The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khamdang12102519, 2019-06-10 04:02:46

Unit 6

Unit 6

หนว่ ยที่ 6

ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟาร์มสตั ว์เล้ียง

ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสัตวศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

หนว่ ยท่ี 6

ความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์มสัตวเ์ ลีย้ ง

หัวข้อเรื่อง
1. ความสาคัญของความปลอดภยั ทางชีวภาพในฟาร์มสตั วเ์ ลี้ยง
2. ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟารม์ สตั ว์เลี้ยง
3. แนวทางการปฏบิ ัติตามหลักการความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟารม์ สตั วเ์ ลย้ี ง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายความสาคญั ของความปลอดภัยทางชีวภาพในฟารม์ สตั ว์เลี้ยงได้
2. อธบิ ายถงึ หลกั ความปลอดภัยทางชวี ภาพในฟารม์ สตั วเ์ ลี้ยงได้
3. บอกแนวทางการปฏิบัตติ ามหลกั ความปลอดภยั ทางชวี ภาพในฟาร์มสตั วเ์ ล้ียงได้

เน้ือหาการสอน
1. ความหมายความปลอดภยั ทางชีวภาพ

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) หมายถึง ระบบการจัดการและมาตรการทางกายภาพ
ที่ดาเนินการเพ่ือป้องกันควบคุมโรค โดยการลดความเส่ียงของการนาเชื้อโรคเข้ามาสู่ฟาร์ม หรือกระจาย
ของเชื้อโรคภายในและออกจากฟาร์ม รวมถงึ การแพรก่ ระจายของโรคในประชากรสัตว์

2. ความสาคัญของความปลอดภัยทางชีวภาพ
ความปลอดภัยทางชีวภาพในการเล้ียงสัตว์ เป็นการป้องกันควบคุมโรคโดยการจัดการและดาเนิน

มาตรการเฉพาะ เพื่อลดความเสี่ยงของการน าโรคเข้าสู่ฟาร์ม หรือกระจายโรคออกจากฟาร์ม ซ่ึงมี
ความสาคัญต่อระบบการ เลี้ยงสัตว์ปีกในปัจจุบัน เน่ืองมาจากโรคระบาดใหม่และเชื้อก่อโรคที่มีความ
รุนแรงขึน้ เช่น โรคไข้หวัดนก และโรคนวิ คาสเซิล ซึ่งสรา้ งความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจ และความเสยี หายต่อ
ระบบการเลย้ี งสตั วป์ กี จงึ ต้อง มกี ารน าหลักการความปลอดภัยทางชวี ภาพมาใช้เปน็ พืน้ ฐานสาคัญของการ
จัดการฟาร์มสัตว์ปีก ตาม ข้อกาหนดด้านสุขภาพสัตว์บกขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ
(World Organisation for Animal Health; OIE) คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรจึงเห็นควรจัดทา
มาตรฐานสินค้าเกษตร เร่ือง หลักการความปลอดภัยทางชีวภาพสาหรับฟารม์ สตั ว์ปีก ทม่ี ีความถูกต้องตาม
หลักวิชาการ และสอดคล้อง กับมาตรฐาน OIE และมาตรฐานอาเซยี น (ASEAN) เพื่อให้ผู้ทีเ่ ก่ียวข้องใช้เป็น
แนวทางในการดาเนนิ การ

3. หลกั การความปลอดภัยทางชีวภาพในฟารม์ สัตวป์ ีก
ความปลอดภัยทางชีวภาพประกอบด้วย 3 ส่วนทีส่ าคัญ คือ การแยกสัตว์ (isolation) การควบคุม

การสญั จร (traffic control) และสขุ อนามยั (sanitation)
3.1 การแยกสัตว์ คือ การเลี้ยงสัตว์ในสถานที่ที่มีการควบคุมสภาวะแวดล้อม มีร้ัวสาหรับป้องกัน

สัตว์เข้า และออกจากฟาร์ม รวมถึงการเลี้ยงดูท่ีมีการแยกกลุ่มสัตว์ท่ีมีอายุต่างกัน การน าสัตว์เข้ามาเลี้ยง
และนา ออกพร้อมกันหมด (all-in/all-out) เพื่อให้มีเวลาในการทาความสะอาดและฆ่าเชื้อ เป็นการตัด
วงจรของ เชื้อท่ีจะกอ่ โรคภายในฟารม์

3.2 การควบคุมการสญั จร ซ่งึ ครอบคลุมท้ังเสน้ ทางไปสู่ฟารม์ และภายในฟารม์ เพื่อป้องกันเชอ้ื โรค
เข้า ส่ฟู าร์ม แพร่กระจายภายในบรเิ วณฟารม์ หรือออกจากฟาร์ม

3.3 สุขอนามัย คือ การทาความสะอาดและฆ่าเชื้อ สิ่งของ บุคลากร เคร่ืองมือท่ีจะเข้ามายังฟาร์ม
และ ความสะอาดของบคุ ลากรทีอ่ ยูใ่ นฟาร์มรวมถงึ การปฏิบัติตา่ งๆ เพื่อลดโอกาสการเกดิ โรคภายในฟารม์

4. แนวปฏิบตั ติ ามหลกั การความปลอดภยั ทางชีวภาพสาหรบั ฟารม์ สัตว์ปีก
แนวปฏิบัติในท่ีนี้จะรวมถึงมาตรการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น ลักษณะท่ีต้ังฟาร์ม ส่ิงป้องกันทาง

กายภาพ การใช้อุปกรณ์และผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อ ข้ันตอนการปฏิบัติสาหรับบุคลากร และการปฏิบัติงานอื่นๆ
ของฟารม์ ขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ทางชีวภาพมี 2 ประเภทคอื

- ขั้นตอนการดาเนนิ งานในภาวะปกติ (operational procedures)
- ขั้นตอนการดาเนินงานในภาวะฉุกเฉินที่มีการระบาดของโรคสัตว์ปีก (emergency
procedures)

4.1 ข้ันตอนการดาเนินงานในภาวะปกติ
การป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจายเข้าสู่โรงเรือน และลดความเส่ียงของการแพร่กระจายโรค
ระหวา่ งฟารม์ จะลดความสูญเสยี จากการเกิดโรคภายในฟาร์ม และชว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพในการป้องกันโรค
ให้แก่ อุตสาหกรรมการเล้ียงสัตว์ปีกในภาพรวมของประเทศ ผู้เลี้ยงจึงควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปน้ี
อยา่ งสม่าเสมอ

4.1.1 มาตรการสาหรบั ฟาร์ม
(1) ฟาร์มควรต้ังในพ้ืนที่ท่ีมีการระบายน้าได้ดี และมีระยะทางห่างพอสมควรระหว่าง
ฟารม์ สัตวป์ กี สถานท่ฟี กั ไขส่ ัตวป์ กี และโรงงานอาหารสตั ว์
(2) มีรั้วรอบฟาร์มท่ีสามารถป้องกันสัตว์และบคุ คลภายนอกท่ีจะเขา้ มาในฟาร์ม ประตเู ข้า
และออกฟาร์ม ต้องปดิ ตลอดเวลา และมีปา้ ยบง่ ชี้ชัดเจนเพอ่ื หา้ มบุคคลทไ่ี มไ่ ด้รบั อนุญาตเข้ามาในฟาร์ม
(3) ควรจัดสถานที่จอดยานพาหนะไว้ภายนอกฟารม์ หรือให้ห่างจากบริเวณเลี้ยงสัตว์ โดย
ยานพาหนะที่ ไม่ได้ผ่านการฆ่าเช้ือควรจอดห่างจากโรงเรือนอย่างน้อย 30 เมตร (4) ประตูทางเข้าฟาร์มมี
บริเวณสาหรับฆ่าเช้ือยานพาหนะสาหรับผู้เข้าเย่ียมฟาร์มและบุคลากรที่ทางานใน ฟาร์มโดยเป็นพ้ืนที่
แข็งแรง ทนทาน และสามารถทาความสะอาดได้ เชน่ คอนกรีต หรือวัสดทุ ่ีมีคณุ สมบัติ ใกล้เคียง สาหรับให้

ยานพาหนะจอดพักเพื่อทาความสะอาดและฆ่าเชื้อ และควรมีป้ายบ่งชี้บริเวณสาหรับ ฆ่าเช้ือยานพาหนะ
ตดิ ไว้บรเิ วณทางเขา้

(5) มีห้องอาบน้า ห้องเปล่ียนเสื้อผ้า และมีการจัดเตรียมเสื้อผ้าและรองเท้าท่ีสะอาด
สาหรับใช้เฉพาะใน ฟาร์มไว้ให้เปล่ียน หลังจากการอาบน้าทาความสะอาดร่างกายก่อนท่ีจะเข้าพื้นที่เลี้ยง
สตั วป์ ีก

(6) ควรทาความสะอาดรองเท้าก่อนเข้าโรงเรือน โดยมีอุปกรณ์ทาความสะอาด เช่น
แปรงและน้าสะอาด เพื่อใช้ในการชะล้างทาความสะอาดสิ่งสกปรกออกจากรองเท้า และมีอ่างจุ่มเท้าที่มี
น้ายาฆ่าเชือ้ ท่เี หมาะสม อยู่บริเวณทางเขา้

- อ่างจุ่มเท้าต้องมีขนาดใหญ่พอสาหรับการจุ่มรองเท้าและควรมีฝาปิดหรือวางไว้ในที่ร่ม
- ใชน้ า้ ยาฆ่าเชือ้ ทีเ่ หมาะสม และเปล่ยี นน้ายาฆา่ เชือ้ ตามกาหนด
- ในกรณีผู้เข้าเย่ียมฟาร์มที่ไม่มีการเปล่ียนรองเท้า ให้ห่อหุ้มรองเท้าเพื่อป้องกันการ
ปนเป้ือนกอ่ นที่จะเข้ามาในโรงเรอื น เช่น ใชว้ สั ดหุ อ่ หุ้มเฉพาะชนิดใชค้ รงั้ เดียวสาหรับรองเทา้
- จดั ใหม้ เี ครื่องมือหรืออุปกรณ์สาหรบั ทาความสะอาดและฆ่าเช้ือที่มอื ก่อนเข้าโรงเรือน
- เส้ือผ้าและรองเท้าที่ใช้ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีเล้ียงสัตว์ต้องไม่ใส่ออกนอกฟาร์ม และให้ซัก
ล้างทาความ สะอาดหรอื ฆ่าเชื้อในสถานที่ทจ่ี ัดไว้โดยเฉพาะในฟาร์มก่อนนาไปใช้ครง้ั ต่อไป
- ประตโู รงเรือนต้องปิดให้สนิทตลอดเวลา
- โรงเรือนทุกหลังต้องสามารถป้องกันสัตว์พาหะ เช่น นกธรรมชาติ หนู ท่ีจะเข้ามาใน
โรงเรอื นและมี การบารงุ รกั ษาโรงเรือนใหค้ งสภาพใชง้ านไดด้ ี
- มีมาตรการควบคุมสัตว์พาหะ รายละเอียดตามภาคผนวก ข และมีโปรแกรมในการ
กาจัดสัตว์พาหะ ประเภทหนแู ละแมลง ที่มปี ระสทิ ธิภาพ
- ควรทาความสะอาดบริเวณทม่ี ีการปฏิบัติงาน และทาการฆา่ เช้ืออยา่ งสมา่ เสมอ
- มีการดูแลภูมิทัศน์ของฟาร์ม เช่น ต้นไม้และพุ่มไม้ต้องไม่อยู่ใกล้กับโรงเรือน พ้ืนที่รอบ
โรงเรือน อย่างนอ้ ย 3 เมตร ตอ้ งสะอาด ไม่มีเศษขยะอย่ภู ายในบรเิ วณนี้
- ถนนภายในฟาร์มต้องไม่มีน้าท่วมขัง ทาความสะอาดได้ง่าย เพ่ือป้องกันการ
แพรก่ ระจายของเชอื้ โรค
- ตอ้ งไมใ่ หส้ ัตว์เลยี้ งเขา้ มาภายในพน้ื ที่เลี้ยงและห้องเก็บอาหารสตั ว์
- หลังจากปลดหรือจับสัตว์ปีกให้ทาความสะอาด ฆ่าเช้ือโรงเรือนและอุปกรณ์ ตรวจ
ประสิทธิภาพการ ทาความสะอาด เช่น การป้ายเช้ือบริเวณที่สัตว์ปีกเคยอยู่เพ่ือนาไปตรวจวิเคราะห์ทาง
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ และ ปดิ พักโรงเรอื นตามระยะเวลาทก่ี รมปศุสตั ว์กาหนด

4.1.2 มาตรการสาหรับบคุ คล
(1) ฟารม์ ต้องจดั ทาคู่มือความปลอดภยั ทางชีวภาพให้แก่บคุ ลากร โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

- บุคลากรท่ีพักอาศยั อยใู่ นฟาร์มใด ควรทางานท่ฟี าร์มแหง่ นั้น
- บุคลากรตอ้ งไม่เล้ยี งสัตว์ปีกหรือนกสวยงาม
- บุคลากรต้องไมเ่ ข้าไปในสถานทีท่ ี่มีการเล้ยี งสุกร และสัตว์ปีกอืน่ ๆ รวมถึง
ตลาดคา้ สตั ว์มชี ีวิต หากหลกี เลี่ยงไมไ่ ด้ควรงดเข้าไปในพื้นท่ีเล้ียงสัตว์ หรืองดสัมผสั สัตวป์ กี ในฟาร์มเป็น
เวลาอยา่ งน้อย 72 ชัว่ โมง
- กรณีที่บุคลากรลากลับบ้าน หรือออกไปนอกฟาร์ม ต้องกรอกแบบฟอร์มขอเข้า
ฟาร์มสาหรบั บคุ ลากร และแบบบันทกึ การเขา้ -ออกฟาร์ม เพื่อใหผ้ มู้ หี น้าท่รี ับผดิ ชอบพจิ ารณา
- บุคลากรในฟาร์มต้องไดร้ บั การตรวจสขุ ภาพเป็นประจาทุกปี อยา่ งนอ้ ยปีละ 1
ครงั้ และหา้ มไม่ให้ผู้ ที่มอี าการเจบ็ ป่วยของโรคระบบทางเดินอาหาร เชน่ ท้องรว่ ง อาเจยี น และโรคระบบ
ทางเดินหายใจ เช่น ไอ เจ็บคอหรอื มีไข้ เข้าปฏบิ ตั ิงานในโรงเรอื น โดยแจง้ ผจู้ ัดการฟารม์ ทราบเพื่ออนุญาต
ใหห้ ยดุ พกั จนหายดี จึงใหก้ ลับเขา้ ปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ทสี่ ว่ นเลย้ี งสตั วป์ ีกได้
(2) บุคลากรตอ้ งไดร้ บั ความรู้และการอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพในฟาร์ม
เพอื่ ให้สามารถปฏิบตั ติ ามได้อย่างถูกต้อง
(3) ไมอ่ นญุ าตใหผ้ ใู้ ห้บรกิ าร เชน่ พนกั งานซ่อมบารุงอุปกรณ์ภายในฟารม์ ผู้ใหบ้ ริการ
กาจดั สตั ว์พาหะ ทมี่ ีการสัมผสั กบั สัตว์ปีกนอกฟาร์มในช่วงเวลา 72 ชั่วโมง เข้ามาในโรงเรือนทม่ี ีการเล้ียง
สตั วป์ กี ในกรณที ่ี มีเหตจุ าเป็นตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากผู้มหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบหรอื ผู้จัดการฟารม์ ก่อนทุกครง้ั
ทัง้ น้ตี ้องทาความ สะอาดและฆา่ เชอื้ สิง่ ของ เครื่องมือ เครื่องใช้ ดว้ ยวิธีท่เี หมาะสม
(4) ไมอ่ นญุ าตให้พนักงานขนส่งท่ีต้องเข้าออกฟาร์มหลายฟารม์ เชน่ พนักงานขนส่ง
อาหารสัตว์ แกส๊ หงุ ต้ม หรือสิ่งของอืน่ ๆ เข้ามาในบรเิ วณโรงเรือนเด็ดขาด
(5) ผเู้ ขา้ เยีย่ มฟาร์มตอ้ งกรอกขอ้ มูลในแบบฟอร์มขอเขา้ ฟาร์มของบุคคลภายนอก
รายละเอยี ดตาม และแบบบันทึกการเขา้ -ออกฟารม์
(6) บคุ คลต้องปฏิบัติตามหลกั สขุ ลกั ษณะส่วนบคุ คล เชน่ อาบนา้ เปลีย่ นเส้อื ผ้า ทาความ
สะอาดรองเท้า และล้างมอื กอ่ นเขา้ โรงเรือนอยา่ งเคร่งครดั

4.1.3 มาตรการสาหรบั การปฏิบตั ิงานสัตวป์ กี
(1) สัตว์ปีกท่ีจะนาเข้ามาในฟาร์มต้องมาจากแหล่งท่ีเชื่อถือได้ และมาจากฝูงที่มีสุขภาพ
แข็งแรง
(2) มีการจดั การเลย้ี งสัตวป์ ีกแบบเข้าและออกพร้อมกันหมด (all-in/all-out)
(3) ควรปลดหรือจับสัตว์ปีกท่ีอายุถึงกาหนดก่อน การปฏิบัติงานที่ต้องสัมผัสกับสัตว์ปีก
ควรปฏิบตั ใิ นกลมุ่ ทมี่ ีอายุน้อยก่อน หรอื แยกการปฏิบัติระหว่างกลุ่มอายุ
(4) ในกรณีที่มีสัตว์ปีกป่วย ตาย ควรมีวธิ ีการจัดการซากสัตว์ปีกอย่างเหมาะสม ในกรณีท่ี

ไม่สามารถหาสาเหตุของการป่วย การตาย หรือผลผลิตที่ลดลงอย่างผิดปกติ ต้องส่งตัวอย่างชันสูตรทาง
หอ้ งปฏิบัติการ ตัวอย่างที่ส่งตรวจควรใส่ในภาชนะท่ีมคี วามปลอดภัย ไม่ปนเปื้อนหรือแพร่กระจายเชื้อโรค
ระหว่างการขนสง่

ก) อาหารสตั ว์
(1) อาหารสัตว์ต้องมีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมคุณภาพ

อาหารสตั ว์
(2) แยกบริเวณเก็บอาหารสัตว์ออกจากบริเวณท่ีเลี้ยงสัตว์ เพ่ือป้องกันการปนเป้ือน น้า

ต้องไม่ซึมผ่าน บริเวณเก็บถุงใส่อาหารสัตว์ต้องสะอาดและแห้ง ระบบการเก็บและลาเลียงอาหารสัตว์ต้อง
สามารถป้องกันนา้ และความช้ืนได้

(3) ทาความสะอาดพ้นื เพื่อกาจัดอาหารสัตวท์ ่ีตกบนพื้นอยา่ งสม่าเสมอ เพือ่ ป้องกันนกหนู
และแมลง

(4) ต้องทาความสะอาดและฆ่าเช้ือระบบการให้อาหารสัตว์อย่างสม่าเสมอ โดยเฉพาะ
อยา่ งย่งิ กอ่ นการนาสตั ว์รนุ่ ใหม่เขา้ มาแทนที่

ข) นา้
(1) ต้องมีการทดสอบคุณภาพน้าโดยห้องปฏิบัติการ เพ่ือตรวจสอบปริมาณแร่ธาตุ

สารเคมปี นเปอ้ื นและเชอ้ื ก่อโรค
(2) ควรมีการบาบัดน้าก่อนนามาใช้ เช่น การใช้คลอรีน เพื่อลดปริมาณแบคทีเรียในน้า

โดยเติมคลอรีนในน้าให้มีความเข้มข้นระหว่าง 1 ppm ถึง 5 ppm ในขณะใช้งาน กรณีท่ีใช้การบาบัดด้วย
วธิ อี นื่ ตอ้ งตรวจสอบประสิทธภิ าพของการบาบัดเป็นระยะ

(3) ต้องทาความสะอาดระบบและเคร่ืองมือท่ีเกี่ยวกับการให้น้าภายในโรงเรือนทุกครั้ง
ก่อนการนาสัตว์รุ่นใหม่เข้ามาแทนที่เนื่องจากการปนเปื้อนของระบบน้าจะส่งผลต่อการใช้ยาและวัคซีนที่
ผสมน้าและยังเป็นแหล่งแพร่กระจายโรคได้

ค) วัสดรุ องพ้ืน/ มลู สัตว์ปีก
(1) ควรซ้ือวสั ดุรองพื้นจากแหลง่ ท่ีเชื่อถือได้
(2) ให้แยกเก็บวัสดรุ องพ้ืนทย่ี ังไม่ใช้ ไมใ่ หม้ ีการปนเปื้อนกอ่ นการใชง้ าน
(3) เปล่ียนวัสดุรองพื้นใหมท่ ุกครั้ง เมื่อนาสัตวป์ ีกรุ่นใหม่เขา้ มาแทนท่ี กรณีพ้ืนโรงเรือนที่

เปน็ สแลท (slat) ควรเป็นวัสดุทท่ี นทานไม่ฉีกขาดงา่ ยอยู่ในสภาพดี แห้ง สะอาด และมีการทาความสะอาด
และฆ่าเชอื้ ก่อนนาสัตว์ปีกรุ่นใหม่เขา้ มาแทนท่ี

(4) วัสดุรองพ้ืนท่ีผ่านการใช้งานแล้ว ต้องนาไปจัดการด้วยวิธีที่เหมาะสม โดยก่อนการ
เคลอ่ื นยา้ ยต้องพน่ น้ายาเพือ่ ฆา่ เชอื้ ปอ้ งกนั การฟ้งุ กระจายของวสั ดรุ องพน้ื

(5) จัดการกับมูลสตั ว์ปกี

ง) เอกสารและบนั ทกึ
(1) การปฏิบัติงานทุกขั้นตอนต้องทาเป็นเอกสารให้ชดั เจน และต้องมีการจดบันทึกข้อมูล

และผลการปฏิบตั งิ าน
(2) จดบันทึกด้านการจัดการสขุ ภาพฝูงสัตว์ปกี

4.2 ขน้ั ตอนการดาเนินงานในภาวะฉกุ เฉนิ
เมื่อเกิดการระบาดของโรคสัตว์ปีกจาเป็นต้องมีการยกระดับมาตรการด้านความปลอดภัยทาง
ชีวภาพสงู ข้ึน มีการเก็บตวั อย่างเพอ่ื วนิ จิ ฉยั โรค ให้การรักษาสัตวป์ ่วยในเบื้องตน้ รวมท้งั การให้วคั ซนี ในกรณี
ที่จาเป็น ท้ังนี้สัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม จะมีบทบาทสาคัญในการพิจารณามาตรการป้องกันและควบคุม
การแพร่กระจายโรคให้เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและทนั ท่วงที

4.2.1 มาตรการสาหรบั ฟารม์
(1) ตอ้ งปิดลอ็ คประตูเขา้ และออกจากฟารม์ โรงเรอื น และอาคารตา่ งๆ ตลอดเวลา
(2) ระงับการเข้า-ออกฟาร์มทั้งหมด แต่หากจาเป็นต้องมีผู้รับผิดชอบดูแลการเข้า-ออก
และมีการควบคุมอย่างเคร่งครัด
(3) ระงบั การเคล่อื นย้ายเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ และวสั ดสุ ง่ิ ของที่ใชใ้ นฟารม์ ช่ัวคราว
4.2.2 มาตรการสาหรับบคุ คล
(1) ไม่อนุญาตให้มีการเข้าเยี่ยมฟาร์มของบุคคลภายนอก ยกเว้นการเข้าเย่ียมฟาร์มนั้น
เป็นสว่ นหน่งึ ของการแกไ้ ขปญั หา
(2) ระงับการซ่อมบารุงประจาภายในฟาร์มชั่วคราว เว้นแต่มีเหตุฉุกเฉินเร่งด่วนที่
จาเป็นตอ้ งเขา้ ปฏิบตั ิงาน
(3) บุคคลท่ีจะเข้าฟาร์มต้องได้รับการอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากผู้มีหน้าท่ี
รับผดิ ชอบหรือผู้จัดการฟาร์ม และมีการจดบนั ทกึ การเขา้ -ออกฟาร์มทุกกรณี
(4) บุคคลที่จะเข้าฟาร์มต้องเปลี่ยนเสื้อผ้าที่สะอาดก่อนเข้าฟาร์ม โดยอาจเลือกใช้ชุด
ป้องกันชนิดใช้แล้วทิ้ง สวมหมวกคลุมผม ผ้าปดิ ปากและถุงมอื ชนดิ ใช้แล้วทิ้ง รวมท้ังสวมรองเท้าที่สามารถ
ฆ่าเชื้อได้
(5) บุคคลทเ่ี ข้าไปปฏิบัติงานในโรงเรอื นและสัมผัสกับสัตวป์ ีกติดเชื้อ ต้องทาความสะอาด
ร่างกาย อาบน้า สระผม เปล่ียนเส้ือผา้ ท่ีสะอาด ก่อนออกจากฟาร์ม ใหเ้ วน้ ระยะเวลาอย่างนอ้ ย 72 ชั่วโมง
ก่อนจะสมั ผสั กับสตั วป์ กี ในฟาร์มอืน่ ตอ่ ไป หรือพบปะบุคคลที่ทากิจกรรมเก่ียวข้องกับสัตวป์ กี

4.2.3 มาตรการสาหรับการปฏิบัตงิ าน
ก) ยานพาหนะ

(1) จอดยานพาหนะห่างจากโรงเรือนอย่างน้อย 60 เมตร หรือจอดไว้นอกฟาร์ม ยกเว้น
ยานพาหนะที่ต้องปฏิบัติงานในบริเวณโรงเรือนและมีความจาเป็นเท่าน้ัน จึงจะอนุญาตให้ผ่านเข้าฟาร์มได้

(2) ยานพาหนะที่มีความจาเป็นต้องเข้ามาในบริเวณฟาร์ม ต้องผ่านการทาความสะอาด

และฆ่าเชื้อท้ัง ภายนอกและภายใน ซึ่งรวมถึงห้องโดยสาร พรมปูพื้น และแผ่นคลุมไวนิลที่ล้างทาความ
สะอาดได้ แล้วจงึ จอดไวใ้ นบริเวณท่ีห่างจากโรงเรอื นเลีย้ งสตั ว์ปีก

(3) ปดิ กระจกหน้าต่างของยานพาหนะให้สนิท เพื่อปอ้ งกนั แมลงเขา้ มาภายใน
(4) ยานพาหนะที่ใช้ควรแบ่งเป็นส่วนสะอาดและส่วนสกปรก โดยแยกบรรทุกหรือเก็บ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใชแ้ ลว้ หรอื มีการปนเป้ือนในยานพาหนะสว่ นสกปรก
(5) ภายหลังการปฏิบัติงานเสร็จ ให้ล้างทาความสะอาดและฆ่าเช้ือภายนอกและภายใน
ยานพาหนะอกี คร้งั ก่อนออกจากฟาร์ม

ข) สัตว์ปกี
(1) เม่ือสงสัยว่าเกิดความผิดปกติขึ้นในฟาร์ม เช่น สัตว์ปีกมีอัตราการป่วยหรือตายมาก

ผิดปกติ การกินอาหารและน้าลดลง อัตราการไข่ลดลงอย่างผิดปกติ เปลือกไข่ผิดปกติ ให้แจ้งสัตวแพทย์ผู้
ควบคุมฟาร์มหรือติดต่อผู้ให้คาปรึกษาในกรณีฉุกเฉินทันที โดยฟาร์มต้องจัดทาป้ายรายชื่อผู้ติดต่อในกรณี
ฉกุ เฉินในท่ีเหน็ ได้ชดั

(2) ในกรณีท่ีต้องเก็บตัวอย่าง ให้เก็บตัวอย่างใส่ถุงพลาสติกและปิดปากถุงให้สนิท
อุปกรณ์ที่ใช้ในการ เก็บตัวอย่างควรทิ้งหรือทาลายในบริเวณท่ีฟาร์มกาหนด หากต้องนาออกนอกฟาร์มให้
ใส่ในถุงพลาสติก และปิดปากถุงให้สนิท พ่นหรือจุ่มน้ายาฆ่าเช้ือ และเก็บไว้ในยานพาหนะบริเวณส่วน
สกปรกท่ีใชส้ าหรบั เก็บสิ่งของทม่ี กี ารปนเปอ้ื น

(3) ห้ามเคล่ือนย้ายสัตว์ปีก ไข่ ซากสัตว์ปีก มูลสัตว์ปีก วัสดุและอุปกรณ์ท่ีใช้ในฟาร์ม
และวัสดุรองพื้น ออกจากฟาร์มจนกว่าจะได้รับการยืนยันสถานะโรคท่ีแน่ชัด กรณีท่ีพบว่าเป็นโรคระบาด
หรือสงสัยว่าเป็น โรคระบาด ต้องปฏิบัตติ ามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์และคาแนะนาของกรมปศุสัตว์
อื่นๆ เคร่ืองแต่งกาย เช่น ชุดป้องกัน เครื่องมือ และอุปกรณ์ชนิดนากลับมาใช้ใหม่ เม่ือใช้แล้วต้องเก็บใส่
ถุงพลาสติกและปิดปากถุงให้สนิท พ่นหรือจุม่ น้ายาฆ่าเช้ือ ก่อนท่ีจะนาขึ้นเก็บไว้ในยานพาหนะบริเวณส่วน
สกปรกทใ่ี ชส้ าหรับเก็บสงิ่ ของทมี่ กี ารปนเปือ้ น เพ่อื นาไปฆ่าเชือ้ ดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมต่อไป

ค) การควบคมุ สัตวพ์ าหะ
การควบคุมสัตว์พาหะมีความสาคัญสาหรับระบบความปลอดภัยทางชีวภาพท่ีมีประสิทธิภาพ
เพ่ือป้องกันการนาโรคหรอื แพร่กระจายของโรค สัตว์พาหะทสี่ าคญั ในฟาร์มสตั ว์ปกี คือ สัตว์ฟันแทะ แมลง
และนก ธรรมชาติ การกาจัดสัตว์พาหะต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดอันตรายต่อคนและสัตว์ปีกที่เล้ียงในฟาร์ม
จึงต้องปฏิบัติตามคาแนะนาของผลิตภัณฑ์กาจัดสัตว์พาหะแต่ละชนิดอย่างเคร่งครัด มีการประเมินผลการ
กาจัดสัตว์พาหะเป็นประจา และปรับโปรแกรมควบคุมสัตว์พาหะให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับ
ฤดูกาล

การควบคุมสัตว์พาหะแตล่ ะชนดิ มีวธิ ีการจัดการท่แี ตกต่างกนั ออกไป ดงั น้ี
1. สตั วฟ์ ันแทะ (หน)ู

(1) ตรวจสอบและซ่อมแซมอาคารใหอ้ ยู่ในสภาพท่ปี ้องกันสัตว์ฟันแทะได้
(2) มีท่ีเก็บอาหารสัตว์ที่สามารถป้องกันสัตว์ฟันแทะได้ โดยปิดฝาถังไซโลไว้ตลอดเวลา
หรือหากมีการนาอาหารถุงมาใช้ให้จัดเก็บในสถานที่ท่ีปิดมิดชิด วางอาหารสัตว์ยกสูงจากพื้นด้วยแผ่นไม้
หรอื พาเลท (pallet) และควรวางหา่ งจากผนังอย่างน้อย 30 เซนตเิ มตร
(3) ทาความสะอาดบรเิ วณทม่ี เี ศษอาหารสัตวต์ กหล่นโดยเรว็
(4) วางกบั ดกั และเหย่อื ล่อสตั วฟ์ ันแทะตลอดรุ่นการเลย้ี งสัตว์ปีก
(5) ตรวจสอบกับดักและจุดวางเหย่ือตามระยะเวลาท่ีกาหนด พร้อมท้ังบันทึกผลการ
ตรวจสอบไวใ้ นรายการปฏบิ ัติงานทุกครั้ง

2. แมลง (แมลงวัน แมลงปกี แข็ง และแมลงสาบ)
(1) ตรวจสอบบริเวณฟาร์ม เพื่อกาจัดหรือควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์แมลง เช่น มูลเปียก

ซากสตั วป์ กี บริเวณท่รี วบรวมขยะ บริเวณท่ลี มุ่ หรอื น้าขงั
(2) ในกรณีที่มีความจาเป็นตอ้ งใช้สารเคมีในการกาจัดแมลง ให้ใช้สารเคมีท่ีได้รบั อนุญาต

ให้ใชใ้ นระดับความเข้มขน้ ตามข้อแนะของผลติ ภัณฑ์

3. นกธรรมชาติ
(1) ปิดช่องทางที่นกสามารถเข้าสู่โรงเรือนเล้ียงสัตว์ปีก รวมทั้งกาจัดแหล่งท่อี าจเป็นท่ีอยู่

อาศยั ของนก
(2) กาจดั เศษอาหารทีต่ กหลน่ นอกโรงเรอื นโดยเร็ว เพื่อไมใ่ หน้ กเข้ามาหากนิ
(3) ตดั ต้นไม้ใหญห่ รอื ไม้พุ่มรอบๆ โรงเรือน เพอ่ื ไมใ่ หเ้ ปน็ ทพ่ี กั อาศยั ของนก
(4) โรงเรือนมีตาขา่ ยคลุมช่องวา่ งและชอ่ งระบายอากาศ เพื่อป้องกันนกเขา้ มา
(5) เปดิ ประตโู รงเรือนแล้วต้องปิดทุกคร้งั เพื่อปอ้ งกนั นกเข้ามา

ง) การจัดการซากสตั ว์ปกี
สัตว์ปีกท่ีตายเป็นแหล่งแพร่กระจายโรคท่ีสาคัญในคนและสัตว์ การสัมผัสซากสัตว์ปีกติดเชื้อ
จึงจัดเป็นความเส่ียงของความปลอดภัยทางชีวภาพท่ีจะทาให้เกิดการแพร่กระจายโรคภายในฟาร์มและ
ออกนอกฟาร์ม โดยท่ัวไปการกาจัดซากสัตว์ปีกให้อยู่ในดุลยพินิจของสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม และกาจัด
ดว้ ยวิธที ี่เหมาะสม

1. ในกรณีของสตั ว์ปกี ทตี่ ายปกติ
1.1 การรวบรวมซากสตั ว์ปกี
หากพบการตายของสัตว์ปีกให้เก็บซากสัตวป์ ีกออกจากโรงเรือนทันทีทุกครง้ั ที่มีการตรวจ

พบ โดยให้นาซากสัตว์ปีกท่ีตายใส่ถุงพลาสติกกันน้าปิดปากถุงให้มิดชิดแล้วนาไปใส่ในถังที่มีฝาปิดเพ่ือ

ป้องกันสัตว์พาหะ จากน้ันจึงรวบรวมไปทาลายในแต่ละวันในบริเวณเฉพาะสาหรับการทาลายซากซึ่งต้อง
เป็นพืน้ ทที่ ่ีหา่ งจากบริเวณโรงเรือนอ่นื

1.2 การทาลายซากสัตว์ปกี ในฟารม์
1.2.1 ทาลายโดยการฝงั

(1) ตอ้ งเป็นพน้ื ท่ีทีอ่ ยู่ในบริเวณนา้ ทว่ มไม่ถึง และไมอ่ ยู่ใกลแ้ หล่งน้า
(2) ฝงั ซากสตั ว์ปกี ใตร้ ะดบั ผิวดินไม่น้อยกวา่ 50 เซนตเิ มตรและห่างจากระดับน้า
ใต้ดิน โรยปูนขาวหรือราดด้วยน้ายาฆ่าเช้ือก่อนกลบหลุมเหนือระดับผิวดินและต้องป้องกนั ไม่ให้สัตว์ไปคุ้ย
เข่ยี
1.2.2 ทาลายโดยการเผา ให้ทาในบรเิ วณที่เหมาะสม และเผาซากสัตวป์ ีกจนหมด
1.2.3 ทาลายโดยการยอ่ ยสลาย (composing)
(1) มสี ถานที่สาหรบั ย่อยสลายซากสตั ว์ปกี ท่ีเหมาะสม
(2) ต้องมั่นใจได้ว่าวิธีการย่อยสลายน้ันเป็นไปอย่างสมบูรณ์ ไม่มีความเส่ียงต่อ
การเปน็ แหล่งแพร่เชื้อ หรือพาหะนาเชอื้ และมขี ั้นตอนปฏิบตั ิถกู ตอ้ งตามหลักความปลอดภยั ทางชวี ภาพ
1.3 การทาลายซากสัตวป์ ีกโดยมกี ารเคล่อื นย้ายออกนอกฟารม์
การนาซากสตั ว์ปีกท่ีตายปกตหิ รือคัดทิ้งออกจากฟารม์ จะต้องได้รบั อนุญาตจากเจ้าหน้าที่
สัตวแพทย์ของ กรมปศุสัตว์ ดงั น้ี
1.3.1 การนาซากสตั ว์ปกี ไปเป็นอาหารสตั วน์ ้า
(1) ฟาร์มสัตว์ปีกต้องเป็นฟาร์มมาตรฐานหรือได้รับการรับรองมาตรฐานระบบ
ป้องกันโรคและต้องผ่าน การตรวจรับรองจากคณะกรรมการของสานักงานปศุสัตว์จังหวัด ตามหลักเกณฑ์
และเง่ือนไขของกรมปศสุ ตั ว์
(2) สถานที่เลี้ยงสัตว์น้าจะต้องได้รับการขนึ้ ทะเบียน หรือได้ย่ืนคาขอจดทะเบียน
กับกรมประมง

(3) ซากสัตว์ปีกที่จะนาออกจากฟาร์มต้องผ่านการต้มในน้าเดือดที่อุณหภูมิใจ
กลางเน้ือ 70° C ขน้ึ ไป เป็นระยะเวลาอย่างนอ้ ย 25 นาที

(4) ยานพาหนะท่ีใช้ขนย้ายซากสัตว์ปกี จะต้องเป็นรถบรรทุกท่ปี ิดมิดชิดดว้ ยวัสดุ
คงทนทกุ ด้าน และให้รบั ซากสัตว์ปกี ท่ีต้มแล้วภายนอกฟาร์ม หา้ มเขา้ มาภายในบริเวณฟาร์มโดยเด็ดขาด

(5) ฟาร์มต้องส่งข้อมูลสัตว์ปีกตายปกติหรือคัดท้ิงระหว่างการเล้ียงให้ปศุสัตว์
อาเภอทราบเป็นประจาทกุ สัปดาห์

1.3.2 การนาซากสตั ว์ปีกเข้าโรงงานกาจัดซากสัตว์
(1) ฟาร์มสัตว์ปีกต้องเป็นฟาร์มมาตรฐานหรือได้รับการรับรองระบบป้องกันโรค

และตอ้ งผ่านการตรวจ รับรองจากคณะกรรมการของสานักงานปศุสัตวจ์ ังหวัด ตามหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไข
ของกรมปศสุ ตั ว์

(2) โรงงานกาจัดซากสัตว์ จะต้องผ่านการรบั รองจากกรมปศุสัตว์ตามหลักเกณฑ์
ที่กาหนด

(3) ยานพาหนะทีใ่ ช้ขนย้ายซากสัตว์ปกี จะต้องเป็นรถบรรทกุ ท่ีปิดมดิ ชดิ ด้วยวัสดุ
คงทนทกุ ด้าน และให้รับซากสัตว์ปีกภายนอกฟารม์ ห้ามเขา้ มาภายในบริเวณฟารม์ โดยเดด็ ขาด

(4) ฟาร์มต้องส่งข้อมูลสัตว์ปีกตายปกติหรือคัดทิ้งระหว่างการเลี้ยงให้ปศุสัตว์
อาเภอทราบเปน็ ประจาทุกสัปดาห์

1.3.3 การอนุญาตนาซากสัตว์ปกี ท่ีตายปกตหิ รือคัดท้ิงออกจากฟาร์ม
การนาซากสัตว์ปีกท่ีต้มแล้วออกจากฟาร์มไปยังสถานที่เลี้ยงสัตว์น้า ตามข้อ 1.3.1 หรือ
นาซากสตั วป์ ีก เขา้ โรงงานกาจดั ซากสตั ว์ ตามขอ้ 1.3.2 ดาเนนิ การดงั นี้

(1) เจ้าของฟาร์มจะต้องยื่นคาขออนุญาตเคล่ือนย้ายซากสัตว์ปีกท่ีสานักงาน
ปศสุ ตั วอ์ าเภอหรอื จงั หวัดในท้องท่ีทฟ่ี าร์มตั้งอยู่

(2) เมื่อฟาร์มได้รับการอนุญาตให้เคล่ือนย้ายซากสัตว์ปีกแล้ว จึงเคลื่อนย้ายซาก
สัตว์ปีกออกจากฟาร์มได้ตามเงื่อนไขที่ระบุ ทั้งน้ีฟาร์มจะต้องรายงานข้อมูลสัตว์ปีกตายปกติ/คัดท้ิงให้
ปศุสัตว์อาเภอทราบเปน็ ประจาทุกสัปดาห์

(3) ผู้ท่ีเคล่ือนย้ายซากสัตว์ปีกจะต้องนาสาเนาหนังสืออนุญาตแนบไปกับ
ยานพาหนะทุกคันขณะขนส่ง

2. ในกรณขี องสัตว์ปกี ทีต่ ายดว้ ยโรคระบาด
ในกรณีของการทาลายสัตว์ปีกที่ตายจากโรคระบาด ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาด
สัตว์

จ) การส่งตวั อย่างเพอ่ื ทาการตรวจวินจิ ฉยั
ในกรณีที่สงสัยว่าเกิดโรคในฟาร์มสัตว์ปีก โดยสังเกตพบอัตราการป่วยและตายเพิ่มข้ึน การกิน
อาหาร น้าหรือผลผลิตลดลง หรือพบลักษณะท่ีผิดปกติ โดยไม่สามารถระบุถึงสาเหตุท่ีแท้จริงได้ ผู้จัดการ
ฟาร์มควร ปรึกษาสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟารม์ เพื่อทาการเก็บตัวอย่างทีเ่ หมาะสมสง่ หอ้ งปฏิบตั ิการเพ่ือตรวจ
วินิจฉัย และวิเคราะห์หาสาเหตุของความผิดปกติต่อไป ผู้เก็บและนาส่งตัวอย่างต้องเก็บตัวอย่างโดยระวัง
ไม่ให้เกิดการปนเป้ือน และสามารถรักษาคุณภาพของ ตัวอย่างจนถึงห้องปฏิบัติการเพ่ือให้การวินิจฉัยโรค
เป็นไปอย่างถูกต้อง การขนส่งตัวอย่างต้องทาอย่างระมัดระวังโดยคานึงถึงหลักการความปลอดภัยทาง
ชีวภาพ และป้องกนั การแพรก่ ระจายโรคไปสูฟ่ ารม์ อืน่ การเก็บตัวอย่างเพ่ือทาการวินิจฉยั โรคมีดังน้ี
(1) ติดต่อสัตวแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์มเพ่ือตรวจและวินิจฉัยโรคเบ้ืองต้น และเลือกเก็บตัวอย่าง
ทีเ่ หมาะสมเพือ่ สง่ ตรวจวนิ ิจฉยั โรคทางหอ้ งปฏิบัติการ
(2) ผู้สง่ ตวั อยา่ งตอ้ งกรอกรายละเอยี ดในใบส่งตัวอยา่ งให้ละเอยี ด ถกู ต้อง และชดั เจนดงั นี้

- ชอ่ื และท่อี ยู่เจา้ ของสัตวแ์ ละผูน้ าสง่ ตัวอย่าง รวมถงึ ชื่อสตั วแพทย์ผู้ควบคุมฟาร์ม
- รายละเอียดของฟาร์ม จานวนสัตว์ทั้งหมด จานวนสัตว์ป่วย จานวนสัตว์ตาย อายุ เพศ

พนั ธ์ุ ประวตั ิการ ให้วคั ซนี ประวัติการรักษา
- รายละเอียดของอาการที่ผิดปกติ เช่น วันท่ีเริ่มป่วย อาการป่วย อัตราการกินอาหาร

และน้า ปรมิ าณ ผลผลติ ระยะเวลาทีป่ ่วยจนถงึ ตาย
(3) ตัวอย่างที่ส่งตรวจ
- เลือด เลือกใช้สารป้องกันการแข็งตัวของเลือดที่เหมาะสม โดยเจาะเลือดใส่ในหลอดที่

สะอาดผ่านการฆ่าเช้ือ ปิดฝาหลอดและพลิกหลอดไปมาเบาๆ เพื่อให้เลือดผสมกับสารป้องกันการแข็งตัว
ของเลือด แล้วนาใส่ในถุงพลาสติกระบุรายละเอียดให้ชัดเจน และเก็บรักษาโดยการแช่เย็นท่ีอุณหภูมิ 4๐C
เพื่อนาส่งห้องปฏบิ ตั กิ ารภายใน 24 ชัว่ โมง

- ซรี ่ัม การเก็บซรี ่ัมจะไม่ใสส่ ารป้องกันการแข็งตัวของเลือด โดยเมือ่ เจาะเลอื ดใส่ในหลอด
ท่ีสะอาดผ่าน การฆ่าเช้ือแล้วให้ต้ังทิ้งไว้ท่ีอุณหภูมิห้อง (25๐C ถึง 30๐C) เป็นเวลา 4 ช่ัวโมง ถึง 6 ชั่วโมง
เพ่อื ให้เลือดแขง็ ตัวและซีร่ัมแยกชัน้ จากนั้นจึงแยกซีรั่มใส่ในหลอดใหมก่ ่อนนาไปเกบ็ ไว้ทอี่ ณุ หภูมิ 4๐C เพื่อ
นาส่งห้องปฏิบัติการภายใน 24 ช่ัวโมง ในกรณีที่ไม่สามารถส่งตัวอย่างซีร่ัมภายใน 24 ช่ัวโมง ให้เก็บรักษา
โดยการแชแ่ ขง็

- ไมพ้ ันสาลปี ้ายเช้ือ (swab) เลือกอาหารเลี้ยงเช้ือสาหรับเกบ็ ตัวอย่างระหว่างการขนย้าย
(transport media) ให้เหมาะสมกับชนิดเชื้อ โดยนาไม้พันสาลีป้ายเก็บตัวอย่าง แล้วใส่ลงในภาชนะท่ี
บรรจุ transport media ปิดฝาภาชนะให้สนิท ใส่ในถุงพลาสติก 2 ช้ันระบุรายละเอียดให้ชัดเจนและเก็บ
รกั ษาโดยการแชเ่ ยน็ ที่ อณุ หภูมิ 4๐C ก่อนนาส่งห้องปฏิบัติการตอ่ ไป

- อวัยวะและช้ินเน้ือ ให้นาอวัยวะสัตว์ปีกสดใส่ในถุงพลาสติกโดยแยกแต่ละอวัยวะหรือ
ชน้ิ เนือ้ และตดิ ฉลากระบรุ ายละเอียดใหช้ ัดเจน เก็บรักษาโดยการแช่เยน็ ที่อุณหภูมิ 4๐C กรณีท่มี กี ารผา่ ซาก
และเก็บช้ินเนื้อ ช้ินเน้ือที่เก็บควรมีทั้งส่วนท่ีปกติและผิดปกติ โดยแช่ในน้ายาคงสภาพเน้ือเย่ือ เช่น
สารละลายบัฟเฟอร์ ฟอร์มาลิน 10% ในอัตราส่วนชิ้นเนื้อต่อสารละลายบัฟเฟอร์ฟอร์มาลินเป็น 1:10
บรรจุในภาชนะที่มีฝาปิด มิดชิด มีการป้องกันการร่ัวซึม และติดฉลากระบุรายละเอียดให้ชัดเจนเก็บไว้ที่
อณุ หภูมหิ อ้ ง ก่อนนาสง่ ห้องปฏิบตั ิการตอ่ ไป

- ซากสัตว์ปีก ควรส่งตัวอย่างซากสัตว์ปีกท่ีตายไม่เกิน 24 ช่ัวโมง ถึง 48 ชั่วโมง จานวน
3 ตวั ถึง 5 ตวั ตอ่ การส่งตวั อย่างหนงึ่ ครงั้ และเก็บรกั ษาโดยการแช่เยน็ ทีอ่ ณุ หภมู ิ 4๐C

- สัตว์ปีกมีชีวิต เลือกสัตว์ปีกที่แสดงอาการป่วย หรือป่วยใกล้ตายให้บรรจุสัตว์ป่วยใน
กล่องที่สะอาด มีพนื้ ท่ีเพยี งพอ และสามารถป้องกนั การแพรก่ ระจายเช้อื โรคขณะขนสง่ ได้

- ตัวอยา่ งอน่ื ๆ เช่น มูลสตั วป์ ีก วสั ดุรองพ้นื

(4) การดาเนินการภายหลังสง่ ตวั อยา่ งเพอื่ ตรวจวินิจฉยั โรค
- ควรติดตามผลการวินิจฉัยโรคอย่างต่อเน่ือง ซึ่งจาเป็นต่อการปรับเปล่ียนมาตรการ

สาหรับการรักษา เฝ้าระวงั ควบคมุ หรือป้องกนั ใหเ้ หมาะสม
- อาจมีการปรับแผนความปลอดภัยทางชีวภาพให้มีความเข้มงวดข้ึน โดยเฉพาะการ

ควบคุมการเข้าและออกจากฟารม์
- มกี ารเกบ็ ตวั อยา่ งเพิม่ เตมิ เพื่อตดิ ตามสถานการณ์ของโรค
- หลังจากที่โรคสงบแล้วต้องทาการเฝ้าระวังโรคท่ีอาจเกิดซ้าในฟาร์มเดิมท่ีเกิดโรคหรือ

ฟารม์ ใกล้เคยี ง และมีแผนการเกบ็ ตัวอย่างเพ่อื การเฝา้ ระวงั โรค

ฉ) การจดั การมลู สัตวป์ กี
มูลสัตว์ปีกเป็นแหล่งสาคัญของเชื้อก่อโรคในคนและสัตว์ การสัมผัสทางตรงหรือทางอ้อม เช่น
จากฝุ่น ละอองท่ีฟุ้งกระจายจากมูลสัตว์สามารถทาให้เกิดการแพร่กระจายโรคจากฟาร์มหน่ึงไปอีกฟาร์ม
หน่ึงได้ นอกจากนี้เชื้อโรคจากมูลสัตว์ปีกยังสามารถแพร่กระจายไปกับคน เคร่ืองมอื เครื่องใช้ภายในฟาร์ม
และยานพาหนะ
(1) กรณีท่ีนาบุคลากร วสั ดุ อปุ กรณ์ และยานพาหนะ จากภายนอกเข้ามาเพื่อจดั การมลู สตั ว์ปีกใน
ฟารม์

- ยานพาหนะท่ีบรรทุกเครื่องมือและอุปกรณ์ ต้องทาความสะอาดและฆ่าเชื้อท้ัง
ยานพาหนะเครือ่ งมอื และ อุปกรณ์ กอ่ นเข้าฟารม์

- ยานพาหนะและอุปกรณ์ท่ีใช้แล้วต้องทาความสะอาดและฆ่าเช้ือก่อนนาไปใช้ใหม่ใน
ฟารม์ ต่อไป

(2) ระหว่างปฏบิ ัตงิ านเกบ็ รวบรวมมูลสัตว์ปกี
- ควรควบคุมดูแล ให้เกิดการฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองน้อยท่ีสุด เช่น ตรวจสอบทิศทาง

ลมในขณะทีม่ ีการรวบรวมมูลสตั ว์ปีก
- ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมเครื่องแต่งกายที่สามารถป้องกันการปนเป้ือนเชื้อโรคในขณะ

ปฏบิ ัตงิ านได้
(3) การจัดการมูลสตั วป์ ีก
- ต้องคลุมมูลสัตว์ที่บรรทุกในยานพาหนะด้วยผ้าใบอย่างมิดชิดเพ่ือป้องกันการร่วงหล่น

ของมูลสัตว์และ ฟุ้งกระจายของฝ่นุ ละอองในระหวา่ งการขนสง่ โดยทาการพน่ ยาฆา่ เช้อื ก่อนคลุมผ้าใบ
- ตอ้ งมกี ารจัดการซากสัตวท์ ีเ่ หมาะสม หา้ มทงิ้ ซากสตั ว์ปกี รวมกบั มลู สัตว์

(4) กรณีที่เกิดโรคระบาดต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์และคาแนะนาของกรม

ปศุสัตว์


Click to View FlipBook Version