The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khamdang12102519, 2019-06-08 09:25:53

Unit 6

Unit 6

หนว่ ยที่ 6
การจัดการไกเ่ นอ้ื ระยะตา่ งๆ

ครูคัธรยี า มะลิวลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

หนว่ ยท่ี 6

การจัดการไกเ่ นอื้ ระยะตา่ งๆ

หวั ข้อเร่อื ง
1. การทาความสะอาดโรงเรอื นและอุปกรณ์
2. การจดั เตรยี มวสั ดแุ ละอปุ กรณก์ อ่ นท่ีลกู ไกจ่ ะมาถึงฟาร์ม
3. การจดั การเล้ียงดูไกเ่ นื้อระยะต่างๆ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายการทาความสะอาดโรงเรอื นและอุปกรณ์ได้
2. อธบิ ายการจดั เตรียมวัสดแุ ละอปุ กรณ์ก่อนที่ลูกไกจ่ ะมาถึงฟารม์ ได้
3. อธบิ ายการจัดการเลย้ี งดูไก่เนอ้ื ระยะต่างๆ ได้

เนือ้ หาการสอน
ปัจจุบันไก่กระทงได้รบั การพฒั นาสายพันธ์ุให้โตเร็ว ให้เน้ือมากและสามารถเลี้ยงได้ในทุกพื้นที่ของ

โลกดังนั้น การเล้ียงและการจัดการจึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องพัฒนาและเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดเพ่ือให้
สอดคล้องกับศักยภาพและขีดความสามารถในการเจริญเติบโตตามที่สายพันธุ์ได้พัฒนามา ซ่ึงไก่กระทงใน
ปัจจุบันโตเร็วมากเมื่อเทียบกับในอดีต เพื่อให้ไก่กระทงท่ีเลี้ยงแสดงขีดความสามารถได้ตามศักยภาพของ
สายพันธ์ุ ผู้เลย้ี งจงึ ตอ้ งมกี ารจัดการใหเ้ หมาะสมดงั ต่อไปนี้

1. จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ได้แก่ อณุ หภูมิ การระบายอากาศ คุณภาพอากาศและ
พ้ืนท่กี ารเลย้ี ง

2. การสุขาภิบาล การป้องกนั โรคและการบาดเจ็บตา่ ง ๆ
3. การจัดการอาหารเพื่อให้ไก่ได้รับโภชนะท่ีเหมาะสม ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์คุณภาพดี
และมีการจัดการอุปกรณใ์ ห้อาหารอยา่ งเหมาะสม
4. การดูแลสวัสดิภาพสัตว์ตลอดการเล้ียง ตั้งแต่เริ่มกกจนกระทั่งจับส่งโรงเชือด
นอกจากนี้แล้ว ยังมปี ัจจัยอ่ืนทผ่ี ลักดันให้ผ้เู ล้ียงไก่กระทงจาเป็นจะต้องพัฒนารูปแบบและวธิ กี ารเลี้ยงได้แก่

- ผู้บรโิ ภคต้องการผลผลิตเนอื้ ไก่ทม่ี คี ุณภาพและปลอดภยั ตอ่ ร่างกาย
- ตอ้ งการฝูงไกท่ ี่สามารถทานายและคาดคะเนผลผลติ ทจี่ ะได้แมย่ ามากขึน้
- ต้องการให้มีความแปรปรวนของน้ าหนักตัวและคุณภาพของไก่ภายในฝูงให้
นอ้ ยท่ีสดุ เพือ่ ลดความแปรปรวนของผลผลิตสุดท้ายใหม้ ีเหลือน้อยที่สุด
- ผู้บรโิ ภคมคี วามสนใจด้านสวสั ดิภาพสตั วแ์ ละมนษุ ยธรรมมากขน้ึ

- ต้องการให้ไกไ่ ด้แสดงศกั ยภาพของสายพนั ธแ์ุ ละพนั ธุกรรมให้เตม็ ที่
- ต้องการดลหรือขจัดปัญหาโรคต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการจัดการ เช่น โรคท้องมาน
(Ascites) และโรคขาออ่ น (Leg weakness) ใหห้ มดไป
การเล้ียงไก่กระทงน้ันเป็นส่วนหน่ึงในวงจรของการผลิตเนื้อไก่เท่าน้ัน ซึ่งในวงจรน้ีจะต้อง
ประกอบด้วยฟาร์มไก่พนั ธ์ุ โรงฟักไข่ ฟารม์ ไก่กระทง โรงงานชาแหละและแปรรปู ร้านค้าปลีกและผู้บริโภค
การเล้ียงไก่กระทงควรใช้ระบบการเลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันหมด (All in – all out) คือ
ใน โรงเรือนเดียวกนั จะเริ่มต้นเลี้ยงไก่อายุเท่ากัน ภายหลังจากที่จบั ไก่ออกหมดแล้ว โรงเรือนจะมีเวลาว่าง
ซึ่งเป็นเวลาที่ผู้เล้ียงจะต้องทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด ทาการฆ่าเช้ือโรคทั้ง
ภายในและภายนอกโรงเรือน ฆ่าเช้ือโรคอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ เช่น อุปกรณ์ให้น้า ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ
หลังจากทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์แล้ว จะมีการหยุดพักโรงเรือน (Down time) อย่างน้อย
7-14 วันเพื่อตัดวงจรการติดต่อของโรคระบาดบางชนิด ระยะเวลาในการเลี้ยงไก่กระทงจะข้ึนอยู่กับขนาด
ของไก่ท่ีตลาดต้องการซ่ึงจะมีน้าหนักตั้งแต่ 1.3-2.8 กิโลกรัม ไก่ท่ีมีน้าหนักน้อยมักจะนาไปทาเป็นไก่ย่าง
ขายทั้งตัว ส่วนไก่ท่ีมีน้าหนักมากส่วนใหญ่จะนาไปขายเป็นไก่แยกชิ้นส่วนหรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น
ระยะเวลาในการเลย้ี งจะอยรู่ ะหวา่ ง 28-60 วัน

1. การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์
การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ เป็นข้ันตอนท่ีมีความสาคัญในการเตรียมโรงเรือนและ

อุปกรณ์ใหพ้ ร้อมกอ่ นนาไก่รุน่ ใหม่เข้าเลยี้ งตอ้ งมีการจัดการอยา่ งดี เพอ่ื ป้องกนั ความผดิ พลาดซึ่งเป็นสาเหตุ
ทาให้เกิดการระบาดของโรค จากไก่รุ่นเก่ามายังไก่รุ่นใหม่ได้ ข้ันตอนการทาความสะอาดโรงเรือนและ
อุปกรณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้

1) ยา้ ยไกอ่ อกจากโรงเรือนให้หมด
2) นาอุปกรณ์ และวัสดุการเล้ียงไก่ที่สามารถเคล่ือนย้ายได้ออกจากโรงเรือน เช่น รางอาหาร
รางน้า และถุงอาหาร ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งตายตัว และอาจเกิดความเสียหายจากการล้างทาความ
สะอาด เช่น มอเตอร์พัดลม เคร่ืองให้อาหารอัตโนมัติ หลอดไฟ ให้ถอดออกและเคล่ือนย้ายไปเก็บไว้ในท่ี
ปลอดภัย
3) ขนวัสดุรองพ้ืนออก ถ้าวัสดุรองพ้ืนแห้งเป็นฝุ่น และอยู่ต้นลมของโรงเรือนอ่ืน ให้พ่นน้าพอ
หมาดเพื่อป้องกันการฟุ้งกระจาย และจะนาเช้ือโรคไปสู่โรงเรือนใกล้เคียง แล้วขนวัสดุรองพ้ืนเก่าไปเก็บไว๎
ในที่จัดเก็บหรือนาไปทาปุ๋ย ถ้าโรงเรือนมีทางเข้าออก 2 ทาง ให้ขนวัสดุรองพ้ืนเก่าออกทางด้านท้ายของ
โรงเรือนเพ่อื ไม่ใหผ้ า่ นดา้ นหน้าของโรงเรือนอืน่
4) กวาดหยักไย่ ฝุ่นละอองออกให้มากท่ีสุด ทั้งด้านใน และด้านนอกของโรงเรือน รวมทั้งห้องเก็บ
อาหาร เพราะหยักไย่ที่ติดกับโรงเรือนใช้น้าฉีดล้างออกได้ยาก ดายหญ้าบริเวณรอบโรงเรือนออก ห่างจาก
โรงเรอื นอยา่ งน้อย 3 เมตร และตัดหญา้ ทส่ี งู บรเิ วณรอบโรงเรือนออกในรศั มี 15-30 เมตร
5) ล้างทาความสะอาดโรงเรือนไก่ไข่ด้วยน้าผสมผงซักฟอก เพ่ือขจัดคราบไขมันท่ีเกาะอยู่ตาม

โรงเรือนด้วยเคร่ืองฉีดน้าแรงดันต่า 250 - 300 ปอนด์ต่อตารางน้ิว ล้างให้ทั่วทุกซอกทุกมุมโดยเริ่มล้าง
หลังคาให้เสร็จก่อน เพื่อให้น้าที่ล้างหลังคาตกมาบนมูลไก่ท่ีเกาะอยู่ตามพื้น ทาให้หลุดร่อนได้ง่าย เมื่อล้าง
เสร็จให้ใช้เครอื่ งฉีดนา้ แรงดันลา้ งผงซกั ฟอกออก

6) ปล่อยโรงเรือนให้แห้งพอหมาด ฉีดยาฆ่าแมลงให้ท่ัวท้ังโรงเรือนด้วยเครื่องฉีดน้าแรงดันท่ีปรับ
ใหม้ ขี นาดของละอองน้าพอเหมาะและทิ้งไว้ 24 ช่วั โมง แล้วจึงกวาดตัวแมลงที่ตายออกจากโรงเรอื น การใช้
ยาฆ่าแมลงควรใชย้ าหลายชนิดหมนุ เวยี นกนั เพอ่ื ปอ้ งกนั การดือ้ ยาของแมลง

7) พ่นยาฆา่ เชื้อให้ทว่ั ทงั้ โรงเรอื น
8) โรยพื้นด้วยปนู ขาวหรือปูนดบิ หรือโซดาไฟเพอ่ื กาจดั ไขข่ องแมลง
9) ล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด พ่นด้วยยาฆ่าเช้ือแล้วนาไปเก็บไว้ในห้องเก็บ
อปุ กรณ์
10) ซ่อมแซมโรงเรือน และอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีชารุดเสียหาย เช่น ตาข่าย ประตู หลังคา พื้น
รางอาหาร รางน้า กรงตับ และอดุ รขู ้างโรงเรือนท่เี ปน็ รูระบายนา้ ขณะลา้ งโรงเรอื น
11) ถ้ามีเครือ่ งพน่ ไฟ ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งพ่นไฟกาจดั ขนไก่ออกใหห้ มด
12) เชือกแขวนถงั อาหารและรางน้า ควรนามาล้างให้สะอาดและจ่มุ น้ายาฆ่าเชอ้ื โรค
13) นาผ้าม่านสะอาดมาขึงให้รอบโรงเรือนโดยเก่ียวกับตะขอท่ียึดกับตาข่ายของโรงเรือน
ใหใ้ ชเ้ ชือกขงึ เปน็ รปู ฟันปลาจากด้านล่างถงึ ด้านบนให้ผา้ มา่ นแนบสนทิ กบั ตาขา่ ยโรงเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้
ตาข่ายกระพือเพราะแรงลมทาให้ผ้าม่านขาดเร็ว และลูกไก่ตกใจ ขึงผ้าม่านด้านบนให้ห่างจากหลังคา
30 เซนตเิ มตร การขึงผ้ามา่ นตอ้ งไมใ่ หม้ ีชอ่ งให้ลมเขา้ ได้ ยกเวน้ บรเิ วณดา้ นบน (ภาพท่ี 6.1)
14) นาวัสดุรองพื้นเข้าโรงเรือน วัสดรุ องพื้นที่นยิ มใช้ ได้แก่ แกลบ ขีก้ บ หรอื อาจจะใช้ทรายหยาบ
เปลือกถั่ว ฟางข้าวสับ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ เบา ฟู ไม่จับตัวเป็นก้อนได้ง่าย ดูดซับความชื้นได้ดี มี
ขนาดใหญ่พอสมควร คือ รอดตะแกรงขนาด 1/4 นวิ้ ไมไ่ ด้ ฟาร์มไก่ไข่มักใช้แกลบเพราะหาได้งา่ ย แมจ้ ะดูด
ซับความชื้นได้ไม่ดีเท่าท่คี วร แกลบมีคุณสมบัตเิ ป็นด่างทาให้แห้งเรว็ ไมจ่ ับตวั เป็นก้อนง่าย ขี้กบมีลักษณะฟู
ดูดซับความช้ืนได้ดีกว่าแกลบ แต่ควรระวังอันตรายจากเส้ียนไม้ หรือชนิดของต้นไม้ท่ีเป็นพิษจะเป็น
อนั ตรายต่อลูกไกไ่ ด้ วัสดุรองพื้นโรงเรือนใส่หนา 4.5 เซนติเมตร แต่บริเวณภายในวงล้อมเครื่องกกวัสดรุ อง
พื้นควรหนา 9 เซนติเมตร เพื่อป้องกันลูกไก่คุ้ยวัสดุรองพ้ืนออกจนถึงพ้ืนปูน เพราะอาจทาให้ลูกไก่ปอด
บวม การคานวณวัสดุรองพื้นเพื่อส่ังซื้อ คานวณจากวัสดุรองพ้ืน 1 ลูกบาศก์เมตร ต่อพ้ืนที่ 12.5 ตาราง
เมตร
15) พ่นยาฆา่ เชอื้ ใหท้ ว่ั ภายในโรงเรอื นอีกครั้ง พร้อมกบั คราดเพอ่ื กลับวัสดรุ องพื้น
16) บรเิ วณรอบโรงเรือนให้ราดด้วยนา้ มนั เครือ่ งที่ใช้แลว้ หรอื ปนู ดบิ ใหท้ ัว่
17) เมอื่ ทาความสะอาดเสรจ็ ใหป้ ดิ โรงเรือนห้ามคนเข้าโดยไมจ่ าเปน็ อย่างน้อย 7-14 วนั

ภาพท่ี 6.1 การขงึ ผ้ามา่ นกันลมในระหวา่ งการกกลูกไก่

2. การจดั เตรียมวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ก่อนทลี่ กู ไก่จะมาถึงฟารม์ 3 วนั
ก่อนเปิดโรงเรือนหลังจากพักโรงเรือน ต้องจัดเตรียมอ่างน้ายาฆ่าเชื้อโรคจุ่มเท้าหน้าโรงเรือนให้

เรียบร้อย และผู้ท่ีเข้าไปในโรงเรือนควรเป็นบุคคลท่ีเก่ียวข้องเท่าน้ัน และไม่ควรเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมา
กอ่ น ถ้าเข้าโรงเรือนไก่อายุมากมาก่อนต้องอาบน้า สระผม เปลี่ยนเส้ือผ้าก่อนเข้าโรงเรือนลกู ไก่ จัดเตรียม
วัสดุและอุปกรณ์ก่อนท่ีลูกไก่จะมาถึงฟาร์ม 3 วัน เร่ิมจากติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ไม่ทาให้เกิดความเกะกะ
และอุปกรณ์ที่คาดว่าเมื่อลูกไก่อยู่ในโรงเรือนแล้วไม่สามารถติดต้ังได้สะดวก เช่น หลอดไฟ มอเตอร์พัดลม
เชือกแขวนถังอาหาร รางน้า ให้เรียบร้อยพร้อมใช้งาน ตรวจสอบผ้าม่านอย่าให้มีรูรั่วลมเข้าได้ จากน้ัน
จัดเตรยี มกก การจดั เตรียมกกมขี ้ันตอนดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การเตรียมก้ันแผงกก โดยใช้แผงก้ันกกท่ีทาด้วยแผ่นสังกะสีสูง 0.45 เมตร ยาว 1.20 เมตร
จานวนประมาณ 7 - 8 แผ่น ต่อเครื่องกก 1 เครือ่ ง ใช้กกลูกไก่ได้ 500 ตวั หรือใช้เสียมไม้ไผ่ หรอื แผงลวด
ตาข่ายขนาด 2.5 x 2.5 เซนติเมตร สูงประมาณ 30 เซนติเมตรซึ่งเหมาะสาหรับฤดูร้อน ใช้แผงสังกะสีดี
ท่ีสุดเพราะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าหรือก๊าซหุงต้ม แผงก้ันกกต้องวางอย่าให้เกิดเป็นมุมแหลม เพราะลูกไก่
อาจไปซุกตามมมุ และทบั กันตาย

2) การติดต้ังเคร่ืองกก โดยสารวจสภาพเคร่ืองกก และทดลองว่าทางานปกติหรอื ไม่ โดยเสียบไฟ
ทิ้งไว้ให้เคร่ืองกกทางาน 48 ช่ัวโมง หลังจากนั้นค่อยปิด แล้วเปิดเครื่องอีกครั้งก่อนที่ลูกไก่เดินทางมาถึง
ฟาร์ม 4 - 6 ชั่งโมง เครื่องกกที่นิยมใช้ในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ เคร่ืองกกไฟฟ้าและเคร่ืองกกก๊าซ
เคร่ืองกกไฟฟ้า ท่ีใช้ในปัจจุบันเป็นเคร่ืองกกแบบฝาชี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 ฟุต สาหรับกกลูกไก่ 500
ตัว โดยติดต้ังให้ขอบเคร่ืองกกสูงจากวัสดุรองพื้น 15.24 เซนติเมตร ขอบเครื่องกกห่างจากแผงก้ัน 76.2
เซนติเมตรในฤดูหนาว และ 91.44 เซนติเมตรในฤดูร้อน ไม่ควรใช้เครื่องกก 2 เครื่องในแผงก้ันกกอัน
เดยี วกนั

การแขวนเคร่ืองกกต้องไม่ให้เอียงไปด้านใดด้านหน่ึง เสียบปลั๊กให้ขดลวดความร้อนทางาน หลอด
อินดิเคเตอร์ (indicator bulb) ที่ติดอยู่ท่ีชายเคร่ืองกกด้านนอกใช้สาหรับแสดงการทางานของขดลวด
ไฟฟ้า ถ้าขดลวดไฟฟ้าทางานหลอดไฟนี้ก็ติดด้วย ในเคร่ืองกกมีหลอดไฟ 40 วัตต์ อยู่ตรงกลางเคร่ืองกก

หลอดไฟนี้มีหน้าท่ีล่อลูกไก่ให้เข้าเครื่องกก ซ่ึงต้องติดอยู่ตลอดเวลา ตรวจสอบอุณหภูมิโดยอ่าน

เทอร์โมมิเตอร์แขวนที่ขอบของเครอื่ งกกสูงจากวัสดุรองพ้ืน 4.5 เซนติเมตร ถ้าอุณหภูมิยังไม่ตรงตามความ

ต้องการ ให้ปรับชุดควบคุมความร้อน โดยหมุนขยายให้ไมโครสวิทช์ห่างออกจากตลับเวเฟอร์ จนกระท่ัง

อุณหภูมิถึง 35 องศาเซลเซียส แล้วขดลวดความร้อนหยุดทางาน พร้อมกับหลอดไฟสีแดงท่ีติดอยู่ที่ชาย

เคร่อื งกกดา้ นนอกดบั หลังจากนัน้ ชุดควบคุมความร้อนจะควบคุมระดบั อณุ หภมู โิ ดยอัตโนมตั ิ

การใช้เครื่องกกไฟฟ้ามีข้อพึงปฏิบัติ คอื ให้สังเกตดูวา่ หลอดอินดเิ คเตอร์ทางานปกติหรือไม่ หลอด

ขาดหรือไม่ อย่าให้ตัวเคร่อื งกกเปียกน้าขณะใช้ควรมีการตรวจสอบการทางานของชุดควบคุมอุณหภูมิบ่อย

ๆ โดยเฉพาะตลับเวเฟอร์เม่ือนาไปจุ่มน้าร้อนสารอีเทอร์ที่บรรจุภายในขยายตัวทาให้ตลับเวเฟอร์พองตัว

ออก แล้วนามาจุ่มน้าเย็นซึ่งทาให้ตลับเวเฟอร์หดตัว ควรเปลี่ยนตลับเวเฟอร์ทุกปี และหม่ันตรวจดูปลั๊กไฟ

เทปพนั สายไฟก่อนใช้ทกุ ครง้ั ว่าชารดุ หรอื ไม่

ในการใช้เคร่ืองกกแก๊ซ ควรติดตั้งเคร่ืองกกให้สูงจากพื้น 1.20 - 1.50 เมตร ขึ้นกับปริมาณลูกไก่

ที่กก เคร่ืองกกแก๊ซท่ีนิยมใช้มี 2 ขนาด คือ ขนาดกกลูกไก่ได้ 500 ตัว และ 1,000 ตัว การแขวนเครื่องกก

ตอ้ งให้หัวเครือ่ งกกเชิดขึ้นประมาณ 20 องศา เพ่ือให้ความร้อนลอยออกจากตัวเครื่องกกได้ วัสดุที่ใช้แขวน

ตรงบริเวณที่ติดกับตัวเครื่องกกต้องเป็นโซ่เหล็ก เพ่ือป้องกันการละลาย ต่อสายก๊าซออกจากถังก๊าซท่ีมีตัว

ปรับความดันก๊าซ ติดอยู่บนสายเมน แล้วแยกสายก๊าซไปตามเครื่องกก โดยการใช้ข้อต่อสามทางเป็นตัว

แยก รัดเข็มขัดตรงรอย ต่อให้แน่นทุกจุด ตรวจสอบว่ามีก๊าซร่ัวหรือไม่ โดยใช้ฟองน้าชุบน้าที่ละลาย

ผงซักฟอก เปดิ กา๊ ซแล้วนามาหมุ้ รอยตอ่ ถา้ มฟี องอากาศเกดิ ขน้ึ แสดงวา่ มีก๊าซรั่วใหร้ บี แก้ไข

การจุดเครื่องกกแก๊ซ ทาโดยเปิดตัวปรับความดันแก๊ซ ที่ถังก๊าซไปที่หมายเลข 5 - 7 ขึ้นกับความ

ยาวของสายแก๊ซ ใช้มือกดวาล์วที่ตัวเคร่ืองกกปล่อยให้แก๊ซไหลออแกมา ใช้เทียนจุดที่ปลายท่อก๊าซด้านใน

เคร่ืองกกจนเปลวไฟติดกับแก๊ซ กดวาล์วต่อไปอีกระยะหนึ่งสังเกตดูว่าแผงความร้อนแดงพอประมาณ และ

เมื่อปล่อยวาล์วแล้วไฟท่ีแผงความร้อนไม่ดับ การใช้เครื่องกกแก๊ซหลายเครื่องต่อกับถังแก๊ซ 1 ถังทาให้

เคร่ืองกกลาดับทา้ ยต้องกดวาล์วนาน เพื่อไลอ่ ากาศในท่อก๊าซออก และควรทาความสะอาดกรองอากาศทุก

สปั ดาห์ ห้ามสูบบุหร่ใี นโรงเรอื น เมื่อเคร่ืองกกทุกเคร่ืองติดเรยี บร้อยแล้วประมาณ 2 ชั่วโมง ให้วดั อุณหภูมิ

ท่ีระดับความสูงจากวัสดุรองพื้น 4.5 เซนติเมตรให้ได้ตามความต้องการ ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปให้ปรับลดตัว

ควบคุมความดันกา๊ ซที่ถงั แก๊ซ

4) การเตรียมพื้นที่กกลูกไก่ เกณฑ์กาหนดให้ ลูกไก่ 1 ตัว ต้องการพ้ืนที่ใต้กก 90 ตาราง

เซนติเมตร หรือประมาณ 10 - 11 ตัวต่อตารางเมตร การคานวณพื้นที่ที่เหมาะสมในการกกลูกไก่คานวณ

ได๎ ดังนี้

ลูกไก่ 1 ตัวต้องการพื้นที่ = 90 ตารางเซนติเมตร

ถ้าต้องการกกลกู ไก่ 500 ตัวต้องใช้พ้ืนที่ = 500 x 90 ตารางเซนตเิ มตร

สูตรในการคานวณหาพืน้ ทีข่ องวงกลม = 45,000 ตารางเซนติเมตร

ถ้าใช้แผงล้อมกกล้อมลูกไกต่ อ้ งให้มรี ัศมี (r) = 2

= √4500



= √4500 x 7

22

= 119.66 เซนตเิ มตร
หรือถา้ ใชเ้ สยี มกกต้องมเี สน้ ผ่าศนู ย์กลางวงกลม 239 เซนติเมตร

ในการเลี้ยงไก่ในโรงเรือนระบบปิด ลูกไก่ต้องการพ้ืนท่ีในการกกน้อยก่าการเล้ียงในโรงเรือนระบบ

เปิด โดยในพืน้ ทกี่ กในโรงเรือนระบบปิด 1 ตารางเมตร กกลูกไก่ได้ 20 ตวั

5) การเตรียมอุปกรณ์การให้น้า เตรียมน้าสาหรับลูกไก่ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม

1 - 2 ชั่วโมง โดยใช้กระติกน้าขนาด 1 แกลลอน ต่อลูกไก่ 50 ตัว ในระยะการกกลูกไก่ให้พิจารณาถึงความ

ยาวรางท่ีใหน้ า้ เป็นหลัก โดยกระตกิ น้าทน่ี ิยมใช้กันทั่วไป มี 2 ขนาด ดังนี้

กระติกนา้ ขนาด 4 ลิตร มีเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางจานรอง 18 เซนตเิ มตร

กระตกิ น้าขนาด 8 ลติ ร มเี ส้นผา่ ศูนย์กลางจานรอง 22.5 เซนติเมตร

การคานวณจานวนกระติกน้าสาหรบั ลกู ไกไ่ ข่ คานวณได้ดงั นี้

ลูกไก่ 1 ตัวต้องการความยาวรางเพ่ือกินนา้ = 2.25 เซนติเมตร

ลกู ไก่ 500 ตวั ต้องการความยาวรางเพ่ือกินนา้ = 1,125 เซนติเมตร

กระติกน้าขนาด 1 แกลลอนมีเส้นผ่าศูนยก์ ลาง = 18 เซนติเมตร

สูตรในการคานวณหาเสน้ รอบวง = 2 r

จานรองกระตกิ ขนาด 1 แกลลอน มีรัศมี (r) = 18 เซนติเมตร
9

= 9 เซนติเมตร

จานรองกระติกขนาด 1 แกลลอน มเี ส้นรอบวง = 2× 22 ×9
7

= 56.57 เซนตเิ มตร

เพราะฉะนนั้ กระติกน้าขนาด 1 แกลลอนใช้เล้ียงลกู ไก่ได้ = 56.57
2.25

= 25.14 ตัว

ในกรณีที่มีกระติกน้าไม่เพียงพออนุโลมให้ใช้ 1 กระติกต่อลูกไก่ 50 ตัว โดยยึดหลักความจริง
ที่ว่าลูกไกไ่ มไ่ ดก้ นิ น้าทกุ ตวั ในเวลาเดียวกัน

6) การจัดเตรียมน้าดื่มก่อนลูกไก่มาถึงฟาร์ม 2 ช่ัวโมง ต้องเตรียมน้าดื่มให้เรียบร้อย โดยผสม
วิตามินในน้าด่ืมให้ลูกไก่กิน 3 วันแรก ถ้าลูกไก่เดินทางมาไกลเกิน 50 กิโลเมตร ควรผสมน้าตาลทรายลง
ไปในน้าด้วยโดยใช้น้าตาลทราย 10 เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก เพื่อให้ลูกไก่ฟ้ืนตัวเร็วข้ึนและให้ลูกไก่ดื่มหมด
ใน 6 ชั่วโมง เพราะนา้ ตาลเกิดการบูดได้ง่าย ให้ลูกไกก่ ินน้าผสมน้าตาลในการใหน้ ้าครั้งแรกครงั้ เดยี ว นาน้า
ที่ใส่ในกระติกน้ามาวางต้ังไว้ตรงกลางเคร่ืองกกเพ่ืออุ่นน้าให้มีอุณหภูมิไม่ต่ากว่า 18 องศาเซลเซียส และ
เม่ือลูกไก่เดินทางมาถึง ให้คนเลี้ยงนากระติกน้าออกมาวางบนไม้รองที่ฝังในวัสดุรองพื้นตามตาแหน่งที่
เตรียมไว้ อย่าวางกระติกน้าบนแกลบ เพราะลูกไกจ่ ะคุ้ยแกลบลงไปในจานรองกระติกน้า ทาให้ลูกไกก่ ินน้า
ไม่ได้ และกระติกนา้ อาจลม้ อยา่ วางไม้รองกระติกน้าสงู เกินไปเพราะลูกไก่กินนา้ ไมถ่ งึ

7) การเตรียมอุปกรณ์ให้อาหาร อุปกรณ์ให้อาหารลูกไก่สัปดาห์แรก เป็นถาดพลาสติกแบบกลม
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 33.75 เซนติเมตร หรือถาดแบบส่ีเหลี่ยม กว้าง 48 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร
และสูง 6.5 เซนติเมตร หรืออาจใช้กล่องใส่ลูกไก่ตัดตามรอยปะเอากระดาษก้ันกลาง และกระดาษรองพ้ืน
ออก โดยใช้ 1 ถาด ต่อลูกไก่ 100 ตัว ถ้าเป็นถาดพลาสติกต้องจัดเตรียมให้พร้อมวางซ้อนกันไว้ข้างแผง
ล้อมกกแต่ละแผง (ภาพที่ 6.2) เตรียมปลายข้าวหรือข้าวโพดไวใ้ ห้ลูกไก่กนิ กอ่ นเมอ่ื มาถึง เพราะย่อยได้งา่ ย
และช่วยปอ้ งกนั มูลติดกน้ ลูกไก่

ภาพที่ 6.2 การจัดเตรียมอปุ กรณก์ ารกกลูกไก่
การจัดวางกระติกน้าและถาดอาหารกระจายหลายจุดสาหรับเครื่องกก เอส บี เอ็ม และเครอ่ื งกก
ฝาชีแบบใช้หลอดไฟฟา้ (ภาพที่ 6.3) ให้วางตามแนวขอบเคร่ืองกกเป็นวงกลม ห่างจากขอบแผงก้ันกกด้าน
ในประมาณ 33 เซนติเมตร วางกระติกน้าคู่กันในแนวขอบเครื่องกกหรือวางขนานกับขอบเคร่ืองกกก็ได้
เมือ่ ลูกไกก่ ินน้าแลว้ 2 ช่วั โมงจงึ ใหอ้ าหารลกู ไก่ การวางถาดอาหารใหส้ ่วนหนง่ึ ของถาดอย่ดู ้านในของเครื่อง
กก อีกส่วนหนึ่งของถาดอยู่ด้านนอกเครื่องกกเพ่ือให้ลูกไก่กินอาหารได้ทั่วทุกตัวเพราะลูกไก่ที่อ่อนแอ และ
หนาว อาจไม่ออกมานอกเครอ่ื งกก คอ่ ย ๆ เลื่อนถาดอาหารและน้าออกนอกเคร่ืองกกเมือ่ ลูกไก่อายมุ ากข้ึน
ในการให้น้าแก่ลูกไก่อายุ 1 วัน ปริมาณของน้าไม่สาคัญเท่าความยาวของขอบภาชนะให้น้า และเม่ือลูกไก่
อายุ 5 - 7 วนั ใหเ๎ ปล่ียนทีใ่ หน้ ้าเป็นกระตกิ น้าขนาดใหญ่ โดยเปลี่ยนครัง้ ละ 1 - 2 กระตกิ พรอ้ มกบั เปล่ยี น

จากถาดอาหารมาเป็นถาดรองของถังอาหาร และเปล่ียนออกหมดเม่ือลูกไก่อายุ 10 วัน ในกรณีที่เปลี่ยน
จากกระติกน้าเป็นรางน้าอัตโนมัติ ควรนารางน้าเข้าแทนกระติกน้าในวันที่ 5 ของการกก แล้วย้ายกระติก
นา้ มาตง้ั ไวใ้ กลก้ บั รางนา้ วันที่ 7 ให้คดั เอากระตกิ น้าออก วันที่ 10 นากระติกน้าออกทงั้ หมด

เคร่ืองกกแก๊ซ เครื่องกกฝาชีแบบใช้หลอดไฟฟ้า

ภาพท่ี 6.3 การวางกระตกิ นา้ และถาดอาหาร

การจัดอุปกรณ์การให้แสงสว่าง ใหต้ รวจหลอดไฟทุกหลอดวา่ ใชง้ านไดด้ ี ไม่กะพริบ หลอดและโคม
ไฟตอ้ งสะอาด เพราะถา้ หลอดและโคมไฟสกปรกจะทาให้ความเข้มของแสงลดลง เม่ือลกู ไก่มาถึงฟาร์มต้อง
เปิดไฟให้สว่างท้ังโรงเรือนแม้ในเวลากลางวัน เนื่องจากโรงเรือนมีแสงสลัวเพราะมีผ้าม่านกั้นอยู่ ให้ความ
เข้มของแสงเท่ากับ 4 แรงเทียนต่อพ้ืนท่ี 1 ตารางเมตร โดยติดหลอดไฟอยู่สูงจากตัวไก่ 2 เมตร หรือใช้
หลอดขนาด 40 แรงเทียน 1 หลอดต่อพน้ื ท่ี 18 ตารางเมตร

8) การจัดเตรียมอ่ืน ๆ ก่อนที่ลูกไก่มาถึงฟาร์ม ต้องจัดเตรียมคนงานเพื่อนาลูกไก่เข้าเล้ียงให้
พร้อม จัดเตรียมแบบฟอร์มการจดบันทึกต่าง ๆ จัดเตรียมโปรแกรมทางาน ระบุวันที่การปฏิบัติงานต่าง ๆ
ใส่แฟม้ ให้เรียบรอ้ ย จัดเตรียมโปรแกรมวัคซนี และควรส่งั ซ้ือวัคซีนไวก้ ่อนถึงวนั ทาวัคซีน

3. การจดั การไก่เนอื้ ระยะต่างๆ
1) การปฏิบตั ิเมอื่ ลูกไกม่ าถงึ ฟารม์
การปล่อยให้ลูกไก่อยู่ในกล่องขนส่งลูกไก่นาน ๆ อาจทาให้มีความร้อนสะสมในกล่องซึ่งจะทาให้

ลูกไก่แสดงอาการขาดน้า (Dehydration) หรือเกิดความเครียดจากความร้อนได้ซึ่งจะส่งผลต่อไปทาให้
ระบบการสร้างภูมิคุ้มด้อยลง ดังนั้นเมื่อลูกไก่มาถึงฟาร์มจึงควรจะปล่อยลงกกให้เร็วท่ีสุดแต่ต้องกระทา
ด้วยความนุ่มนวล ไม่ควรโยนหรือเทลูกไก่ออกจากกล่องสูงเกินไปเพราะอาจทาให้ลูกไก่บอบช้าได้
เมอื่ ลกู ไกม่ าถงึ ฟาร์มมีข้อควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี

- คนงานท่ีนาลูกไก่เข้าเลี้ยงต้องเตรียมพร้อมที่บริเวณโรงเรือน จานวนคนงานขึ้นอยู่กับ
จานวนลูกไกท่ นี่ ามาเลยี้ ง

- เม่ือลูกไก่มาถึงฟาร์มให้นากล่องลูกไก่ลงจากรถทันที แล้วนาไปวางไว้ใกล้ เครื่องกกวง
กกละ 5-10 กล่อง ตามขนาดของเครื่องกก ถ้ามีลูกไก่ที่ไม่ได้เกิดจากพ่อแม่พันธุ์ฟาร์มเดียวกัน ควรแยก
ลูกไก่ต่างฟาร์มไว้คนละกก แล้วเปิดฝากล่องลูกไก่ทุกกล่องทันที เม่ือเปิดฝากล่องให้สังเกตลักษณะของ
ลูกไก่ ลูกไก่ที่ดีต้องมีขนฟู ไม่นอนหมอบกับพ้ืน หรืออ้าปากหายใจ เม่ือเคาะที่กล่อง ลูกไก่แสดงอาการ
ต่ืนตัว เมื่อจับลูกไก่ดู สะดือต้องแห้ง แข้งไม่แห้งเกินไป ปาก ตา ขา ปกติ ไม่มีลักษณะพิการ สะดืออักเสบ
สะดือดา ขาบิดงอ หนา้ แข้งส้นั ปากเบีย้ ว ตาบอด ท้องบวม

- นับจานวนลูกไก่ กล่องบรรจุลูกไก่มีกระดาษกั้นเป็นช่อง 4 ช่อง การนับให้จับลูกไก่จาก
2 ช่องที่อยู่ด้านตามความยาวของกล่อง และอยู่ห่างจากตัวผู้นับ มารวมกับลูกไก่ท่ีอยู่อีก 2 ช่องตามความ
ยาวของกล่อง และอยู่ใกล้ตัวผู้นับ แล้วให้นับลูกไก่กลับคืนไปยังช่องท่ีย้ายลูกไก่มา แล้วจดบันทึกจานวน
ลูกไกแ่ ตล่ ะกล่อง

- ปล่อยลกู ไก่จากกล่อง การปล่อยลูกไก่จากกล่องเข้าเคร่ืองกก ทาได้โดยยกกล่องลูกไก่ที่
นับแล้ว และมีลูกไก่รวมกันอยู่ท่ี 2 ช่องตามความยาวของกล่อง เข้าไปในแผงก้ันกก ให้ขอบกล่องท่ีมีลูกไก่
อยู่สัมผัสกบั วสั ดุรองพน้ื ควา่ กล่องลกู ไกล่ ง ใช้มือเกล่ยี ลกู ไก่ให้กระจายออก

- จดบันทึกจานวนลูกไก่ วัน เดือน ปี ท่ีลกู ไกเ่ กิด น้าหนกั และฟาร์มทผ่ี ลิตลกู ไก่
- ตรวจดูการกินน้าของลูกไก่ ถา้ มลี ูกไก่ท่ีกินน้าไม่เป็นต้องสอนให้ลกู ไก่กินน้า โดยจับปาก
ลูกไก่จุ่มน้า 2 - 3 คร้ัง จานวน 2 - 3 ตัว รอบ ๆ กก เมื่อลูกไก่ตัวอื่นเห็นก็ทาตาม ต้องให้ลูกไก่กินน้า
โดยเร็วที่สุด เพ่ือทดแทนการเสียน้าจากร่างกาย เพราะลูกไก่ท่ีขาดน้าอาจแคระแกรน็ อ่อนแอ และเรียนรู้
ช้าลง
- เมื่อลูกไก่เข้าเคร่ืองกกได้ 2 - 3 ชั่วโมง หรือเมื่อแน่ใจว่าลูกไก่ได้กินน้าทุกตัวแล้ว
ยกถาดอาหารที่มีปลายข้าวหรือข้าวโพดบดวางในกก โดยวางสลับกับกระติกน้า และให้พื้นที่ส่วนหนึ่งของ
ถาดย่ืนเข้าไปในเครื่องกก เพ่ือให้ลูกไก่กินอาหารได้ตลอดเวลา การวางถาดอาหารต้องระวังไม่ให้ทับลูกไก่
พร้อมท้ังเคาะถาดเพื่อเรียกลูกไก่ให้มากินอาหาร ระยะนี้ให้กินอาหารแบบเต็มท่ีทุกวันและควรให้คร้ังละ
น้อย แต่บ่อยครั้ง อย่างน้อยวันละ 5 - 7 คร้ัง โดยใหอ้ าหารช่วงกลางวัน 4 ครง้ั และกลางคืน 3 ครัง้ ปลาย
ข้าว หรอื ขา้ วโพดให้คร้ังแรกเพียงครงั้ เดียว แลว้ จึงเปลย่ี นเปน็ อาหารไก่เล็ก โดยผสมปลายข้าวหรือข้าวโพด
กับอาหารไก่ไข่เล็กในอัตราส่วน 1:3 ในมื้อท่ีต้องการเปล่ียน ในม้ือถัดไปผสมในอัตราส่วน 1:1 และในม้ือที่
สาม จงึ ใช้อัตราส่วน 3:1
- ให้แสงสว่างท้ังโรงเรือน 24 ช่ัวโมง ตลอด 3 วันแรกท่ีลูกไก่มาถึงฟาร์ม เพ่ือให้ลูกไก่ได้
คุ้นเคยกับสถานท่ี ไฟท่ีให้ควรเปิดสลัว ๆ เพื่อป้องกันลูกไก่เดินเล่น ไฟสาหรับล่อลูกไก่เข้ากกต้องเปิดอยู่
ตลอดเวลาระยะ 3 สัปดาห์ ของการกก เมื่อลูกไก่อายุได้ 4-5 วัน ควรดับไฟแสงสวา่ งท้ังหมด 1 ช่ัวโมงก่อน
ฟ้าสางให้มืด เพ่ือสอนให้ลูกไก่รู้จักความมืดป้องกันไม่ให้ลูกไก่ตกใจ สุมเป็นกอง และทับกันตายเมื่อไฟฟ้า
ดับ ขณะท่ีฝึกลูกไก่ในวันแรกควรระวังอย่าให้ลูกไก่สุมเป็นกองใหญ่หรือลงนอนให้น้า ให้ฝึกเช่นนี้เป็นเวลา
3 วนั ติดต่อกนั

- หมั่นตรวจดูแลสุขภาพไก่โดยสม่าเสมอ ตรวจปริมาณอาหารและน้ากิน กระติกน้าต้อง
ล้างเปล่ยี นนา้ ใหมท่ ุกวัน วันละ 2 คร้งั เปล่ยี นวัสดุรองพืน้ ทีช่ ้นื แฉะหรือจบั เปน็ แผ่นแขง็

2) การกกลูกไก่ (Brooding)
เนื่องจากลูกไก่ในช่วง 1-2 สัปดาห์แรกไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้คงท่ีได้ เราจึงต้อง
เพ่ิมความอบอุ่นให้กับลูกไก่เพ่ือให้ลูกไก่มีการเจริญเติบโตเป็นปกติ ตามกฎของทัมบ์ (Rule of thumb)
ระบุไว้ว่าการกกลูกไก่ท่ีใช้เครื่องกกแบบเฉพาะท่ี เช่น เครื่องกกแบบฝาชี เครื่องกกแบบโคม ฯลฯ น้ัน ควร
จะปรับอุณหภูมิในบริเวณพื้นที่กกให้อยู่ท่ี 95 ° F หรือ 35.5 ° C ในช่วงสัปดาห์แรก จากน้ันจึงคอ่ ย ๆ ลด
อุณหภูมิลงประมาณสัปดาห์ละ 5 ° F หรือ 2.8 ° C จนกระท่ังอุณหภูมิภายในโรงเรือนคงที่อยู่ท่ีประมาณ
70 ° F หรือ 21 ° C การใช้เครื่องกกแบบเฉพาะท่ีนี้ความร้อนที่ตกบนพื้นจะไม่สม่าเสมอ โดยอุณหภูมิใต้
เคร่ืองกกจะสูงกว่าบริเวณที่อยู่ห่างออกไป ลูกไก่สามารถเคล่ือนที่หรือหลบหนีไปยังบริเวณท่ีมีอุณหภูมิกก
เหมาะสมได้ อณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสมในการกกลกู ไก่ดว้ ยเคร่ืองกกแบบตา่ ง ๆ ดงั แสดงในตารางท่ี 6.1 และ 6.2
ตารางท่ี 6.1 อุณหภมู ทิ ่ีแนะนาสาหรับการกกลกู ไก่กระทงดว้ ยเครอ่ื งกกชนดิ ต่าง ๆ

หมายเหตุ
1. อณุ หภูมิที่ระดบั ตวั ไก่
2. อณุ หภูมทิ ี่ระดับตัวไก่ วดั อุณหภูมหิ ่างจากขอบเครื่องกกประมาณ 1 ฟุต
3. อุณหภมู ิท่ีระดบั ตัวไก่ วดั อุณหภูมิหา่ งจากขอบเครือ่ งกกประมาณ 4 ฟตุ
ในช่วงสัปดาห์แรกของการกกจะต้องคอยสังเกตพฤติกรรมของลูกไก่อย่างใกล้ชิดและคอยฟังเสียง

ที่ผิดปกติโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงกลางคืนซ่ึงมีอากาศเย็นและเงียบสามารถฟังเสียงผิดปกติได้ สะดวกขึ้น
พฤติกรรมของลูกไก่ท่ีแสดงออกมาสามารถบ่งบอกถึงอุณหภูมิในการกกว่าเหมาะสมหรอื ไม่ เชน่ ถ้าหากเรา
ได้ยนิ เสียงไอ จาม หรอื ลกู ไก่มานอนสุมรวมกันใตเ้ ครื่องกกแสดงวา่ อณุ หภูมิในการกกตา่ เกินไป หรือถ้าหาก

ลูกไก่ยืนกระจัดกระจายอยู่ห่างๆ อ้าปากหายใจหรือกางปีกออก แสดงว่าอุณหภูมิที่ใช้ในการกกน้ันสูง
เกนิ ไป

อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่กระทงในปัจจุบันมักจะใช้วิธีการกกทั้งโรงเรือน หรือใช้เครื่องกกแบบ
Forced-air furnace brooder ซ่ึงจะทาให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนใกล้เคียงกันท้ังหมด ฉะนั้นถ้าหากไก่มี
ความรู้สึกว่าเย็นเกินไปหรือร้อนเกินไปก็ไม่สามารถหลบหนีไปอยู่ยังที่อื่นท่ีเหมาะสมกว่าได้ ดังนั้นการต้ัง
อุณหภูมิในช่วงแรกของการกกจะต้องต้งั ใหต้ ่ วา่ อุณหภูมิของเคร่ืองกกแบบเฉพาะท่ีเล็กน้อย คือ จะต้องต้ัง
อุณหภมู ิทีร่ ะดบั ตวั ไก่ไว้ที่ประมาณ 88 ° F หรือ 31 ° C ในช่วงสปั ดาห์แรกของการกก
ตารางที่ 6.2 คา่ อุณหภูมทิ ่ีแนะนาสาหรับการใชเ้ ครือ่ งกกแบบเฉพาะจดุ

ทม่ี า : ประภากร (2560)
ก า ร ก ก ลู ก ไก่ ท่ี อุ ณ ห ภู มิ ต่ า จ ะ ท า ให้ ไก่ ก ร ะ ท งมี อั ต ร า ก า ร ต า ย เนื่ อ งจ า ก โ ร ค ท้ อ ง ม า น สู งข้ึ น

เน่ืองจากเม่ืออุณหภูมิต่าจะกระตุ้นให้ไก่จะกินอาหารเพ่ิมข้ึนส่งผลให้ความต้องการก๊าซออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ด้วยการเพ่ิมความต้องการก๊าซออกซิเจนและการเพ่ิมขบวนการเมตาบอลิซึมจากอาหารท่ีกินเข้าไปเพ่ือ
รักษาอุณหภูมิร่างกายให้อบอุ่นส่งผลให้หัวใจและปอดทางานหนักข้ึนจึงมีโอกาสเกิดโรคท้องมานมากขึ้น
ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิระหว่างการกกลูกไก่กับอัตราการตายและการเกิดโรคท้องมานแสดงในตาราง
6.3 และ 6.4
ตารางท่ี 6.3 ผลของอณุ หภูมกิ กต่อน้าหนักตวั และอัตราการเปลยี่ นอาหารในไก่กระทงอายุ 0-3 สัปดาห์

ทม่ี า : ประภากร (2560)

ตารางที่ 6.4 ผลของอุณหภมู กิ กตอ่ น้าหนักตวั และอตั ราการเปลย่ี นอาหารในไกก่ ระทงอายุ 0-3 สปั ดาห์

ท่ีมา : ประภากร (2560)

ระหว่างการกกเราสามารถแบ่งพ้ืนที่บางส่วนภายในโรงเรือนเพ่ือใช้สาหรับกกลูกไก่ได้ โดยการใช้
ผ้าม่าน ตาข่าย หรือแผงกันกกกั้นแบ่งเป็นห้องโดยใช้พื้นท่ีประมาณ 2 ใน 3 ของโรงเรือนเพ่ือกกลูกไก่ใน
ชว่ งแรก จากน้ันจึงขยายพื้นท่ีกกให้ไก่กระจายไปทั่วทั้งโรงเรือนเมื่อลูกไก่อายุได้ประมาณ 7-10 วัน ในช่วง
ฤดูร้อนหรือประมาณ 10-14 วันในช่วงฤดูหนาว พื้นที่การกกลูกไก่ 50-60 ตัว/ตร.ม. ในช่วงฤดูหนาว และ
ประมาณ 40-50 ตวั /ตร.ม. ในช่วงฤดูร้อน

3) การระบายอากาศระหว่างการกกลกู ไก่
การระบายอากาศมีวัตถุประสงค์เพ่ือกาจัดก๊าซพิษและความช้ืนส่วนเกินออกจากโรงเรือนและ
จัดหาอากาศบริสุทธ์ิท่ีมีคุณภาพดีให้กับลูกไก่ที่อยู่ภายในโรงเรือนเพ่ือให้มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอและมี
ความช้ืนเหมาะสม โดยจะต้องมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)
กา๊ ซแอมโมเนียและปรมิ าณฝุ่นตา่ ทส่ี ดุ
ระหว่างการกกลูกไก่นอกจากจะคานึงถึงอัตราการระบายอากาศและอุณหภูมิที่เหมาะสมแล้วยัง
ต้องค านึงถึงความเร็วอีกด้วย เนื่องจากลูกไก่จะไวต่อความเร็วลมมากและอาจจะเกิดภาวะ Wind-chill
effect ได้ โดยเฉพาะในลกู ไกเ่ ลก็ ดงั นั้น ความเร็วลมจะต้องไม่มากจนเกินไป

4) การตรวจสอบในขณะกกลกู ไก่
(1) การตรวจสอบอุปกรณ์ให้น้้าเสรมิ หรือกระปุกนา้ (Mini drinker)
- ใชอ้ ุปกรณใ์ หน้ ้าเสรมิ ในอตั รา 6 อัน/ลูกไก่ 1,000 ตวั
- จะตอ้ งจดั ใหม้ ีน้าให้ไก่ดมื่ ตลอดเวลา
- จะต้องทาความสะอาดและเตมิ น้าใหมเ่ มอ่ื จาเป็น
- วันแรกของการกกจะต้องตั้งระดับน้าในอุปกรณ์ให้น้าให้สูงท่ีสุดเท่าที่จะทาได้

แต่จะต้องไมม่ ีน้าล้นออกมา

- อุปกรณ์ให้น้าเสริมสาหรับลูกไก่นี้จะใช้เพียง 2 วันเท่าน้ัน จากนั้นจะเอาออก
เมอ่ื ลกู ไก่ สามารถดื่มน้าจากอปุ กรณใ์ หน้ า้ หลักได้

- จะต้องวางอุปกรณ์ให้น้าสูงจากพ้ืนเล็กน้อยเพื่อไม่ให้ลูกไก่คุ้ยเข่ียวัสดุรองพื้นลงไป
ปนเป้ือนในน้าโดยการวางแทน่ รองให้สูงจากพื้นประมาณ 2 น้วิ

(2) การตรวจสอบอปุ กรณใ์ ห้นา้ รปู ระฆัง (Bell shape drinker)
- ปรับต้ังระดับความสูงของขอบถังน้าโดยให้ขอบถังน้าอยู่ในระดับเดียวกับหลัง

ของลูกไก่ และจะตอ้ งปรับระดบั ความสงู ตามการเจริญเตบิ โตของลูกไก่
- จะต้องทาความสะอาดอุปกรณ์ให้นา้ เป็นประจาทุกวันเพ่ือป้องกันการปนเป้ือน

และ สกปรกโดยเฉพาะในช่วงหน้าร้อน ให้เทน้าเก่าออกอย่างน้อยวันละครั้งเพ่ือให้มีน้าสะอาดและมี
อณุ หภูมิไม่สูงจนเกินไปใหไ้ ก่กิน

- ในระยะแรกของการกกหรือเมื่อลูกไก่มาถึงใหม่ ๆ จะต้องปรับระดับน้าให้ต่า
กว่าขอบถัง น้าไม่เกิน 0.5 เซนติเมตรหรือประมาณ 0.2 นิ้ว จากนั้นจึงค่อยๆ ลดระดับน้าลงให้มีความลึก
ประมาณ 1.25 เซนตเิ มตรหรอื 0.5 นิว้ ทอ่ี ายุ 7 วนั

- ถังน้าอัตโนมัติรูประฆังทุกใบจะต้องติดตัวถ่วงน้าหนัก (Ballasted) และใส่น้า
ไว้ด้านใน เพ่ือให้ตัวถังมีน้าหนักพอท่ีจะป้องกันการแกว่งไปมาในขณะท่ีไก่ดื่มน้าซ่ึงจะป้องกันไม่ให้น้าหก
ออกมาได้

(3) การตรวจสอบนิปเป๊ิล (Nipple check)
- จะต้องปรับระดับความสูงของหัวนิปเป๊ิลให้อยู่ในระดับเดียวกับตาของลูกไก่

ในช่วง 2-3 วัน แรก เมื่อลูกไก่สามารถด่ืมน้าจากนิปเป๊ิลได้แล้วจากนั้นจึงปรับให้อยู่ในระดับสูงกว่าหัวไก่
เล็กนอ้ ย

- ปรับระดับแรงดันน้าภายในท่อให้เหมาะสมสาหรับลูกไก่ คือ จะต้องปรับ
แรงดันใหพ้ อมี หยดนา้ เคลอื บอยบู่ รเิ วณปลายนิปเปิ๊ลแต่ไมถ่ ึงกบั หยดลงมา

- ความสูงของนิปเปิลที่เหมาะสมคือ ในขณะท่ีไก่กาลังจิกหัวนิปเปิลเพ่ือดื่มน้า
จะตอ้ งไมเ่ ขย่งเทา้ และจะต้องไม่ก้ม

- อาจจะต้องมีการทาความสะอาดท่อส่งนา้ บา้ งเมอื่ จาเปน็
(4) การตรวจสอบอปุ กรณใ์ ห้อาหาร (Feeder check)

- ในระยะแรกของการกกจะตอ้ งโรยอาหารลงบนถาดอาหารหรือบนกระดาษรอง
เพ่อื ให้ ลูกไก่ฝึกกนิ อาหารใหเ้ รว็ ที่สดุ

- อุปกรณ์ให้อาหารหลักแบบจานอาหาร (Pan feeder) จะต้องปรับระดับ
อุปกรณ์ใหอ้ าหารให้เหมาะสมกับความสูงของตัวไกโ่ ดยปรับระดบั ให้ขอบรางอาหารหรือขอบจานอาหารอยู่
ในระดบั เดียวกบั หลังลกู ไก่

- จะต้องปรับระดับอาหารภายในรางหรือภายในจานอาหารให้เหมาะสมเพ่ือ
ป้องกันอาหารหกหลน่ จากการค้ยุ เขีย่ และจะต้องมีอาหารใหไ้ ก่กินตลอดเวลา

5) การใหอ้ าหารไกก่ ระทง
การให้อาหารไก่กระทงจะแบ่งอาหารตามระยะการเจริญเติบโตของไก่ ซึ่งโดยทั่วไปจะแบ่ง
ออกเป็น 3 ระยะ คือ ไก่เล็ก (Starter) ไก่รุ่น (Grower) และไก่ใหญ่ (Finisher) โปรแกรมการเปล่ียนสูตร
อาหารตามระยะการเจริญเติบโตของไก่น้ันจะแตกตา่ งกันขึ้นกับอายุท่ีจะจบั สง่ โรงงานชาแหละ
การให้อาหารลูกไก่ในระยะกก จะให้อาหารในถาดอาหารกลม และจะให้ทีละน้อยแต่จะให้
บ่อยครั้ง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ลูกไก่กินอาหารได้มากข้ึน เม่ือไก่โตขึ้นก็จะเปล่ียนมาใช้วิธีการให้อาหาร
โดยระบบอัตโนมตั ิ ซ่ึงมกั จะใชร้ ะบบจาน (Pan feeder) หรืออาจจะใช้แบบราง (Trough feeder) ปจั จุบัน
ในอุตสาหกรรมการเล้ียงไก่กระทงมักจะนิยมใช้อุปกรณ์ให้อาหารแบบจาน (Pan feeder) มากกว่า
จาานวนไก่ต่อจานอาหารจะขน้ึ อยู่กับรูปแบบและขนาดของจาน เช่น ขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 12 น้ิว จะใช้
ในอัตราส่วน 1 จาน/ไกก่ ระทง 50-75 ตัว แต่ถ้าหากเปน็ การเล้ยี งไก่เพ่ือจบั ขายเป็นไก่ใหญ่ท่ีมี น้ าหนกั ตัว
มากกว่า 3.7 กิโลกรมั กอ็ าจจะใช้สัดส่วนท่ีนอ้ ยกวา่ น้ี
ถ้าหากจับไก่ส่งตลาดหรือส่งโรงงานชาแหละเมื่ออายุยังน้อยมักจะใช้สูตรอาหารเพียง 4 สูตร
(ระยะ) แต่ถ้าเลี้ยงเพื่อขายเป็นไก่ใหญ่ก็จะใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงนานกว่าก็มักจะใช้สูตรอาหาร 5 สูตร
การแบ่งสูตรอาหารและช่วงอายุทีใ่ ช้ในการเลยี้ งไก่ของอาหารแต่ละสูตรดังแสดงในตารางที่ 6.5 โดยแตล่ ะ
ชว่ งจะจดั เตรียมอาหารไวใ้ หไ้ กใ่ นปริมาณท่ีแตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่

- ระยะแรก (Starter) ใช้อาหารอาหารไก่เล็ก (Starter diet) ใช้เลี้ยงไก่กระทงช่วงอายุ
1-18 วัน ใชอ้ าหารประมาณ 12%

- ระยะไก่รุ่น (Grower) ใช้อาหารไก่รุ่น (Grower diet) ใช้เล้ียงไก่กระทงช่วงอายุ 19-30
วนั ใชอ้ าหารประมาณ 33%

- อาหารไก่ระยะสุดท้าย (Finisher diet) อาหารไก่ใหญ่ ใชเ้ ลีย้ งไก่กระทงช่วงอายุ 31 วัน
ข้นึ ไป หรือชว่ งอายุ 31-35 วัน ใชอ้ าหารประมาณ 25%

- อาหารก่อนส่งตลาด (Withdrawal diet) ใช้เลี้ยงไก่ในช่วงระยะ 5-7 วันก่อนจับส่งโรง
ชาแหละหรือก่อนจับขาย ใช้อาหารประมาณ 30% ของปริมาณอาหารทัง้ หมด

อาหารสาหรับไก่กระทงก่อนส่งตลาดหรือก่อนส่งโรงงานชาแหละ (Withdrawal period)
เพื่อป้องกันไม่ให้มียาปฏิชีวนะและสารเสริมเพ่ือเร่งการเจริญเติบโตตกค้างอยู่ในเน้ือไก่และผลิตภัณฑ์จาก
เน้ือไก่ซึ่งอาจจะส่งผลเสียต่อผู้บริโภคได้ ดังน้ันอาหารที่จะใช้เลี้ยงไก่กระทงในระยะสุดท้ายของการเล้ียง
จึงจาเป็นต้องใช้อาหารสูตรท่ีไม่มีการผสมยาปฏิชีวนะและสารเสริมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตใดๆ ทั้งสิ้น
ซ่ึงโดยปกติแล้วยาปฏิชีวนะและสารเสริมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตที่ใช้ในสูตรอาหารมักจะถูกขับออกจาก
ร่างกายได้ หมดภายในเวลา 3-5 วัน ดังน้ัน ก่อนที่จะจับไก่กระทงส่งตลาดหรือส่งโรงงานชาแหละจึง
จาเป็นต้องใหอ้ าหาร ทไ่ี ม่มีการผสมยาปฏิชีวนะและสารเสรมิ ต่าง ๆ อย่างน้อย 5 วัน อาหารท่ีไม่มสี ารเสริม

นี้เรียกว่า Withdrawal diet ดังนั้นก่อนท่ีจะจับไก่ส่งโรงชาแหละหรือจับขายจึงจาเป็นจะต้องให้อาหารที่
ปราศจากยาปฏิชีวนะให้ไก่กระทงกิน บางครั้งนักโภชนศาสตร์จะปรับลดโภชนะหรอื วตั ถุดิบบางอย่างท่ีไม่
ค่อยจาเป็นออกจากสูตรอาหารเพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร เช่น ลดปริมาณของวิตามินลง แต่อาจจะเพ่ิม
กรดอะมโิ นและแรธ่ าตบุ างชนดิ เขา้ ไปเพ่อื กระตุ้นให้สรา้ งกล้ามเน้ือมากขึ้น

การปรับระดับความสูงของอุปกรณ์ให้อาหารให้เหมาะสมกับขนาดและอายุไก่ที่เล้ียงเป็นส่ิงสาคัญ
มาก ถ้าหากผู้เลี้ยงปรับระดับไม่เหมาะสมจะทาให้ไก่กินอาหารไม่สะดวกและมีอาหารหกหล่นมาก ในการ
เล้ียงไก่ กระทงจึงควรปรับระดับของอุปกรณ์ให้อาหารให้อยู่ในระดับเดียวกันกับหลังของไก่จะเหมาะสม
ทส่ี ดุ ซงึ่ เปน็ ระดับทไี่ กส่ ามารถยนื กนิ อาหารไดส้ ะดวกท่สี ดุ และมีการคุ้ยเขย่ี อาหารน้อยทสี่ ดุ

ภาพท่ี 6.5 การปรบั ระดับความสงู ของจานอาหาร (Pan feeder) โดยใหอ้ ยูใ่ นระดบั เดียวกับหลังไก่
6) การให้นา้ ไก่กระทง
โดยปกติในร่างกายของไก่จะมีน้าเป็นองค์ประกอบอยู่ประมาณ 70-80% ของน้าหนักตัว ปริมาณ

น้าท่ีไก่กระทงด่ืมในแต่ละวันจะผันแปรตามส่วนประกอบของอาหาร อุณหภูมิภายในโรงเรือนและอายุของ
ไก่ ซง่ึ Pesti et al. (1985 ; อ้างตาม Bell and Weaver, 2002) ไดเ้ สนอสตู รการกะประมาณปรมิ าณน้าที่
ไก่กระทงจะต้องด่ืมในแต่ละวันโดยใช้อายุไก่ (วัน) คูณด้วย 5.9 ก็จะได้ค่าประมาณการปริมาณน้าท่ีไก่
จะต้องดื่มในวันนั้น ๆ เช่น ไก่กระทงอายุ 10 วัน จะต้องดื่มนาตัวละ 59 มิลลิลิตร (10 x 5.9) การทราบ
หรือการคาดคะเนปริมาณน้าที่ไก่จาเป็นต้องด่ืมในแต่ละวันน้ันจาเป็นอย่างยิ่ง ในกรณีที่จะต้องให้วัคซีน
แบบละลายน้าด่ืม การให้ยาปฏิชวี นะ การให้วิตามนิ หรอื สารอิเล็คโตรไลท์ในน้าดืม่ เพื่อให้มน่ั ใจได้ว่าไก่ทุก
ตัวจะได้รับวัคซีน ยา วิตามินหรือสารอิเล็คโตรไลท์ครบถ้วนเพียงพอตามที่กาหนดไว้ ผู้เลี้ยงจะต้อง
จัดเตรียมให้ไว้ให้ไก่ได้ดื่มกินอย่างเพียงพอทั้งปริมาณน้าและพ้ืนที่การให้น้าหรือจานวนอุปกรณ์ให้น้า
การติดตามบันทึกปริมาณน้าที่ไก่ด่ืมในแต่ละวันของไก่กระทงท่ีเรากาลังเล้ียงอยู่น้ัน สามารถใช้เป็นข้อมูล
เปรียบเทียบกับไก่กระทงในฝูงที่ผ่านมา หรือเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของสายพันธุ์ไก่ท่ีเรากาลังเลี้ยง
ซ่ึงสามารถใช้เป็นดัชนีติดตามสุขภาพของไก่ หรือใช้เป็นตัวบ่งช้ีถึงปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับไก่ท่ีเรากาลัง
เลยี้ งอยไู่ ด้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงปญั หาเกย่ี วกบั การจัดการ

การปรบั ระดับความสูงของอุปกรณ์ให้น้าใหเ้ หมาะสมกับขนาดและอายุไก่ที่เล้ียงเป็นส่ิงสาคัญมาก
ถา้ หากผู้เลย้ี งปรับระดับไม่เหมาะสมจะทาให้ไก่กินน้าไมส่ ะดวก ในการเลี้ยงไก่กระทงจงึ ควรปรับระดับของ
อุปกรณ์ให้อาหารให้อยู่ในระดับเดียวกันกับหลงั ของไก่จะเหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็นระดับท่ีไก่สามารถยนื กินน้า
ไดส้ ะดวกท่ีสุด

อุปกรณ์ให้น้าที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมการเล้ียงไก่กระทงในปัจจุบัน ได้แก่ อุปกรณ์ให้น้าแบบ
อัตโนมัติ ซงึ่ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ดังนี้

- ระบบเปิด เช่น แบบรางน้าอัตโนมัติ ถังน้าอัตโนมัติ หรือแบบถ้วย โดยกาหนดให้พื้นท่ี
การกินนา้ ไมน่ ้อยกวา่ 0.75 นว้ิ /ตัว หรอื ประมาณ 2 เซนติเมตร/ตวั และอุปกรณ์ใหน้ า้

- แบบปิด ได้แก่ อุปกรณ์ให้น้าแบบน้าหยดหรือแบบนิปเป๊ิล จานวนไก่ต่อหัวนิปเป๊ิลจะ
แตกต่างกันข้ึนกับการออกแบบของบริษัทผู้ผลิต และขนาดของนิปเปิ๊ล ส่วนใหญ่แล้วบริษัทผู้ผลิตจะ
แนะนาไว้ประมาณ 13-15 ตัว/นิปเปิ๊ล 1 หัว แต่ในขณะที่ไก่อยู่ในระยะไก่เล็กสามารถใช้ได้ถึง 25 ตัว/
นิปเปิ๊ล 1 หัว แรงดันน้าภายในท่อส่งน้าและความสูงของหัวนิปเป๊ิลเป็นสิ่งสาคัญที่จะต้องมีการ
ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด เน่ืองจากจะมีผลต่อการการทางานของนิปเปิ๊ลและความสะดวกในการดื่มน้าของ
ไก่กระทง ถ้าแรงดันน้าภายในท่อนิปเปิ๊ลน้อยเกินไปจะทาให้นา้ ไหลออกจากหัวนิปเปิ๊ลไมห่ ยุด แต่ถ้าหากมี
แรงดันน้าภายในท่อมากเกินไปก็จะทาให้ไก่จิกหัวนิปเปิ๊ลเพื่อดื่มน้าทาได้ลาบากข้ึนและน้าไหลแรงมากซึ่ง
จะทา ให้น้าหกลงพ้ืนมากข้ึน

ความสูงของหัวนิปเป๊ิลควรจะปรับระดับให้เหมาะสมตามขนาดของไก่ สาหรับไก่กระทงอายุ 17
วัน ควรปรบั ระดับหัวนิปเป๊ิลให้อยู่ในระดบั ตาของไก่ และเมื่อไก่ท่ีมีอายมุ ากกว่า 7 วนั ควรจะปรบั ระดับให้
หัวนิปเป๊ิลอย่สู ูงกว่าตวั ไก่ ในลักษณะทีเ่ มือ่ ไก่ยืนและเงยหวั ข้ึนก็สามารถจิกหัวนิปเปิลดมื่ นา้ ได้ โดยทีไ่ ม่ต้อง
ก้มหน้าลงมาหรือไม่ตอ้ งเขย่งเท้า

ภาพท่ี 6.6 การปรบั ระดับความสงู ทเ่ี หมาะสมสาหรบั นิปเปิ๊ลและถังน้าอัตโนมตั ิรปู ระฆัง

7) การจัดการวัสดรุ องพน้ื
การจัดการวัสดุรองพื้นส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญไปที่การลดลดความช้ืนและปริมาณก๊าซ
แอมโมเนีย ซ่ึงจะสัมพันธ์กับการจัดการน้าดื่ม การป้องกันน้าหกจากอุปกรณ์ให้น้าลงสู่พ้ืนและการลดค่า
pH ของวัสดุรองพื้นเพื่อยับยั้งมิให้แบคทีเรียย่อยสลายไนโตรเจนจากมูลไปเป็นก๊าซแอมโมเนีย การลดค่า
pH ของวัสดุรองพื้น ให้ต่ากว่า 7 พบว่าจะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซแอมโนเนียลงได้มาก
การควบคุมปริมาณการปลดปล่อยก๊าซแอมโนเนียโดยการใช้สารเคมี เช่น การใช้กรดฟอสฟอริก
(Phosphoric acid) โซเดี ยม ไบ ซัลเฟ ต (Sodium bisulfate) เฟ อร์รัสซัลเฟ ต (Ferrous sulfate)
แคลเซียมซัลเฟต (Calcium sulfate) และ อะลูมินัมซัลเฟตหรือสารส้ม (Aluminum sulfate) ผสมน้า
แล้วฉีดพ่นหรือโรยลงบนวัสดุรองพื้นในอัตราส่วนที่เหมาะสม การตรวจสอบความช้ืนของวัสดุรองพื้น
ความช้ืนในวัสดุรองพื้นไม่ควรเกิน 35% เนื่องจากจะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอาการฝ่าเท้าอักเสบ (Foot pad
dermatitis) ถุงน้าใต้ผิวหนังหน้าอก (Breast blister) และถ้าความช้ืนสูงจะก่อให้เกิดก๊าซแอมโมเนีย
การตรวจสอบความชื้นของวัสดุรองพื้นทาได้ง่ายๆ โดยการกาวัสดุรองพื้นไว้ในอุ้งมือแล้วบีบเบาๆ ถ้ามี
ความช้ืนเหมาะสมวัสดุรองพ้นื จะจับตัวกันเป็นก้อนในอุ้งมือและเม่ือวางบนพ้ืนก็จะแตกออก แต่ถ้าหากวาง
ลงบนพื้นแลว้ วสั ดรุ องพนื้ นนั้ ยังคงจับตัวกันเปน็ กอ้ นอยู่แสดงวา่ มคี วามชืน้ มากเกินไป แต่ถา้ วัสดรุ องพ้ืนแห้ง
เกินไปเมื่อกาไว้ในอุ้งมือและเมื่อคลายมือออกวัสดุรองพื้นน้ันจะไม่จับตัวกันเป็นก้อน การประเมินคุณภาพ
วัสดุรองพื้นเพ่ือตรวจสอบมาตรฐานในการจัดการ อาจแบ่งเป็นระดับได้ ดังต่อไปนี้ โดยระดับที่ยอมรับได้
คือ ระดับ 1-4 (มกษ. 6903(G)-2558)

- ระดับ 1 รว่ นแหง้ ใชม้ ือกาแล้วปล่อยพบว่า ไม่ตดิ กันเปน็ ก้อนมีการกระจายตัวดี
- ระดบั 2 เปียกบริเวณท่ใี หน้ า้ แตย่ งั มลี กั ษณะร่วนซยุ
- ระดบั 3 เป็นแผน่ แข็งบรเิ วณท่ใี หน้ า้
- ระดบั 4 เปน็ แผน่ แขง็ แต่แหง้
- ระดบั 5 เป็นแผน่ แขง็ แตเ่ ปียก
- ระดบั 6 เปยี กเปน็ โคลน

8) การประเมินประสิทธิภาพการเลยี้ งไก่กระทง
(1) อัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio)
ค่าอาหารเป็นต้นทุนส่วนใหญ่ในการเลี้ยงไก่กระทงคือ ประมาณ 80 % ของค่าใช้จ่ายใน

การเลี้ยงไก่กระทงแต่ละรุ่นจะเป็นค่าอาหาร การเพิ่มน้าหนักตัวของไก่กระทงจะสัมพันธก์ ับปริมาณอาหาร
ท่ีกินมากที่สุด ดังนั้นการวัดประสิทธิภาพการเลี้ยงและค่าตอบแทนทางเศรษฐกิจจึงมักจะมีการวัดค่า
ออกมาเป็นค่าอัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio; FCR) ซ่งึ คานวณได้โดยใชค้ ่าของน้าหนัก
อาหารท่ีไก่กินเข้าไปในแต่ละช่วงอายุหารด้วยน้าหนักตัวไก่ที่เพ่ิมขึ้นในช่วงอายุน้ัน ๆ ค่าอัตราการเปลี่ยน
อาหารหรือ FCR ที่ได้น้ียิ่งมีค่าน้อยย่ิงดี คือ ใช้อาหารในปริมาณน้อยก็สามารถเปล่ียนเป็นน้าหนักตัวไก่ได้

มากหรือกล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือ ใช้อาหารท่ีมีราคาต่าในปริมาณน้อยเปลี่ยนไปเป็นเนื้อไก่ที่มีราคาสูงได้มาก
นั่นเอง

คา่ อตั ราการเปลย่ี นอาหารจะเปน็ ดัชนีบ่งบอกถึงประสิทธภิ าพการเลี้ยงและการจัดการไกก่ ระทงใน
แต่ละฝูงได้ ใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่างของสูตรอาหาร สภาพแวดล้อมภายในโรงเรือน รูปแบบ
ของโรงเรือนและประสิทธิภาพของการจัดการด้านต่างๆ ได้ นอกจากอัตราการเปล่ียนอาหารแล้วยังมีวิธี
คานวณประสิทธิการให้ผลผลิตอีกวิธีหนึ่งคือ European Efficiency Factor (EPEF) หรือ ประสิทธิภาพ
การให้ผลผลติ (Production Efficiency Factor, PEF) คานวณไดจ้ ากสตู ร

ตวั อย่างเชน่ ไก่กระทงอายุ 46 วนั มีน้าหนกั ตวั เฉลีย่ เท่ากับ 3.006 กก. อัตราการเลี้ยงรอดเท่ากบั 96.9%
มคี า่ FCR เท่ากบั 1.83 ไก่กระทงฝงู นม้ี ีคา่ ประสทิ ธภิ าพการให้ผลผลติ (PER) เทา่ กับ

ค่าประสทิ ธิภาพการให้ผลผลติ น้ีถา้ มคี ่ามากแสดงว่าประสิทธิภาพในการเลี้ยงดี มีอัตราการเปล่ียน
อาหารดีและมีอัตราการเลี้ยงรอดสูง ดังนั้นถ้าต้องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้ผลผลิตระหว่างรุ่น
หรือระหว่างสภาพแวดล้อมทแ่ี ตกตา่ งกันจะตอ้ งคานวณท่ีอายุเดยี วกนั เสมอ

(2) อัตราการตาย (Mortality rate)
อัตราการตายของไก่กระทงจะข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น โรงเรือน อายุของพ่อ
แม่พันธุ์ การจัดการในฝูงและสภาวะการเกิดโรค เป็นต้น โดยปกติแล้วอัตราการตายของไก่กระทงในช่วง
สัปดาห์แรกไม่ควรจะเกิน 1% สัปดาห์ท่ีสองไม่ควรเกิน 0.5% การตายของไก่กระทงอาจจะเกิดจากหลาย
สาเหตุโดยเฉพาะอย่างยิ่งการตายท่ีสัมพันธ์กับการเจริญเติบโต เช่น ขาเสีย โรคท้องมาน และช็อกตาย
(Sudden death syndrome) เปน็ ต้น
(3) ความหนาแน่นและอัตราการเลีย้ ง (Stocking density)
การกาหนดความหนาแน่นหรืออัตราการเลี้ยงมี 2 ลักษณะคือ การกาหนดเป็นจานวนตัวต่อพ้ืนที่
เลี้ยง การกาหนดลักษณะน้ีจะทาให้ทราบว่าเราจะสามารถเลี้ยงไก่ได้จานวนเท่าใดต่อโรงเรือน หรือการ
กาหนดเป็นนา้ หนักตัวต่อพ้ืนที่เลี้ยงซ่งึ จะบอกได้ว่าเราจะได้ผลิตไกไ่ ด้น้าหนักเท่าใดต่อโรงเรือน ซึ่งโดยปกติ
แล้ว จานวนไก่ที่จะเล้ียงได้ภายในโรงเรือนจะข้ึนอยู่กับน้าหนักตัวเมื่อจับส่งตลาด ลักษณะของโรงเรือน

และฤดูกาล ไก่กระทงท่เี ล้ียงในโรงเรือนระบบ Evaporative cooling system สามารถเลีย้ งไกไ่ ดป้ ระมาณ
30.8 กก./ตร.ม. ในฤดูหนาว และประมาณ 29.3 กก./ตร.ม. ในฤดูร้อน การเลี้ยงไก่ในอัตราส่วนท่ีสูงหรือ
เล้ียงหนาแน่นมากเกินไปจะทาให้น้าหนักตัวน้อยลง ให้ผลผลิตเนื้อลดลง ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร
ลดลง จานวนไก่คุณภาพต่าเพ่ิมมากข้ึนและมีอัตราการตายเพ่ิมข้ึน อัตราการเลี้ยงไก่กระทงที่แนะนาโดย
Arbor Acres Broiler Management Guide (2009) ดังแสดงไว้ในตารางที่ 6.5

ตารางที่ 6.5 ความหนาแนน่ ในการเลย้ี งไก่กระทงที่แนะนาตามน้าหนกั ตัวสดุ ท้ายท่ีตอ้ งการ

ทม่ี า : ประภากร (2560)

ความหนาแน่นในการเลี้ยงไก่กระทงจะข้ึนกับฤดูกาล อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์ อุปกรณ์และ
ลกั ษณะของโรงเรอื น เช่น ถ้าเลีย้ งไก่กระทงในโรงเรอื นระบบปดิ ที่ควบคมุ สภาพแวดล้อมสามารถเลีย้ งไดไ้ ม่
ควรเกิน 30 กก./ตร.ม. (น้าหนักตัวเมื่อจับขาย) โรงเรือนเปิดท่ีมีการควบคุมสิ่งแวดล้อมได้ไม่ดี ควรเลี้ยงไม่
เกิน 20-25 กก./ตร.ม. และโรงเรือนเปิดที่อยู่ในเขตร้อนควรจะเล้ียงไก่หนาแน่นไม่ควรเกิน 16-18 กก./
ตร.ม. สาหรับโรงเรือนเปิดที่ไม่มีการควบคุมสภาพแวดล้อมจะต้องไม่เลี้ยงไก่ให้มีน้าหนักตัวเกิน 3 กก.
การเลย้ี งไกใ่ นอตั ราส่วนทีส่ งู หรือเล้ยี งแบบหนาแนน่ มากจะส่งผลทาให้ไกม่ นี า้ หนกั ตวั น้อยลง ใหผ้ ลผลิตเน้ือ
ลดลง ประสิทธิภาพการใช้อาหารลดลง จานวนไก่คุณภาพต่ามีมากข้ึน และมีอัตราการตายเพิ่มข้ึน

9) การให้แสงสว่าง (Lighting)
เน่ืองจากสัตว์ปีกเป็นสัตว์ท่ีไวต่อความยาวแสงต่อวัน กล่าวคือ แสงจะมีผลกระตุ้นการเจริญพันธุ์
และการแสดงพฤตกิ รรมบางอย่าง เชน่ การอพยพย้ายถ่ิน แต่ไกก่ ระทงมรี ะยะเวลาการเล้ียงสัน้ และจับขาย
เมื่ออายุยังน้อย ดังน้ันความยาวแสงต่อวันจึงไม่มีผลในการกระตุ้นการเจริญพันธุ์ แต่จะมีผลต่อการกิน
อาหารและการพักผ่อน การเพิ่มความยาวแสงต่อวันจะช่วยให้ไก่มีเวลากินในการอาหารได้มากขน้ึ ส่งผลให้
มอี ัตราการเจริญเติบดขี ้ึนโดยพบว่า การเลี้ยงไก่กระทงภายใต้ความยาวแสง 23 ช่ัวโมง/วัน (D23 : L1) จะ
มกี ารเจริญเตบิ โตดีกวา่ ไกท่ เี่ ล้ียงโดยใหแ้ สงตามธรรมชาติ (D12 : L12)
ความเข้มแสงก็มีผลต่อตัวไก่เช่นเดียวกับความยาวแสงต่อวัน ความเข้มแสงมีผลต่อการมองเห็น
แต่ถ้าไก่อยู่ภายใต้แสงท่ีมีความเข้มมากเกินไปจะทาให้ไก่เกิดความเครียด ดังน้ัน ควรให้แสงท่ีมีความเข้ม
เพียงพอที่ไก่จะสามารถมองเห็นน้าและอาหารได้ก็เพียงพอแล้ว ความเข้มแสงที่เหมาะสมสาหรับไก่กระทง
นั้นควรอยู่ระหว่าง 0.5-1.0 ฟุตเทียน (Foot-candle) หรือ 5-10 ลักซ์ (Lux) การให้แสงท่ีมีความเข้มมาก

เกินไปหรือมากกว่า 1.0 ฟุตเทียน หรือ 10 ลักซ์ จะทาให้ไก่มีอัตราการเจริญเติบโตลดลงเนื่องจากจะมี
ความเครียดและมีกจิ กรรมมากขึ้น

10) การตดิ ตามนา้ หนักตัวและคา่ ความสม่าเสมอของน้าหนักตัว (Uniformity)
เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของน้าหนักตัวเทียบกับน้าหนักตัวเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ในโปรแกรม
การจับไก่ส่งโรงงานชาแหละไดอ้ ย่างถูกต้องและแม่นยา จะช่วยให้เราม่นั ใจได้วา่ ไกส่ ่วนใหญ่จะมีน้าหนักตัว
อยู่ในช่วงน้าหนักตัวที่โรงงานชาแหละต้องการ การช่ังน้าหนักตัวจะทาการชั่งทุกสัปดาห์และเมื่อใกล้ถึง
กาหนดการจับไก่อาจจะต้องทาการสมุ่ ช่ังน้าหนักตัวถขี่ ึน้ หรือชง่ั ทกุ วนั การชั่งนา้ หนกั ตัวจะตอ้ งทาการชัง่ ใน
เวลาเดียวกันทุกคร้ังซ่ึงปกติจะทาการชั่งในช่วงบ่าย และจะต้องมีจานวนตัวอย่างไก่ท่ีทาการช่ังน้าหนัก
เทา่ กันทกุ ครัง้ การสมุ่ ตัวอย่างจะต้องสุ่มจากต าแหนง่ ต่าง ๆ ในโรงเรือนอย่างน้อยท่สี ุด 3 จุด โดยตาแหน่ง
ท่ีสุ่มจับไก่น้ันจะต้องห่างจากผนังและประตูพอสมควร การจับไก่จะต้องกระทาอย่างทะนุถนอมและ
คานึงถึงสวัสดิภาพสัตว์อย่าให้ไก่ได้รับบาดเจ็บหรือเกิดความเครียด การช่ังน้าหนักตัวสามารถทาได้ 2 วิธี
ไดแ้ ก่

- การชั่งน้าหนักด้วยมือ (Manual weighting) ในขณะที่ไก่ยังเล็กอยู่หรือช่วงอายุ
0-3 สัปดาห์ ควรชั่งน้าหนักตัวอย่างน้อย 100 ตัวหรือประมาณ 1% ของจานวนไก่ท้ังหมดแล้วหาค่าเฉล่ีย
การสุ่มตัวอย่างทดี่ ีจะทาให้เราได้ค่าน้าหนักตวั ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากท่ีสุด ทาการชั่งน้าหนักตัวรวม
คร้ังละ 10-20 ตัวข้ึนกับภาชนะบรรจุ เม่ือไก่โตขึ้นหรือหลังจากอายุ 3 สัปดาห์ไปแล้วให้ทาการชั่งน้าหนัก
รายตวั การเลอื กขนาดของเครอื่ งชงั่ จะตอ้ งให้เหมาะสมกับน้าหนกั ของไกด่ ้วย

- การชั่งน้าหนักตัวด้วยเคร่ืองชั่งอัตโนมัติ (Automatic weighting) ให้เลือกตาแหน่ง
วางเคร่ืองช่ังอัตโนมัติในตาแหน่งที่ไก่มักจะมารวมตัวกัน ไก่จะต้องมายืนอยู่บนเคร่ืองช่ังเป็นเวลานาน
พอสมควรเพื่อจะบันทึกน้าหนักตัว ถ้ามีไก่ข้ึนมายืนบนเครื่องชั่งน้อยจะทาให้เราได้ค่าที่มีความแม่นยาต่า
และมักพบว่าไก่ตัวผู้ท่ีมีน้าหนักตัวมากมักจะไม่ค่อยข้ึนไปยนื บนเครื่องชั่งอัตโนมัติทาให้มักจะได้ค่าน้าหนัก
ตัวตา่ กวา่ ความเปน็ จรงิ การใช้ข้อมูลจากเครือ่ งชั่งอัตโนมัตจิ ะต้องตรวจสอบอัตราการใช้งานหรือจานวนไก่
ทบี่ ันทกึ ในแต่ละวันดว้ ยและควรมีการตรวจสอบซา้ ดว้ ยเครื่องช่งั ด้วยมอื อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง


Click to View FlipBook Version