The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khamdang12102519, 2019-06-10 04:10:03

Unit 7

Unit 7

หน่วยท่ี 7

หลกั สวัสดิภาพสตั ว์และมาตรฐานอาหารปลอดภยั

ครูคธั รยี า มะลวิ ัลย์

แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

หนว่ ยท่ี 7

หลกั สวสั ดิภาพสตั ว์และมาตรฐานอาหารปลอดภัย

หัวข้อเรื่อง
1. ความหมายและความสาคัญของสวัสดิภาพสตั ว์
2. การใหส้ วสั ดิภาพแก่สัตวเ์ ล้ียง
3. ความสาคญั ของมาตรฐานอาหารปลอดภยั
4. มาตรฐานสากลดา้ นอาหารปลอดภัย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความสาคญั ของสวสั ดิภาพสตั ว์ได้
2. อธบิ ายการให้สวัสดิภาพแก่สตั ว์เลย้ี งได้
3. บอกความสาคัญของมาตรฐานอาหารปลอดภยั ได้
4. อธบิ ายมาตรฐานสากลดา้ นอาหารปลอดภยั ได้

เน้ือหาการสอน
1. หลกั สวสั ดภิ าพสตั ว์

สวสั ดภิ าพสตั วเ์ ป็นเรื่องท่ีเราได้ยินกนั มานานและยงิ่ นับวันกจ็ ะบ่อยคร้ังถ่ีขึน้ ท่สี าคัญเข้ามาใกล้ตัว
วิชาชีพการสัตวแพทย์มากข้ึนทุกที แต่สัตวแพทย์ผู้ประกอบการบาบัดโรค สัตว์โดยส่วนใหญ่แล้ว ได้ให้
ความสนใจและตอบรับ หรือสนองตอบอย่างถูกต้องตามหลักวิชาดูจะน้อยมาก ดังตัวอย่างหรือข่าวคราวท่ี
ปรากฏไม่ว่าจะเร่ืองปัญหาหมาจรจัด ปัญหาการบริโภคหมา ปัญหาช้างเร่ร่อน ปัญหาการใช้สัตว์ทดลอง
ปัญหาการใช้สารเร่งการเติบโตของปศุสัตว์ ปัญหาการเล้ียงสัตว์ป่าเป็น สัตว์เลี้ยง ฯลฯ ดังนั้นความ
รับผดิ ชอบตอ่ ปญั หาเหล่าน้ลี ้วนมีต้นเหตรุ ่วมกนั อย่างหนัก คอื

(1) การขาดความรู้ ความเขา้ ใจ
(2) จิตสานึกทด่ี ี
เรอ่ื งสวัสดิภาพสัตวข์ องบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งนบั จากคนเล้ยี งสัตว์ เจ้าของสตั ว์ ประชาชน เยาวชนและ
ท่ีสาคัญ คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์อันเป็นท่ียอมรับอย่างเป็นสากลว่า วิชาชีพนี้ต้องรับผิดชอบ
ดูแลให้ ความรู้ ความเข้าใจ ตอบสนองต่อสังคมเร่ืองสวัสดิภาพสัตว์ได้ถูกต้องและดีที่สุด ท้ังน้ีเพราะสวัสดิ
ภาพสัตวเ์ ป็นเร่ืองราวของความเป็นอยู่ท่ีดขี องสัตว์ คือ สัตวม์ ีความสุขกายสุขใจ ซึ่งจะเกิดขึ้นได้หรือเป็นไป
อย่างครบถว้ นสมบรู ณ์จาเป็นตอ้ งมีผู้เกี่ยวข้องที่สาคัญสาหรับการก่อให้เกิดและดูแลต่อสุขภาพร่างกายของ
สัตว์ และสขุ ภาพจิตพร้อมไปด้วยกนั ซ่ึงจะเหน็ ได้ชดั เจนมากในกรณีของสัตว์เลย้ี งเปน็ เพอ่ื น ฯลฯ

ฉะนั้นหากสัตวแพทย์ไม่เข้าใจและเพิกเฉยต่อสวัสดิภาพสัตว์แล้วไซรส้ ังคมจะหวังพ่ึงใครได้ จึงเป็น
ท่ีมาของความพยายามเผยแพร่ความรู้มีจิตสานึกและความรับผิดชอบต่อ “สวัสดิภาพสัตว์” ให้เกิดขึ้นใน
แวดวงผู้ประกอบวิชาชพี การสตั วแพทย์กอ่ น

เราคงต้องยอมรับวา่ ในหลักสูตรการเรยี นการสอนทางสัตวแพทย์ของบา้ นเรา มกี ารให้ ความรู้และ
กระตุ้นความสาคัญของสวัสดิภาพสัตว์น้อยมาก จนแทบจะไม่มีเลย อีกท้ังการปฏิบัติต่อสัตว์ก็ ยังไม่เน้นใน
เรอ่ื งนอี้ ย่างชดั เจนนัก

การปรับปรุงเน้ือหาและการเรียนการสอนของคณะสัตวแพทยศาสตร์ให้เกี่ยวกันกับ สวัสดิภาพ
สัตว์ในทุกๆชนิดพันธุ์ โดยสอดแทรกลงในการฝึกปฏิบัติงานของนิสิต นักศึกษาสัตวแพทย์จะนามาซ่ึง การ
ปฏบิ ตั ิอยา่ งเป็นอัตโนมตั ิ จึงเป็นสิง่ ทต่ี ้องรีบกระทาอยา่ งเร่งดว่ น ขณะเดียวกนั การเผยแพร่และกระตุ้น ให้ผู้
ร่วมวิชาชีพท่านอื่นๆท่ีมีอยู่ในสังคมขณะน้ี ให้เกิดความรู้และตระหนักถึงเรื่องสวัสดิภาพสัตว์ แม้เป็นเพียง
พ้นื ฐานเบื้องตน้ ก็ยังดี ดว้ ยกระบวนการเช่นนี้ ความมีศกั ดิ์ศรีของวิชาชพี สัตวแพทย์จะยังคงมอี ยูต่ ่อไป และ
เพิ่มข้ึนอย่างมั่นคง วิชาชีพนี้ต้องเป็น วิชาชีพแรกที่สังคมนึกถึงทุกครั้งเม่ือมีปัญหา หรือข้อขัดแย้ง
เกยี่ วกบั สวัสดิภาพสตั ว์เกิดขน้ึ

1. ความหมายของคาว่า “สวัสดภิ าพสตั ว์”
“สวัสดิภาพสัตว์” หมายถึง “ความสุขกาย สบายใจของสัตว์” นับเป็นคาอธิบายท่ีสั้นแต่
ครอบคลุมและเข้าใจง่าย สัตว์ทั้งหลายจาเป็นต้องได้รับความสุขกาย คือ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในขณะเดียวกันตอ้ งมีสุขภาพจิตทดี่ ี คือ สบายใจ แจม่ ใส ไร้ความเครียด ซ่ึงท้ังสอง
อย่างนี้ไม่สามารถแยกออกจากกัน จาเป็นต้องเกิดข้ึนพร้อมๆกันไปทั้งคู่ ความไม่สมดุลย์จะทาให้เสียซ่ึง
สวัสดิภาพของสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์เป็นส่ิงที่มนุษย์ คือ คนเล้ียงสัตว์ เจ้าของสัตว์ และสัตวแพทย์ เป็นผู้
ให้แก่ สัตว์เล้ียง หรือสัตว์ป่วย อันจักเกิดข้ึนเองมิได้ โดยมนุษย์ผู้ให้สวัสดิภาพแก่สัตว์ พึงระลึกถึงสิ่งสาคัญ
2 ประการ คือ

(1) ความเจบ็ ปวดทเ่ี กิดข้ึนกบั สัตว์
(2) ความพึงพอใจของสตั ว์

2. การให้สวัสดภิ าพแกส่ ัตวเ์ ล้ยี ง
ทงั้ น้สี ามารถขยายความ ได้คือ การกระทาใดๆก็ตามตอ่ สัตวต์ ้องไม่กอ่ ให้เกดความเจ็บปวดข้ึนหรือ
หากมีความจาเป็นต้องกระทา ต่อตัวสัตว์แต่สร้างความเจ็บปวดเช่นการผ่าตัดตอน ทาหมัน ฯลฯ ผู้กระทา
จะตอ้ งให้การระงับปวดอยา่ ง เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ เช่น ทาให้สตั ว์หมดความรู้สึกดว้ ยยาสลบ สัตว์
ก็จะไม่เจ็บปวดขณะผ่าตัด และควบคุมความเจ็บปวดบาดแผลภายหลังผ่าตัดด้วยยาแก้ปวดจนกว่าจะตัด
ไหม ฯลฯ ขณะเดียวกันต้อง ตระหนักถึงความพึงพอใจ ความชอบของสัตว์ด้วย เช่น การเลี้ยงหมาในกรง
เด่ียว แม้มีน้าและอาหารอย่าง สมบูรณ์ แต่สัตว์ไม่เคยถูกนาออกมาพบปะผู้คนหรือหมาตัวอื่นๆ ท่านคิดว่า
หมาจะพงึ พอใจกับสภาพ ดังกล่าวหรือไม่ หมาคงดารงชพี อยไู่ ดแ้ ตจ่ ิตใจรนั ทด ไมอ่ ยากถกู ขังตลอดเวลา ดัง

นกน้อยในกรงทอง ฯลฯ
ดังน้ันทั้งความเจ็บปวดและความพึงพอใจของสัตว์เป็นสิ่งที่สัตวแพทย์จะต้องตระหนักและปฏิบัติ

อยู่เสมอทกุ ครัง้ ทกี่ ระทาการใด ๆ ต่อสัตว์

2.1 จะร้ไู ดอ้ ยา่ งไรวา่ สัตวไ์ ดร้ ับสวสั ดิภาพหรือไม่
“สวัสดิภาพสัตว์” ดูจะเปน็ เพียงนามธรรมให้เป็นที่โต้เถียงกนั อยู่เสมอว่า สวัสดิภาพสัตว์ น้นั มีการ
ตรวจวัด หรือแสดงให้เห็นว่าเกิดข้ึนหรือไม่อย่างไร ฉะนั้นจึงมีการหาทางท่ีจะประเมินสภาพการ เลี้ยงสัตว์
หรือความเป็นอยู่ของสัตว์ว่าเกิดสวัสดิภาพแก่สัตว์เหล่านั้นหรือไม่ มีผู้ค้นคิดเกณฑ์พิจารณาขึ้น เรียกว่า
“อสิ รภาพ 5 ประการ” หรือ FIVE FREEDOM” ทาให้สามารถตรวจวดั สวสั ดิภาพสตั วไ์ ด้อย่างเปน็ รปู ธรรม
อสิ รภาพทง้ั 5 ประการ ประกอบด้วย

(1) อสิ ระจากความหวิ กระหาย
(2) อิสระจากความไมส่ บายกาย
(3) อสิ ระจากความเจบ็ ปวดและโรคภัย
(4) อิสระจากความกลวั และไมพ่ ึงพอใจ
(5) อสิ ระในการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ

อิสรภาพทั้ง 5 ประการน้ี เป็นสิ่งที่ทุกท่านสามารถตรวจสอบ ค้นหาได้จากสภาพการเล้ียง ความ
เป็นอยู่และตัวสัตว์นัน้ ๆ ทีป่ รากฏอยจู่ รงิ ไมจ่ าเป็นต้องใชเ้ ครือ่ งมอื ใดๆทยี่ ุ่งยากแม้แต่น้อยยกตัวอย่าง เช่น
สัตว์ต้องมีอิสระจากความหิวกระหาย น่ันหมายถึงว่าในกรงเลี้ยงมีน้าสะอาดให้สัตว์กินเพียงพอแก่ ความ
ตอ้ งการของสตั วต์ วั น้ัน ชนิดนนั้ ๆ หรอื ไม่ อาหารทีใ่ ห้เป็นอย่างไร ปริมาณเพียงพอไหม ชนิดและคุณภาพ
ถูกต้องเหมาะสมกับชนิด พันธุ์ และอายุของสัตว์เหล่านั้นหรือไม่ อย่างไร ไม่ใช่ส่ิงยากเลยท่ีจะตรวจดู
แม้แต่จัดหาหรือทาให้เกิดแก่สัตว์เหล่าน้ัน ฯลฯ จากอิสรภาพ 5 ประการ ของสัตว์ จึงนามาซ่ึงความ
ต้องการขนั้ พืน้ ฐานของสัตว์ 5 ประการเช่นกนั คอื

(1) สตั ว์ต้องไดร้ บั อาหารและนา้ เพอ่ื บรโิ ภคและเล่น
(2) สัตวต์ อ้ งมีทีอ่ ยู่อาศยั อยา่ งสะดวกสบายตามสมควร
(3) สัตว์ต้องไดร้ บั การดูแลและบรกิ ารสุขภาพที่ดี
(4) สัตว์ตอ้ งไดร้ บั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความเมตตาและทะนุถนอม
(5) สัตว์ต้องได้รบั โอกาสแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ

สรุปไดว้ ่า สวัสดภิ าพสตั ว์นัน้ เป็นสิ่งท่ตี รวจสอบได้จึงมอิ าจปฏเิ สธได้อีกแล้วว่าสวสั ดภิ าพสัตว์เป็น

เพยี งนามธรรมอกี ต่อไป

2.2 ท่านไดใ้ หส้ วสั ดภิ าพสตั วห์ รือไม่
คลินิก โรงพยาบาลสัตว์ หรือสถานพยาบาลสัตว์ ตลอดจนการรักษาพยาบาลสัตว์ของ ท่านได้
ก่อให้เกิดสวัสดิภาพแก่สัตว์ท่ีเข้ามารับบริการหรือไม่อย่างไรนั้น ท่านสามารถประเมินได้แล้วจาก การใช้
เกณฑ์พจิ ารณา คอื อสิ รภาพ 5 ประการของสัตว์ ซงึ่ จะนามาอธิบายตอ่ ไปในแต่ละหวั ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี
(1) อิสระจากความหิวกระหาย ความหมายคือ สัตว์จะต้องปราศจากความหิวโหยกระหายทั้ง
อาหารและน้า นั่น คือ สัตว์ต้องได้รับน้าและอาหารที่มีทั้งคุณภาพและปริมาณท่ีเหมาะสมกับชนิด อายุ
และสภาวะของสัตว์ นั้น เช่น สัตว์เล้ียงจาพวกหนูแกสบ้ี ซ่ึงเป็นสัตว์ฟันแทะ จะต้องได้รับอาหารที่
เหมาะสมกบั การกัดแทะ คอื เมล็ดธญั พืช อาหารแข็ง อาหารหยาบ หญ้าแหง้ ฟาง เพอื่ ช่วยในการลับฟันให้
สึกสัน้ ลงไม่ยาวเกนิ ควร และเป็นสตั วท์ ่ีมคี วามต้องการวิตามนิ ซสี ูงมากกว่าสัตว์อื่น จึงตอ้ งให้พืชสเี ขียว หรือ
ใช้วิตามินซีผสมน้าใน อัตราท่ีเพียงพอกับความต้องการจัดเป็นความพอเพียง ถูกต้องทางคุณภาพต่อชนิด
ของสัตว์ ฯลฯ หนั มาดูประเด็นน้ีในคลินิกของสตั วแพทย์ทั้งหลายบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่ีมกี ารรับฝากสัตว์
ป่วยคา้ งคืนลองตรวจสอบดูสวิ า่

❑สตั วป์ ว่ ยมีน้าสะอาดไวใ้ ห้กินตลอดเวลาหรือไม่

❑ภาชนะใส่อาหารใหส้ ตั วป์ ว่ ยไดร้ ับการทาความสะอาดหรอื เปลี่ยนใหม่ทกุ ครง้ั
ที่ให้อาหารหรอื เปล่า

❑ สตั วป์ ว่ ยได้รบั อาหารท่ถี กู ต้องตามชนิดของมันหรือไม่ เช่น แมวไดร้ ับอาหารแมว
มใิ ชอ่ าหารหมาสาเร็จรูป ฯลฯ

ขณะเดียวกันในฐานะสัตวแพทย์ท่านจะต้องสร้างหรือส่งเสริมให้เกิดสวัสดิภาพสัตว์แก่ สัตว์เลี้ยง
โดยผ่านทางเจา้ ของใหเ้ ป็นผูต้ ระหนกั และกระทาดงั ในกรณกี ารให้อาหาร เช่น ปริมาณและ คณุ ภาพ การให้
ทีไ่ มเ่ หมาะสมกับสัตวอ์ ันจะก่อให้เกิดโรคจากอาหาร คือ โรคอ้วน ซงึ่ พบบ่อยมากว่า เจ้าของหมาปรนเปรอ
หมาอยา่ งผดิ ๆ เชน่ ใหก้ นิ ขนมหวานเป็นประจา ให้กนิ ขา้ วมากเกนิ ควร หมากิน อาหารไดต้ ลอดเวลาตามใจ
ชอบ จนในท่ีสุดหมาอ้วนหลังเป็นกระดาน ทาให้หมาเดินไม่ไหว ป่วยด้วยโรค ข้อ โรคเบาหวาน หมามี
อิสรภาพจากความหิวกระหายก็จริงแตไ่ ด้รบั มากจนเกินควรกลายเปน็ ความเจ็บป่วยก็ไม่ใชส่ วัสดิภาพสัตว์ที่
ถกู ต้อง ฯลฯ

(2) อสิ ระจากความไม่สบายกาย
ความไม่สบายกายของสัตว์ก็คือ สภาพแวดล้อมท่ีสัตว์อยู่ทาให้เกิดความเป็นอยู่ไม่ปกติสุขรบกวน
ตอ่ ประสาทสัมผัสจนไมเ่ ป็นอนั กินอันนอน อย่างท่ีเห็นได้ชัดเจน เช่น ถกู ขังในกรงที่มแี สงแดดสาดส่องร้อน
จัดทนอยู่ไม่ไหว พ้ืนกรงที่สกปรกไม่เคยได้รับการทาความสะอาด หมักหมมด้วยสิ่งปฏิกูล ขาดที่หลับนอน
จาเป็น ต้องนอนบนพ้ืนท่ีเย็นและสกปรก หรือพื้นท่ีตะปุ่มตะป่าไม่ ราบเรียบมีรอยแหลมคม ทาให้เกิด
บาดแผลเม่ือเหยียบลงไป ฯลฯ ตัวอย่างประเด็นพิจารณาความไม่สบายกายท่ีรบกวนต่อสัตว์ซึ่งพบได้ใน
สถานพยาบาล สัตว์ คอื

❑ ความสะอาดของสถานท่ีเลย้ี งสัตวม์ ีมากนอ้ ยอยา่ งไร
❑ อุณหภมู ทิ ส่ี งู หรือต่าเกนิ ไป
❑ อนั ตรายจากพ้ืนผวิ แหลมคม
❑ การรบกวนจากเสยี งและแสง
❑ ความระคายเคอื งจากกลน่ิ ก๊าซทีม่ าจากการสะสมของสงิ่ ขับถา่ ย
❑ ความจากัดของพ้ืนที่ ทาให้เกิดความแออัดเมื่อมีปริมาณสัตว์เพิ่มสูงต่อพ้ืนที่

ซ่งึ ไมเ่ พม่ิ ขึ้นตามอยา่ งเหมาะสม ฯลฯ

ท้งั นอ้ี าจหมายรวมไปถึงการปฏบิ ตั ิหรือกระทาต่อสตั วอ์ ย่างอ่นื ๆ อีกเชน่
 การใช้โซ่บ่วงรูดในการจูงหรอื ฝึกหมา
 การผูกลา่ มสตั ว์ไวต้ ากแดดตากฝนตลอดเวลา
 การสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ ท่ีสรา้ งความระคายเคือง อึดอัด และหงุดหงิดแก่สตั ว์
 การเคล่ือนยา้ ยสัตวโ์ ดยใส่ในกรงที่เล็กคับแคบเกนิ ไป เชน่ กรงเตย้ี จนยนื ไม่สุดขา
 การใช้อุปกรณท์ ่ีไม่เหมาะสมกบั ตวั สัตว์ เช่น ใสห่ ว่ งขานกท่ขี นาดเลก็ เกินไป
ทาใหต้ ีนบวมและเนื้อตายตามมา
 การจดั สภาพแวดล้อมใหเ้ หมาะสมกับธรรมชาติของสัตว์ เช่น นาเตา่ บกไปเลี้ยงใน

บอ่ นา้ หรอื เล้ยี งเต่าน้าในบ่อโดยไมม่ ีที่ขึ้นบกเลย ฯลฯ
 การปรับอุณหภมู ใิ ห้เหมาะสมกับสตั วใ์ นวยั ภาวะและชนิดต่างๆ

ความไมส่ บายกายของสัตวจ์ ะนามาซง่ึ ความเครยี ด ความเจ็บป่วยและโรคภัยแทรกซ้อน อ่นื ๆได้อีก
ดว้ ย เช่น กระตา่ ยท่เี ล้ียงในกรงซึ่งพ้ืนเป็นตะแกรงลวดทาให้เกิดการกดทับบริเวณฝา่ ตนี ขอ้ และ ขา จนเกิด
เป็นฝเี รอื้ รังตามมา ฯลฯ

การเลย้ี งสตั วอ์ ยา่ งมสี วสั ดภิ าพจึงตอ้ งมีอิสระจากความไม่สบายกายต่างๆ ดังตัวอย่างข้างต้น

(3) อสิ ระจากความเจบ็ ปว่ ยและโรคภัย
อโรคยา ปรมาลาภา ความไม่โรคเป็นลาภอันประเสริฐ ในคนฉันใดในสัตว์ก็ฉันนั้น การมีสุขภาพ
ร่างกายปลอดจากโรคภัยเบียดเบียน ไม่ว่าจะโรคใด ๆ ย่อมเป็นท่ีต้องการของคนและสัตว์ เจ้าของ สัตว์
เล้ียงย่อมไม่ต้องการให้สัตว์ของเขาเจ็บป่วย ขณะเดียวกันสัตวเ์ ลี้ยงเองก็คงไม่อยากเจ็บไข้ได้ป่วย ไม่ ว่าจะ
มากนอ้ ยแค่ไหนใดๆท้ังสิ้นน่ันคอื สัจธรรม
สวัสดิภาพสัตว์ที่แสดงออกด้วยสุขภาพท่ีแข็งแรงของสัตว์จึงหมายถึงว่าสัตว์ได้รับการ ป้องกัน
โรคภัยที่เหมาะสม เชน่ การให้วัคซีนอยา่ งครบถ้วน ถูกต้อง มีการถ่ายพยาธิตามระยะเวลาที่ กาหนดโดยใช้
ยาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สัตว์ไดร้ ับการเลย้ี งด้วยสขุ ลกั ษณะท่ีดี เช่น ไม่เล้ยี งหมาป่วยรว่ มกบั หมาดี รู้วา่ หมา
เป็นหัดยังเอาไปเข้าวอร์ดเดียวกับหมาฝากเล้ียง ฯลฯ ตลอดจนการรักษา พยาบาลท่ีมี คุณภาพและเป็นไป

อย่างทันท่วงที กล่าวคือ สัตว์ป่วยต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องตามหลัก วิชาด้วยความ
เชื่อถือได้ และได้รับการรักษาด้วยวิธีการท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์ จากบุคลากร
ทางการสัตวแพทย์ผู้มีอานาจหน้าที่ ตัวอย่างเช่น สัตว์เลี้ยงท่ีประสบอุบัติเหตุรถชน ถูกนาส่ง โรงพยาบาล
สตั ว์ฉุกเฉินยามค่ามืดดึกด่ืนทันที และได้รับการดูแลรักษาจากผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์จริง ๆ มิใช่
ฝากขังไว้รอจนเช้า หมอจึงจะมาดู นั่นเป็นการทาให้สัตว์ขาดอิสรภาพในข้อนี้อย่างชัดเจน น่ันคือ สัตว์เกิด
ความเจบ็ ปวดจากเหตุรถยนต์ชนแล้วยงั มไิ ดร้ ับการดแู ลจากบคุ ลากรที่เหมาะสมคือสัตวแพทย์หรือสัตวเ์ ลีย้ ง
ท่ีปว่ ยไมก่ ินอาหาร ท้องร่วง เจ้าของก็ปล่อยทิ้งไว้เช่นนน้ั ดว้ ยความคดิ ท่ีวา่ เดี๋ยวกห็ าย เอง หรอื อ้างวา่ ไมว่ า่ ง
ไมม่ เี วลา รอไปก่อน ผัดวันประกันพรงุ่ ผลท่ีสดุ สตั ว์ก็ตายลงอย่างทกุ ขท์ รมาน ฯลฯ

สวัสดิภาพสัตว์อันเกิดจากอิสรภาพจากความเจ็บไข้ได้ป่วยจากโรคภัยต่างๆจะเกิดขึ้นจากการ
ปอ้ งกนั ที่เหมาะสมและให้การรักษาอย่างทันท่วงที

(4) อิสระจากความกลวั และไม่พงึ พอใจ
“ทุกข์กายอยู่ได้ แต่ทุกข์ใจอยู่ยาก” เป็นเร่ืองจริงท้ังในคนและสัตว์ ทั้งน้ีเพราะสัตว์เล้ียงก็มีจิตใจ
มีอารมณ์ได้อย่างที่คนเรามี มิหนาซ้ายังเป็นการยากสาหรับคนเราที่จะหย่ังรู้จิตใจและอารมณ์ของ สัตว์แต่
ละชนิดแต่ละตัว แต่ก็มิใช่จะทาไม่ได้เลย การศึกษาเร่ืองพฤติกรรมสัตว์เป็นส่ิงช่วยบอกให้เราเข้าใจ ถึง
อารมณ์บางอย่างของสัตวไ์ ด้ดีขนึ้ และทาใหเ้ ราปฏบิ ัติตอ่ สตั วไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง ความกลัวหรือความไม่ ชอบใจ
เป็นอารมณ์ซ่ึงเกิดข้ึนในสัตว์และแสดงออกให้เราเห็นได้แม้ว่าอาจใกล้เคียงกับอารมณ์อื่นๆ แต่เรา ต้อง
อาศัยการสังเกตและข้อมูลต่างๆประกอบการตัดสินใจ เช่น สภาพแวดล้อม ประวัติพฤติกรรมในอดีต ฯลฯ
ดงั กรณีตัวอยา่ ง เราพบหมาพูเดิ้ลท่ีฝากไวด้ ูอาการป่วยอยู่ในวอรด์ แสดงอาการหูหลุบ หางจุดตูด เหลือบตา
มอง บ่อยๆ มนั หมายความว่าน่ันแสดงออกซ่ึงความกลัวเป็นพฤติกรรมการยอมแพอ้ ย่าง หนึ่ง แตจ่ ะมาจาก
สาเหตุอะไร ต้องย้อนดูรอบ ๆ อีกทีปรากฏว่ากรงข้าง ๆ มีหมาพันทางร่างยักษ์ แสนดุ ขู่ เห่าท้ังวัน น่ันคือ
สาเหตุของความกลัว หรือขังสัตว์ต่างชนิดโดยท่ีเป็นคู่อริกันไว้ในวอร์ดเดยี วกนั เช่น รับฝากหนู ชินชิลล่าไว้
แต่อยู่ร่วมวอรด์ กับแมว ผลคือเจ้าหนูชินชิลล่าไม่เป็นอันกินอนั นอน ต่ืนตัวระแวดระวังภัย ตลอดเวลา บาง
ตวั อาจถึงกับตายได้ง่าย ๆ หรือบางคนท่ีคุยนักว่าควบคุมหมาได้เพียงแค่มองตาก็หลบ หมอบนง่ิ มิหนาซ้าฉ่ี
แตกเสียอีก ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะเล้ียงด้วยลาแข้งหรือไม้หน้าสาม สัตว์กลัวจนควบคุมการขับถ่ายไม่อยู่ก็มี
ฯลฯ ลองสงั เกตดวู า่ สัตวต์ า่ งๆ ตอบสนองโดยการแสดงออกซ่งึ ความกลัวเมื่อพบเหน็ ต่อ

❑ สตั วแพทย์

❑ เจา้ ของ

❑ คนเล้ยี ง

❑ วัตถุสิ่งของ

❑ สัตวช์ นิดหรือตัวอืน่ ๆ ฯลฯ

การกระทาใด ๆ อันก่อให้สัตว์ต้องเกิดความกลัว เก็บกด ไม่พึงพอใจสะสมอยู่ในความนึก คิดมาก
ข้ึนเร่ือย ๆ สักวันหน่ึงจะระเบิดออกมาเป็นเหตุการณ์หมากัดเจ้าของ หรือไประบายออกกับผู้อ่อนแอกว่า
เช่น กดั เด็กก็ได้ ฯลฯ สงิ่ เหลา่ นี้มาจากการละเลยและรุกรานต่อสวสั ดิภาพของสัตวท์ ้งั สิ้น

(5) อิสระในการแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ
หมากระดิกหาง หมาเห่า เหมียวคลอเคลีย ลับเล็บ ชะนีโหยหวน หนูแฮมสเตอร์กัดแทะขูดคุ้ย
นกยูงราแพนหาง ฯลฯ ล้วนเป็นพฤติกรรมตามธรรมชาติของสัตว์ท้ังสิ้น ซึ่งแต่ละพฤติกรรมล้วนมีความมุ่ง
หมายท่ีแตกต่างกันจัดเป็นการสื่อสารของสัตว์ที่คนเรารู้ความหมายบ้าง ไม่รู้บ้าง อีกทั้งยังเป็นวิถีทาง
จาเป็นในการดารงชีพของแต่ละเผ่าพันธุอ์ ีกดว้ ย ดังน้ันการกระทาใดๆของคนเราท่ีมีผลให้สัตว์ชนิดต่างๆไม่
สามารถแสดงออกตามที่มัน เคยทาตามธรรมชาติของชนิดน้ัน ๆ ย่อมก่อผลเสียข้ึนไม่มากก็น้อย เช่น
แฟชั่นการตัดหางหมาทาให้เกิด หมาหางด้วน หมาหางกุด ซ่ึงหมาเหล่านน้ี จะพูด (ส่ือสาร) กับหมาตัวอื่น
ได้ลาบาก แม้จะใช้วิธีอ่ืน ๆ อยู่บ้าง แต่ก็ไม่ชัดเจน เพราะขาดหางท่ีเป็นอวัยวะสาหรับส่ือสารด้วยท่าทาง
อยา่ วา่ แต่หมาตัวอื่น ๆ จะไม่เข้าใจ หมาเหล่าน้ีเลย คนเรายังอ่านใจมันลาบาก เพราะไม่มหี างให้ดูหรอื หมา
บางตัวเห่าเสียงดัง เห่าบ่อยครั้งจน เจ้าของทนไม่ไหวนาไปหาหมอให้ช่วยตัดสายเสียงจะได้เงียบลงหน่อย
กลายเป็นไอ้แหบ ไอ้ใบ้ ส่งเสียงพูด กับหมาด้วยกันไม่รู้เร่ืองเสียแล้ว เช่นเดียวกับบางบ้านเล้ียงชะนี พอโต
เป็นหนุ่มสาวส่งเสียงร้องดังสนั่น โดยเฉพาะเพศเมียก็ไปว่ามันอยากจะหาแต่ผัวบ้าง ทาความหนวกหูไปทั้ง
เจ้าของและคนอื่นๆ คราวน้ีร้องทีไรเป็นโดนตีหรือทาร้าย จนหงอยไม่กล้าส่งเสียงแม้แต่น้อย ฯลฯ ลอง
พิจารณาดูในสถานประกอบการของท่านเองก็ไดว้ ่า

❑ มขี องเล่น เชน่ ลูกบอล หรอื จานรอ่ น ให้หมาหรือไม่
❑ หนูตะเภา หนูแฮมเตอร์ หนูถีบจักร ฯลฯ ที่เป็นสัตว์ฟันแทะ มีสิ่งของให้ขบ แทะ
เช่น ขอนไม้ เปลอื กไม้ หรือไม่
❑ นกน้อยในกรงทอง มีคอนเกาะ ไตใ่ ห้หลายระดบั อยา่ งพอเพียงไหม
❑ ลิง คา่ ง ชะนี มกี ิ่งไม้และพน้ื ทีใ่ หห้ ้อยโหนอย่างเต็มท่หี รอื ไม่ ฯลฯ

สัตว์ที่ขาดการแสดงออกซ่ึงพฤติกรรมตามธรรมชาติตามที่ควรจะเป็นเช่นนี้ เป็นผลให้เกิด ความ

คับข้องใจ ก่อปัญหาทางจิตและพฤติกรรมตามมาในที่สุด ฉะน้ันจึงจัดเป็นเกณฑ์ท่ีสาคัญของการ พิจารณา

ถึงสวัสดิภาพสัตวอ์ ีกประการหนึง่ ทจี่ ะขาดเสียมไิ ด้

3. ปญั หาสวสั ดิภาพสัตว์ในสถานพยาบาลสตั ว์
แมว้ ่าสถานพยาบาลสตั ว์ จะดาเนินการโดยผปู้ ระกอบวิชาชพี การสัตวแพทย์ ซึ่งอยูภ่ ายใตก้ ารดแู ล
ของสตั วแพทยสภา และถูกควบคมุ ขน้ึ ทะเบียนตามพระราชบัญญตั ิสถานพยาบาลสตั ว์ โดยกรมปศสุ ัตว์ดว้ ย
ก็ตาม ยังพบว่ามีปัญหาเกิดกับผู้นาสัตว์ป่วยไปรับบริการจนเกิดการร้องเรียนผ่าน สื่อมวลชน เช่น รายการ
โทรทศั น์ หรอื ต่อสัตวแพทยสภาไปจนถึงฟ้องร้องเป็นคดีความในศาลเพ่ิมขึ้นทุกวัน ปัญหาสาคญั ท่ีมักถูกยก

มาเป็นข้อร้องเรียนฟ้องร้องก็คือ เร่ืองของ “สวัสดิภาพสัตว์” ที่ถูกบ่ันทอน ขาดไปหรือไม่เหมาะสม
ยังผลให้สัตว์ท่ีมารับบริการเจ็บไข้ได้ป่วยมากข้ึน หรือบางรายถึงกับ เสียชีวิต ดังนั้นเพ่ือให้เกิดความ
ตระหนัก ป้องกนั และแกไ้ ขมใิ ห้สัตว์ทเี่ ข้ารับการรักษาพยาบาลตาม สถานพยาบาลสัตวต์ กอยู่ในสภาวะขาด
สวสั ดภิ าพทด่ี แี ละเหมาะสม จงึ ขอยกปญั หาท่ีพบบ่อยมานาเสนอ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) สภาพกรงขงั ที่คบั แคบ เช่น หลังชนกรงเม่ือยืน สัตวห์ มนุ กลับตัวไม่ได้เพราะแคบ หรือ
มปี ริมาณสัตวท์ แ่ี ออัด ขาดพืน้ ทสี่ ว่ นตวั

(2) สภาพกรงขัง ห้องเล้ียง ห้องพัก ซึ่งทุรดโทรม เช่น กรงท่ีวัสดุก่อสร้างผุกร่อน หรือใช้
วัสดุไม่เหมาะสม ฯลฯ ขาดการบารุงรักษา เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ตัวสัตว์ เช่น ท่ิมแทง อีกท้ังยังทาให้
สัตวห์ ลบหนไี ป

(3) ความสกปรกหมักหมมด้วยขาดการดูแลทาความสะอาด ไม่มีการใช้น้ายาฆ่าเชื้อ
กาจัดกล่ิน ตลอดจนการออกแบบท่ีไม่ถูกหลักวิชา ทาให้ขาดการระบายน้า ส่ิงปฏิกูล รวมถึงอากาศท่ี
เหมาะสมจนเป็นท่ีหมักหมมของเชื้อโรคและก๊าซจากของเสียต่าง ๆ ส่งผลให้เกิดโรคของระบบทางเดิน
อาหาร ระบบทางเดินหายใจ และผวิ หนงั ฯลฯ

(4) ขาดอปุ กรณ์จาเป็นในการเป็นอยู่อย่างสบายกายแก่สัตว์ เช่น ต่ังเตียงสาหรบั หมา ห้ิง
สาหรับแมว หรือ คอนสาหรับนก ฯลฯ จงึ อาจพบว่าหมา แมว ต้องนอนกับพ้ืนกรงทีเ่ ย็นและเปียกช้นื ฯลฯ

(5) สภาวะแวดล้อมทางกายภาพอันเป็นภัยต่อความเป็นอยู่ของสัตว์ เช่น ห้องที่อบอ้าว
รอ้ นเกนิ ไป อาจทาใหส้ ัตวบ์ างชนิดท่ีไวต่อความร้อนถึงตาย (หนแู กสบ้ี หนูแฮมสเตอร์) มีเสยี งอึกทึกรบกวน
การพักผ่อนของสัตว์ป่วยตลอดเวลาหรืออยู่ในกรงท่ีถูกแสงสว่างส่องอยู่นานจนเกิดความร้อนจัดและสัตว์
ไม่อาจหลบั พกั ผอ่ นไดต้ ามปกติ ฯลฯ

(6) การฝากเลี้ยงหรือขังสัตว์ป่วยต่างชนิดกันไว้ในบริเวณเดียวกัน นับเป็นการสร้าง
ความเครียดและกดดันให้เกิดแก่สัตว์อยู่ตลอดเวลา เช่น หมาและแมวป่วยอยู่ในห้องเดียวกัน แม้จะแยก
คนละกรงก็ตาม แมวย่อมเกิดความเครียดสะสมอยู่ในจิตใจ เน่ืองจากความกลัวหมาจนกลายเป็นความ
เจบ็ ปว่ ยที่รนุ แรงขนึ้ โดยไมจ่ าเป็นหรอื เกิดภาวะหวาดระแวงตดิ ออกไปเมื่อกลบั บา้ น ฯลฯ

(7) ภาชนะให้อาหารและน้า ไมไ่ ด้รบั การทาความสะอาดอย่างถูกต้องทุกวัน รวมถึง ชนิด
ของภาชนะที่ใช้ อันไม่เหมาะสมกับชนิดของสัตว์ เช่น ใช้ขันใส่น้าให้กับกระต่ายแทนขวดดูด ผลก็คือ
กระต่ายย่าน้าเลอะเทอะหกหมดจนไม่มีน้ากิน หรือภาชนะใส่อาหารไม่เคยล้างทาความสะอาดเลย แม้ใส่
อาหารใหมล่ งไปสตั ว์ก็ไมก่ ินเพราะมคี วามสกปรก เน่าหมักหมมคา้ งอยู่

(8) ปริมาณและคุณภาพของอาหารและน้าที่ให้แก่สัตว์ป่วยหรือสัตว์ฝากเลี้ยงไม่ได้ทั้ง
คุณภาพและปริมาณด่ังท่ีควรจะเป็น เช่น ให้อาหารเม็ดเกรดต่าแก่หมาที่เคยกินอาหารเกรดสูง หรือพ
รีเมี่ยม (เพ่ือลดค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการฯ) ทาให้หมาปฏิเสธอาหารเหล่านั้น หรือความเหมาะสมของ
ชนดิ อาหารทใี่ หก้ บั สัตว์ปว่ ยในสภาวะทแี่ ตกตา่ งกนั มิไดร้ บั การตระหนักเท่าทคี่ วร ฯลฯ

(9) ละเลยซึ่งการควบคุมจัดการความเจ็บปวด หรือไม่ให้ยาระงับปวดในกรณีที่จาเป็น
เช่น หลังการผ่าตัดต่างๆ ไม่เคยให้ยาระงับความเจ็บป่วยเลย ยังผลให้สัตว์ทนทุกข์กับความเจ็บปวดท่ีเกิด

จนเปน็ ผลคือ สตั ว์พยายามกัด เกา หรือแกะแผลที่เยบ็ ไวจ้ นเสียหายหนักกวา่ เดมิ ฯลฯ
(10) ขาดการดูแล หรือเฝ้าไข้ตามท่ีควร เช่น ไม่มีเวรยามเฝ้าตรวจสัญญาณชีพของสัตว์

ป่วยวิกฤต และขาดทีมงานช่วยเหลือกู้ชีวิตสัตว์ป่วยหนักท่ีรับฝากดูแลรักษาไว้ รวมถึงอุปกรณ์และ
เวชภัณฑ์จาเพาะและจาเป็นก็ไม่เพียงพอ บางรายรับฝากสัตว์ป่วยในระยะไม่รู้สึกตัวไว้โดยเพียงแต่ขังกรง
รอข้ามคนื จงึ มาตรวจดูอีกครง้ั เมือ่ รุง่ เชา้ ซง่ึ กส็ ายไปเสียแล้ว ฯลฯ

(11) การทาศัลยกรรมท่ีไม่จาเป็นต่อการดารงชีพของสัตว์และไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม
ปัจจุบัน เช่น การตัดหู ตัดหาง เพ่ือความสวยงาม ตามแฟชั่น (ในอดีต) ตอลดจนการตัดสายเสียง เพื่อลด
เสียงน่าราคาญ และถอดเล็บ (แมว) เพื่อมิให้ทาลายข้าวของ ฯลฯ ซ่ึงล้วนเป็นการริดรอนรบกวนต่อสวัสดิ
ภาพสตั ว์ทง้ั สนิ้

(12) การใช้บุคลากรท่ีขาดความรู้ความสามารถ และหรือขาดคุณสมบัติในการ ประกอบ
วิชาชีพการสัตวแพทย์มาเป็นผู้ให้บริการทางการสัตวแพทย์แก่สัตว์ป่วย เช่น ว่าจ้างให้ผู้ท่ีมิใช่สัตวแพทย์
(หมอเถ่ือน) มาดาเนินการรักษาสัตว์ ฯลฯ น่ีคือตัวอย่างปัญหาท่ีพบบ่อยด้านสวัสดิภาพสัตว์ใน
สถานพยาบาลสัตว์ ซึ่งสามารถป้องกันมิให้เกิดขึ้นได้ ถ้าผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ตระหนักและ
ยึดถือปฏิบตั ิตามหลักสวสั ดิภาพสตั วอ์ ย่างม่นั คง

ใน ปั จจุบั น ผู้บ ริโภ คท่ั วโลกต่างให้ ความสน ใจต่อความป ลอดภั ยของอาห าร (Food
Safety) โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศพัฒนา อย่าง สหภาพยุโรป (EU) ท่ีมีความเข้มงวดในการนาเข้า
เน้ือสัตว์จากต่างประเทศ โดยได้กาหนดระเบียบการเลี้ยงสัตว์ตามหลักสวัสดิภาพสัตว์ หรือ Animal
Welfare เพื่อให้ได้เน้ือสัตว์ที่มีคุณภาพดีปลอดภัยต่อการบริโภค ปราศจากการทรมานสัตว์ และเป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อม โดยหลักสวัสดิภาพสัตว์ หรือ อิสรภาพ 5 ประการ (Five Freedoms of Animals) ท่ี
สหภาพยโุ รปเป็นผู้ประกาศ นั้นประกอบดว้ ย

(1) สัตว์ที่เล้ียงมีอิสระจากความหิว กระหาย และการให้อาหารท่ีไม่ถูกต้อง (Freedom
from hungry and thirst)

(2) มีอิสระจากความไมส่ ะดวกสบายอันเนอื่ งมาจากสภาวะแวดล้อม (Freedom from
discomfort)

(3) มอี ิสระจากความเจบ็ ปวด การบาดเจ็บ หรอื เปน็ โรค (Freedom from pain, injury
and disease) โดยมีระบบการป้องกันโรคที่ดี หรือ การจับไก่ในแต่ละครั้งเป็นไปอย่างนุ่มนวล การใช้
อปุ กรณอ์ ยา่ งเหมาะสม พ้ืนที่การเล้ยี งทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของสตั ว์

(4) มีอิสระจากความกลัวและความทุกข์ทรมาน (Freedom from fear and distress)
ด้วยสภาวะการเลย้ี งดูทไ่ี มท่ าให้เกิดความทุกข์ทรมานทางจิตใจ เช่น ระหว่างการจับไก่ก่อนการเข้าโรงเชือด

(5) มีอิสระในการแสดงพฤติกรรมตามปกติของสัตว์ (Freedom to express normal
behavior) คือมีอิสระการเป็นอยู่อย่างธรรมชาติ และมีความสบายตามชนิดของสัตว์น้ัน ๆ และจะ
ครอบคลมุ ในทุกส่วนของการเล้ียงสัตว์

1. ตั้งแต่การเลี้ยงในฟาร์ม ซ่ึงต้องให้น้าและอาหารอย่างพอเพียงตลอดเวลา พื้นท่ีอยู่
อาศัยของสัตว์ไม่หนาแน่น สามารถเคล่ือนไหวได้อย่างอิสระ มีสัตวแพทย์และสัตวบาลดูแลสุขภาพสัตว์
อย่างสม่าเสมอ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรือน เช่น อุณหภูมิ ความชื้น การระบายอากาศ ต้องเหมาะสม
และเพียงพอต่อการดารงชพี ของสตั วต์ ลอดเวลา

2. การขนส่ง ภาชนะท่ีใช้ในการขนส่งสัตว์ จะต้องดีและเหมาะสม เช่น ไม่ก่อให้เกิด
อันตรายขณะขนส่ง, ความหนาแน่นของสัตวใ์ นขณะขนส่งจะต้องไมม่ ากเกินกว่าที่กาหนด 3.โรงงานแปรรูป
เมื่อรถขนส่งไก่มาถึงโรงงาน จะต้องจอดพักในบริเวณที่เหมาะสมและสบายสาหรับตัวสัตว์ ท้ังนี้เพื่อลด
ความเครยี ดของสัตว์ ทุกขน้ั ตอนการแปรรูปต้องเปน็ ไปอย่างนุ่มนวลโดยเจ้าหน้าทที่ ่ีมคี วามชานาญและผา่ น
การฝกึ อบรมดา้ นสวัสดิภาพสตั ว์

หลักสวัสดิภาพสัตว์ 5 ประการน้ี ไม่เพียงแต่จะช่วยให้ได้เน้ือสัตว์ท่ีดีมีคุณภาพ ปลอดภัย
ปลอดสาร และปราศจากการทรมานสัตว์แล้ว ยังถือเป็นการช่วยตอกย้าศักยภาพการส่งออกเนื้อสัตว์ของ
ไทยให้ทัดเทียมนานาประเทศท่ัวโลก และสามารถสร้างความเช่ือม่ันแกผ่ ู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ เพ่ือ
การกา้ วไปสูก่ ารเปน็ “ครัวของโลก” หรอื “Kitchen Of The World” ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน

2. มาตรฐานอาหารปลอดภยั
การเกิดวิกฤตการณ์ของโรคและการเจ็บป่วยในมนุษย์ที่เกดิ ข้ึนจากสัตวท์ ่ีใช้บริโภคเป็นอาหาร ได้มี

รายงานบ่อยคร้ังขึ้นและส่งผลกระทบต่อประชากรในวงกว้างมากขึ้น จากเดิมที่เป็นเพียงปัญหาระดับ
ทอ้ งถิ่นก็กลายเป็นปญั หาระดับประเทศจนถึงระดับทวีป เช่น การติดเชื้อ Nipah virus ในสุกรของประเทศ
มาเลเซยี การติดเช้อื โรคแอนแทรกซ์ในสตั ว์เคี้ยวเอื้องในบางพ้ืนท่ีของประเทศไทยและประเทศออสเตรเลีย
การปนเปื้อนของน้านมในประเทศญี่ปุ่น การเกิดการระบาดของโรควัวบ้า (BSE) ในประเทศอังกฤษและ
กลุ่มประเทศในทวีปยุโรป การปนเป้ือนของสารไดอ็อกซินในอาหารคนและสัตว์ในประเทศเบลเย่ียม
การติดเช้อื E.coli ตลอดจนปญั หาเชอ้ื ด้ือยาต้านจุลชพี ทีร่ ะบาดไปทว่ั โลก เป็นตน้

วิกฤตการณ์ต่างท่ีเกิดข้ึนจึงมีส่วนทาให้เรื่องของอาหารปลอดภัยได้กลายเป็นเรื่องท่ีมีความสาคัญ
ในระดับสากล เนอ่ื งจาก

1. ประชากรมีการศึกษาดีขึ้นและตระหนักถึงความสาคัญของอาหารในการดารงชวี ิต
2. อาหารทค่ี ้าขายส่งออกตา่ งประเทศถูกกาหนดให้เป็น “ผลติ ภัณฑ์ปลอดภยั ”
3. ข้อกาหนดที่ฝ่ายผู้ซื้อที่มีอานาจในการต่อรองจะบังคับใช้เป็นมาตรฐานอาหารปลอดภัยนั้น จะ
ถกู ปรบั ใหม้ คี วามคลา้ ยคลงึ กนั ในที่สุด
4. บริษัทที่ค้าขายส่งออกต่างประเทศมีศักยภาพมากขึ้นท่ีจะสามารถก้าวไปเป็นผู้ค้ารายใหญ่ของ
โลก

5. ทุกประเทศต้องการระบบการผลติ ที่มีความปลอดภัยที่เชื่อถอื ไดท้ งั้ ต่อผูบ้ ริโภคและส่ิงแวดล้อม

6. ประชากรและผลติ ภัณฑ์อาหารมีการขนสง่ ไปทัว่ โลกได้อยา่ งรวดเรว็

1. การกาหนดมาตรฐานอาหารปลอดภัย
จากการที่ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีประชากรมีอาชีพพ้ืนฐานในทางการเกษตร และผลผลิตจาก
ก า ร เก ษ ต ร ที่ ได้ ส่ ว น ให ญ่ พ อ เพี ย ง กั บ ก า ร บ ริ โภ ค ใน ป ร ะ เท ศ แ ล ะ ติ ด อั น ดั บ ป ร ะ เท ศ ผู้ ส่ ง อ อ ก ร า ย
ใหญ่ 1 ใน 10 ของประเทศท่ีส่งออกอาหารไปเลี้ยงประชากรโลก และตลาดส่งออกของประเทศไทยส่วน
ใหญ่คอื ประเทศสหรฐั อเมรกิ า กลุ่มประเทศยุโรปและญี่ปุน่ โดยเฉพาะใน 2-3 ปีท่ีผ่านมา การเกิดโรควัวบ้า
ระบาดจากโคมายงั คน และการเกิดโรคปากและเท้าเปอื ยระบาดในสกุ รและโค รวมท้งั โรคหวัดนกในไก่จาก
ประเทศทเ่ี ป็นคู่แขง่ ทางการคา้ ย่งิ ส่งผลให้การสง่ ออกเน้ือไกม่ ีลู่ทางที่สดใสมากขึ้น ในปี 2542 ประเทศไทย
ได้ส่งออกเนื้อไก่แช่แข็ง ปริมาณ 216,105 ตัน คิดเป็นมูลค่า 15,135 ล้านบาทและเป็นอันดับที่ 4 ของ
สนิ ค้าอาหารท่ไี ทยสง่ ออกมากที่สุด
ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นหนงึ่ ในผู้ผลติ อาหารรายใหญ่ของโลก จงึ จาเป็นจะตอ้ งมกี ารปรบั ตัวตาม
มาตรฐานใหม่ๆ ทีไ่ ด้กาหนดขน้ึ สาหรับมาตรฐานท่ีผู้ประกอบการในไทยจะตอ้ งปรบั ตัวแบ่งเป็น 2 สว่ น คือ
ระดับผู้ประกอบการภายในประเทศ และระดับผู้ประกอบการเพ่ือการส่งออก หากเป็นผู้ประกอบการ
ภายในประเทศ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในกระทรวงเกษตร เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
ได้กาหนดมาตรฐานการผลิตสินค้าการเกษตร GAP (Good Agricultural Practice) รวมท้ังประกาศ
กระทรวงสาธารณสุขฉบับท่ี 193 พ.ศ. 2543 เร่ืองวิธีการผลิต เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในการผลิตและการเก็บ
รั ก ษ า อ า ห า ร GMP (Good Manufacturing Practice) ที่ ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร อ า ห า ร ร ะ ห ว่ า ง
ประเทศ (Codex Alimentarius Commission) ได้ประกาศใช้เป็นมาตรฐานด้านสุขอนามัยสากล แต่ใน
ระยะแรกน้ีระเบียบประกาศกระทรวงสาธารณสุขของไทยได้มีการปรับใช้ให้ยืดหยุ่นขึ้น ประกาศฉบับน้ี
กาหนดให้ผู้ประกอบการผลิตอาหาร 57 ประเภทยึดถือปฏิบัติและจะต้องติดฉลากรับรองด้วย โดยผลผลิต
จากฟาร์มเล้ียงสัตว์นั้นได้แก่ นมโคและผลิตภัณฑ์นมรูปแบบต่างๆ ผลิตภัณฑ์จากเน้ือสัตว์และอาหารแช่
เยือกแข็ง ซ่ึงระเบียบน้ีให้ใช้บังคับผู้ประกอบการรายใหม่ตั้งแต่กรกฎาคม 2544 เป็นต้นไปและผ่อนผัน
ให้กับผู้ประกอบการรายเก่าจนถึงปี 2546 ดังน้ันเม่ือถึงเวลาดังกล่าวโรงงานอุตสาหกรรมอาหารท้ังระบบ
ของไทยกว่า 12,000 แห่ง จะต้องปรับตัวเปล่ียนแปลงเข้าสู่มาตรฐานสุ ขลักษณะท่ีดีในการผลิต
อาหาร (GMP) สาหรับผู้ประกอบการเพื่อการส่งออก นอกเหนือจากจะร้องเร่งพัฒนาระบบการผลิตให้
เข้าสู่มาตรฐาน GMP แล้ว ยังต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดของประเทศคู่ค้าด้วย เช่น มาตรฐาน Hazard
Analysis Critical Control Point (HACCP), International System Organization (ISO) หรือ Total
Quality Management (TQM) นอกจากนี้ในสหภาพยุโรปได้มีการก่อตั้งคณะกรรมาธิการยุโรปเพื่อออก
สมุดปกขาวซ่ึงเป็นเอกสารแสดงข้อเสนอเกี่ยวกับแนวคิดในการปรับปรุงด้านความปลอดภัยอาหารของ
สหภาพยุโรป โดยมีการแก้ไขระเบียบเกี่ยวกับสุขอนามัยอาหารให้ครอบคลุมทุกกระบวนการในห่วงโซ่
อาหาร ต้ังแต่การเตรียมการเพาะปลูก การแปรรูป และการขนสง่ ถึงมือผู้บริโภค ทาให้การควบคมุ คุณภาพ
น้ันไม่ได้ทาแค่ในโรงงานการแปรรูปเหมือนแต่ก่อน และมาตรการนี้จะสามารถตรวจสอบย้อนหลังไปถึง
ผผู้ ลิตวัตถุดบิ ปอ้ นโรงงานไดด้ ้วย

ดังนั้นในผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์จึงจาเป็นที่จะต้องรู้จักการจัดการ
ส่ิงแวดล้อมและการสุขาภิบาลสัตว์เล้ียงตามหลักสุขศาสตร์อย่างถูกต้องทั้งกระบวนการผลิต ตั้งแต่การนา
สัตว์เลี้ยงเข้าฟาร์ม จนถึงการเคล่ือนย้ายสัตว์ออกจากฟาร์ม เช่น เร่ืองทาเลท่ีต้ังฟาร์ม การจัดการโรงเรือน
และสิ่งแวดล้อม การให้อาหารสัตว์ การป้องกันและบาบัดโรค และการบาบัดของเสียในฟาร์ม โดยจะต้อง
รักษามาตรฐานการผลิตให้ได้ตามที่ผู้บริโภคและกฎหมายกาหนด สาหรับมาตรฐานที่สาคัญเก่ียวข้องกับ
การเล้ียงสัตว์ในประเทศไทยท่ีควรรู้จัก ได้แก่ มาตรฐานฟาร์ม การควบคุมการใช้ยาในมาตรฐานฟาร์ม
ปศสุ ัตว์ และข้อกาหนดการควบคมุ การใช้ยาสาหรับสัตว์ และสาหรับผู้ส่งออกก็จะตอ้ งศึกษาและปฏิบัตติ าม
ระเบียบข้อบังคับของประเทศคู่ค้าด้วย ซึ่งโครงการประกันคุณภาพนั้นมีหลายระบบ โดยมีองค์กรและ
ประเทศทเ่ี ก่ยี วข้องเป็นผูก้ าหนดมาตรฐาน ดงั เชน่ ตารางที่ 9.1

ตารางท่ี 9.1 มาตรฐานทใ่ี ช้ในการผลติ ผู้กาหนดมาตรฐานและการบงั คับใช้

มาตรฐานที่ใช้ในการผลติ ผกู้ าหนดมาตรฐาน การบังคับใช้
GAP หน่วยงานตา่ งๆ กระทรวงเกษตรฯ ผปู้ ระกอบการผลติ สินค้าเกษตรในประเทศ
GAP กระทรวงสาธารณสขุ ผู้ประกอบการโรงงานอาหารในประเทศ
Codex Alimentarius ผปู้ ระกอบการโรงงานอาหารสง่ ออก
HACCP Codex Alimentarius ผปู้ ระกอบการโรงงานอาหาร
สง่ ออก (สหรัฐอเมริกา กลมุ่ ประเทศยุโรป
ISO Codex Alimentarius ญี่ปุน่ ออสเตรเลยี นิวซแี ลนด์)
SQF2000 Codex Alimentarius ผปู้ ระกอบการโรงงานอาหารสง่ ออก
ผปู้ ระกอบการโรงงานอาหารส่งออก
Animal Welfare กลุม่ ประเทศสหภาพยโุ รป สหรฐั อเมรกิ า
มาตรฐานสนิ ค้า GMOs กลมุ่ ประเทศสหภาพยโุ รปบาง ฟาร์มและสถานท่ีเลีย้ งสตั ว์
ประเทศ ผปู้ ระกอบการโรงงานอาหารสัตว์

2. มาตรฐานสากลด้านอาหารปลอดภยั
1) Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP)
เป็นมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยอาหาร ซึ่งประกอบด้วยการวินิจฉัยและประเมิน
อนั ตรายของอาหารท่อี าจจะเกดิ ขึ้นกับผู้บรโิ ภค ต้ังแต่วัตถุดบิ กระบวนการผลิต การขนสง่ จนกระทั่งถงึ มือ
ผู้บริโภค รวมทั้งสร้างระบบการควบคุม เพ่ือขจัดหรือลดสาเหตุที่จะทาให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคด้วย
อันตรายทีเ่ กิดขน้ึ สามารถแยกไดเ้ ปน็ 3 กลุม่ คือ

1. อันตรายชีวภาพ (Biological Hazard) ได้แก่อันตรายที่เกิดจากการปนเป้ือนของ
จุลินทรยี ช์ นดิ ตา่ งๆ ในอาหาร

2. อนั ตรายเคมี (Chemical Hazard) ได้แก่อันตรายท่ีเกิดจากการใช้สารเคมีเติมลงไปใน
กระบวนการผลิตอาหาร เชน่ การใช้ยาฆ่าแมลงในการเพาะปลูก การใช้ยาปฏิชวี นะในการเล้ยี งสัตว์ การใช้
สารเคมีเพ่ือช่วยในการผลิต เช่น การใส่สี การเติมสารกันบูด การเติมสารกันหืน นอกจากน้ียังอาจเกิดการ
ปนเป้ือนจากน้ายาทาความสะอาด ยาฆ่าเชอื้ และ สารเคมีท่ใี ช้ในการบารุงรกั ษาเคร่อื งจกั ร เปน็ ต้น

3. อนั ตรายกายภาพ (Physical Hazard) ได้แก่อันตรายจากการปนเป้ือนของวตั ถุหรือวัสดุท่ีไม่ใช่
องค์ประกอบของอาหารและเป็นส่ิงแปลกปลอมในอาหารที่เป็นโทษต่อสุขภาพของผู้บริโภค เช่น เศษแก้ว
หนิ เศษไม้ โลหะ เปน็ ตน้

นอกจากน้ีการวิเคราะห์อันตรายยังถือเป็นจุดสาคัญท่ีสุดจุดหน่ึงในกระบวนการของ HACCP ซ่ึง
จะต้องพิจารณาปจั จัยอ่ืนๆ ดังนี้

• โอกาสทจ่ี ะเกิดอันตรายและความรุนแรงของผลเสียทีเ่ กิดขึ้นซ่งึ มผี ลตอ่ สุขภาพ
• การประเมนิ ผลเชงิ คุณภาพและ/ หรือเชิงปริมาณของการเกิดอนั ตราย
• การลดชวี ิตหรือการเพมิ่ จานวนประชากรของจุลนิ ทรียท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง
• การผลิตหรือความคงทนอยู่ในอาหารของสารพิษที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต วัตถุเคมีและกายภาพ
• สภาวะทีเ่ ออื้ อานวยให้เกดิ ปัจจยั ดงั กล่าวขา้ งตน้

ตัวอย่างที่นามาใช้ เชน่ ในโรงฆา่ สัตวแ์ ละโรงงานแปรรปู ผลผลิตจากสตั ว์ เป็นต้น

ตารางท่ี 9.2 ความชุกของเช้ือ Salmonella spp. ในผลิตเน้ือสัตว์ที่เปล่ียนแปลงหลังจากการนา
ระบบ HACCP มาใช้ควบคุมในการผลิต

ชนดิ ผลติ ภณั ฑ์ Pre – HACCP (%) Post – HACCP (%)
10.9
เนื้อไกก่ ระทง 20.0 4.4
5.8
เน้อื สกุ ร 8,7 34.6

เน้ือวัวบด 7.5

เน้อื ไก่งวงบด 49.9

ทมี่ า: www.fsis.usda.gov/oa/bub/fsisact2000.htm

2) International Organization for Standardization (ISO)
เป็นข้อตกลงในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิกว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมให้เป็นอันหน่ึง
อันเดียวกัน เพ่ือประโยชน์ทางการค้า หรือให้เกิดระบบมาตรฐานของโลกที่สมบูรณ์ย่ิงข้ึนไปในอนาคต
ระบบนี้แยกไดเ้ ปน็ 4 กลุม่ คอื

2.1. มาตรฐานระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ หรอื ISO 9000 series
มจี ุดประสงค์หลักในการจดั การระบบในองค์กร ทาใหก้ ารบริหารงานมีคุณภาพ มีการทบทวนและ
ปรับปรุงคุณภาพบนพื้นฐานความพอใจของลูกค้า ทาให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ใน
ผปู้ ระกอบการและผู้ใหบ้ ริการตา่ งๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจรา้ นคา้ และหนว่ ยงานของรัฐ ตลอดจน
ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์ มาตรการนี้ถูกนามาใช้เพ่ือสร้างความเสมอภาคทางการค้าและสร้างความยอมรับ
ร่วมกนั ในการซอ้ื ขาย
2.2. มาตรฐานระบบการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม หรอื ISO 14000 series
มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ห ลั ก ใ น ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า แ ล ะ แ ส ว ง ห า ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ที่ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ
สง่ิ แวดลอ้ ม ลดความสิ้นเปลืองของการใช้พลงั งานและทรัพยากร และการนาทรัพยากรกลับมาหมนุ เวียนใช้
เท่าที่ทาได้ มาตรฐานนี้ไม่ได้มีการบังคับใช้ แต่มีแนวโน้มว่าจะมกี ารนามาใช้ปฏิบัตเิ ป็นมาตรการกีดกันทาง
การคา้
2.3. มาตรฐานความปลอดภยั และอาชวี อนามัย หรือ ISO 18000 series
มีจุดประสงค์เพื่อสร้างมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ โดย
ประเมินความเสี่ยงในการทางานและหาวิธีป้องกันอุบตั ิภัยท่ีจะเกิดข้ึน มาตรฐานน้ีไม่ได้มกี ารบังคับใช้ แต่มี
แนวโน้มว่าจะมีการนามาใช้ปฏบิ ัติเป็นมาตรการกีดกันทางการคา้ เช่นกนั เช่น กดี กันสินค้าที่มาจากโรงงาน
ท่ไี ม่ไดก้ ่อสร้างตามแบบมาตรฐาน ใชแ้ รงงานเด็ก ไม่มรี ะบบประกันสุขภาพ เป็นตน้

3) Agreement on Sanitary and Phytosanitary Measure (SPS Agreement)
เป็นข้อตกลงทางการค้าในรอบอุรุกวัยของ General Agreement on Tariffs and Trade
(GATT) และได้จัดต้ังองค์กรค้าของโลกหรือ World Trade Organizaion ซ่ึงเป็นผู้ดูแลเรื่องนี้โดยเฉพาะ
ขอ้ ตกลงนม้ี ีวตั ถุประสงค์คอื
1. เพื่อคุ้มครองชีวิตของคนและสัตว์จากความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการปนเปื้อนของ Additives,
Contaminants, Toxins หรือ โรคสัตว์ท่ีเกิดจากเชือ้ จลุ นิ ทรีย์ในอาหาร
2. เพอื่ คุ้มครองชีวติ คน จากพืชและสัตวท์ เ่ี ป็นพาหะของโรคติดต่อระหวา่ งสตั วแ์ ละคน
3. เพอ่ื คมุ้ ครองชวี ติ สตั วแ์ ละพืชจากโรคระบาดหรอื โรคท่มี เี ชือ้ จุลนิ ทรีย์เป็นสาเหตุ
4. เพ่ือป้องกันหรือลดความสูญเสียที่เกิดจากการนาเข้าซึ่งสัตว์และพืชจากต่างประเทศที่มีโรค
ระบาดอยู่ข้อตกลงน้ีไม่ครอบคลุมถึงมาตรการป้องกันส่ิงแวดล้อมและสวัสดิภาพของสัตว์ แต่เน้นความ
รบั ผิดชอบเฉพาะความปลอดภัยของอาหารและมาตรการป้องกันสุขภาพของสัตว์และพืชที่มีผลกระทบต่อ
การค้าเท่านน้ั

4) Total Quality Management เป็นระบบทวี่ ัตถุประสงค์หลกั 7 ประการ คือ
1. ระบบการนา (Leadership System)
2. ธรรมวธิ ี (The Guiding Principles)
3. แนวคิด (The Concepts)

4. ระบบบริหารคณุ ภาพ (Quality Management System)
5. เครอื่ งมือและเทคนิคตา่ งๆ (Tools and Techniques)
6. การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resources Management)
7. การวิจัยและพฒั นาเทคโนโลยี (Technology Research and Developments)

เป็นระบบบรหิ ารบคุ คลทกุ ระดับ ในทกุ ข้ันตอนการผลิต ควบคู่ไปกบั การใชเ้ ครอ่ื งมือควบคมุ
คุณภาพและการส่งเสรมิ การศึกษา การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี

5) มาตรการดา้ นการค้มุ ครองสวัสดภิ าพของสตั ว์ (Animal Welfare)
เป็นมาตรการที่มุ้งเน้นด้านการคุ้มครองสัตว์ให้มีความเป็นอยู่ปกติ ปราศจากการรบกวน ทรมาน
หรือทารณุ สตั ว์ ตง้ั แตก่ ารเล้ียงดูไปจนถงึ สง่ สตั ว์เขา้ โรงฆ่าสัตว์ เชน่ กาหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลย้ี งสัตว์
ไม่เล้ียงสัตว์หนาแน่นเกินไป มีการจัดการส่ิงแวดล้อมในสถานท่ีเลี้ยงสัตว์ เช่น อุณหภูมิ การระบายอากาศ
ตลอดจนให้แสงสว่างตามที่สัตว์แต่ละชนิดต้องการ มีอุปกรณ์ให้อาหารและน้าอย่างพอเพียง ไม่ปล่อยสัตว์
ให้ขาดอาหาร มีการป้องกันและรักษาเม่ือสัตว์บาดเจ็บหรือเจ็บป่วย มีการเคลื่อนย้ายขนส่งสัตว์โดยไม่
ทรมานสตั ว์ มีการฆา่ สตั วโ์ ดยไม่ทารุณและทรมาน

6) มาตรการเกี่ยวกับสินค้าที่มีการใช้วัตถุดิบดัดแปลงทางพันธุกรรม (Genetically
modified organisms หรือ GMOs)

เป็นมาตรการเพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยทางชีวภาพในด้านอาหาร ในอุตสาหกรรมการเล้ียงสัตว์
จะเก่ียวข้องกับโรงงานผลิตอาหารสัตว์ ซ่ึงจะมีข้อกาหนดการใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ท่ีมีการดัดแปลงทาง
พันธุกรรม เช่น กากถ่ัวเหลือง ข้าวโพด ฯลฯ ท่ีอาจมีผลตกค้างในผลิตภัณฑ์สัตว์ โดยทั่วไปแล้วจะ
กาหนดใหม้ ีส่วนประกอบที่เปน็ วตั ถุดบิ GMO ได้ไม่เกิน 1-5 % ข้ึนกับความเขม้ งวดของแต่ละประเทศ


Click to View FlipBook Version