บทท่ี 4
อัตราพันธกุ รรม อตั ราซ้า
และคุณคา่ การผสมพันธ์ุ
ครคู ธั รยี า มะลวิ ลั ย์
แผนกวชิ าสตั วศาสตร์
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา
บทท่ี 4
อัตราพันธุกรรม อตั ราซ้า และคุณค่าการผสมพันธ์ุ
หวั ข้อเร่อื ง
1. ความผนั แปรของลกั ษณะ
2. อัตราพันธุกรรม
3. อัตราซ้า
4. คุณค่าการผสมพนั ธ์ุ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้(นา้ ทาง)
1. เพ่อื ใหม้ ีความรแู้ ละเข้าใจเกี่ยวกับความผันแปรของลักษณะทางพนั ธุกรรม
2. เพื่อใหม้ ีความรู้และเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความหมาย ความสา้ คัญของอตั ราพันธกุ รรมและอัตราซา้
3. เพือ่ ให้มีความรู้และเขา้ ใจเก่ียวกับการใช้อัตราพันธกุ รรมและอัตราซ้าในการปรับปรงุ พันธุส์ ตั ว์
4. เพ่ือให้มีความรแู้ ละเข้าใจเก่ยี วกบั ความหมาย ความส้าคัญของคุณค่าการผสมพนั ธ์ุของสัตว์
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้(ปลายทาง)
1. บอกสาเหตุความผันแปรของลกั ษณะทางพันธกุ รรมได้
2. อธบิ ายความหมาย ความส้าคัญของอัตราพนั ธุกรรมและอตั ราซ้าได้
3. อธิบายการใชอ้ ตั ราพนั ธุกรรมและอตั ราซา้ ในการปรบั ปรุงพนั ธสุ์ ัตว์ได
4. บอกลกั ษณะของสัตว์ทคี่ วรปรับปรุงโดยใช้อัตราพนั ธกุ รรมและอัตราซ้าได้
เนอื หาการสอน
1. ความผนั แปรของลักษณะทางพันธกุ รรม
ความผันแปรของลักษณะ หมายถึง การที่สัตว์ในประชากรมีลักษณะปรากฏของลักษณะใด
ลักษณะหนึ่งแตกต่างกนั เช่น ลักษณะการมีเขาหรือไมมเี ขาของโค ลกั ษณะอตั ราการเจริญเติบโตของสุกร
เป็นต้น ความผันแปรมีทังแบบที่แตกต่างกันเป็นกลุ่ม เป็นพวก หรือประเภทที่เด่นชัด เช่น ลักษณะการมี
เขาหรือไมมีเขา ลักษณะสีขน เป็นต้น ซึ่งลักษณะเหล่านีเป็นลักษณะคุณภาพ และขณะเดียวกันก็มีความ
ผันแปรแบบต่อเนื่อง ท่ีไมสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม เป็นพวก หรือเป็นประเภทท่ีเด่นชัดได เช่น ลักษณะการ
เจริญเติบโต ลักษณะประสิทธิภาพการใช้อาหาร ลักษณะการให้นม เป็นต้น ซึ่งลักษณะที่มีความผันแปร
แบบนีเปน็ ลกั ษณะปริมาณ
การแสดงออกของลักษณะปรากฏ เป็นผลรวมของอิทธิพลจากพันธุกรรม และอิทธิพลจาก
สภาพแวดล้อม แต่บางกรณีพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมส้าหรับบางลักษณะมีปฏิกิริยาร่วม อาจเป็น
ลักษณะของการสนับสนุนหรือหักล้างซ่ึงกันและกัน ปรากฏการณเช่นนีเรียกว่า ปฏิกิริยาร่วมระหว่าง
พันธกุ รรมกบั ส่ิงแวดล้อม ซงึ่ จะส่งผลให้พนั ธุกรรมแสดงปฏิกิรยิ าแตกต่างกนั ในสภาพแวดล้อมต่างกัน
1.1 ความผนั แปรทางพนั ธกุ รรมและสภาพแวดลอ้ ม
1) ความผันแปรทางพันธุกรรม เมอื่ พิจารณาจากการถา่ ยทอดลักษณะที่ควบคุมด้วยยีน 1 คู จะมี
จีโนไทป์ท่ีเป็นไปได 3 แบบ นั่นคือ ลักษณะปรากฏของสัตว์ในประชากรจะมีไดหลายแบบ ขึนอยู่กับ
อิทธิพลของยีนว่าเป็นอย่างไร ถายีนมีผลต่อการข่มอย่างสมบูรณก็จะมีลักษณะปรากฏได 2 แบบ คือ
ลักษณะข่มและลักษณะด้อย แต่ถ้ายีนทังสองมีอิทธิพลในแบบบวกหรือไมข่มกันก็จะมีลักษณะปรากฏได้
3 แบบ เป็นต้น
2) ความผันแปรทางสภาพแวดล้อม การท่ีสัตว์ไดรับสิ่งแวดล้อมแตกต่างกันเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีท้า
ให้สัตว์มคี วามสามารถหรือลักษณะปรากฏแตกต่างกนั สิ่งแวดล้อมท่ีสัตว์ไดรับมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็นทาง
กายภาพ ทางชีวภาพ หรือทางสังคม เช่น อุณหภูมิของอากาศ ความชืนในอากาศ อาหาร ชนิดและความ
อุดมสมบรู ณของแปลงหญ้า วคั ซีน แมลงหรอื พยาธิ จ้านวนสตั ว์ในฝงู อายขุ องสตั ว์ในฝงู เป็นต้น
ซงึ่ ปัจจัยเหล่านีจะไปส่งเสรมิ หรอื หกั ล้างการแสดงผลของจโี นไทป์ได้
ความผันแปรของลักษณะปรากฏ เป็นผลรวมอันเน่ืองจากอิทธิพลของพันธุกรรมบวกกับ
สภาพแวดล้อม ถ้าก้าหนดให้ P เป็นลักษณะท่ีปรากฏ G เป็นอิทธิพลของพันธุกรรม และ E เป็นอิทธิพล
ของสภาพแวดล้อม สามารถเขยี นสมการแสดงความสมั พันธ์ไดดงั นี
P = G+E
ถาอทิ ธิพลของพนั ธกุ รรมและอิทธิพลของสภาพแวดล้อมเป็นอิสระจากกนั ในทางสถิตพิ สิ จู น์ไดวา
P = V (G) + V (E)
เม่อื V(P) คือ ความผันแปรของลกั ษณะท่ีปรากฏ (phenotypic variance)
V(G) คอื ความผันแปรของพันธกุ รรม (genotypic variance) และ
V(E) คอื ความผนั แปรของสภาพแวดล้อม (environmental variance)
อิทธิพลของพันธุกรรมเป็นผลจากการแสดงอ้านาจของยีน 3 แบบ คือ แบบบวกสะสม (A)
แบบขม่ (D) และปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนต่างคู (I) ความสัมพันธ์ดงั กล่าวเขียนเป็นสมการไดดงั นี
G = A+D+I
ในท้านองเดียวกันสามารถพสิ ูจน์ไดวา
V(G) = V(A) + V(D) + V(I)
เมอื่ V(A) คือ ความผนั แปรของการแสดงอา้ นาจยีนแบบบวกสะสม (additive genetic
variance)
V(D) คือ ความผันแปรของการแสดงอ้านาจของยีนแบบข่ม (dominance variance)
และ V(I) คือ ความผนั แปรของปฏิกิริยาร่วมระหว่างยนี ต่างคู (interaction variance)
จากความผนั แปรทังหมด เขยี นเป็นสมการความสัมพนั ธ์ไดดงั นี
V(P) = V(A) + V(D) + V(I) + V(E)
1.2 ปฏกิ ริ ิยาร่วมระหว่างพันธกุ รรมและสงิ่ แวดล้อม
ปฏิกิริยาร่วมระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม หมายถึง ความสามารถหรือลักษณะปรากฏ
ระหว่างสัตว์ท่ีมีจีโนไทป์คนละแบบจะแตกต่างกัน เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน หรืออาจจะกล่าวได้
ว่าสภาพแวดล้อมแต่ละแห่งจะเหมาะสมและเกือกูลแก่สัตว์เฉพาะสายพันธุเท่านัน เช่น เปรียบเทียบการ
ให้นมระหว่างโคพันธุโฮลสไตน - ฟรีเซียนและโคพันธุเรดซินดี ท่ีอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบร้อนชืน
ของประเทศไทย จะพบว่าโคพันธุเรดซินดีให้นมไดดีกว่าโคพันธุโฮลสไตน - ฟรีเซียน ซ่ึงเป็นโคที่ให้นมสูง
กว่าเม่อื อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมของยุโรป โดยมีอณุ หภูมิไมรอ้ นจัด
ภาพที่ 4.1 ผลของปฏกิ ิรยิ าร่วมระหว่างพันธกุ รรมและส่งิ แวดล้อมในลกั ษณะการให้นมของโค
พนั ธโุ ฮลสไตน - ฟรีเซยี นและโคพนั ธุเรดซนิ ดี
จากความสามรถของลักษณะที่ปรากฏเป็นผลมาจากอิทธิพลของพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม และ
ปฏิกิริยาร่วมระหว่างพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อม ดังนันความสัมพันธ์ของปัจจัยเหล่านีสามารถเขียนเป็น
สมการได้ดังนี
P = G + E + (G.E)
และสมการความผันแปรของลักษณะสามารถวัดได้จากค่าวาเรียนซ์ ดังนันค่าความผันแปรของ
ลกั ษณะท่ีปรากฏ สามารถเขียนเป็นสมการได้ดงั นี
V (P) = V (G) + V (E) + V (G.E)
เมือ่ V (G.E) คือ ความผันแปรของปฏิกิรยิ าร่วมระหว่างพนั ธกุ รรมและส่ิงแวดล้อม
เมือ่ อทิ ธิพลของพันธุกรรมเป็นผลมาจากการแสดงอา้ นาจของยนี ทงั 3 แบบ จากความผนั แปร
ทงั หมดจึงเขยี นเปน็ สมการความสมั พันธ์ไดด้ ังนี
V(P) = V(A) + V(D) + V(I) + V(G.E)
ความรูเกี่ยวกับปฏิกิริยารวมระหวางพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม เตือนใหเราตระหนักวาลูกสัตวท่ี
เกดิ จากการคดั เลือกหรือปรับปรุงพันธุ จะมีสมรรถภาพในการผลิตสูงสุดหรอื มีความเหมาะสมท่ีสุดภายใต้
สภาพแวดลอมใกลเคียงกับที่พอแมของมันไดรับการคัดเลือกมาเทานัน ฉะนันการน้าเขาพันธุสัตวจาก
ตางประเทศ หรือแมแตสถานีบ้ารุงพันธุสัตว เมื่อน้าสัตวเหลานันมาเลียงในฟารมทั่วไปของประเทศไทย
ซึ่งมีการจัดการเลียงดูไมดีนักและมีสภาพอากาศแบบรอนชืน สัตวดังกลาวอาจจะใหผลผลิตไดไมเทาเดิม
การปรับปรงุ พนั ธุสตั วจงึ ตองใหความสา้ คัญกับการปรบั ปรุงพันธกุ รรมและสภาพแวดลอมไปพรอม ๆ กนั
2. อตั ราพันธุกรรม
อัตราพันธุกรรม (heritability) หมายถึง สัดส่วนระหว่างความผันแปรของพันธกุ รรมต่อความผัน
แปรของลักษณะที่ปรากฏ “ใช้สัญลักษณ์ h2 ” ความผันแปรหรือความแตกต่างระหว่างตัวสัตว์
เนือ่ งมาจากพันธกุ รรมและส่ิงแวดลอ้ ม แตพ่ ันธุกรรมท่ีมีอยู่จริงจะแสดงลกั ษณะปรากฏออกมาได้มากหรือ
น้อยเพยี งใด สามารถวดั ออกมาไดใ้ นรูปของอัตราพนั ธกุ รรม
2.1 ความสา้ คัญของอตั ราพันธุกรรม
ค่าอัตราพันธุกรรม เป็นค่าท่ีแสดงอิทธิพลของพันธุกรรมต่อลักษณะ ลักษณะที่มีค่าอัตรา
พันธุกรรมสูงได้รับอิทธิพลจากยีนมาก เน่ืองจากยีนเป็นตัวถ่ายทอดลักษณะจากพ่อแม่ไปยังลูก ดังนัน
ลักษณะท่ีมีค่าอัตราพันธุกรรมสูง จึงถ่ายทอดลักษณะสู่ลูกได้สูงด้วย ลักษณะใดมีค่าอัตราพันธุกรรมสูง
การปรับปรุงลักษณะนันจะเกิดขึนเร็ว ลักษณะท่ีมีค่าอัตราพันธุกรรมต้่า การปรับปรุงก็จะเกิดขึนช้ากล่าว
อีกนัยหน่ึงคือ ระดับอัตราพันธุกรรมใช้เป็นแนวทางในการให้ความส้าคัญด้านการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
ถ้าระดับอัตราพันธุกรรมต่้าต้องเน้นทางด้านการจัดการสภาพแวดล้อมในทางตรงข้ามอัตราพันธุกรรมสูง
ต้องเน้นทางดา้ นการคัดเลอื กและการผสมพันธุ์ จงึ จะประสบผลสา้ เร็จ
อัตราพันธุกรรมจะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1 อัตราพันธุกรรมระดับสูงมีค่าตังแต่ 0.4 หรือ 40
เปอรเ์ ซน็ ตข์ ึนไป อตั ราพันธุกรรมระดับปานกลางมคี ่าอยู่ระหว่าง 0.2 - 0.4 หรอื 20 - 40 เปอร์เซน็ ต์ และ
อตั ราพันธุกรรมระดับตา่้ มคี ่าตา่้ กว่า 0.2 หรอื 20 เปอรเ์ ซ็นต์ลงมา
2.2 ประเภทของอัตราพนั ธกุ รรม อัตราพันธุกรรมแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดังนี
1) อัตราพันธุกรรมอย่างกว้าง (heritability in broad sense) หมายถึง สัดส่วนของ
ความผันแปรของลักษณะปรากฏที่มีผลมาจากพันธุกรรมทุกอย่าง ได้แก่ อิทธิพลของยีนแบบบวกสะสม
แบบข่ม และปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนต่างคู่ อัตราพันธุกรรมประเภทนีเป็นตัวเลขที่บ่งบอกถึงระดับ
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าของลักษณะปรากฏกับค่าจีโนไทป์ของลักษณะหน่ึงในประชากรเขียนเป็นสมการ
ได้ดังนี
h2 = V(G)
V(P)
หรอื
h2 = V(G) + V(D) +V(I)
V(P)
2) อัตราพันธุกรรมอย่างแคบ (heritability in narrow sense) หมายถึง สัดส่วนของ
ความผนั แปรของลกั ษณะปรากฏอันเน่อื งมาจากอิทธพิ ลของยนี แบบบวกสะสม เขยี นเปน็ สมการ ไดด้ งั นี
h2 = V(A)
V(P)
2.3 การใชค้ ่าอัตราพนั ธุกรรมในการปรบั ปรุงพนั ธ์ุสัตว์
เราจะใช้ค่าอัตราพันธุกรรมประกอบการตัดสินใจในการปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ว่าควรจะปรับปรุง
พันธุกรรมหรือสภาพแวดล้อมดี อย่างไหนจะคุ้มทุนมากกว่ากัน เช่น ถ้าอัตราพันธุกรรมของลักษณะมี
ค่าสูง ก็ควรจะปรับปรุงพันธุกรรมโดยวิธีการคัดเลือก แต่ถ้าอัตราพันธุกรรมมีค่าต่้าก็ควรจะเลือกใช้วิธี
ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม หรอื ไม่กใ็ ช้วิธกี ารผสมขา้ ม (Cross breeding) แทน
ถา้ ตัดสินวา่ จะปรับปรงุ พนั ธกุ รรม ก็ตอ้ งตัดสนิ ใจตอ่ ไปวา่ ควรจะใชว้ ธิ กี ารคดั เลอื กและการผสม
พันธุอ์ ยา่ งไหนดี
1) ถา้ อตั ราพันธกุ รรมของลกั ษณะมคี ่าสูง ควรจะปรบั ปรุงโดยการคดั เลอื กภายในฝงู
2) ถ้าอัตราพันธุกรรมของลักษณะมีค่าปานกลางหรือต้่า แต่พบว่าเป็นลักษณะที่มี
อทิ ธพิ ลของเฮตเตอโรซิส (heterosis) เข้ามาเก่ยี วข้องก็ควรจะปรับปรงุ โดยการผสมขา้ ม
3) ถ้าอัตราพันธุกรรมของลักษณะมีค่าต่้า และไม่มีอิทธิพลของเฮตเตอโรซิส ดังนันควร
ปรับปรงุ ลักษณะนันโดยเนน้ การปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อม
อย่างไรก็ตามก่อนที่จะตัดสินใจลงไปเราควรจะศึกษารายงานของสัตว์ฝูงอ่ืนประกอบด้วยว่า
คา่ อัตราพันธุกรรมของลักษณะดงั กล่าวในสัตว์ฝูงอ่ืนสูงหรอื ไม่ เพราะบางครังอัตราพันธุกรรมและเฮตเตอ
โรซิสของลกั ษณะอาจมีค่าต่า้ เฉพาะในสตั ว์บางฝูงเท่านนั ถ้าพบว่าค่าดังกล่าวในสตั วฝ์ ูงอ่ืนมีคา่ สงู ก็อาจจะ
นา้ สตั ว์จากฝงู อื่นเขา้ มาผสมขา้ มเพอ่ื เพม่ิ ความแปรปรวนในฝูง
ค่าอัตราพันธุกรรมเป็นค่าเฉพาะของลักษณะในสัตว์แต่ละฝูง ทังนีขึนอยู่กับอิทธิพลของ
พันธุกรรมต่อการแสดงออกของลักษณะในสัตว์ฝูงนัน เปรียบเทียบกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อมเป็น
ความสามารถในการถ่ายทอดทางพันธุกรรมของแต่ละลักษณะในประชากรหน่ึงๆ ลักษณะใดที่ลักษณะ
ปรากฏมีความแปรปรวนสูงขณะท่ีความแปรปรวนทางพันธุกรรมมีน้อย ลักษณะนันก็จะมีค่าอัตรา
พันธุกรรมต้่า ในทางตรงกันข้ามถ้าลักษณะใดมีความแปรปรวนของลักษณะปรากฏและของทางพันธกุ รรม
สงู ลักษณะนนั ก็จะมีค่าอตั ราพันธกุ รรมสูง ดงั นนั สามารถใช้ค่าอัตราพนั ธกุ รรมประกอบการตัดสินใจในการ
ปรับปรงุ พันธุสัตว์ ไดดังนี
ภาพท่ี 4.2 หลักการใช้อตั ราพันธกุ รรมเป็นแนวทางในการปรับปรงุ พนั ธ์ุสตั ว์ (สกี นุ .2554)
1) อตั ราพนั ธุกรรมของลกั ษณะมีค่าสงู ควรจะปรบั ปรงุ โดยการคัดเลอื กภายในฝูง
2) อัตราพันธุกรรมของลักษณะมีค่าปานกลางหรือต้่า แต่พบว่าเป็นลักษณะที่มีอิทธิพลของ
เฮเตอโรซีสเข้ามาเกย่ี วขอ้ งควรจะปรับปรงุ โดยการผสมข้าม
3) อัตราพันธุกรรมของลักษณะมีค่าต่้าและไมมีอิทธิพลของเฮเตอโรซีส ควรปรับปรุงลักษณะนัน
โดยเน้นการปรับปรุงสภาพแวดล้อมแทน อย่างไรก็ตามก่อนที่จะตัดสินใจลงไปควรจะศึกษารายงานของ
สัตว์ฝูงอ่ืนประกอบค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะดังกล่าวในสัตว์ฝูงอื่นสูงหรือไม เพราะบางครังอัตรา
พันธุกรรมและเฮเตอโรซีสของลักษณะอาจจะมีค่าต้่าเฉพาะในสัตว์บางฝูงเท่านัน ถ้าพบว่าค่าดังกล่าวใน
สัตว์ฝูงอืน่ มีคา่ สูง ก็อาจจะนา้ สตั ว์จากฝงู อ่นื เขา้ มาผสมข้ามเพ่ือเพม่ิ ความแปรปรวนในฝงู
ส้าหรับระบบการผสมเลือดชิดมักจะประยุกต์ใช้กับฝูงสัตว์ที่มีสมรรถภาพในการให้ผลผลิตสูงอยู
แลว แต่ต้องการที่จะเพ่ิมความแปรปรวนทางด้านพันธุกรรม โดยการสร้างสายพันธุเพื่อที่จะยกระดับการ
ผลิตให้สูงขึน หรืออาจจะน้าสายพันธุที่ได้ (จากผสมเลือดชิด) มาผสมข้ามระหว่างสายพันธุเพื่อหวังผล
เฮเตอโรซีสก็ได้ นอกจากนีอัตราพันธุกรรมยังใช้ในการท้านายค่าทางพันธุกรรมต่างๆ หลายประการ เช่น
ท้านายความก้าวหนาของการคัดเลือกปรับปรุงพันธ์ุ ท้านายคุณค่าการผสมพันธุของสัตว์ในฝูง ท้านาย
ความสามารถของลูกท่ีได้ หรือท้านายความสามารถของสัตว์ในลักษณะที่แสดงออกหลายครังในชีวิต
เป็นต้น
2.4 การค้านวณค่าอัตราพันธุกรรม
อัตราพันธุกรรม (Heritability : h2) เป็นค่าสัดส่วนความแปรปรวนซึ่งมีผลเนื่องจากพันธุกรรม
ต่อความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ นันคือโดยทางทฤษฎีแล้ว อัตราพันธุกรรมจะมีค่าตังแต่ 0 ถึง 1
และค่านจี ะสามารถน้ามาใชเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นทางปฏิบัติ เพอื่
ก) ก้าหนดลักษณะ และจ้านวนลักษณะในแผนการปรับปรุงพันธ์ุ
ข) กา้ หนดระบบการผสมพนั ธุ์ (mating system)
ค) กา้ หนดวิธกี ารคัดเลอื ก (selection method)
ง) ประกอบการคา้ นวณดัชนีการคดั เลอื ก (selection index)
1) การค้านวณค่าอัตราพันธุกรรมเบืองต้นจากนิยามอัตราพันธุกรรม คือ สัดส่วนของความผัน
แปรเนือ่ งจากพันธกุ รรมตอ่ ความผนั แปรของลกั ษณะปรากฏ สามารถเขยี นเปน็ สูตรคา้ นวณ ไดด้ ังนี
อัตราพันธุกรรม (h2) = ความผันแปรของลักษณะเนื่องจากพันธุกรรม
ความผันแปรของลักษณะปรากฏ
หรือ
h2 = V(G)
V(P)
ตัวอย่าง ก้าหนดให้ค่าความผันแปรเน่ืองจากอิทธิพลทางพันธุกรรมของลักษณะความยาว ล้าตัวในสุกร
แลนด์เรซ เท่ากับ 0.50 และความผันแปรที่ปรากฏเท่ากับ 0.974 จงหาค่าอัตราพันธุกรรม ของความยาว
ล่าตัวสกุ รแลนด์เรซ
วธิ ีท้า
h2 = V(G)
V(P)
= 0.5
0.974
= 0.51
อตั ราพันธุกรรมของความยาวลา่ ตวั สกุ รแลนด์เรซ เทา่ กับ 0.51 หรอื 51 เปอรเ์ ซน็ ต์
2) การค้านวณค่าอัตราพันธุกรรมจากความก้าวหน้าในการคัดเลอื กพันธุ์ ท้าได้โดยการเก็บข้อมูล
ในสัตว์เลียงทังฝงู ทม่ี ีอยู่ และคัดเลือกสัตว์ในฝงู ไว้ส่วนหน่ึงเพื่อใช้เป็นพ่อพันธุ์ แมพ่ ันธุ์ ท้าการผสมพันธุจ์ น
ได้ลูกท่ีเกิดใหม่ แล้วน้าข้อมูลของลักษณะเดียวกันท่ีเก็บได้จากฝูงสัตว์ทัง 3 ส่วน มาเปรียบเทียบหา
ความก้าวหน้าที่ได้จากการคดั เลือกพันธ์ุ สามารถเขยี นเป็นสตู รคา้ นวณ ไดด้ ังนี
อัตราพนั ธกุ รรม (h2) = ความก้าวหนา้ ของลกู ท่เี กดิ จากการคัดเลือก
หรอื ความแตกต่างของกลมุ่ ทีค่ ัดเลือกพนั ธุ์กับคา่ เฉลี่ยของฝูงเดิม
h2 = R
S
ในที่นี h2 = ค่าอตั ราพันธุกรรม
R = ความก้าวหน้าของลกู ที่เกิดจากการคดั เลือกพันธุ์
S = ความแตกต่างของกลุ่มที่คัดเลือกพันธ์กุ ับคา่ เฉล่ียของฝงู เดิม
ตัวอย่างที่ 1 โคเนือฝูงหนง่ึ มีอัตราการเจรญิ เติบโตเฉลี่ยเท่ากับ 0.85 กิโลกรมั ต่อวัน สัตว์ทถี่ ูกคดั เลือกไว้
ท้าพันธ์ุมีอัตราการเจริญเติบโตเฉล่ียเท่ากับ 1.0 กิโลกรัมต่อวัน ลูกโคท่ีเกิดจากการผสมพันธ์ุของกลุ่ม
คัดเลือกพันธ์ุมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 0.9 กิโลกรัมต่อวัน จงค้านวณหาค่าอัตราพันธุกรรมของ
ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตของโคฝงู นี
วธิ ีทา้ R
h2 = S
= 0.9 - 0.85
1.0 - 085
= 0.51
0.15
= 0.33
คา่ อตั ราพนั ธุกรรมของลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของโคฝูงนีเทา่ กบั 0.33 หรอื 33 เปอรเ์ ซ็นต์
ตวั อยา่ งท่ี 2 เกษตรกรรายหน่งึ มีสกุ รอยู่ประมาณ 100 ตวั ซึง่ มอี ัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 700 กรัมต่อ
วัน เขาได้ท่าการคดั เลือกสุกรตัวเมยี ไวท้ า่ พนั ธุ์ 20 ตวั อัตราการเจริญเติบโตเฉลีย่ 800 กรัมตอ่ วนั และ
สกุ รตวั ผ้ไู วท้ ่าพนั ธ์ุ 5 ตัว อตั ราการเจริญเติบโตเฉลีย่ 950 กรมั ตอ่ วนั เมือ่ ผสมพันธุ์กนั แล้วปรากฏวา่ ลูกท่ี
ออกมามีอตั ราการเจรญิ เตบิ โตเฉลี่ย 850 กรมั ต่อวนั จงคา้ นวณหาค่าอัตราพนั ธุกรรมการเจรญิ เตบิ โตของ
สกุ รฝงู นี
วธิ ีทา้ ความก้าวหน้าของลูกทเ่ี กดิ จากการคัดเลอื ก = 850 – 700 = 150 กรัมตอ่ วัน
ค่าเฉลี่ยของ พ่อแม่พันธ์ุที่ท่าการคดั เลือก = 800 + 950 = 875 กรัมต่อวนั
2
ความกา้ วหนา้ ของลูกท่ีเกดิ จากการคัดเลือก = 850 – 700 = 175 กรมั ตอ่ วนั
h2 = R
S
= 150
175
= 0.857
อตั ราพนั ธุกรรมการเจรญิ เตบิ โตของสกุ รฝงู นเี ทา่ กบั 0.857 หรือ 85.7 เปอร์เซน็ ต์
2.5 ค่าอตั ราพันธุกรรมของลักษณะท่ีส้าคัญในสตั วเ์ ลยี ง
ค่าอัตราพันธุกรรมมีความเกี่ยวข้องกับลักษณะปริมาณ ซึ่งเป็นลักษณะท่ีส้าคัญทางเศรษฐกิจใน
สัตว์เลียง และมีความส้าคัญต่อการปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยอัตราพันธุกรรมเป็นค่าบ่งชีว่าควรปรับปรุง
ลักษณะโดยการคัดเลือกพันธุหรือไม ลักษณะที่มีค่าอัตราพันธุกรรมสูงควรคัดเลือกโดยการคัดเลือกจาก
ความสามารถส่วนตัว และลักษณะที่มีค่าอัตราพันธุกรรมต่้าควรคัดเลือกจากความสามารถของญาติ
ข้างเคียงและการคัดเลือกจากความสามารถของลูก ลักษณะท่ีมีค่าอัตราพันธุกรรมต่้าควบคุมด้วยยีนท่ี
แสดงอ้านาจแบบไมบวกสะสม ซึ่งการแสดงอ้านาจของยีนแบบนีถ่ายทอดสูลูกไมได้ แต่แสดงอ้านาจเมื่อ
ยนี อยเู ป็นคใู นส่งิ มีชวี ติ ค่าอัตราพันธกุ รรมของลกั ษณะท่ีส้าคญั ในสตั ว์เลยี ง มีการศกึ ษาค้นคว้าส้าหรบั สตั ว์
เลยี งทสี่ า้ คญั ทางเศรษฐกจิ ดังตารางท่ี 4.1 - 4.4 และภาพท่ี 4.3 - 4.5
ตารางท่ี 4.1 แสดงคา่ อัตราพนั ธกุ รรมของลักษณะในไก่ไข่
ลักษณะ ค่าอัตราพนั ธกุ รรม (%)
อายุเม่ือเป็นหนุ่มสาว 15-30
ขนาดของไข 40-50
รปู ร่างของไข่ 25-50
สีของเปลือกไข 30-50
ความหนาของเปลอื กไข 25-60
สขี องไขแดง 10-40
ความเหนียวของไขขาว 10-70
ความสมบรู ณพันธุ 00-05
อัตราการฟักออก 10-15
นา้ หนกั ตวั 25-63
ทีม่ า : ดัดแปลงจาก สมชยั (2530) อ้างโดย (สกี ุน.2554)
ตารางที่ 4.2 แสดงคา่ อตั ราพนั ธุกรรมของลักษณะในสุกร ค่าอตั ราพนั ธุกรรม (%)
15
ลักษณะ 7
ขนาดครอกเม่ือคลอด 8
ขนาดครอกเมื่อหย่านม 21-40
น้าหนักหย่านมโดยเฉลย่ี 20-48
การเจริญเตบิ โตต่อวนั 26-40
ประสิทธิภาพการใช้อาหาร 45
เปอร์เซน็ ตซ์ าก 43-74
เปอรเ์ ซ็นตเ์ นือแดง 54
ความหนาไขมนั เฉล่ยี
กลิ่นตัวผู้
ท่มี า : ดดั แปลงจาก สมชยั (2530) อา้ งโดย (สีกนุ .2554)
ภาพท่ี 4.3 ขนาดครอกเมื่อคลอดในสกุ ร (สีกนุ .2554)
ภาพที่ 4.4 สกุ รหยา่ นม (สีกนุ .2554)
ภาพที่ 4.5 เปอรเ์ ซ็นต์เนือแดง ความหนาไขมันเฉลย่ี (สีกนุ .2554)
ตารางที่ 4.3 แสดงคา่ อตั ราพันธกุ รรมของลกั ษณะในโคนม
ลกั ษณะ ค่าอตั ราพนั ธกุ รรม (%)
ชวงการให้ลูก 00-15
อตั ราการผสมติดครงั แรก 7
ปริมาณน้านม 25-40
ปริมาณไขมันนม 27-43
ขนาดและรูปร่างเต้านม 20-40
รปู ร่างลักษณะ 30-60
ทม่ี า : ดดั แปลงจาก สมชัย (2530) อ้างโดย (สีกุน.2554)
ตารางท่ี 4.4 แสดงคา่ อตั ราพนั ธกุ รรมของลกั ษณะในโคเนอื
ลักษณะ ค่าอตั ราพันธุกรรม (%)
ชวงการให้ลูก 00-15
น้าหนักแรกคลอด 20-59
นา้ หนกั หย่านม 20-55
เกรดของซาก 35-45
ความนุ่มของเนือ 60
ท่ีมา : ดดั แปลงจาก สมชยั (2530) อา้ งโดย (สกี นุ .2554)
3. อตั ราซา้ (Repeatability)
อัตราซ้า (repeatability) หมายถึง อัตราส่วนของความผันแปรเนื่องจากพันธุกรรมทังหมดและ
สภาพแวดล้อมถาวรต่อความผันแปรของลักษณะที่ปรากฏ ใช้สัญลักษณ์ t อัตราซ้ามีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับอัตราพันธุกรรม สัตว์แต่ละตัวที่แสดงลักษณะปรากฏออกมาตังแต่ 2 ครังขึนไป เรียกว่า
แสดงผลซ้า ซงึ่ การแสดงผลซา้ สามารถผนั แปรไดแ้ ละวัดออกมาไดในรูปของอัตราซ้า
อัตราซ้าเป็นลักษณะท่ีสัตว์ตัวหนึ่งสามารถแสดงลักษณะปรากฏได้หลายช่ัวในชั่วชีวิตหน่ึง เช่น
การให้นมของโค จ้านวนลูกต่อครอกของแม่สุกร ฯลฯ สามารถค้านวณได้จากอัตราส่วนของความ
แปรปรวนที่มีผลมาจากพันธุกรรมรวมและสภาพแวดล้อมถาวร ต่อความแปรปรวนของลักษณะปรากฏ
ทงั หมด ซงึ่ เขยี นเปน็ สมการไดด้ ังนี
อตั ราซา้ (t) = V(G) + V(Ep) = V(A) + V(D) + V(I) + V(EP)
V(P) V(A) + V(D) + V(I) + V(EP) + V(Et)
ความผันแปรของพันธุกรรมทังหมด รวมความผันแปรจากการแสดงอ้านาจของยีนทุกแบบหรือ
V(G) เท่ากบั ผลบวกของ V(A), V(D) และ V(I) V(Ep) เป็นความผันแปรเนื่องจากสภาพแวดล้อมถาวร ซึ่ง
หมายถึง สิ่งแวดล้อมอยู่กับสัตว์อย่างคงท่ีตลอดไป ไมเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพท้องที่หรือฤดูกาล คล้าย
กบั พันธกุ รรมแตถ่ า่ ยทอดไมได
3.1 ความส้าคญั ของอัตราซา้
อัตราซ้าเป็นค่าท่ีแสดงอิทธิพลของพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมถาวรท่ีมีต่อลักษณะของสัตว์ท่ี
แสดงออกซ้าหลายๆ ครังในตัวเดียวกัน เป็นค่าสหสัมพันธ์ของลักษณะเดียวกันท่ีสัตว์ตัวใดตัวหนึ่งแสดง
ออกมาต่างเวลากัน ดังนันลักษณะใดมีค่าอัตราซ้าสูง การประมาณค่าลักษณะนันๆ ที่จะแสดงออกมาใน
ครังต่อไปถกู ต้องแม่นยา้ มากขึน น้าไปใช้พจิ ารณาลักษณะทคี่ วรปรับปรงุ พนั ธุก่อนหลัง
อัตราซ้าใช้บ่งชจี ้านวนบันทึกเพ่ือใช้ในการคัดเลอื กพันธุ ลักษณะท่ีมีอตั ราซ้าสงู จ้านวนบันทึกท่ีใช้
ในการคัดเลือกพันธ์ุน้อยกว่าลักษณะท่ีมีอัตราซ้าต้่า และใช้ค้านวณหาความสามารถท่ีแท้จริงของตัวสัตว์
เม่ือมีบนั ทึกความสามารถหลายบนั ทึกอัตราซ้ามีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 1 หรอื ถ้าคดิ เป็นร้อยละจะมีค่าระหว่าง
0 - 100 ถอัตราซ้าของลักษณะหน่ึงมีค่าเท่ากับ 1 หรือ 100 เปอร์เซ็นต์ แสดงว่าลักษณะนันจะปรากฏซ้า
เทา่ เดมิ หรือคงท่ีเสมอ
3.2 การคา้ นวณคา่ อัตราซ้า
จากนิยามของอัตราซ้า คือ สัดส่วนของความผันแปรท่ีมีผลมาจากพันธุกรรมและจาก
สภาพแวดล้อมถาวรต่อความผนั แปรของลักษณะท่ปี รากฏ สามารถเขยี นเปน็ สูตรคา้ นวณ ไดดังนี
อตั ราซา้ (t) = ความผันแปรเนื่องจากพนั ธุกรรม + ความผนั แปรเน่อื งจากสภาพแวดล้อมถาวร
ความผนั แปรของลักษณะท่ีปรากฏ
หรอื
อตั ราซ้า (t) = V(G) + V(Ep)
V(P)
ตัวอย่าง ก้าหนดค่าความผันแปรเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรมของลักษณะการให้ผลผลิตไข
ของไก่ไข่ เท่ากับ 0.5 ความผันแปรเน่ืองจากสภาพแวดล้อมถาวร เท่ากับ 0.2 และความผันแปรของ
ผลผลิตไขข่ องไกไ่ ข่ เทา่ กับ 0.9 จงหาค่าอตั ราซา้ ของผลผลิตไข่ของไก่ไข่
วิธีทา้
อตั ราซา้ (t) = V(G) + V(Ep)
V(P)
= 0.5 + 0.2
0.9
= 0.7
0.9
= 0.778
อัตราซา้ ของผลผลิตไขของไกไ่ ข่ เทา่ กับ 0.778 หรือ 77.8 เปอร์เซน็ ต์
3.3 การใช้ค่าอัตราซ้าในการปรบั ปรงุ พันธส์ุ ัตว์
อัตราซ้าใช้ค้านวณหาความสามารถท่ีแท้จริงของตัวสัตว์ เม่ือมีบันทึกความสามารถหลายบันทึก
ค่าท่ีค้านวณไดเรียกว่า ความสามารถในการให้ผลผลิตท่ีแท้จริง (most probable producing ability;
MPPA) ค่านีมีประโยชนในการเปรียบเทียบความสามารถของสัตว์ที่มีจ้านวนบันทึกไมเท่ากัน โดยจะ
กลา่ วถงึ รายละเอียดในบทท่ี 5 หวั ข้อที่ 4.5 ตอ่ ไป
3.4 ค่าอัตราซ้าของลักษณะท่สี ้าคญั ในสตั ว์เลยี ง
ค่าอัตราซ้าของลักษณะทีส่ า้ คัญในสัตว์เลยี ง มกี ารศึกษาคน้ คว้าส้าหรับสตั ว์เลียงทสี่ า้ คัญทาง
เศรษฐกจิ ดงั ตารางที่ 4.5 - 4.8 และภาพที่ 4.6 - 4.9
ตารางท่ี 4.5 แสดงคา่ อัตราซ้าของลักษณะในไก่
ลกั ษณะ ค่าอัตราซา้ (%)
น้าหนักเมื่ออายุ 8 สัปดาห์ 55
นา้ หนกั เมื่ออายุ 18 สัปดาห์ 94
จา้ นวนของฟองไข่ 83
นา้ หนักของฟองไข่ 80-95
รปู ทรงของไข่ 94
ความสงู ของไขข่ าว 74-80
ความหนาของเปลอื กไข่ 60
น้าหนกั ของเปลอื กไข่ 60-80
ที่มา : ดัดแปลงจาก สมชัย (2530) อ้างโดย (สกี ุน.2554)
ภาพที่ 4.6 รปู ทรงของไข่ (สีกนุ .2554)
ตารางท่ี 4.6 แสดงคา่ อัตราซ้าของลักษณะในสุกร ค่าอตั ราซ้า (%)
ลักษณะ 7-10
9-10
ขนาดครอกเมื่อแรกคลอด 14-40
ขนาดครอกเม่ือหย่านม 12-15
น้าหนกั แรกคลอด 25-40
น้าหนกั เม่ือหย่านม 15
นา้ หนกั ทังครอกเมื่อแรกคลอด
นา้ หนักทังครอกเมื่อ 3 สัปดาห์
ที่มา : ดดั แปลงจาก สมชยั (2530) อา้ งโดย (สีกนุ .2554)
ภาพท่ี 4.7 ขนาดครอกเม่ือหย่านมในสกุ ร (สีกุน.2554)
ตารางท่ี 4.7 แสดงคา่ อัตราซ้าของลักษณะในโคนม ค่าอตั ราซ้า (%)
ลกั ษณะ 4-20
20-35
ชวงการให้ลูก 40-60
ระยะการให้นม 40-70
ปรมิ าณน้านม
เปอร์เซ็นต์ไขมันนม
ที่มา : ดัดแปลงจาก สมชัย (2530) อ้างโดย (สีกุน.2554)
ภาพท่ี 4.8 ชวงการให้ลูกในโคนม (สีกุน.2554)
ตารางท่ี 4.8 แสดงคา่ อัตราซ้าของลักษณะในโคเนือ ค่าอัตราซา้ (%)
ลักษณะ 7-10
18-20
อตั ราการเจริญเติบโตถึงอายุ 1 ป 20-30
อตั ราการเจริญเติบโตถึงหย่านม 30-55
นา้ หนกั แรกคลอด 25
นา้ หนักหย่านม 70-90
น้าหนักเม่ืออายุ 1 ป
ลกั ษณะวดั จากร่างกาย
ท่ีมา : ดดั แปลงจาก สมชัย (2530) อ้างโดย (สกี นุ .2554)
ภาพที่ 4.9 น้าหนกั และขนาดเม่ือหย่านมในโคเนือพันธุพืนเมอื ง (สีกนุ .2554)
4. คณุ คา่ การผสมพันธุ์
4.1 ความหมายของคุณค่าการผสมพันธุ
คุณค่าการผสมพันธุ (breeding value; BV) หมายถึง ความสามารถทางพันธุกรรมของพ่อ แม่
ที่จะถ่ายทอดแกลูกในฝูง เกิดขึนจากอ้านาจของยีนแบบบวกสะสม ค่าที่ไดไมสามารถช่ัง ตวง หรือวัด
ค่าได จึงพิจารณาจากลักษณะปรากฏ ซึ่งสามารถช่ัง ตวง หรือวัดได ใช้เพ่ือคัดเลือกสัตว์ตัวที่ดีไวเป็นพ่อ
พนั ธุแมพ่ นั ธุ
4.2 การประเมนิ คณุ ค่าการผสมพนั ธุ
การประเมินคุณค่าการผสมพันธุจากความสามารถเฉลีย่ ของลกู สามารถค้านวณหาคุณค่าการผสม
พันธ์ุของสัตวแ์ ต่ละตวั ดังตัวอย่างตอ่ ไปนี
ตัวอย่าง โคนมฝูงหน่ึงมีความสามารถให้น้านมเฉลี่ย เท่ากับ 5,000 กิโลกรัม ต่อระยะการให้นม
บรรดาลูกสาวของพ่อโคนม A ให้นมเฉลี่ย 5,300 กิโลกรัม และบรรดาลูกสาวของพ่อโคนม B ให้นมเฉล่ีย
4,950 กิโลกรัม จงเปรยี บเทยี บคุณค่าการผสมพันธุของพ่อโคนมทงั สองนี
BV ของพ่อ = 2x (ค่าความเบีย่ งเบนของลกู จากค่าเฉล่ียของฝูง)
วิธที ้า ถาความสามารถเฉลย่ี ของลูกสาวพ่อโคนม A เบย่ี งเบนจากค่าเฉลยี่ ของฝูง
= 5,300 - 5,000 กโิ ลกรมั
= + 300 กโิ ลกรมั
และความสามารถเฉลีย่ ของลูกสาวพ่อโคนม B เบ่ยี งเบนจากคา่ เฉล่ียของฝงู
= 4,950 - 5,000 กิโลกรัม
= - 50 กิโลกรัม
ดังนนั คณุ คา่ การผสมพันธุของพ่อโคนม A
= + 300 x 2 กิโลกรัม
= + 600 กิโลกรัม
และคณุ ค่าการผสมพนั ธุของพ่อโคนม B
= - 50 x 2 กิโลกรมั
= - 100 กิโลกรัม
เพราะฉะนันเมื่อเปรียบเทียบกันแลวจะเห็นไดว่าพ่อโค A มีคุณค่าการผสมพันธุสูงกว่าพ่อโค B
ที่ต้องคูณค่าเบ่ียงเบนความสามารถของลูกด้วย 2 เพ่ือให้ไดคุณค่าการผสมพันธุของพ่อพันธ์ุเนื่องจากพ่อ
โคถ่ายทอดความสามารถทางพันธุกรรมให้ลูกเพียงครึ่งเดียว ดังนันคุณค่าการผสมพันธุของพ่อโคจึงเป็น
2 เท่าของค่าเบ่ียงเบนความสามารถของลูกดังกล่าว ส่วนค่า BV ของแม่พันธุ เท่ากับศูนย์เน่ืองจากในที่นี
เป็นการผสมแบบสุม
คณุ ค่าการผสมพันธุท่ีแท้จริงของสัตว์ตัวใดตวั หน่ึง ตองค้านวณหาจากความสามารถเฉลี่ยของลูก
ดังกล่าวข้างต้น ซ่ึงต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสูงมาก ดังนันจึงนิยมหาเฉพาะคุณค่าการผสมพันธุของพ่อ
พันธุเท่านัน ทังนีเพื่อเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย คุณค่าการผสมพันธุยังสามารถประเมินจาก
ข้อมูลความสามารถของตัวสัตว์โดยตรง ซ่ึงค่าที่ไดนีเรียกว่า คาประมาณคุณค่าการผสมพันธุ (estimated
breeding value; EBV) ค้านวณจากสูตรไดดังนี
EBV = h2 ( X1- X)
ในท่นี ี EBV = คาประมาณของคุณคา่ การผสมพันธุของสัตว์ตัวหนึง่
h2 = อตั ราพนั ธกุ รรมของลกั ษณะนัน
X1 = คาความสามารถของสตั ว์ตัวนัน (อ่านว่า เอก็ ซ์หน่งึ )
X = คาความสามารถเฉลย่ี ของสัตว์ทงั ฝูง (อา่ นว่า เอก็ ซ์บาร)
ตัวอย่าง สุกรฝูงหน่ึงมีอัตราการเจริญเติบโตเฉล่ีย 0.8 กิโลกรัมต่อวัน สุกรตัวหน่ึงมีอัตราการ
เจรญิ เติบโตเฉล่ีย 1.4 กิโลกรัมตอ่ วนั อตั ราพนั ธกุ รรมของลักษณะนี เท่ากบั 0.4
วธิ ที า้
EBV = h2 ( X1- X)
แทนค่า EBV = 0.4(1.4 - 0.8) กิโลกรมั ตอ่ วัน
= + 0.24 กโิ ลกรัมตอ่ วัน
ในกรณขี องลักษณะทีส่ ัตว์แสดงออกไดหลายครงั สามารถนา้ บันทึกความสามารถทังหมดของสัตว์
แตล่ ะตัวไปค้านวณหาคา่ EBV ของมัน โดยค้านวณจากสตู รไดดังนี
EBV = nh2 ( X1- X)
1+ (n-1)r
ในทีน่ ี EBV = คาประมาณของคุณคา่ การผสมพนั ธุของสัตว์ตัวหน่ึง
n = จา้ นวนบนั ทึกทีใ่ ช้ค้านวณ
h2 = อัตราพันธกุ รรมของลักษณะนนั
X1 = คาความสามารถของสตั ว์ตวั นัน
X = คาความสามารถเฉลย่ี ของสัตว์ทังฝูง
r = อัตราซ้าของลักษณะนนั
ตัวอย่าง โคนมฝูงหน่ึงให้น้านมเฉลี่ย เท่ากับ 2,500 กิโลกรัม ต่อระยะการให้น้านม แม่โค A ให้
น้านมในระยะการให้นมที่ 1 เท่ากับ 2,520 กิโลกรัม และให้น้านมในระยะการให้นมที่ 2 เท่ากับ 2,640
กิโลกรัม จงหาค่าประมาณของคุณค่าการผสมพันธุของแม่โคนม A โดยก้าหนดให้ค่าอัตราพันธุกรรมและ
ค่าอตั ราซ้าของปริมาณน้านม เทา่ กบั 0.30 และ 0.40 ตามลา้ ดบั
วธิ ที ้า
EBV = nh2 ( X1- X)
1+ (n-1)r
แทนคา่ ของแม่โคนม A
X1 = 2,520 + 2,640 = 2,580
2
= (2 x 0.30) (2,580 – 2,500)
1+ (2-1)0.40
= 0.6 x 80
1.4
= 34.29 กิโลกรัม
แมโ่ คนม A มคี ่าประมาณของคณุ คา่ การผสมพนั ธุ เทา่ กบั 34.29 กิโลกรมั
4.3 การใช้ประโยชนจากคณุ ค่าการผสมพนั ธุ
คุณค่าการผสมพันธุมีประโยชนอย่างมากต่อการท้าธุรกิจการเลียงสัตว์โดยมีประโยชนตอกลุ่ม
บุคคลหลายกลุ่มดงั ตอ่ ไปนี
1) ผู้บริหารหรอื ผู้จดั การฟาร์ม ในการจดั การฟาร์มสัตว์เลยี ง ผู้บริหารหรอื ผู้จัดการฟาร์ม
ใช้คุณค่าการผสมพันธุเป็นข้อมูลพืนฐานเพ่ือวางแผนพัฒนาการเลียงสัตว์ โดยดูจากพ่อพันธุแม่พันธุที่ถูก
จัดอันดับตามคุณค่าการผสมพันธุ จากอันดับท่ีหน่ึงจนถึงอันดับสุดท้าย และใช้เปรียบเทียบความก้าวหน้า
การพัฒนาพนั ธุกรรมและการจดั การฟาร์ม
2) เกษตรกร ใช้คุณค่าการผสมพันธุในการคัดเลือกพ่อพันธุ แม่พันธุ ได้อย่างมีทิศทาง
และมีความถูกต้องมากขึน ซึ่งจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเลียงสัตว์ นอกจากนียังช่วยประหยัด
ค่าใช้จา่ ยในการผสมพนั ธุ และเลอื กสายพันธุทเ่ี หมาะสมกับระดบั การจดั การฟาร์มของตนเอง
3) ผู้ส่งเสริมการเลียงสัตว์ ใช้คุณค่าการผสมพันธุเป็นข้อมูลที่ประกอบการอธิบายและ
ตอบค้าถามของเกษตรกรในการส่งเสริมหรือประสานงานสนับสนุนการเลียงสัตว์สายพันธุต่างๆ ใช้ในการ
ประชาสัมพันธ์ขายพ่อพันธุหรือน้าเชือ (semen) ของสัตว์ ในการขายพ่อโคนมก็จะใช้ค่า BV เป็นตัวบ่ง
บอกว่าพ่อโคตัวนันมีความสามารถทางพันธุกรรมในการให้นมเท่าใด เม่ือเทียบกับค่าเฉลี่ยของฝูงท่ีมันได
รบั การทดสอบ ตัวอย่างเช่น ถา้ มีการประกาศว่าพ่อโค A มีคา่ BV ของการให้นมเทา่ กับ 500 กโิ ลกรัมตอ่ ปี
และพ่อโคนีมาจากฝูงท่ีมีค่าเฉลี่ยการให้นมต่อปีเท่ากับ 2,000 กิโลกรัม น่ันย่อมแสดงว่า ความสามารถ
ทางพันธกุ รรมในการให้นมของพ่อโคตวั นเี ท่ากับ 2,000 บวกดว้ ย 500 หรือ 2,500 กโิ ลกรัมตอ่ ปีนน่ั เอง
เอกสารอ้างอิง
จรสั สว่างทัพ. 2553. เทคนิคการปรับปรงุ พนั ธุสัตว์. พมิ พ์ครังท่ี 2. สาขาวิชาสตั วศาสตร์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี ัมย์, บรุ รี มั ย์.
ชาญชัย รอดอนันต์. 2532. การผสมพนั ธ์ุสัตว์. ภาควชิ าสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ.
สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล, ชลบุรี.
เถลงิ ศกั ดิ์ องั กุรเศรณ.ี 2553. การปรับปรุงพันธุสตั ว์. ภาควชิ าสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์.
บุญชอบ เฟ่ืองจันทร์. 2535. การปรับปรงุ พันธุสตั ว.์ คณะวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรกรรมชลบุรี,
ชลบุร.ี
บญุ เรม่ิ บุญนิธิ. 2549. การปรับปรงุ พนั ธุสตั ว.์ คณะวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
นครราชสีมา. นครราชสีมา.
พงษช์ าญ ณ ลา้ ปาง. 2547. หลักพืนฐานเก่ยี วกับการปรับปรุงพันธุ, น. 203 - 239. ในฝ่ายวิชาการ
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, บรรณาธกิ าร. การปรบั ปรุงพันธุและการสืบพันธุสัตว์.
ส้านกั พมิ พ์มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, นนทบรุ .ี
สกี ุน นชุ ชา. 2554. การปรบั ปรุงพนั ธุสัตว.์ คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง.
ออนไลน์ : สบื คน้ ไดจ้ าก www. Seekun.net/c-km-an-imp.html . 15 กนั ยายน 2561.
สมเกียรติ สายธนู. 2537. หลักการปรบั ปรุงพันธุสตั ว์. พมิ พ์ครงั ท่ี 1. ภาควชิ าสตั วศาสตร์
คณะทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์, ม.ป.ท.
สมชยั จันทร์สวา่ ง. 2530. การปรับปรุงพนั ธุสัตว์. ภาควชิ าสัตวบาล คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั
เกษตรศาสตร์. กรงุ เทพฯ.