The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่8 ยาเสพติด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kulyarat, 2019-11-27 04:56:24

บทที่8 ยาเสพติด

บทที่8 ยาเสพติด

ยาเสพตดิ คือ อะไร

ยาเสพติด เป็ นสารธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์ทเ่ี มื่อเสพไประยะหนึ่งแล้วจะทา
ให้ผู้เสพเกดิ การติดยาไม่สามารถเลกิ ได้หรือเลิกได้ยากมาก ท้ังยงั ต้องเพม่ิ ขนาดที่เสพ
ขนึ้ เรื่อย ๆ ทาให้เกดิ อันตรายต่อร่างกายและจิตใจในท่ีสุด

ยาเสพติดแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่
1. ประเภทกระตุ้นประสาทส่วนกลาง ได้แก่ โคเคน ยาบ้า ฯลฯ จะทาให้ร่างกาย
เกิดความเบิกบานใจ กระชุ่มกระชวย มเี ร่ียวแรงขยันขันแข็งไม่ง่วงนอน

โคเคน ยาบ้า

2. ประเภทกดประสาทส่วนกลาง ไดแ้ ก่ ฝ่ิ น มอรฟ์ ี น และเฮโรอีน จะทาใหห้ ายทุกข์ รสู้ ึกเป็ นสุข ผ่อนคลายวิตกกงั วลใจ ผเู้ สพจะ
ไม่อยากจะทาอะไร นัง่ หรือนอนฝันเรื่องต่างๆ ขณะท่ียาเสพติดออกฤทธ์ิต่อสมองอยู่

ดอกฝ่ิ น มอร์ฟี น
เฮโรอีน

3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ กญั ชา LSD ยาเค ฯลฯ จะทาให้การรับรู้ของ
สมอง เก่ยี วกบั รูป รส กล่นิ และเสียง จะสับสนไปหมด

กญั ชา

สารระเหย ยาเคหรือเคตามนี

ยาเสพตดิ ชนิดใหม่

ยาอี หรือ เอ็กตาซี เป็ นยาเสพติดที่สงั เคราะหม์ าจากยาบา้ หรือแอมเฟตามีน ฤทธ์ิของยาอีจะทาใหเ้ กิดอารมณร์ กั ใครก่ ลม
เกลียว เตน้ ราดว้ ยความสนุกสนาน ออกฤทธิ์อยู่นาน 24 ชวั่ โมง เป็ นสารท่ีทาลายประสาทอย่างรนุ แรง

ยาอหี รือเอก็ ตาซี

ไอซ์ เป็ นยาดดั แปลง มีลกั ษณะเป็ นผลึก คลา้ ยน้าแข็ง ถกู ความรอ้ น
กลายเป็ นไอง่าย ออกฤทธ์ิรนุ แรงกว่ายาบา้

ไอซ์

LSD หรือมีช่ือเรียกว่า แอซิค เม่ือใช้เคลือบกับกระดาษคล้ายแสตมป์ เรียกว่า เมจกิ
เปเปอร์ เป็ นสารท่ีออกฤทธ์ิหลอนประสาทรุนแรง

เมจกิ เปเปอร์หรือ
LSD

การผลติ และจาหน่ายยาบ้า

แหล่งผลิตยาบา้ ที่ใหญ่ที่สุด เป็ นชนกล่มุ นอ้ ยตามแนวชายแดนไทย-พม่าทง้ั
ผลิตหวั เช้ือและอดั เม็ด ผลิตปี ละหลายรอ้ ยลา้ นเม็ด ซ่ึงส่วนใหญ่นาเขา้ มา
จาหน่ายในประเทศไทย

ผู้เสพสูญเสียเงนิ

ผู้เกีย่ วข้องเป็ นอนั ตราย

ธุรกจิ ยาเสพตดิ เป็ นอนั ตรายกบั ทุกคนทเี่ กย่ี วข้อง

หัวตอกเมด็ ยาบ้า

ธุรกจิ ยาเสพตดิ เป็ นอนั ตรายกบั ทุกคนทเ่ี กย่ี วข้อง

เครื่องอดั เมด็ ขนาดเลก็ เคร่ืองอดั เมด็ ขนาดใหญ่

ยาบ้า...สารกระต้นุ

เมทแอมเฟตามนี ไฮโดรคลอไรด์ ในยาบ้า จะออกฤทธ์ิกระตุ้นสมอง
ส่วนกลาง ทาให้ร่างกายต่นื ตวั กระชมุ่ กระชวย ไมง่ ว่ งนอน มีพลังที่จะทางาน
ต่อเน่ืองไดน้ าน และทาใหเ้ กิดความสขุ จึงทาใหผ้ เู้ สพนายาบา้ มาใช้ในทางท่ีผิด
เชน่ ใชเ้ พื่อความสนุกสนาน ในกล่มุ วัยรุน่ ใชเ้ พ่อื ดหู นังสือนานขนึ้ ในกลมุ่ ผู้
ประกอบอาชพี ใชแ้ รงงานหรอื ขับขรี่ ถบรรทุกใช้เพือ่ ทางานมากขน้ึ และในกลุม่
สตรีใชเ้ พอ่ื ลดน้าหนกั

สารตงั้ ตน้ ในการผลิตเมทแอมเฟตามีน ไดแ้ ก่ อีเฟดีน เม่ือผลิตได้ เมทแอมเฟตา
มีนแลว้ ก็นามาผสมกบั สารประกอบอ่ืน ๆ เพ่ืออดั เป็นเม็ด ยาบา้ 1 เม็ด เรียกวา่ 1
ตวั จะแบง่ ออกเป็น 4 สว่ น เรียกวา่ 4 ขา เม่ือนายาบา้ มาบรรจุใสซ่ อง 200 เม็ด
เรียกวา่ 1 คอก

สารต้ังต้นผลิตยาบ้า ยาบ้าบรรจุในซอง
ยาบ้าบรรจุในหลอด

วงจรการตดิ ยาเสพตดิ

1. ระยะเร่ิมต้นเสพยา • เสพเป็ นคร้ังคราวเพ่ือเข้าสังคม
• ยังมีความรู้สึกผิดเม่ือเสพยา

2. ระยะเสพยาต่อเนื่อง • เร่ิมเสียการเรียนและความสัมพนั ธ์กบั คนใกล้ชิด
• เริ่มมอี าการขาดยา

3. ระยะเสพยาหมกหมุ่น • ดื้อยามากขึน้ ต้องเสพยาถี่และปริมาณเพมิ่ มากขนึ้
(เริ่มติดยา) • ความคดิ และการตัดสินใจเสียไป

4. ระยะเสพยาวกิ ฤต • ล้มละลายในชีวติ ครอบครัว สังคม
(ติดยา) • เมายาตลอดท้ังวนั

โรคสมองตดิ ยา

สมองของมนุษย์แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ได้แก่ สมองส่วนนอก
สมองสว่ นกลาง และกา้ นสมอง
สมองสว่ นนอก หรือท่ีเรยี กว่า สมองส่วนคดิ จะทาหน้าท่ีจดจา
คิด จนิ ตนาการ และตดั สินใจ
กา้ นสมอง หรอื ท่เี รียกวา่ สมองสว่ นอยาก จะทาหน้าท่คี วบคมุ
อารมณ์ สญั ชาตญาณทีท่ าใหช้ ีวิตเราอยรู่ อด ได้แก่ ความอยาก
อาหารและนา ความต้องการทางเพศ

โรคสมองตดิ ยา

ภาวะเสพยาทคี่ วบคุมได้
เม่ือเริ่มเสพยา

สมองส่วนคิด

สมองส่ วนอยาก

ภาวะเสพยาทไี่ ม่สามารถ
ควบคุมได้เม่ือติดยา

ยาบ้าทาลายเซลล์สมองโดยตรง

เมอื่ เสพยาบ้าต่อเน่ืองนานขึน้ เซลลส์ มองจะถูกทาลายมากขึน้ จนกระท่งั
เซลล์สมองทงั้ เซลตายลง

ในระยะแรกผเู้ สพจะมคี วามคดิ ความจา และอารมณเ์ ปล่ยี นแปลงไป หาก
ยงั เสพยาบา้ ต่อเน่ืองอกี เซลล์สมองถกู ทาลายมากขึ้น ผู้เสพจะเรม่ิ มอี าการทางจติ
เวช ได้แก่ หแู วว่ ประสาทหลอน และเกดิ อาการหวาดกลวั ผอู้ ่นื มาทาร้าย จนใน
ที่สุดจะเกิดอาการของโรคจติ ไม่สามารถควบคมุ ตนเองได้

เซลล์ประสาทถูกทาลายโดยยาบ้า

ปลายประสาท
แขนงประสาท

ตัวเซล
นิวเคลยี ส

เซลล์ประสาทปกติ ปลายประสาทถูกทาลาย เซลล์ตายในท่ีสุด

สมองตดิ ยา

ภาพเอ็กซเรยค์ อมพิวเตอรท์ ่ีเรียกวา่ PET SCAN (Positron Emission
Tomography) สามารถแสดงบริเวณท่ีมีการไหลเวียนของกระแสเลือดในสมอง
ดว้ ยความเขม้ ของสีตา่ ง ๆ ท่ีแตกตา่ งกนั

สมองคนปกติ สมองผู้เสพยา
สมองกลบั สู่ปกติภายหลังการบาบัด สมองผู้ติดยา

สูบยาบ้าอนั ตรายเหลือหลาย

การสูบไอยาบ้าจะทาให้ติดยาไดง้ า่ ยกว่าการกนิ เพราะว่าการสบู
ไอทาใหย้ าบา้ เขา้ สปู่ อดและสมอง ออกฤทธ์ภิ ายใน 8 วนิ าที ในขณะที่
การกนิ ยาบ้ากว่าจะออกฤทธ์ิท่ีสมอง ยาบา้ ตอ้ งผา่ นกระเพาะอาหาร ถูก
ดูดซึมเขา้ สกู่ ระแสเลือด ผ่านสู่ตบั และยาบ้าบ้างส่วนจะถกู ทาลายที่ตบั
จากนนั้ จึงเข้าสหู่ ัวใจและสบู ฉีดขึน้ สสู่ มอง ทาให้ฤทธิ์ของยาบา้ จะขึ้น
สูงสดุ ในช่วงระยะเวลาประมาณ 20 นาที

ตรวจปัสสาวะหายาบ้า

การตรวจปัสสาวะหายาบ้ามี 2 ข้นั ตอน ได้แก่ การตรวจ
เบอื้ งตน้ และการตรวจยืนยัน
1. การตรวจเบ้ืองตน้ ทนี่ ิยมใช้มี 2 วธิ ี

- วิธีแรกเป็นการใช้นา้ ยาเคมผี สมเข้ากบั ปัสสาวะ หาก
พบสารประกอบยาบา้ นา้ ยาจะเปลยี่ นเปน็ สีม่วง

- วิธีทสี่ องเปน็ ชดุ ตรวจท่เี ปน็ ตลบั หรือเปน็ กระดาษ
เคลอื บสารเคมีเม่อื หยดปสั สาวะลงไปหากพบสารประกอบ
ของยาบ้าจะเกิดแถบสปี รากฏให้เหน็

ชุดตรวจเบื้องต้น

ชุดตรวจชนิดนา้ ยา ชุดตรวจชนิดตลบั

2. การตรวจยนื ยนั ตอ้ งใช้เครอ่ื งมือตรวจพิเศษ สามารถตรวจหาสารเสพตดิ ได้
หลายประเภทและบางชนิดสามารถบอกปรมิ าณสารเสพตดิ ในปัสสาวะได้

ชุดตรวจยืนยนั

Thin Layer Chromatography Gas Chromatography

ใครตดิ ยาบ้า

พิจารณาอาการและพฤติกรรมของผ้เู สพยาเสพตดิ ดงั น้ี
1. ไม่สามารถควบคมุ ตนเองได้ เชน่ ต้องเสพยาบา้ เป็น
ประจา
2. เกิดการด้ือยา ผูเ้ สพจะเพม่ิ ปริมาณยาบ้าท่ีเสพและเพ่ิม
ความถี่การเสพ
3. เสยี การเรยี น การงาน และความสมั พันธก์ บั คนรอบข้าง
และมพี ฤตกิ รรมลักเลก็ ขโมยน้อยเพอ่ื หาเงนิ มาซ้อื ยาบ้า

อนั ตรายจากยาบ้า

 วยั รนุ่ ส่วนใหญ่ทีเ่ สพยาบ้ายงั คิดว่ายาบา้ ไมใ่ ชย่ าเสพตดิ หรอื ไม่มอี ันตราย
ต่อรา่ งกายจะเลิกเม่อื ไรก็ได้ แตผ่ ลเสียของยาบ้าท่มี ีต่อรา่ งกายจะค่อยเป็น
คอ่ ยไป อาจจะใช้ระยะเวลาหลายเดือน หรือเป็นปี ข้นึ อย่กู ับขนาดและ
ความถีข่ องยาบ้า

 อันตรายของยาบา้ ต่อรา่ งกาย มกั จะมีผลตอ่ สมองทาใหเ้ กดิ อาการซึมเศร้า
กา้ วรา้ วและประสาทหลอน ฯลฯ

 ฤทธ์ขิ องยาบา้ ทาใหผ้ ู้ตดิ ยากไม่มสี มาธิในการเรียนหรอื ทางาน ความ
สามารถในการจดจาหรือคดิ สรา้ งสรรคส์ ่งิ ต่างๆ ลดน้อยลง จนในท่สี ดุ
เซลล์ประสาทถูกทาลายมากขึ้น

โรคจติ จากยาบ้า

ลักษณะของผู้ท่ีเปน็ โรคจิตจากยาบ้าจะมอี าการคลา้ ยกับ
ผปู้ ่วยโรคจิตเภทจะพดู คยุ ไม่ร้เู ร่ือง หวาดระแวง หูแวว่ อยู่
ตลอดเวลา
การรักษาผ้ปู ่วยโรคจติ จากยาบา้ มกั ไดผ้ ลดี อาการต่าง ๆ
จะทเุ ลาเมือ่ หยดุ เสพยาบา้ และรกั ษาอยใู่ นโรงพยาบาล 1-2
สปั ดาห์ แตถ่ ้าหากหลังจากผปู้ ่วยออกจากโรงพยาบาล แลว้
กลับไปเสพยาอีกกจ็ ะเกิดอาการของโรคจติ ข้ึนอีกและจะเปน็
บ่อยมากขึ้น

ตดิ ยาบ้ารักษาได้

ผตู้ ิดยาบา้ จาเปน็ ตอ้ งเข้ารับการรกั ษาในสถานพยาบาลทใ่ี ห้บริการ
บาบดั ผตู้ ิดยา ซง่ึ มีอย่ทู ว่ั ไปทั้งภาครัฐและเอกชน
การบาบัดรักษาตอ้ งใช้ระยะเวลาหลายเดอื น เพ่ือให้สมองผูต้ ดิ ยา
กลับคนื สปู่ กติ
กระบวนการบาบัดจะชว่ ยให้ผูต้ ิดยาไดเ้ ข้าใจวิธปี ฏิบัตติ นเพ่อื ให้
สามารถเลิกยาได้เดด็ ขาด รวมทัง้ การท่ีจะต้องให้สมาชกิ ของครอบครวั
เข้ามามสี ว่ นร่วมในกระบวนการบาบัดรักษา

ครอบครัวและการตดิ ยา 4 ระยะ

ครอบครัว หมายถึง บคุ คลที่อยกู่ บั เรา ใกล้ชิดเรา
ระบบครอบครัว หมายถงึ ญาตพิ น่ี อ้ งในครอบครวั และบุคคลท่ี ใกล้ชดิ รวมท้งั
เพ่อื นสนทิ เพื่อนร่วมงาน
ขั้นตอนการตดิ ยา 4 ระยะ ไดแ้ ก่

1. ระยะเร่ิมตน้ เสพยา
2. ระยะเสพยาตอ่ เนอื่ ง
3. ระยะหมกมุ่น
4. ระยะวกิ ฤต

เส้นทางการตดิ ยา : ระยะเร่ิมต้นเสพยา

 ใชย้ าเสพติดเป็นครั้งคราว ในโอกาสพิเศษ เช่น งานรื่นเริง
ต่างๆโดยรว่ มเสพกับเพ่อื น

 ใชย้ าเสพตดิ เพราะเหตุผลบางอยา่ ง เช่น ลดนา้ หนัก หรอื
ไมใ่ หง้ ่วงนอน

 การวางเงอ่ื นไขเป็นการเรยี นร้ชู นิดหน่ึงทที่ าให้เกิดการ
เชือ่ มโยงความคดิ ทุกคร้ังทีม่ ผี ู้เสพยาเทา่ กบั เขาไดว้ างเง่ือนไข
ให้สมองส่วนอยากทาใหเ้ กดิ ตอ้ งการยาเสพติดอีกโดยไมร่ ู้ตัว

ปฏกิ ริ ิยาของครอบครัวในระยะเร่ิมต้นเสพยา

 สมาชกิ ครอบครวั อาจสงสยั ถึงการไม่รบั ผดิ ชอบของวัยรุน่ หรอื การ
ละเลยหน้าท่ใี นบางคร้งั

 สมาชิกครอบครัวอาจจะหลงชมเชยว่าผเู้ สพยาสามารถทางานได้นาน
ข้นึ หรอื มกี าลังวังชามากกวา่ ปกติ

เส้นทางการตดิ ยา : ระยะเสพยาต่อเน่ือง

 มกี ารเสพยาเพิ่มข้นึ เริ่มใช้ประจา
 ผคู้ นและสถานท่ี ทีเ่ ก่ียวกบั การเสพยาเรม่ิ กลายเป็น

ตัวกระตนุ้ เมือ่ เผชิญกบั ตวั กระตนุ้ จะทาให้คิดถึงการเสพยา
และเกิดความอยากยาทีจ่ ะหามาเสพ
 ระยะนีเ้ ร่มิ มีความคิดถงึ ยาบ่อยข้ึน ยังมกี ารตัดสนิ ใจว่าจะเสพ
หรอื ไม่ จะไปหาเงนิ ทไ่ี หนซอื้ ยา และวิธที ่ีจะปิดบังผลท่ีเกดิ
ภายหลังเสพยาอยา่ งไร

ปฏกิ ริ ิยาของครอบครัว : ในระยะเสพยาต่อเน่ือง

 ครอบครวั เรมิ่ ทราบถึงปัญหาทเ่ี กิดขึ้น และพยายามช่วย
แก้ปญั หา

 ช่วงนี้ครอบครวั จะปกปิดพฤติกรรมของสมาชิกในครอบครัว
ซ่ึงชว่ ยให้ผตู้ ิดยา (บางคร้ังโดยไม่ตงั้ ใจ) ให้ยังคงใชย้ าเสพ
ตอ่ ไป โดยปิดบงั การใชย้ าตอ่ เนื่องทเี่ กิดขน้ึ กจิ กรรมเช่นนี้ทา
ให้ผูต้ ดิ ยามีเวลา มีกาลัง มเี งินมากขึน้ ทีจ่ ะใช้ยาต่อโดยไม่
ต้องการเลกิ ใช้ยา

เส้นทางการตดิ ยา : ระยะหมกมุ่น

 ตวั กระตุน้ มบี ทบาทมากขึ้นในระยะนี้ ทาให้มกี ารเสพยาบอ่ ย ๆ มี
ความอยากยารุนแรง มีปฏกิ ิริยาตอบสนองของร่างกาย

 สมองสว่ นคิดเรมิ่ ถกู ควบคุมด้วยสมองส่วนอยาก
 ผู้เลกิ ยาจะมอี ารมณห์ งดุ หงิด กา้ วร้าวกลายเปน็ คนไมม่ ีเหตุผล
 ระยะนี้เร่ิมมีความคดิ ถึงยาบ่อยข้ึน ยงั มีการตัดสินใจว่าจะเสพ

หรอื ไม่ จะไปหาเงนิ ท่ีไหนซ้ือยา และวธิ ีทีจ่ ะปิดบังผลที่เกิด
ภายหลังเสพยาอยา่ งไร และใช้เวลาและความคดิ เกยี่ วกับยามาก
ขน้ึ

ปฏกิ ริ ิยาของครอบครัว : ในระยะหมกมุ่น

 ครอบครัวไดล้ ้มเลกิ ความพยายามแก้ไขปญั หา
 สมาชิกครอบครัวจะพยายามไมส่ นใจส่ิงทกี่ าลงั เกิดข้ึน
 เมอื่ สมาชกิ ครอบครัวไม่สามารถจะเล่ียงจากการเผชิญกบั

ผลกระทบของพฤติกรรมของผูเ้ สพยากจ็ ะตาหนติ นเองหรอื
ผอู้ ืน่
 การติดยาทาให้สมาชิกครอบครัวและผู้ตดิ ยารู้สกึ ผิด และ
ละอายในส่ิงทกี่ าลงั เกิดขน้ึ และไมส่ ามารถควบคมุ
สถานการณไ์ ด้

เส้นทางการตดิ ยา : ระยะวกิ ฤต

 ระยะวกิ ฤตนต้ี วั กระตุ้นมีอยู่ทกุ ที่ จะเสพยาเกือบทกุ วัน จะหยุดก็
ตอ่ เม่อื ร่างกายทรดุ โทรมลง

 มคี วามอยากยารนุ แรงและเสพยาโดยอัตโนมัติ
 สมองสว่ นคิดถูกควบคมุ จากสมองสว่ นอยากโดยสนิ้ เชิง
 ตดิ ยาในช่วงนีจ้ ะไมส่ นใจท่ีจะสรา้ งสมั พนั ธภาพกับใครแมแ้ ต่

ครอบครัวสนใจแต่เรอ่ื งยาเสพติด
 สมาชิกครอบครัวมกั แยกตวั จากผูต้ ิดยา เพ่ือป้องกนั อนั ตรายตอ่ ตนเอง
 สมาชิกครอบครวั เกิดความรูส้ ึกลม้ เหลวและหมดหวงั เม่ือตอ้ งอยูใ่ น

สภาวะท่ีตอ้ งอยูร่ ่วมกบั ผูต้ ิดยา
 สมาชิกครอบครวั เรียนรูท้ ่ีจะทาและคิดในทางท่ีจะอยูอ่ ยา่ งสงบ

ระยะของการเลกิ ยาเสพตดิ

1. ระยะตน้ (1-6 สปั ดาห์) ระยะนี้จะมอี าการขาดยาอยปู่ ระมาณ 3-10
วนั ไดแ้ ก่ อาการอยากยารนุ แรง ง่วงมาก ซึมเศรา้ กนิ เก่ง ระยะ
เร่ิมตน้ หยดุ ยาหรือระยะฮนั นมี ูน 1-6 สัปดาห์

2. ระยะกลาง (6-20 สัปดาห์) หรอื ระยะฝา่ อปุ สรรค ระยะนีจ้ ะมี
อารมณ์เปลย่ี นแปลงงา่ ย หงดุ หงิด เศร้า ไมม่ สี มาธิ ไมม่ กี าลงั ขาด
ความกระตอื รือรน้ มโี อกาสในการกลบั ไปเสพยาอีกครัง้

3. ระยะปลาย (20 สปั ดาห์ขึน้ ไป - 1 ป)ี หรอื ระยะปรบั ตัว ระยะนีจ้ ะ
เกดิ การคาดหวงั และมกี ารเตรียมพร้อมกบั อาการต่าง ๆ ทเี่ กิดข้ึน

เป้าหมายสาหรับสมาชกิ ครอบครัว
ระยะเร่ิมต้น (1-6 สัปดาห์)

 ทาข้อสญั ญาในการรกั ษา
 ยอมรับวา่ การติดยาเป็นโรคทีต่ ้องรกั ษา
 สนบั สนุนให้ผู้เลิกยาหยดุ การเสพยาและสรุ า
 เรียนรเู้ ก่ียวกับตัวกระตุ้นและวงจรการเสพยา

เป้าหมายสาหรับสมาชิกครอบครัว
ระยะกลาง (6-20 สัปดาห์)

• ปรับปรุงสมั พนั ธภาพ
• ตดั สินใจวา่ คืนดีกบั ผตู้ ิดยาหรือไม่
• สนบั สนุนการหากลมุ่ ช่วยเหลือกนั เองของผตู้ ิดยา
• เริ่มหาทางทาใหช้ ีวิตของตนมีคุณค่า
• เรียนรู้การฝึกทกั ษะการส่ือสารอยา่ งมีเหตุผล
• เรียนรู้ถึงสภาวะทางอารมณ์และการจดั การกบั อารมณ์

เป้าหมายสาหรับสมาชกิ ครอบครัว
ระยะปลาย (หลัง 20 สัปดาห์)

 เรียนรทู้ จี่ ะยอมรบั ขอ้ จากัดของการอยู่ร่วมกบั ผเู้ ลกิ ยา
 สนบั สนุนผเู้ ลกิ ยาให้พัฒนาตนเอง, ดแู ลสุขภาพ และดาเนินชวี ิตอยา่ ง

สมดลุ
 ส่งเสรมิ ผเู้ ลกิ ยาใหต้ รวจตราตนเองในการกลับไปใช้ยา
 จงอดทนกับกระบวนการเลิกยา


Click to View FlipBook Version