วธิ ีปฏิบัติทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice)
การจดั การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (PBL)
เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
วชิ าภาษาอังกฤษ เรอื่ ง Question Words
ปกี ารศกึ ษา 2565
โดย
นางสาวชมนภา ศลิ ปวฒั นวงศ์
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย
โรงเรียนวัดควนชะลิก
อำเภอหวั ไทร จงั หวัดนครศรธี รรมราช
สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3
วิธีปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
ชอ่ื เรือ่ ง การจดั การเรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน (PBL) เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 วิชาภาษาอังกฤษ เรือ่ ง Question Words
ชือ่ ผู้ดำเนนิ การ นางสาวชมนภา ศิลปวัฒนวงศ์
ประเภท ✓ ครูผ้สู อน ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา บคุ ลากรทางการศึกษา
ปีการศึกษา 2565
ความเปน็ มา/สภาพทตี่ ้องการพัฒนา
สภาพพืน้ ฐานในการเรยี นการสอนทเ่ี ปน็ จริง หรอื ส่ิงตา่ งๆ ทีส่ ง่ เข้าไปใหม้ ผี ลตอ่ การจัดการเรยี นการสอน ซ่ึง
เกิดความเกี่ยวข้องกับนักเรียนเอง ครูผู้สอน และบริบทแวดล้อมอื่นๆ ก็ได้ หากสภาพพื้นฐานในการเรียนการสอนที่
เป็นจริงไม่เป็นไปตามปัจจัยพื้นฐานที่ควรจะเป็นแล้ว จะก่อให้เกิดปัญหาในระดับปัจจัยได้ เช่น สื่อ อุปกรณ์การเรยี น
สถานที่ ความรู้ของครู เวลาเรียน ฯลฯ เป็นปัญหาที่ไม่มีความแตกต่างระหว่างเป้าหมายกับสภาพจริงไม่แตกต่างกัน
มากนัก แต่มีความต้องการที่พัฒนาหรือยกระดับความแตกต่างนั้น เช่น ผลการเรียนวิชาต่างๆ ของปัจจุบันไม่ต่างกับ
เป้าหมายมากนัก แต่ครูต้องการยกระดับผลการเรียนให้สูงขึ้นอีก จึงกำหนดเป้าหมายให้สูงขึ้นอีกเพื่อพัฒนาผลการ
เรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นเรื่อยๆ สภาพการจัดการดำเนินการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ อาจ
เป็นแนวการสอน วิธีการสอนหรือเทคนิควิธีการสอนของครูหากไม่สามารถดำเนินการจัดการให้บรรลุตามแนวการ
สอน วิธีการสอนหรือเทคนิควิธีแล้วก็จะก่อให้เกิดปัญหาในระดับกระบวนการ ผลสำเร็จภายหลังเมื่อเสร็จสิ้นการ
จัดการ หรืออกี นยั หนงึ่ คือ คณุ ภาพนกั เรียน โดยคาดหวงั ใหน้ ักเรียนมคี ณุ ลักษณะตา่ งๆ เกดิ ขึ้นในตวั นักเรียน หากไม่
เปน็ ตามท่ีคาดหวังของคณุ ลกั ษณะต่างๆ แสดงถงึ วา่ เกดิ ปญั หาในระดบั นแี้ ล้ว
ปัญหาหรือข้อสงสัยที่เกิดขึ้นกับการปฏิบัติหน้าที่ของครูผู้สอนจะเป็นปัญหาหรือข้อสงสัยอย่างกว้างๆ
เหมือนกับคนหนุ่มสาวที่จะตัดสินในเลือกคู่ครอง ก็มักจะมองในส่วนกว้างๆของคนรัก แต่เมื่อต้องตัดสินใจเลือกเพียง
คนเดยี วก็จะเรมิ่ พิจารณาใหแ้ คบลงจนกระท่ังไดค้ นรักเพียงคนเดียวเทา่ นน้ั เชน่ เดียวกันกบั ปัญหาหรือข้อสงสัยของครู
ก็ต้องทำให้ปัญหาหรือข้อสงสัยนั้นแคบลงมา จนเป็นปัญหาหรือข้อสงสัยที่สำคัญ หรือเร่งด่วนเพียงเรื่องเดียวที่เป็น
ปัญหาแท้จรงิ ซึง่ ปญั หาทีพ่ บในการจัดการเรียนการสอนครไู มส่ ามารถนำปญั หาทั้งหมดมาแก้ไข หรือพฒั นาทั้งหมดได้
การทีจ่ ะเลือกปัญหาใดมาปรับปรุงแกไ้ ขก่อนหรือหลงั นัน้ ต้องพิจารณาจากความสำคัญ ความร้ายแรง ความบ่อยของ
ปัญหานั้นมากน้อยเพียงใด กระทบกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด ปัญหามีความสำคญั อย่างไร เช่น นักเรียนไม่สามารถ
อ่านหนังสือได้และมีผลส่งให้กับการเรียนในวิชาอื่นๆ ตามมาด้วย ปัญหานี้จึงควรได้รับการแก้ไขก่อน เนื่องจากหาก
ปลอ่ ยไว้จะกระทบและสรา้ งความเสยี หายตอ่ การเรยี นตอ่ ไปได้
1. ปัจจัย หมายถงึ วัสดุ ส่อื อปุ กรณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม เวลา บุคลากร และทรพั ยากรอน่ื ๆ ท่ี
ช่วยใหก้ ารดำเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมี ประสิทธิภาพ
2. กระบวนการ หมายถึง วิธกี าร แนวโนม้ กจิ กรรม กลวธิ ีหรอื เทคนิคอนั เปน็ ข้นั ตอนทใ่ี ช้ทำงานให้
เกดิ ผลผลติ
3. ผลผลติ หมายถึง ผลสุดทา้ ยท่ีเกดิ จากการปฏบิ ัตงิ านหรอื โครงการตา่ ง ๆ
4. ผลกระทบ หมายถงึ ผลตอ่ เนอื่ งที่เกิดขึ้นจากผลผลิต หรอื มกี ารนำผลผลิตไปใช้ แลว้ ได้ผลอ่ืนตามมา
ตัวอยา่ ง
1. ครูไม่จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลาง
2. นกั เรยี นไมส่ ามารถนำความรูจ้ ากการเรียนไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้
3. นกั เรยี นขาดความรบั ผดิ ชอบในการทำงานทไี่ ด้รับมอบหมาย
4. บรรยากาศทางวชิ าการของโรงเรยี นไมเ่ อื้อตอ่ การเรยี นการสอน
5. นกั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นโดยเฉลยี่ ทกุ รายวชิ าอยใู่ นเกณฑต์ ่ำ
6. นกั เรยี นท่ีมผี ลการเรยี นทีต่ กตำ่ แลว้ ไมต่ ดิ ตามแก้ไขผลการเรียนของตนเอง
7. ครู – อาจารย์ขาดขวญั กำลังใจและสอนนกั เรยี นไม่เต็มความสามารถ
8. ขาดนวตั กรรมหรอื สอื่ การเรยี นการสอนในการพฒั นาการสอนของครู
ครูผู้สอนจึงได้ใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) เข้ามาเพื่อ
แก้ปัญหาการเรียนในชั้นเรียนเพื่อลดปัญหาทางการศึกษาที่เกิดขึ้น PBL เป็นรูปแบบการสอนที่สามารถ นำมาใช้ใน
การพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผู้เรียนทีด่ ีมากวธิ ีหนึ่ง คือ ทำให้ผู้เรยี นเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และ
คิดอย่างสร้างสรรค์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและได้ลงมือปฏิบัติมากขึ้น ยังมีโอกาสออกไป แสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง และยกระดับการเรียนการสอนให้ดขี น้ึ และอาจเป็นแนวทางในการจดั ทำ Best practice ตอ่ ไป
การดำเนนิ การพฒั นานวัตกรรม
การทดลองจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการข้ามสาระ พบว่า เนื้อหาในแต่ละระดบั ชน้ั น้ันมคี วามเช่อื มโยงกันน้อย
บูรณาการไดย้ าก จึงทดลองปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ ที่เน้นบทบาทผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
ใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบโครงงาน และปรบั บทบาท รวมทั้ง รายละเอยี ดบางอย่าง ไดแ้ ก่
1. เน้นบทบาทผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการทุกขั้นตอน ลดบทบาทครูเป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำ และติดตาม
ประเมินผล การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมอนั เนือ่ งมาจากประสบการณ์หรอื การฝกึ หัด
2. ปรบั เปล่ียนการบรู ณาการเนอื้ หาวชิ า เปน็ บรู ณาการตวั ชี้วดั หรือผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั แทนการเรียนด้วย
เนื้อหาวิชาเดียว ยอมรบั นิยามของการเรียนร้ดู ังกลา่ ว ต้องยอมรับต่อไปดว้ ยวา่ เรายอ่ มเกดิ การเรยี นรใู้ นทกุ วัน
3. ใช้สอดแทรกในรายวิชาภาษาอังกฤษทุกระดับชั้น โดยขอความร่วมมือครูผู้สอนรายวิชาอื่น เป็นที่ปรึกษา
และติดตามประเมินผลร่วมกัน ตลอดจนปรับตวั หรอื แกป้ ัญหาอยเู่ สมอ
กรอบความคดิ ในการพฒั นา
กรอบความคดิ การพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการ ทีเ่ นน้ บทบาทผ้เู รียนเป็นผู้เรียน
บทบาทผเู้ รียน บทบาทผ้สู อน
1. วิเคราะห์ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง - จัดทำตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวงั ทุกกลุม่ สาระ
2. เชื่อมโยงความคิด - ตรวจสอบความถูกตอ้ งเหมาะสม
3. วางแผนการเรยี นรู้ - ให้ข้อเสนอแนะ
4. ดำเนนิ การศึกษาค้นคว้า - ให้ความรเู้ รื่องการวเิ คราะห์
5. วิเคราะห์ขอ้ มลู - ใหค้ วามรู้เร่ืองการจดั ทำรายงาน
6. สรุปขอ้ มูล - ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั
การศึกษาครั้งน้มี ีวัตถปุ ระสงคด์ งั ต่อไปน้ี
1. เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 วชิ าภาษาองั กฤษ จำนวน 40 คน
เรอ่ื ง Question Words
2. เพอื่ แกป้ ัญหาการเรยี นในชนั้ เรียนเพ่ือลดปญั หาทางการศกึ ษาทเี่ กดิ ขึน้ และยกระดบั การเรยี นการสอนให้ดี
ขึน้
สมมตฐิ านของการปฏิบตั ิ (Best Practice)
1. การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ PBL จะมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเปรียบเทียบ
กบั การเรียนแบบปกติเรือ่ ง Question Words
2. การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ PBL จะช่วยลดปัญหาทางการศึกษาที่เกิดขึ้น และ
ยกระดับการเรยี นการสอนใหด้ ขี ้ึน
นยิ ามศัพท์เฉพาะ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง ความสามารถในการเรียนของนักเรียน ในวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งวัดได้ จาก
คะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน แบบทดสอบย่อยในแต่ละหัวข้อ แบบประเมินการ ปฏิบัติการ
ทดลอง และแบบประเมนิ การนำเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรียน
ชดุ แบบฝึกทกั ษะใบงานตา่ งๆ หมายถงึ เครอ่ื งมือที่ชว่ ยพฒั นาทกั ษะในเร่ืองท่เี รียนรใู้ หม้ ากข้ึน โดยอาศัยการ
ฝึกฝนหรอื ปฏิบัติด้วยตนเองของผ้เู รยี น ลักษณะปัญหาในแบบฝึกทกั ษะจะเป็นปัญหาทเี่ สรมิ ทกั ษะพื้นฐานโดยกำหนด
ข้นึ ใหผ้ ้เู รียนตอบเรยี งลำดับจากง่ายไปยาก โดยปริมาณของปญั หาตอ้ งเพียงพอที่สามารถตรวจสอบและพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่เี รียนไปแล้ว เพ่อื นำไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา รวมทงั้ ในแบบฝกึ ทักษะจะ
ทำให้ผ้เู รียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจบทเรยี นด้วยตนเองได้ เพ่อื ให้เกดิ ทักษะ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความชำนาญ
ในเนื้อหาทีผ่ ้เู รียนไดเ้ รียนไปในเร่อื งน้ันๆ อย่างมีประสทิ ธิภาพ
การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน PBL หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยปัญหานั้นเป็น
เรื่องที่ใกล้ตวั และเก่ียวข้องสัมพันธก์ ับผูเ้ รยี น อาจเป็นเรื่องที่ผู้เรยี นสนใจหรือ มีความหมายกับผู้เรียนที่สามารถนำมา
สรา้ งกระบวนการเรยี นรไู้ ดโ้ ดยปญั หา แบง่ เป็น 2 ลักษณะ คอื 1.ปัญหาไมซ่ บั ซอ้ นสามารถคน้ ควา้ และคิดหาคำตอบใน
ระยะสนั้ กระบวนการเรยี นรูด้ ้วย Problem-based Learning กจ็ ะสามารถหาคำตอบของปัญหาหรือประเด็นท่ีสนใจ
2.ปัญหาที่ซับซ้อน ต้องศึกษาค้นคว้า พัฒนา ตรวจสอบ โดยใช้ระยะเวลาที่ยาวนานกว่า อาจต้องสร้างชิ้นงานเพื่อ
นำไปใช้ในการแกไ้ ขปญั หา ลักษณะน้ี มกั จะใช้ Project-based Learning เขา้ มาช่วย
ปัญหาการเรียนในชั้นเรียน หมายถึง ปัญหาในชั้นเรยี นทั่วไป ตั้งแต่ชั้นเรียนระดับอนุบาลไปจนถึงระดับชัน้
มัธยมศึกษา ในชั้นเดก็ เล็กๆ อาจพบปัญหาเกีย่ วกับการกิน การนอน ไม่เชื่อฟงั เจ้าอารมณ์ อยู่ไม่นิง่ ไม่มีสมาธิ
พูดไม่ชดั ไมพ่ ูด เป็นตน้ ในระดับประถมศึกษา ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมก้าวรา้ ว ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกติกา ซมึ เศรา้ วิตกกังวล
เครียด ก่อกวน พูดปด ไม่สนใจการเรียน ไม่ชอบเรียน ในระดับมัธยมศึกษา จะมีปัญหาทางอารมณ์ พฤติกรรม
ต่อตา้ น และผดิ กฎระเบียบเพิม่ ขึ้นจากปัญหาพฤติกรรมในระดับประถมศึกษา พฤตกิ รรมที่ครสุ งั เกตเห็นได้ง่าย และ
รู้สึกว่าเป็นปัญหามากกว่าพฤตกิ รรมอื่นๆ คือ ลักษณะทางอารมณ์รุนแรง พฤติกรรมก่อกวน อยู่ไม่นิ่ง พฤติกรรม
หลายอย่างที่มองเห็นไม่ชัดเจน ต้องใช้เวลาในการสังเกต อาจจะเป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น เด็กเงียบเฉย
แยกตัว เก็บกดอารมณ์ แต่พฤติกรรมบางอย่างที่ดูเหมือนจะเป็นปัญหา ก็อาจจะไม่ใช่พฤติกรรมที่เป็นปัญหาที่
แท้จริง การจะบอกว่าพฤติกรรมเป็นปัญหาหรือไม่ อาจตีความได้ต่างกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก เช่น แพทย์
นักจิตวทิ ยา ผู้ปกครอง และครู โดยเฉพาะครูกบั พอ่ แม่ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กในโรงเรยี นมากที่สุด อาจมองว่า
พฤติกรรมใดพฤติกรรมหน่งึ เปน็ ปัญหา หรอื สาเหตุของปัญหาคอื อะไรไดแ้ ตกต่างกัน จงึ ตอ้ งทำความเข้าใจให้ตรงกัน
เปน็ เบอื้ งตน้
เคร่อื งมอื ท่ีใช้
การศึกษาครงั้ นีเ้ ครือ่ งมือทใี่ ช้ทดสอบ คอื แบบทดสอบทางภาษาองั กฤษ และเครื่องมอื วดั ผลต่างๆ ดงั นี้
1. รูปแบบการสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน โดยวิธี PBL
2. ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะใบงานต่างๆ ในรายวิชาภาษาองั กฤษ
3. ผลคะแนนการทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียนของนักเรยี น
4. แบบประเมินคุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องนักเรยี น
5. แบบสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนรายบคุ คล
กระบวนการพัฒนานวตั กรรม
ใช้หลกั กระบวนการพฒั นานวัตกรรม 5 ข้นั ตอน ดังน้ี
1. การศึกษาเอกสาร แนวคดิ หลกั การของแผนงาน
2. การเลอื กและวางแผนสร้างนวตั กรรม
2.1 กำหนดจดุ ประสงค์
2.2 กำหดกรอบแนวคิดของกระบวนการ
2.3 สรา้ งตน้ แบบนวัตกรรม
2.4 ทดลองใช้นวตั กรรม
- ปรับปรงุ - ใช้ไมไ่ ด้ - ผลใชไ้ ด้
2.5 เผยแพรน่ วตั กรรม
3. สรา้ งและพัฒนานวัตกรรม
จากแผนการสร้างนวัตกรรมตอ้ งศกึ ษาถงึ รายละเอียดของนวัตกรรมทีจ่ ะสรา้ งและดำเนนิ การตามขั้นตอนเช่น
การสร้างนวตั กรรมนวตั กรรมท่ีเปน็ ชดุ การเรยี นรู้ เชน่
- วเิ คราะห์จดุ ประสงค์การเรียนรู้
- กำหนดและออกแบบชดุ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
- ออกแบบสอ่ื เสรมิ
- ลงมือทำและใช้สื่อเรอ่ื ง Question Words
- ตรวจสอบคุณภาพครงั้ แรกโดยผ้เู ช่ียวชาญ
- ทดลองใช้ระยสั้นเพื่อปรับปรงุ เน้ือหาสาระ
- นำไปใช้เพอื่ แก้ปญั หาหรอื การพัฒนาการเรยี นรู้
4. การหาประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรม
1. การตรวจสอบโดยผเู้ ช่ียวชาญ
2. การบรรยายคุณภาพ
3. การคำนวณคา่ ร้อยละของผเู้ รียน
4. การหาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม
5. การประเมินสื่อที่สรา้ งขึน้
5. ปรับปรุงนวัตกรรม การศึกษาทฤษฎีการเผยแพรว่ ัตกรรมจะนำไปสู่การเผยแพร่นวัตกรรมอย่างเป็นระบบ
สรา้ งรูปแบบของการเผยแพร่ และรปู แบบของการยอมรบั นวตั กรรมขนึ้ นกั เทคโนโลยีการศึกษายอมรับกระบวนการ
ของการนำเข้าสู่ระบบ (System Approach) และมรี ปู แบบของระบบท่ีไดจ้ ากทฤษฎีการเผยแพรน่ วัตกรรมมากมาย
ที่ใช้เป็นแนวทางของกระบวนการในการพัฒนาการสอน PBL (Instructional Development หรือ ID) รูปแบบของ
กระบวนการพัฒนาการสอนได้ใช้ในการออกแบบและพัฒนาวิธีการเรียนรู้โดยการนำเข้าสู่ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ
มากมายเหล่านั้น เป็นที่มาของการเกิดเป็นวัตกรรมศึกษาขึ้น รูปแบบเชิงระบบของการเผยแพร่นวัตกรรมก็จะช่วย
เป็นแนวทางของกระบวนการเผยแพร่นวตั กรรมการศึกษา และสรา้ งการยอมรับนวัตกรรมศึกษาและผลผลิตทางด้าน
เทคโนโลยีการศึกษากับผู้ใช้เช่นเดียวกัน และหวังว่ารูปแบบเชิงระบบในการผลิตผลงานด้านเทคโนโลยีการศึกษาจะ
ทำใหผ้ ลผลิตมปี ระสทิ ธภิ าพเชน่ เดยี วกนั ด้วย
แผนภาพการสอนจำลอง
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
1. ชี้แจงวิธีการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานต่อนักเรียนในชั้นเรียน โดยครูผู้สอนทำการแบ่งกลุ่ม
นักเรียนเป็นกลมุ่ ย่อยๆ โดยแตล่ ะกลุ่มมีสมาชกิ จำนวนเท่าๆ กนั หรือใกล้เคียงกนั
2. ผู้สอนพิจารณาความเหมาะสมของกลุ่มเพื่อให้สมาชิกของกลุ่มมีความรู้ความสามารถแตกต่างกันโดย
พิจารณาจากคะแนนเฉล่ยี ในชนั้ เรยี น ผลการเรยี นและผลการปฏบิ ตั งิ านที่มอบหมายในรายวชิ า ในเดอื นสงิ หาคม ของ
การเรยี น เพื่อประกอบการพิจารณา
3. ผู้สอนชี้แจงระเบียบการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน โดยรูปแบบ PBL ตลอดจนการทำงาน ท่ี
มอบหมายจากผู้สอนและการทำงานท่ีมอบหมายจากกล่มุ
4. งานที่มอบหมายจากกลุ่มมอบหมายหน้าที่ให้ปฏิบัติงานและความรับผิดชอบการทำงานในกลุ่มและ
กระตุ้นใหเ้ ห็นความสำคญั ของความสำเร็จของกลุม่
5. ติดตามสังเกตพฤติกรรมหลงั จากปรับเปล่ยี นวิธีการสอน
6. เก็บรวบรวมคะแนนประเมนิ ผลในช่วงเดือนสงิ หาคม – กันยายน
7. สรุปผลและวิเคราะหผ์ ลการทดลองท้ังหมด
ผู้ปฏิบัตินำเอาข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ จัดระเบียบแยกแยะ
สว่ นต่างๆ เพอื่ หาคำตอบตามประเดน็ ปัญหาการวิจยั และตามสมมติฐานท่ีไดก้ ำหนดไว้ โดยส่วนใหญ่ถ้าเป็นข้อมูลเชิง
ปริมาณหรือตวั เลข จะนำเอาวิธีการทางสถิตมิ าวิเคราะห์หาค่าตัวแปรหรือหาลักษณะของตัวแปร แต่ถ้าเป็นข้อมูลเชิง
คุณภาพ จะใช้วิธีการสรุปความหรือสังเคราะห์ข้อความ ซึ่งครูผู้สอนจะต้องวางแผนและเตรียมการณ์ล่วงหน้าตั้งแต่
เร่ิมทำ Best Practice ตามสถิติบรรยาย และสถติ อิ ้างอิง
ผลการดำเนนิ การ/วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์
ตารางที่ 1 แสดงค่าคะแนนจากการทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน และผลต่างร้อยละที่เพ่ิมขึ้นของนักเรียน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 40 คน เรอื่ ง Question Words
การทดสอบ คะแนน คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละของคะแนนท่ี ส่วนเบย่ี งเบน
เตม็ (x) เพิ่มขึน้ มาตรฐาน
กอ่ นสอนแบบ PBL 10 4.33 2.36
หลังสอนแบบ PBL 10 6.43 48.49 1.42
จากการสังเกตนักเรียนก่อนการใช้การสอนแบบ PBL มีค่าคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนอยู่ที่ 4.33
คะแนน แต่หลงั จากการใช้การสอนแบบ PBL ทำให้คะแนนเฉลย่ี อยทู่ ่ี 6.43 คะแนน ซึ่งเพมิ่ ขน้ึ +2.10 คะแนน คิดเปน็
รอ้ ยละท่ีเพ่มิ ขน้ึ 48.49% ซึง่ มคี ่า t-test ทีเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ และมีส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานท่ีลดลง
ตารางท่ี 2 เปรยี บเทยี บคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน
ท่ี ชื่อ สกุล คะแนน คะแนน สรปุ ผลการประเมิน
คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
กอ่ นเรียน หลังเรียน
ของนักเรียน
1 ด.ญ.จริ าภา รอดบญุ มี 55 ผ่าน
2 ด.ญ.พชั รี นรนิ สมัย 55 ผ่าน
3 ด.ญ.วลัยพร คงตุ้ง 56 ผา่ น
4 ด.ช.โสภณวชิ ญ์ กาลวงศ์ 48 ผ่าน
5 ด.ช.นทั ธพงศ์ นราเรอื ง 36 ผา่ น
57 ผา่ น
6 ด.ช.พัชรพล โกสะแหน่ 57 ผ่าน
56 ผ่าน
7 ด.ช.ณฏั ฐกติ ต์ เกอื้ กากร 26 ผ่าน
59 ผา่ น
8 ด.ช.วรทิ ธ์นิ ันท์ ศรีธรรมโฆษ 46 ผ่าน
56 ผา่ น
9 ด.ช.พพิ ัฒพงศ์ ดษิ ฐสระพงศ์ 57 ผ่าน
38 ผ่าน
10 ด.ช.กฤตภาส คงเขยี ว 49 ผา่ น
56 ผา่ น
11 ด.ญ.จิลลาภทั ร รอดเสน 67 ผา่ น
58 ผ่าน
12 ด.ญ.ธนพร ดำเนอื้ ดี 46 ผา่ น
37 ผา่ น
13 ด.ญ.รุจกิ านต์ วาสนา 38 ผา่ น
46 ผา่ น
14 ด.ญ.นัตนนี ไถนาเพรียว 69 ผ่าน
37 ผ่าน
15 ด.ญ.วชิ ญาพร ชูศรี 47 ผา่ น
48 ผา่ น
16 ด.ญ.มณีรตั น์ ชูขำ 57 ผา่ น
4.33 6.93 ผา่ น
17 ด.ญ.กันตชิ า คงเรือง -
+2.60 -
18 ด.ญ.สวุ ภทั ร ฉมิ ออ่ น +60.05%
19 ด.ญ.อริสา มากแกว้
20 ด.ญ.นันท์นภัส ศกึ ศิริ
21 ด.ญ.กานตช์ นิต ฉิ้มฉาย
22 ด.ญ.รุ่งนภา คงดำ
23 ด.ญ.ภัทราภรณ์ บญุ ศริ ิ
24 ด.ช.ปวริศ ธรรมปญั ญาสกูล
25 ด.ช.วงศกร มิง่ ขวญั ตา
26 ด.ญ.ดวงกมล ธูปขนุ ทด
27 ด.ญ.หยาดทพิ ย์ สขุ ชว่ ย
คา่ เฉลยี่ ผลรวมคะแนน
ผลต่างคะแนนพัฒนาการ
รอ้ ยละของคะแนนท่ีเพิ่มขนึ้
จากขอ้ มูลในตารางเปรยี บเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นของนักเรยี น ผลปรากฎว่านักเรยี นทุกคน
มีผลคะแนนที่ดีขึ้นหลังจากใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในภาพรวม ซึ่งมีค่าเฉลี่ยผลรวมคะแนนก่อนเรียน
เป็น 4.33 คะแนน และค่าเฉล่ียผลรวมคะแนนหลงั เรียนเป็น 6.93 คะแนน และมีค่าผลตา่ งคะแนนพฒั นาการ +2.60
คะแนน คิดเป็นร้อยละที่เพิ่มขึ้น 60.05% ซึ่งผลการวิจัยนี้จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาของ
นักเรียนใหส้ งู ขึ้นไดต้ อ่ ไป
สรุปผลการปฏบิ ัติ/ผลสมั ฤทธขิ์ องงาน/ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั
จากการสังเกตนักเรียนก่อนการใช้การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน นักเรียนที่เรียนแบบปกติมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนต่ำกว่าหลังการใช้การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ผลปรากฎว่านักเรียนทุกคนมีผลคะแนนที่ดีขึ้น
หลังจากใช้การเรียนแบบ PBL เรื่อง Question Words ในภาพรวม ซึ่งมีค่าเฉล่ียผลรวมคะแนนก่อนเรียนเป็น 4.33
คะแนน และคา่ เฉล่ยี ผลรวมคะแนนหลงั เรยี นเป็น 6.93 คะแนน และมคี ่าผลตา่ งคะแนนพัฒนาการ +2.60 คะแนน ซ่ึง
ผลการวิจัยนี้จะช่วยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนให้สูงขึ้นได้ และนักเรียนมี
ทกั ษะการเรียน การแสวงหาความรู้ การคิดทดี่ ขี นึ้ หลังจากทีค่ รผู ้สู อนไดส้ งั เกตการทำงานของนักเรยี นภายในห้องเรยี น
ตลอดระยะเวลาของการปฏบิ ัตดิ งั กล่าว
จากการศึกษานั้นพบว่าการสอนโดยวิธีปัญหาเป็นฐานระหว่างครูกับนักเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ทำให้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ครูผู้สอนควรส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในรูปแบบต่างๆ ให้มากขึ้น และควรจัดสรรเทคโนโลยีที่จำเป็นต้องการเรียนในชั้นเรียนให้
เพียงพอและมีความทันสมัย ที่จะต้องมีสถานการณ์ที่เปน็ ปัญหาและใช้ปัญหานัน้ มาเปน็ ตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้ ปัญหาที่นำมาใช้ควรมาจากส่งิ ใกลต้ ัวผเู้ รยี น และผเู้ รียนมโี อกาสพบเจอ
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น และมีทกั ษะทางวชิ าการสูงข้ึน
2. สามารถยกระดับการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้เนอื่ งจากนกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจในการเรียนเพิ่มข้ึน
3. ได้ฝกึ ตนเองเรอ่ื งความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ต่องานท่ีได้รับมอบหมาย
4. ไดม้ ีโอกาสรู้จักผู้คนมากมายมากข้นึ ได้เรียนรถู้ งึ ความสามคั คแี ละการทำงานเปน็ กลุม่
5. ไดป้ ระสบการณ์จรงิ จากการทำงานจากการฝึกทำงาน
6. ไดเ้ รยี นรกู้ ารปฏบิ ัตติ ัวในขณะฝึกทำงานและกจิ กรรมการเรียนรู้
7. เขา้ ใจหลักการทำงานมากขน้ึ มีความรบั ผดิ ชอบกบั งานท่ีได้รบั มอบหมาย
8. มีความตรงต่อเวลา การฝึกงานในครั้งนท้ี ำใหป้ ระประโยชนก์ ับนกั เรียนมาก ทำใหเ้ รามคี วามรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลา มีระเบียบวินัย และสามารถนำ ประสบการณ์นี้ไปใช้ได้กับทุกสถานท่ีศึกษา
เพือ่ เปน็ แบบอยา่ งในการทำงานที่ดีอกี ด้วย
ปจั จัยความสำเร็จ
1. ครผู สู้ อนได้ศึกษาสภาพปัจจยั ความสำเร็จของการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนและคณุ ภาพนกั เรยี นทุกคน
2. มกี ารวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างปจั จัยความสำเร็จของการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและคณุ ภาพนกั เรียน
3. แนวทางการพัฒนาปัจจัยความสำเร็จและการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ส่งผลต่อ คุณภาพนักเรียนใน
โรงเรียนได้จัดให้มี ความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ด้านการป้องกันและ
แกไ้ ขปญั หาที่เกดิ ขึ้น ความพอเพียงของทรพั ยากรการสอน ความพร้อมของบคุ ลากรในโรงเรยี น การคัดกรองนักเรียน
และตดิ ตามชว่ ยเหลือ
บทเรียนทไี่ ด้รับ (Lesson Learned)
นักเรียนบางคนที่ยงั มีคะแนนการทดสอบที่ต่ำ อาจเนื่องจากระยะเวลามีจำกัด ดังนั้นครูผู้สอนควรใช้เวลาให้
มากขึ้น หรืออาจฝึกสอดแทรกทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียนเพิ่มเติม แนวปฏิบัติที่ดีและเป็นประโยชน์ในการ
ทำงาน Best Practice
1. การดำเนินงานท่เี ป็นระบบจะส่งผลดตี อ่ การพฒั นาคุณภาพนักเรยี นท่ยี ่งั ยืน
2. การดำเนนิ กจิ กรรมตอ้ งอาศยั ปจั จัยหลายประการทีส่ ำคัญคือปัจจัยด้านบคุ ลากรในโรงเรียน
3. การดำเนินกจิ กรรมทีบ่ รรลุผลสำเรจ็ ตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื ของบคุ ลากรทุกฝ่าย
4. ผ้ปู กครองนับเปน็ เครือข่ายการพฒั นาทส่ี ำคัญตอ่ การพฒั นาคุณภาพนักเรียน
ข้อเสนอแนะ
1. ครูผู้สอนควรมีการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเชิงรุกให้กับนักเรียนทุกคนได้ปฏิบัติจริงและติดตามประเมินผล
ช่วยเหลือนักเรียนเปน็ รายบคุ คล
2. ควรมกี ารพัฒนาชุดการสอนการเรียนร้ดู ้วยตนเองในเรื่องอ่นื ตามบริบทและความสนใจของผู้เรียน
การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลท่ีไดร้ บั
1. มกี ารเผยแพรผ่ ลงานลงในเว็บไซต์ของตนเอง https://sites.google.com/view/
website-kru-ging
บรรณานกุ รม
นรรชั ต์ ฝันเชยี ร. (2556 : 231). แผนการจดั การสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลาง. กรงุ เทพฯ :
คอมพวิ เตอรก์ ราฟฟคิ .
สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2556). การจดั การเรยี นรู้แบบใชป้ ญั หา เปน็
ฐาน. กรุงเทพฯ : พิมพด์ กี ารพมิ พ์. 2557.
นยั นา หิรญั ญชาติธาดา. วจิ ยั : การปรับพฤตกิ รรมนกั ศึกษาขาดความรับผิดชอบตอ่ การเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษ รหสั 35022211 โดยการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานและปรบั พฤติกรรม
แบบยอมรบั . 2558.
ไพฑรู ย์ สิลารตั น.์ การปฏิรปู การศกึ ษา : แนวคดิ และหลักการตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ:วญิ ญชู น, 2559. 240 หน้า.
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วธิ ีการทางสถิตสิ ำหรบั การวจิ ยั . พิมพค์ รัง้ ที่ 4. กาฬสินธ์ุ : สำนกั พมิ พ์
ประสานการพิมพ,์ 2560. 168 หนา้ .
ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน.์ (2561). จิตวิทยาการสอนนกั เรียน. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนงั สือเสริมกรุงเทพฯ.
นพคุณ นศิ ามณ.ี (2562). การสอนแบบใช้ปญั หาเป็นฐาน PBL. กรุงเทพฯ : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม
เกลา้ พระนครเหนอื .
Wilson, C. E. A. (2015). A Vision of a preferred curriculum for the 21st century : Action
research in school administration : http://www. Samford.edu/pbl
Woods, (2017). Problem-based learning and problem solving. In Russell Kenley
(2017). “Problem Based Learning : within a traditional teaching environment” ,
AUBEA conference, University of Technology Sydney, New South Wales.
Problem-Based Learning. The University of Western Australia : Issues of Teaching and
Learning. (Vol. 2 June, 2018) : http://uwa.edu.au/csd/newsletter/issue0496/pbl.
What is Problem-based learning? : http://www.samford.edu/pbl
Problem-based Learning Theory. :
http://www.usd.edu/~knorum/learningpapers/pbl.
ชื่อ ใบงานท่ี 1 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ชื่อ ใบงานท่ี 2 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ใบงานท่ี 3
ชอื่ ชั้น เลขท่ี
ชื่อ ใบงานท่ี 4 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ชื่อ ใบงานท่ี 5 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ชื่อ ใบงานท่ี 6 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ชื่อ ใบงานท่ี 7 เลขท่ี
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้
ช้นั
ใบงานท่ี 8
ชอื่ ชั้น เลขท่ี
ช่ือ แบบทดสอบ เลขท่ี
คำชี้แจง : Choose the best answer.
1. A : ............dictionary is on my desk ? ชั้น
2. I don't like the house ...........he live ?
B : It is mine. a. that b. which
a. what b. whose c. where d. what
c. who is d. which
3. How much ............? b. the book cost 4. A : ............. is she ?
a. the book costs d. does the book costs B : she's at the market.
c. does the book cost
a. Who b. What
c. When d. Where
5. The man .......is crying is mad. 6. A : ........did you come here ?
a. Who b. Whom B : Because I miss you.
a. What b. When
c. Whose d. which c. Where d. Why
7. A : ...........do you get up ? 8. .............mobile telephone is this ?
B : I get up at six o'clock (a.m. )
a. Who b. Whom
a. What b. When c. Whose d. How
c. Who d. Why
9. A : ...........are you going tonight ? 10. A : ............... is your mother ?
B : A pub. B : She's fine .Thank you.
a. Who b. What a. Where b. Why
c. Where d. Who c. How d. How much
เฉลย 1. b 2. c 3. c 4. d 5. a 6. d 7. b 8. c 9. c 10. C
ภาคผนวก
วธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
การจดั การเรยี นร้โู ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (PBL) เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
วิชาภาษาอังกฤษ เร่อื ง Question Words ปีการศกึ ษา 2565
โรงเรียนวัดควนชะลิก
วธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ (Best Practice)
การจดั การเรยี นร้โู ดยใชป้ ญั หาเป็นฐาน (PBL) เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
วิชาภาษาอังกฤษ เร่อื ง Question Words ปีการศกึ ษา 2565
โรงเรียนวัดควนชะลิก