้ าหรบั งานช่างไฟฟ้า คอื
เลือ่ ยลอปากไม้ เปน็ รูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า สนั ด้านบนเปน็ เหลก็ หนา มฟี ันเล่อื ยละเอียด ใช้สาหรบั ตดั ปากไม้
ในการเขา้ ไม้ต่างๆใหป้ ระณีตเรียบร้อย

16

ภาพท่ี 3.12 เลอ่ื ยลอ
(ท่มี า : http://img49.imageshack.us/img49/7079/pj07ip9.jpg)
3.6.7 มดี ปอกสายไฟ มีดใชส้ าหรบั ปอก ขูด หรอื ทาความสะอาดสายไฟ

ภาพท่ี 3.13 มดี ปอกสายไฟ
(ทีม่ า : http://www.sintawee.com/upload/images/Image)
3.6.8 บกั เตา้ ใชส้ าหรบั ตีเส้น ก่อนตอกตะปูเดนิ สายไฟฟ้า ลกั ษณะเปน็ กล่องใส่ดา้ ยสี
เวลาใชด้ งึ เส้นดา้ ยข้ึนแลว้ ปล่อย เส้นด้ายจะตกกระทบกับพื้นเกิดเป็นรอยเส้น

ภาพท่ี 3.14 บักเตา้
(ท่มี า : http://truevalue.co.th/images/806910.jpg

17
3.6.10 เขม็ ขัดรัดสาย ทาดว้ ยอลูมเิ นียม มีรตู รงกลาง 1-2 รู แล้วแต่ละขนาดของเข็มขดั รดั
สาย ซึ้งมขี นาดเบอร์ ตา่ งๆกันตง้ั แตเ่ บอร์ 0-8 รตู รงกลางนใ้ี ชส้ าหรบั ตอกตะปยู ึดกบั ผนงั ใหแ้ น่นเขม็ ขดั รัด
สายเบอร์ 0 สาหรับรัดสายท่ีมีขนาดเล็กเสน้ เดียว เขม็ ขดั รัดสายขนาดใหญ่ใชก้ บั สายไฟขนาดใหญ่ หรือ
สายไฟขนาดเลก็ หลาย ๆ เสน้ รวมกนั

ภาพท่ี 3.15 เข็มขัดรดั สายและตะปู
3.6.11 ฟตุ เหล็ก ใชร้ ว่ มกับดนิ สอในการขีดเสน้ ระยะสัน้ ๆในการเดนิ สายไฟฟา้

ภาพที่ 3.16 ฟุตเหล็ก

18

3.6.12 เหลก็ นาศูนย์ ใชส้ าหรับตอกทาจดุ เพื่อใช้สว่านเจาะ หรือทาเคร่ืองหมาย หรือใช้
ตอกนาผนังคอนกรตี ก่อนตอกเขม็ ขดั รัดสาย แต่ถ้าเป็นผนังไมก้ ไ็ ม่จาเปน็ ต้องตอกนา

ภาพที่ 3.17 เหลก็ นาศนู ย์
(ท่ีมา : http://www.songkaew.ac.th/electric1/image/image/e022.jpg)
3.6.13 เทปพันสายไฟ มลี ักษณะเปน็ ม้วน ทาด้วยวัสดฉุ นวน เช่น ยาง พวี ซี ี เป็นต้น
ใช้สาหรบั พนั สายไฟหลังจากต่อสายเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ไฟฟ้าร่ัว ทาให้เกิดอันตรายได้

ภาพที่ 3.18 เทปพนั สายไฟ
(ที่มา : http://www.bloggang.com/data/piwat/picture/1191406064.jpg)

19

3.7 วิธีเดินสายไฟฟ้าและต่อสายไฟฟา้ ในบ้าน

การเดนิ สายไฟฟา้ ภายในบา้ นสามารถเดินสายได้ 2 วธิ ี คือ การเดนิ สายแบบเปดิ
และแบบปดิ

3.7.1 วิธีเดนิ สายไฟฟา้
1) การเดินสายแบบปิด หมายถึง การเดนิ สายไฟฟ้าแบบซอ่ นสายภายใน

ทอ่ พีวีซี หรือโลหะ มที ัง้ แบบมีแคล้ม(Clam) เป็นตัวยึดท่อกับผนงั หรือฝงั อยใู่ นพ้ืนคอนกรีต

ภาพที่ 3.19 การเดินสายแบบปดิ
(ทีม่ า : ดร.โกวทิ ย์ ประวาลพฤกษ์. การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : พฒั นาคุณภาพวิชาการ, 2550

: หนา้ 67)
2) การเดนิ สายไฟฟา้ แบบเปดิ หมายถงึ การเดินสายไปตามฝาผนังหรอื
เพดาน โดยใชเ้ ข็มขัดรดั สายเปน็ ตวั ยดึ สายไฟ

เข็มขัดรดั
สาย

ภาพท่ี 3.20 การเดินสายแบบเปิด
(ทม่ี า : โกวิทย์ ประวาลพฤกษ.์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : พฒั นาคุณภาพวิชาการ, 2550 :

หน้า 67)

20

2.1) การเดินสายไฟฟ้าบนพื้นผิวที่เปน็ ไม้ การเดนิ สายแบบเปดิ บนพ้ืนผวิ ไมก้ าร
ตอกเขม็ ขัดรัดสายตอ้ งมกี ารตเี ตา้ หรือขีดเสน้ บนผิวไมก้ ่อนเพ่ือให้เกิดแนว จงึ ลงมือเดนิ สาย

2.2) การเดินสายไฟฟา้ บนพ้ืนผวิ ทเ่ี ปน็ ปูน การเดินสายบนผวิ ปูน ข้ันตอนการ
ปฏิบตั มิ กี ารตเี สน้ แนว และตอกเข็มขัดรดั สาย เหมือนพืน้ ผิวไม้ แตกต่างเพียงพ้นื ปนู มีความแข็ง
จาเป็นต้องใชเ้ หลก็ นาศนู ย์ ตอกนาบนพน้ื ปูนกอ่ น แลว้ จึงตอกเขม็ ขัดรัดสาย การเลือกตะปตู อกควรใช้ตะปู
ตอกเขม็ ขัดชนิดสัน้

- เมื่อตเี ส้นและกาหนดจุดแล้วให้ใช้เหลก็ นาศูนย์ตอกลกึ 2ใน3 ของตะปูยึด
เข็มขดั รัดสายไฟฟา้

- ใชส้ วา่ นเจาะรูตามจุดท่กี าหนดยึดอุปกรณ์ ใหล้ ึกกว่าความยาวของพกุ การ
ติดต้ังอุปกรณค์ วรยดึ สกรูทีใ่ สพ่ กุ ใหแ้ น่น ขันสกรทู พ่ี ุกจนแนใ่ จว่ามั่นคงและไม่ขยับ

3.7.2 การรัดสายด้วยเข็มขดั รดั สาย เขม็ ขดั รดั สายมี 2 หน้า หนา้ หนึ่งจะผิวมันเรียบ
หนา้ หนึ่งจะมีคมเล็กนอ้ ย การสอดใสต่ ะปตู ้องใช้ดา้ นมคี ม เพ่อื จะได้รดั บีบสายใหแ้ น่น กอ่ นท่ีจะรัดสาย
ควรรีดสายด้วยผา้ ใหเ้ รียบ และตึง การรัดตอ้ งดึงเข็มขัดรัดสายใหร้ ัดสายจนแน่นแล้วพบั หัวเขม็ ขัดอยู่ตรง
กลางสายและใช้ค้อนเคาะรัดให้สวยงาม

หวั เข็มขัดรดั สายไมอ่ ยู่กลางสาย หวั เขม็ ขัดรัดสายอยกู่ ลางสาย หัวเขม็ ขัดรดั สายไม่อยู่กลางสาย
ภาพท่ี 3.21 การตอกเขม็ ขดั รัดสายและการรดั สาย

(ที่มา : ธารงศกั ดิ์ หมนิ กา้ หรีม, สมพงศ์ รัชดาธกิ ุล. การตดิ ตง้ั ไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน.
กรงุ เทพฯ : ก.วิวรรธน์, 2546 : หนา้ 84)

21

ภาพท่ี 3.22 การเดินเขม็ ขัดรัดสายเมอ่ื มสี ายโค้งหลายๆเส้น
(ที่มา : ธารงศักดิ์ หมินกา้ หรีม, สมพงศ์ รัชดาธิกลุ . การตดิ ต้งั ไฟฟา้ ในอาคารและในโรงงาน.

กรงุ เทพฯ : ก.วิวรรธน์, 2546 : หนา้ 84)
3.7.3 วิธกี ารต่อสายไฟฟ้า

1) การต่อสายแบบตอ่ ตรง เป็นการต่อสายแขง็ ใช้กับสายเดยี่ วชนิดพันเกลียวและตอ่
สายคู่ ซ่งึ การต่อแบบนจี้ ะรบั แรงดึงไดม้ าก ตอ้ งใช้คีมช่วยในการบิดสายให้แนน่ เช่น สายเดย่ี ว THW ,
สายคู่ VAF ถา้ เปน็ สายคู่ พวี ซี ี VAF จุดท่ตี ่อสายจะต้องเยอื้ งกนั เพ่ือป้องกนั การลัดวงจรไม่ให้เกดิ งา่ ยขึ้น
เม่ือนาไปใชง้ าน

ภาพที่ 3.23 การต่อสายแบบต่อตรงสาหรบั สายแขง็ เดี่ยว (THW)
(ท่ีมา : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้านครเหนือ. ไฟฟา้ อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส,์ 2544 :

หนา้ 102)

22

2) การต่อสายแบบหางเปยี เป็นการต่อสายท่นี ยิ มใช้บ่อยมาก จะใชต้ ่อสายท้งั สายอ่อน
หรอื สายแข็ง การต่อสายในแผงสวิตช์ หรือใต้แปน้ ยึดอปุ กรณ์ การต่อทาได้โดยวางปลายสายท่ีปอก
ฉนวนแล้วเข้าดว้ ยกันแลว้ บิดใหเ้ ป็นเกลยี วด้วยคีม หรือด้วยมอื ก็ได้ถา้ สายไมแ่ ขง็ มากนัก แล้วตดั ปลายสาย
ใหเ้ รยี บร้อย

รูปที่ 3.24 การต่อสายแบบหางเปยี
(ท่มี า : สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ นครเหนือ. ไฟฟา้ อตุ สาหกรรม. กรงุ เทพฯ : สกายบุ๊กส,์ 2544 :

หนา้ 102)
3) การตอ่ สายแบบแยก เปน็ การแบบตัวที ใชไ้ ดท้ งั้ สายแขง็ เดย่ี ว และสายตีเกลียว ถ้า
เป็นสายแข็งจะต่อแยกแบบบิดใหเ้ ป็นเกลยี วรอบสายหลัก 8-10 รอบ ถา้ เป็นการต่อสายแบบตเี กลียว ใช้กบั
สายแข็งทีม่ แี กนหลายเสน้ การบิดจะบิดไปทางซ้ายและขวา ตามความเหมาะสม ซ่งึ จะทนต่อแรงดึงได้

รูปที่ 3.25 การต่อสายแยกแบบตวั ที สาหรบั สายแข็ง

รปู ท่ี 3.26 การตอ่ สายแยกแบบตวั ที สาหรับสายตีเกลียว
(ทมี่ า : สุชาติ ยอดเกลี้ยง. การติดต้ังไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2547 :หน้า 77)

23

4) การตอ่ สายที่มจี ุดแยกหลายจุด เปน็ การต่อสายที่มคี วามจาเป็นต้องแยกหลายทาง
การตอ่ จะใชส้ ายแยก พันเกลียวกับสายหลัก โดยจดุ ตอ่ ต้องจัดระเบียบสายใหแ้ นบชิด เปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
และมีความแข็งแรงแน่นหนา

รูปท่ี 3.27 การต่อสายแบบแยกหลายจุด
(ท่ีมา : สชุ าติ ยอดเกล้ยี ง. การติดตง้ั ไฟฟา้ ในอาคารและในโรงงาน. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์, 2547 :หน้า 77)

5) การตอ่ สายเขา้ กับอปุ กรณ์
5.1) การตอ่ สายตัวนาฝอยเข้ากับข้ัวหรือต่อสายแบบขันสกรู
การต่อสายแบบน้ี ต้องขันเกลียวตัวนาฝอยให้แน่นก่อนท่ีจะพันเข้าหลักตอ่ สาย

ตามเข็มนาฬิกา แต่ควรจะเผื่อปลายตัวนา้ ไว้ เพ่ือสะดวกต่อการขันกรู เม่ือขันสกรูเรยี บรอ้ ยแลว้ จึงใชค้ ีม
ตัด ตัดแต่งปลายสายตัวนาออกให้เรยี บร้อย ตัวนาต้องพนั อยู่เฉพาะหวั สกรเู ท่าน้ัน ไม่ยาวเลยหวั สก
รูทขี่ ันเด็ดขาดเพราะอาจ จะเกิดการลดั วงจรขึน้ ได้

ก. การบดิ เกลียวตัวนาฝอยกอ่ นตอ่ กบั หลักต่อสาย ข. การม้วนและพันปลายสายอ่อนกับหลักตอ่ สาย
รูปที่ 3.28 การตอ่ ตัวนาแบบฝอยเขา้ กับหลกั ตอ่ สาย

(ที่มา : สชุ าติ ยอดเกล้ียง. การตดิ ตั้งไฟฟา้ ในอาคารและในโรงงาน. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2547 : หนา้ 75)

24

5.2) การตอ่ สายตวั นาแขง็ เขา้ กบั ข้วั ตอ่ สาย
ปอกสายใหข้ นาดพอดีท่จี ะพันกบั หลกั ตอ่ สาย หรือยาวกว่าเล็กน้อย พนั ตามเขม็ นาฬิกา
ขันสกรูใหแ้ นน่ ใช้คีมตัด แต่งปลายสายตัวนาให้ส้นั ให้ตัวนาอยู่เฉพาะหวั สกรูเทา่ นั้น เพ่ือป้องกันการ
ลัดวงจร

ก. แสดงการทาหูสาย ด้วยคีมมว้ นสาย ข. การตอ่ ตวั นาแขง็ เข้ากับข้วั ต่อสาย

รูปท่ี 3.29 การใช้คมี มว้ นสาย ทาหูสายแล้วต่อเข้ากบั หลกั ต่อสาย

(ทมี่ า : สุชาติ ยอดเกล้ยี ง. การตดิ ตงั้ ไฟฟ้าในอาคารและในโรงงาน. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์, 2547 : หน้า 75)

3.7.4 การพันเทปฉนวน (Insulator Tape) ภายหลังจากตอ่ สายมน่ั คง แขง็ แรงดี

แล้วต้องพันด้วยเทปหุม้ ฉนวนหลายๆชัน้ เพือ่ ปอ้ งกันการลัดวงจร

ก. การหมุ้ ฉนวนเมอ่ื ต่อสายแบบต่อตรง ข. เมื่อตอ่ สายแบบหางเปยี

รูปที่ 3.30 การพนั เทปฉนวน

(ท่ีมา : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ นครเหนือ. ไฟฟ้าอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส,์ 2544 :

หนา้ 104)

25

3.8 ขั้นตอนการเดินสายไฟฟา้ ภายในบา้ น

3.8.1 ขั้นตอนการเดินสายบนพ้นื ไม้
1) วัดระยะตีแนวเสน้ ใชบ้ ักเตา้ ตีเสน้ แนวเดนิ สาย ในกรณีทเี่ ดนิ สายในแนวดิง่ ต้องใช้

ลูกด่งิ ดง่ิ แนวเดินสายในแนวตง้ั

2) ตอกเข็มขัดรัดสาย โดยนาหวั ค้อนมาวัดระยะ เพ่ือตอกเข็มขดั รดั สายตวั ต่อไประยะ
ประมาณ 10 ซม. ในกรณีจุดหักโคง้ งอ ควรรดั เข็มขดั รัดสายเพิม่ อีก 1 ตวั ในระยะ 1 นิ้วเพ่ิม 1 ตัวเพื่อ
ความแข็งแรง

26

3) คลี่สายออกจากม้วน ใช้ผ้ารีดสายก่อนตดิ เข้ากับเขม็ ขดั รัดสาย และตดั สาย เริม่
เดินสาย จากบนลงลา่ งหรือจากมมุ ดา้ นบนลงส่ดู า้ นล่าง การโคง้ สายเขา้ มุมตอ้ งใหส้ ายเรียบชิดผนงั และ
สายไมบ่ ิดตวั

3.8.2 ข้ันตอนการเดินสายบนพนื้ ปนู
1) วดั ระยะตีแนวเสน้ ใชบ้ ักเต้าตเี สน้ แนวเดนิ สาย ใชเ้ หล็กนาตอกนาตะปู

27
2) ตอกเข็มขดั รดั สาย โดยวัดระยะ เพ่ือตอกเขม็ ขัดรัดสายตัวต่อไประยะประมาณ 10 ซม.
ในกรณจี ุดหักโคง้ งอ ควรรดั เข็มขัดรัดสายเพิ่มอกี 1 ตัวในระยะ 1 นิ้วเพ่มิ 1 ตวั เพอ่ื ความแขง็ แรง

3) คลี่สายออกจากม้วน ใชผ้ า้ รีดสายกอ่ นตดิ เขา้ กับเขม็ ขดั รัดสาย และตดั สาย เร่ิม
เดนิ สาย จากบนลงล่างหรือจากมมุ ด้านบนลงสดู่ ้านล่าง การโค้งสายเขา้ มุมต้องใหส้ ายเรยี บชิดผนงั และ
สายไม่บดิ ตวั

4) ใชค้ ้อนเคาะแต่งแนวสายใหเ้ รยี บตรง และแนบสนิทกับพน้ื


Click to View FlipBook Version