The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jitladda Saenta, 2021-02-10 01:46:35

รายงานประจำปี 2563 ฉบับสมบูรณ์

รายงานประจำปี 2563 ฉบับสมบูรณ์

2020

ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

ส า ร บั ญ

0 1 บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ อตั ลกั ษณ์ ปรชั ญา ปณธิ าน
0 4 เอกลกั ษณ์ นโยบาย วฒั นธรรมและคา่ นยิ มองคก์ ร

0 7 ประวตั ิความเปนมา พฒั นาการ

1 4 แผนยุทธศาสตรก์ ารบรหิ าร
2 0 โครงสรา้ งองค์กร
2 1 คณะผบู้ รหิ าร
2 2 บุคลากร
2 4 การจดั การเรยี นการสอน

2 6 สงิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้
2 9 พฒั นาการและการปรบั ปรงุ หลักสตู ร

3 1 ดา้ นการวจิ ยั
3 3 การต่างประเทศ

3 5 ดา้ นการพฒั นานกั ศึกษาและศิษยเ์ ก่าสมั พนั ธ์

3 7 รางวลั และความภาคภมู ใิ จ

การอบรมสมั มนาและการเขา้ รว่ มเปนวทิ ยากร
3 8 ของคณาจารย์

รายงานการตรวจสอบบญั ชี
4 2 เปรยี บเทียบ 2559-2563

รายงานการจดั ซอื จดั จา้ ง
4 3 ประจาํ ปงบประมาณ 2563

WE GROOM FUTURE PUBLIC SERVICE LEADERS

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ในแผนยุทธศาสตรป์ ระจาํ ป พ.ศ. 2563-2567
วิทยาลัยฯ ได้กําหนดวิสัยทัศน์เปน “สถาบันชนั นําและ
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านการบริหารจัดการกิจการ
ขอนแกน่ ถอื กําเนดิ ขนึ จากแนวทางการปฏริ ปู การเมอื ง สาธารณะของอาเซยี น” ภายใต้วิสัยทัศน์นี วิทยาลัยฯ
การปกครองของประเทศตามนโยบายการกระจาย มุ่งยกระดับความเข้มแข็งทางการเรยี นการสอน การวิจัย
อํานาจทีกําหนดไว้ในรฐั ธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2540 และ และนวัตกรรม การบรกิ ารวิชาการ การต่างประเทศ
จากความจาํ เปนเรง่ ด่วนในการพัฒนาสมรรถนะทางการ การส่งเสรมิ ความสัมพันธ์กับชุมชน และการบรหิ าร
บรหิ ารของผู้บรหิ ารและบุคลากรขององค์กรปกครอง จัดการองค์กร ใหไ้ ด้รบั การยอมรบั อย่างกว้างขวาง
ส่วนท้องถินจาํ นวนประมาณ 8,000 แหง่ ทังในระดับชาติและระดับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิง
ทัวประเทศ เมือแรกสถาปนาในป พ.ศ. 2550 ในภูมิภาคอาเซยี น แม้ว่าปงบประมาณ พ.ศ. 2563
วิทยาลัยฯ มุ่งเน้นการพัฒนาองค์ความรูแ้ ละทักษะ เปนปทีเกิดความพลิกผัน (Disruption) ในหลาย ๆ มิติ
ด้านการบรหิ ารองค์กรใหก้ ับบุคลากรขององค์กร อันสืบเนืองจากวิกฤตการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
ปกครองส่วนท้องถิน ผ่านการจัดการศึกษาหลักสูตร เชือไวรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) แต่
ระดับปรญิ ญาตรแี ละระดับบัณฑิตศึกษา และการอบรม วิทยาลัยฯ ยังมุ่งมันและดําเนินการต่าง ๆ ใหบ้ รรลุ
เชิงปฏิบัติการอย่างต่อเนือง แม้ว่าในระยะหลายป วิสัยทัศน์ทีตังไว้
ทีผ่านมา ประเทศไทยได้ประสบวิกฤตการณ์ทางการเมือง
หลายครงั และรฐั บาลหลายชุดได้เปลียนจุดเน้นเชิง ในด้านหลักสูตร วิทยาลัยฯ ได้ปรบั ปรุงหลักสูตร
นโยบายไปจากการกระจายอํานาจ ส่งผลใหบ้ ทบาทหน้าที ระดับบัณฑิตศึกษาเพือรองรบั การเปลียนแปลงของ
และทรพั ยากรทางการบรหิ ารขององค์กรปกครองส่วน การบรหิ ารกิจการสาธารณะในศตวรรษที 21 และ
ท้องถินเกิดการสะดุดและชะงักไป ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ก็ตาม แต่เนืองด้วยการปกครองท้องถินเปนรากฐาน ยุคดิจิทัล สาํ หรบั หลักสูตรระดับปรญิ ญาโท วิทยาลัยฯ
ทีสาํ คัญในการสรา้ งระบบการเมืองทีเปนประชาธิปไตย ได้รว่ มมือกับภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
และความสาํ เรจ็ ของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสูตร
วิทยาลัยฯ จึงยังคงสานต่อภารกิจในการส่งเสรมิ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ใหม้ ุ่งเน้นการประยุกต์
การปกครองท้องถินใหเ้ ปนรากฐานของการพัฒนา ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพือยกระดับคุณภาพการใหบ้ รกิ าร
ประเทศ ภายใต้กรอบแนวคิดของการบรกิ ารสาธารณะ สาธารณะ สาํ หรบั หลักสูตรระดับปรญิ ญาเอก วิทยาลัยฯ
แนวใหม่ (New Public Service) แทนการบรหิ าร ได้ปรบั ปรุงหลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต
ภาครฐั แบบดังเดิม(Old Public Administration) สาขาวิชาการบรหิ ารกิจการสาธารณะ (หลักสูตร
นานาชาติ) โดยเน้นการบรกิ ารสาธารณะแนวใหม่
ในยุคดิจิทัลและในสภาวะวิกฤต

ANNUAL REPORT 2020 | 1

ในด้านการจัดการเรยี นการสอน ภายใต้สถานการณ์ ในด้านการต่างประเทศ วิทยาลัยฯ มุ่งสรา้ ง สาน
การแพรร่ ะบาดของเชอื โควดิ -19 วทิ ยาลัยฯ ไดม้ มี าตรการ ต่อ และยกระดับความสัมพันธ์กับองค์กรชันนาํ ระดับ
ปองกันการแพรร่ ะบาดของเชือโควิด-19 ตามมาตรฐาน โลก เช่น การจัดกิจกรรม COLA Webinar Series
ของรฐั บาลและมหาวิทยาลัย ยิงไปกว่านัน วิทยาลัยฯ ได้ 2020 โดยรว่ มกับมูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์
จัดระบบกลไกและสิงอํานวยความสะดวกสาํ หรบั การเรยี น (Konrad-Adenauer-Stiftung) บนฐานคิดทีว่า
รูข้ องนักศึกษาทุกระดับและทุกชันป โดยจัดใหม้ ีบรกิ าร โลกในปจจุบันมีการพัฒนา เปลียนแปลงศาสตรห์ รอื
ยืม iPad เพือการเรยี นรูข้ องนักศึกษา ใหท้ ุนสนับสนุน องค์ความรูต้ ่าง ๆ ตลอดเวลาและรวดเรว็ ส่งผลให้
การเข้าถึงอินเทอรเ์ น็ต (Equal Internet Access) คณาจารย์และนักวิชาการต่าง ๆ จาํ เปนต้องปรบั ตัว
แก่นักศึกษาเปนจาํ นวนเงินทุนละ 400 บาทต่อเดือน และศึกษาค้นคว้าอยู่ตลอดเวลา เพือใหไ้ ด้องค์ความรู้
และลดค่าธรรมเนียมการศึกษารอ้ ยละ 10 แก่นักศึกษา ใหม่ทีสอดคล้องและทันกับการเปลียนแปลงของโลก
สาํ หรบั ทางด้านคณาจารย์ วิทยาลัยได้ส่งเสรมิ ให้ วิทยาลัยฯ จึงเล็งเหน็ ถึงความจาํ เปนทีจะต้องลงทุน
คณาจารย์จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ โดยใหท้ ุน ในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรของวิทยาลัย
การผลิตสือการสอนออนไลน์ เพือใหค้ ณาจารย์ ใหส้ ามารถก้าวและปรบั ตัวทันการเปลียนแปลงของ
สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนภายใต้ความปกติ โลก ด้วยการเพิมวัตถุดิบหรอื ต้นทุนทางความคิด
ใหม่ (New Normal) ได้อย่างน่าสนใจ และสามารถ โดยการถ่ายทอดองค์ความรูพ้ ืนฐานทางรฐั ประ
จัดประชุมหรอื ใหบ้ รกิ ารทางวิชาการแก่ชุมชนทางออนไลน์ ศาสนศาสตร์ ใหแ้ ก่คณาจารย์บุคลากรและนักศึกษา
ในกิจกรรมนี วิทยาลัยฯ ได้เชิญนักวิชาการทีมี
ในด้านการวจิ ยั และการบรกิ ารวชิ าการ ในปงบประมาณ ชือเสียงทังจากทวีปยุโรป อเมรกิ า และเอเชีย
พ.ศ. 2563 ทีผ่านมา วิทยาลัยฯ มุ่งสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ เพือถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์เกียวกับ
ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานรากและการจัดการ การจัดการปกครองสาธารณะและการบรกิ าร
ปกครองสาธารณะโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อาจารย์ประจาํ สาธารณะแนวใหม่ในศตวรรษที 21 ด้วยระบบดิจิทัล
ของวิทยาลัยฯ ได้มีผลงานการตีพิมพ์ รวมทังสิน จาํ นวน ใหแ้ ก่คณาจารย์ของวิทยาลัยฯ ทุกคน
123 เรอื ง จาํ แนกเปน การนําเสนอบทความทางวิชาการ
ระดับชาติ จาํ นวน 8 เรอื ง ระดับนานาชาติ จาํ นวน 12 ในด้านการพัฒนาและปรบั ปรุงระบบกายภาพ
เรอื ง บทความทีตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 เปนปทีอาคารวิทยาลัยฯ
2 จาํ นวน 74 เรอื ง บทความทีตีพิมพ์ในวารสารฐานข้อมูล ได้มีการเปดใช้งานมาครบ 10 ป วิทยาลัยฯ
TCI กลุ่มที 1 จาํ นวน 17 เรอื ง และบทความทีตีพิมพ์ใน จึงเตรยี มความพรอ้ มในการปรบั ปรุงระบบกายภาพ
ฐานข้อมูล ISI/Scopus จาํ นวน 12 เรอื ง ภายในและภายนอกอาคารวิทยาลัยฯ อาทิ
การปรบั ปรุงหอ้ งประชุมใหเ้ ปนหอ้ งประชุมดิจิทัล
การพัฒนาระบบนิเวศรอบอาคาร การออกแบบ
การปรบั ปรุงอาคารในภาพรวม เปนต้น

2 | ANNUAL REPORT 2020

ด้านการพัฒนาบุคลากรและสวัสดิการ ในปงบประมาณ ในปงบประมาณถัดไป ผู้บรหิ าร คณาจารย์
พ.ศ. 2563 วิทยาลัยฯ ได้สนับสนุนบุคลากรทุกระดับ และบุคลากรของวิทยาลัยฯ จะยังคงมุ่ง
ทังสายวิชาการและสายสนับสนุนใหม้ ีคุณภาพชีวิตทีดี ยกระดับความเข้มแข็งทางการเรยี นการสอน
และมีความก้าวหน้าในอาชีพในด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสรมิ การวิจัยและนวัตกรรม การบรกิ ารวิชาการ
ใหเ้ ข้าสู่ตําแหน่งทางวิชาการทีสูงขึน การสนับสนุนทุน การต่างประเทศ การส่งเสรมิ ความสัมพันธ์
การศึกษาใหแ้ ก่บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนของ และใหบ้ รกิ ารกับชุมชน และพัฒนาระบบการ
วิทยาลัย ส่วนทางด้านสวัสดิการ วิทยาลัยได้จัดโครงการ บรหิ ารจัดการองค์กร เพือใหบ้ รรลุสู่การเปน
ตรวจสุขภาพประจาํ ป การจ่ายเงินชดเชยในกรณีทีเกษียณอายุ สถาบันชันนําและศูนย์กลางการเรยี นรูด้ ้าน
การปรบั รูปแบบการประเมินบุคลากรประจาํ ป และการนํา การบรหิ ารจัดการกิจการสาธารณะของ
แนวคิด Objective and Key Results (OKRs) มาเปน อาเซยี น
เกณฑ์หนึงในการประเมินผลการปฏิบัติงาน เปนต้น

รศ.ดร.พรี สทิ ธิ คํานวณศิลป

คณบดวี ทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

ANNUAL REPORT 2020 | 3

WE GROOM FUTURE PUBLIC SERVICE LEADERS

We วสิ ยั ทัศน์

Groom สถาบันชันนาํ และศูนย์กลางการเรียนรู้
Future ด้านการบริหารจัดการกิจการสาธารณะ
Public ของอาเซียน
Service
Leaders พนั ธกิจ

4 | ANNUAL REPORT 2020 วิทยาลัยการปกครองท้องถิน มุ่งสร้างและ
พัฒนาองค์ความรู้ และยกระดับความสามารถ
ทางการบริหารกิจการสาธารณะตังแต่ระดับ
ท้องถิน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ใน 3 ด้าน
คือ ด้าน People Ecological และ Spiritual

PEOPLE | ECOLOGICAL | SPIRITUAL

ดา้ น People: ดาํ เนนิ การใหน้ กั ศึกษา
บุคลากร และภาคีหนุ้ สว่ นของวทิ ยาลัยฯ

มคี วามความรแู้ ละความสามารถในศาสตรด์ า้ นการบรหิ ารกิจการสาธารณะดจิ ทิ ัล
ผลิตบณั ฑิตทีมคี ณุ ภาพ ตอบสนองต่อลักษณะพลวตั ของสงั คม
จดั การเรยี นรใู้ นเชงิ บูรณาการขา้ มศาสตรท์ ีมุง่ เนน้ การเพมิ ทักษะยุคใหมท่ ีจาํ เปน และ
ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิจรงิ โดยใชช้ ุมชนและสภาพปญหาจรงิ เปนฐาน
(Integrated Community-Based Learning)
สง่ เสรมิ และพฒั นา อาจารย์ บุคลากร และนกั ศึกษาใหม้ ที ักษะทางดา้ นเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล
เสรมิ สรา้ งใหน้ กั ศึกษาและบุคลากรมที ักษะและความพรอ้ มทีจะแขง่ ขนั และทํางานได้
ในทกุ แหง่ ของโลก
สามารถนาํ องค์ความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาํ รงชวี ติ และการบรกิ ารสงั คม
สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาไดม้ โี อกาสในการนาํ องค์ความรทู้ ีไดจ้ ากการเรยี นรไู้ ปปฏิบตั ิใน
ชวี ติ จรงิ
สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาไดน้ าํ องค์ความรไู้ ปพฒั นาและทดสอบเพอื ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ
ของคนในชุมชนทีนกั ศึกษาไดไ้ ปเรยี นรู้

ดา้ น Ecological: ดาํ เนนิ การใหร้ ะบบนเิ วศ
การเรยี นรแู้ ละการทํางานของวทิ ยาลัยฯ
ใหเ้ ปนสถานทีนา่ เรยี นรแู้ ละนา่ ทํางาน โดย

สรา้ งและพฒั นาโครงสรา้ งพนื ฐานของวทิ ยาลัยฯ อันไดแ้ ก่ อาคารสถานที หอ้ งเรยี น สอื
อุปกรณแ์ ละเครอื งมอื การเรยี นรทู้ ีมุง่ สกู่ ารเปนสถาบนั ทีสรา้ งความองค์ความรแู้ ละสอน
ทางดา้ นการบรหิ ารกิจการสาธารณะในยุคดจิ ทิ ัล (Digital Governance and Public
Affairs) ใหม้ คี วามพรอ้ มและเอือต่อการเปนแหล่งเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา
พฒั นาหอ้ งเรยี นใหท้ ันสมยั ในลักษณะหอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ (Smart Classroom)
ยกระดบั การใหบ้ รกิ ารแก่นกั ศึกษาใหท้ ันสมยั โดยใชร้ ะบบบรกิ ารอิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Services)
จดั หาเครอื งมอื ทีทันสมยั เพอื สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรใู้ นระบบดจิ ทิ ัล
สรา้ งและพฒั นาโครงสรา้ งพนื ฐานและระบบการบรหิ ารจดั การภายในองค์กรใหส้ อดรบั
กับการเปลียนแปลงของเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอื เพมิ ประสทิ ธภิ าพการทํางานใหร้ วดเรว็
ตอบสนอง โปรง่ ใส และตรวจสอบได้ (Open Governance) โดยใหม้ คี วามพรอ้ มและ
เอือต่อการทํางานของบุคลากร
ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานภายในวทิ ยาลัยใหส้ อดรบั กับความจาํ เปน ภารกิจและ
ความยงั ยนื ขององค์กร
พฒั นาระบบการประเมนิ การทํางานของบุคลากรโดยมุง่ สมั ฤทธผิ ลของการทํางาน
(Objectives and Key Results: OKRs) โดยนาํ เอาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเขา้ มาเปนเครอื ง
มอื
พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การงานภายในสาํ นกั งานและการบรกิ ารการศึกษาของวทิ ยา
ลัยฯ โดยใชร้ ะบบสาํ นกั งานดจิ ทิ ัล (Digital Office) เต็มรปู แบบ ใหส้ ามารถรองรบั การ
ใหบ้ รกิ ารนกั ศึกษาและการใหบ้ รกิ ารภาคีหนุ้ สว่ นภายนอก

ดา้ น Spiritual: ดาํ เนนิ การปลกู ฝง
และเสรมิ สรา้ งค่านยิ มของวทิ ยาลัยฯ ให้

บุคลากรของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถินมคี วามรสู้ กึ เปนครอบครวั เดยี วกันและเกือ
หนนุ ซงึ กันและกัน
ปลกู ฝงและถ่ายทอดใหส้ มาชกิ ของวทิ ยาลัยฯ เขา้ ใจและเหน็ ถึงความเชอื มโยงของการ
ทํางานและความสาํ เรจ็ รว่ มกัน และมกี ารทํางานในลักษณะเปนทีม
พฒั นาระบบการทํางานทีเอือต่อการทํางานเปนทีม
นกั ศึกษาและบณั ฑิตของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถินเปนผอู้ ุทิศตนต่อสาธารณะ
จดั การเรยี นรจู้ ากบุคคลทีเปนตัวแบบของการอุทิศตนต่อสาธารณะ
สง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษาและบุคลากรไดม้ โี อกาสทํางานรว่ มกับบุคคลต้นแบบ
สรา้ งหอ้ งทดลองทางสงั คมเพอื ใหน้ กั ศึกษาและบุคลากรไดม้ โี อกาสนาํ ความรแู้ ละ
ประสบการณท์ ีไดร้ บั จากบุคคลต้นแบบไปทดลองปฏิบตั ิจรงิ ในชุมชน

ANNUAL REPORT 2020 | 5

WE GROOM FUTURE PUBLIC SERVICE LEADERS

อัตลักษณ์ วฒั นธรรมและค่านยิ มองค์กร

Servant Leadership ผู้นําในการรับใช้สังคม S = Service Mind
บุคลากรของวิทยาลัยมีจิตทีพร้อมจะให้บริการแก่สาธารณะ
ปรชั ญา
P = Professionalism
ความหลากหลายทางความคิดก่อให้เกิดนวัตกรรม บุคลากรของวิทยาลัยมีการทํางานแบบมืออาชีพ มุ่งสัมฤทธิผล
ทางการบริหารทีนาํ ไปสู่การเปลียนแปลงสังคม ของงานและปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้เปนฐานในการทํางาน

ปณธิ าน E = Enthusiasm
บุคลากรของวิทยาลัยมีความกระตือรือร้นในการทํางานและ
เสริมฐานรากประชาธิปไตยเพือการพัฒนา การให้บริการแก่สาธารณะ
สร้างรากฐานการบริหารท้องถินสู่สากล
E = Engagement
เอกลักษณ์ บุคลากรของวิทยาลัยมีจิตสาํ นึกการมีส่วนร่วม
ทังในมิติของภายในและภายนอกองค์กร
R = Ready to work พร้อมทํางาน
E = Engagement มีส่วนร่วมมีจิตผูกพันกับองค์กร D = Diversity
A = Assertiveness กล้าแสดงออก บุคลากรของวิทยาลัยตระหนักและเคารพในความหลากหลาย
L = Life-long Learner เปนผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต และพร้อมทีจะปรับตัวในสภาพการณ์ทีเปนพลวัต

นโยบาย

เพือตอบสนองนโยบายในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยของ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถินจะยกระดับ
มาตรฐานตนเองให้เปนสถาบันการศึกษาทางด้านการบริหารกิจการ
สาธารณะระดับชันนาํ ทีได้รับการยอมรับในระดับอาเซียน

6 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

ประวตั ิความเปนมาของ
วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน ซงึ มฐี านะเปนหนว่ ยงานระดบั คณะทีเปนองค์กรในกํากับ
ของมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น มพี ฒั นาการเรมิ ต้นมาจากความตระหนกั รว่ มกับกรมสง่ เสรมิ
การปกครองท้องถิน กระทรวงมหาดไทยวา่ การกระจายอํานาจและศักยภาพการบรหิ าร
จดั การภาครฐั ทีดี เปนเงือนไขสาํ คัญทีจะทําให้ เกิดการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของ
ประเทศชาติ เมอื กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถินไดท้ ําการสาํ รวจคณุ วุฒขิ องบุคลากร
สงั กัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน ในป พ.ศ.2546 พบวา่ มผี สู้ าํ เรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญา
ตรเี พยี ง 4,600 คน จากจาํ นวนทังสนิ มากกวา่ 2 แสนคน สว่ นในระดบั ปรญิ ญาโทนนั
ยงิ มจี าํ นวนนอ้ ยมาก ยงิ ไปกวา่ นนั ยงั พบวา่ ผทู้ ีสาํ เรจ็ การศึกษาเหล่านเี กือบทังหมด
ไมม่ อี งค์ความรเู้ รอื งการบรหิ ารตามแนวทางแหง่ การกระจายอํานาจ ดงั นนั จงึ เปน
ความจาํ เปนเรง่ ดว่ นทีกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถินจะต้องพฒั นาบุคลากรองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถินใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ ตลอดจนความเชยี วชาญในการบรหิ าร
งานท้องถิน และเพมิ ขดี ความสามารถในการปฏิบตั ิงานภาคสาธารณะ เพอื ตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนในเขตพนื ทีรบั ผดิ ชอบใหอ้ ยูใ่ นระดบั ทีสงู ขนึ ต่อไป

ANNUAL REPORT 2020 | 7

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

ป พ.ศ.2548 กรมสง่ เสรมิ การปกครอง ต่อมาเมอื วนั ที 20 พฤษภาคม 2548
ท้องถิน ไดท้ ําการประสานกับมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นและกรมสง่ เสรมิ การ
ขอนแก่น ในการพฒั นาหลักสตู รเพอื เสรมิ ปกครองท้องถิน ไดล้ งนามบนั ทึกขอ้ ตกลงวา่
สรา้ งศักยภาพทางการบรหิ ารของบุคลากร ดว้ ยความรว่ มมอื ทางวชิ าการใหม้ หาวทิ ยาลัย
สงั กัดองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน โดยทัง ขอนแก่นเปดหลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตร
สองหนว่ ยงานมองวา่ ทรพั ยากรบุคคลของ บณั ฑิตและรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต
องค์กรปกครองสว่ นท้องถินเปนตัวขบั สาขาวชิ าการปกครองท้องถินเพอื พฒั นาและ
เคลือนหลักของการพฒั นาท้องถิน และจะ เตรยี มความพรอ้ มในการรองรบั ภารกิจทีจะ
ต้องสามารถตอบสนองความต้องการของ ถ่ายโอนมาจากสว่ นกลาง ตามนโยบายกระจาย
ประชาชนในท้องถิน จงึ จะเกิดประโยชน์ อํานาจของรฐั บาลใหอ้ งค์กรปกครองสว่ น
สงู สดุ แก่คนในชาติได้ ดว้ ยเหตผุ ลและ ท้องถินทัวประเทศ
ความจาํ เปนดงั กล่าว มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
จงึ ไดร้ ว่ มมอื กับกรมสง่ เสรมิ การปกครอง
ท้องถิน กระทรวงมหาดไทย ในการสรา้ ง
หลักสตู รการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละ
ปรญิ ญาโทเพอื พฒั นาบุคลากรขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน โดยไดร้ บั ความเหน็
ชอบเชงิ นโยบายจากสภามหาวทิ ยาลัย
ขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 1/2548
เมอื วนั ที 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2548 ใหด้ าํ เนนิ การ
โครงการความรว่ มมอื ทางวชิ าการกับ
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถินเพอื เปด
สอนหลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต
และหลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหา
บณั ฑิต สาขาวชิ าการปกครองท้องถิน

8 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ไดเ้ ปดรบั นกั ศึกษา โดยมชี อื วา่ “สาํ นกั งานโครงการความรว่ มมอื
รนุ่ แรกในป พ.ศ.2548 โดยหลักสตู รทีจดั ขนึ นี
ในระยะเรมิ แรกอยูภ่ ายใต้การดาํ เนนิ งานของคณะ ระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นและกรมสง่ เสรมิ
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย การปกครองท้องถิน กระทรวงมหาดไทย”
ขอนแก่น ต่อมาดว้ ยจาํ นวนนกั ศึกษาทีเพมิ ขนึ
กอปรกับมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นมนี โยบาย ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ฉบบั ที
จะขยายและพฒั นาหลักสตู รอืน ๆ เพอื ให้ 759/2549
ครอบคลมุ ทกุ ภารกิจขององค์กรปกครอง
ท้องถิน และตอบสนองความต้องการของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถินทีมุง่ เสรมิ สรา้ ง
ศักยภาพและความพรอ้ มในการบรหิ ารตาม
แนวทางของการกระจายอํานาจและเพอื ใหก้ าร
บรหิ ารจดั การองค์กรและการบรกิ ารวชิ าการแก่
นกั ศึกษาเกิดความคล่องตัวและมปี ระสทิ ธภิ าพ
มากยงิ ขนึ ทีประชุมคณะกรรมการอํานวยการ
หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขา
วชิ าการปกครองท้องถิน คราวประชุมครงั ที
1/2549 เมอื วนั ที 20 มนี าคม 2549 จงึ มมี ติ
เหน็ ชอบใหจ้ ดั ตังหนว่ ยงานในการบรหิ ารจดั การ
ภารกิจรว่ มระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นและ
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถินขนึ เมอื วนั ที
1 กรกฎาคม 2549

ANNUAL REPORT 2020 | 9

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

ในเวลาต่อมาเพอื ใหเ้ กิดความคล่องตัวในการ
บรหิ ารจดั การและใหเ้ หน็ เปนรปู ธรรมของการ
เตรยี มความพรอ้ มของบุคลากรขององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถินทีจะเขา้ มารบั ภารกิจทีจะเพมิ ขนึ และอีก
ประการเพอื ใหม้ หี นว่ ยงานทีรบั ผดิ ชอบการดาํ เนนิ การ
จดั การเรยี น การสอนทีชดั เจนยงิ ขนึ ดงั นนั ทีประชุม
คณะกรรมการบรหิ ารสาํ นกั งานโครงการความรว่ ม
มอื ฯ คราวประชุมครงั ที 3/2549 เมอื วนั ที 4 ธนั วาคม
2549 จงึ มมี ติเหน็ สมควรใหจ้ ดั ตังหนว่ ยงานทีรบั ผดิ
ชอบในการจดั การเรยี นการสอนขนึ ใหมท่ ีเทียบเท่า
ระดบั คณะ ตามมาตรฐานของมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
และเพอื ใหเ้ กิดความรว่ มมอื ในการใชบ้ ุคลากรจาก
หนว่ ยงานต่าง ๆ จากภายในและหนว่ ยงานภายนอก
ทังภาครฐั และเอกชน โดยคําแนะนาํ ของทีประชุมจงึ
เกิดการตังชอื หนว่ ยงานใหมว่ า่ “วทิ ยาลัยการ
ปกครองท้องถิน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น”และใหห้ นว่ ย
งานดงั กล่าว มสี ถานะเปนองค์กรในกํากับของ
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เทียบเท่าคณะวชิ า ตามขอ้
บงั คับมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นวา่ ดว้ ยองค์กรในกํากับ
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2539 และใหก้ ารบรหิ าร
งานของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน เปนไปตาม
ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น วา่ ดว้ ย วทิ ยาลัย
การปกครองท้องถิน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
หลักการดงั กล่าวไดผ้ า่ นความเหน็ ชอบจากทีประชุม
คณบดคี ราวประชุมครงั ที 3/2550 เมอื วนั ที
9 กมุ ภาพนั ธ์ 2550 และทีประชุมสภามหาวทิ ยาลัย
คราวประชุมครงั ที 4/2550 เมอื วนั ที 4 เมษายน
2550 มมี ติอนมุ ตั ิใหจ้ ดั ตัง “วทิ ยาลัยการปกครอง
ท้องถิน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น” ในวนั ดงั กล่าวนี
ทางวทิ ยาลัยฯ ถือวา่ เปน วนั สถาปนาวทิ ยาลัย
การปกครองท้องถิน

10 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

พฒั นาการ ของ
วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

12 กุมภาพันธ์ 2548
สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 1/2548 มีมติเหน็ ชอบ โครงการ
ความรว่ มมือทางวิชาการหลักสูตร รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรรฐั ประ
ศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิน ระหว่างกรมส่งเสรมิ การ
ปกครองท้องถิน กระทรวงมหาดไทย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

28 พฤษภาคม 2548
พิธลี งนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความรว่ มมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสรมิ

การปกครองท้องถิน โดย นายสาโรส คัชมาตย์ อธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การปกครอง
ท้องถิน กับมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยรองศาสตราจารย์ ดร.สุมนต์ สกลไชย
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทังนีมีนายสมชาย สุนทรวัฒน์ รฐั มนตรชี ว่ ย
ว่าการกระทรวง มหาดไทย เปนประธานในพิธลี งนาม เพือจัดการศึกษาระดับ
ปรญิ ญาโท หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการปกครองท้องถิน เปนรุน่ ที 1

1 กรกฎาคม 2549 24 พฤศจิกายน 2548
มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้จัดตัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ลง
“สาํ นักงานโครงการความรว่ มมือ นามในบันทึกข้อตกลงความ
ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและ รว่ มมือทางวิชาการกับกรมส่ง
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน” เสรมิ การปกครองท้องถินเพือ
โดยรบั การถ่ายโอนภารกิจในการ จัดการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี
บรหิ ารจัดการหลักสูตรภายใต้ หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตร
ความรว่ มมือทังหมดจากคณะ บัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง
มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ท้องถิน เปนรุน่ ที 1 รว่ มกับ
มาอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของ สถาบันการอุดมศึกษา 34 แหง่
สาํ นักงานอธกิ ารบดี ทัวประเทศไทย

4 เมษายน 2550
สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 2/2550 มีมติใหจ้ ัดตัง

วิทยาลัยการปกครองท้องถิน เปนองค์กรในกํากับ ตามประกาศ
สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที 1/2553 ใหม้ ีหน้าทีรบั ผิดชอบ

จัดการศึกษาหลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต
และหลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
ANNUAL REPORT 2020 | 11

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

10 มถิ ุนายน 2550
พิธเี ปดสาํ นักงานคณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิน ณ ชนั 6 อาคารศูนย์บรกิ าร
วิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยได้รบั เกียรติจาก พล.ต.ต.ธรี วุฒิ บุตรศรภี ูมิ
รฐั มนตรชี ว่ ยกระทรวงมหาดไทย ในขณะนันเปนประธาน

9 สิงหาคม 2550 18 ธนั วาคม 2550
รศ.ดร. พีรสิทธิ คํานวณศิลป มหาบัณฑิต จาํ นวน 1,239 คน
ดํารงตําแหน่ง รกั ษาการในตําแหน่ง ของหลักสูตรรฐั ประศาสน
คณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิน ศาสตรมหาบัณฑิต สาขา
วิชาการปกครองท้องถิน
รุน่ แรก เข้ารบั พระราชทาน
ปรญิ ญาบัตร

7 กุมภาพันธ์ 2551 23 มกราคม 2551
รศ.ดร.พีรสิทธิ คํานวณศิลป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ดํารงตําแหน่งเปนคณบดีวิทยาลัย ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความ
การปกครองท้องถิน ซงึ ได้ดํารง รว่ มมือทางวิชาการกับกรมส่งเสรมิ
ตําแหน่งตังแต่วันที 7 กุมภาพันธ์ การปกครองท้องถิน เพือจัดการ
2551 ถึงวันที 6 กุมภาพันธ์ 2555 ศึกษาระดับปรญิ ญาตรี รฐั ประ
ศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการการคลัง และหลักสูตร
เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการงานชา่ งและผังเมือง

22 เมษายน 2551
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เคยลงนามในบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือทางวิชาการ
กับกองบัญชาการศึกษา สาํ นักงานตํารวจแหง่ ชาติครงั แรก
ในสมัย ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.สุมนต์ สกลไชย เปนอธกิ ารบดี
ต่อมาจึงได้ลงนามเปนครงั ที 2 โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชยั ไตรรตั นศิรชิ ยั
เพือจัดการศึกษาระดับปรญิ ญาโท หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
วิชาเอกการบรหิ ารงานตํารวจและชุมชนเปนแหง่ แรกของประเทศไทย

7 มถิ ุนายน 2551
พิธวี างศิลาฤกษ์ก่อสรา้ ง
อาคารวิทยาลัยการปกครองท้องถิน
โดยมีนายบุญลือ ประเสรฐิ โสภา
รฐั มนตรชี ว่ ยกระทรวงศึกษาธกิ าร
ในขณะนัน เปนประธาน
12 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

1 ตุลาคม 2552
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง ความรว่ มมือทางวิชาการครงั แรก กับ
University of Missouri, Columbia และ University of Hawaii ประเทศสหรฐั อเมรกิ าในสมัยที
ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.สุมนต์ สกลไชย เปนอธกิ ารบดี เพือพัฒนาหลักสูตรปรญิ ญาเอก
Doctor of Public Administration in Public Affairs Management

24 พฤษภาคม 2553 7 กุมภาพันธ์ 2555
พิธเี ปดอาคารวิทยาลัยการ สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปกครองท้องถิน โดยมี แต่งตัง รศ.ดร.ศุภวัฒนากร
ฯพณฯ ศ.นพ.เกษม วัฒนชยั วงศ์ธนวสุ ดํารงตําแหน่ง
องคมนตรี เปนประธานในพิธี คณบดีวิทยาลัยการปกครอง
ท้องถิน คนทีสอง

25 มนี าคม 2557 20 กันยายน 2555
มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย รศ.ดร.กิตติชยั วิทยาลัยการปกครองท้องถิน
ไตรรตั นศิรชิ ยั อธกิ ารบดี ได้ลงนามเพือ ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง
ขยายความรว่ มมือทางด้านวิชาการ กับ ความรว่ มมือทางวิชาการกับ
University of Hawai’i at Manoa โดย Northern Illinois University,
Chancellor Tom Apple เพือรว่ มกัน Dekalb, Illinois, USA ในการ
จัดการเรยี นการสอนหลักสูตร Doctor of พัฒนาหลักสูตร 2 ปรญิ ญา
Public Administration, Public Affairs (Dual Degree) ระดับปรญิ ญา
Management (International Program) โท หลักสูตรรฐั ประศาสน
ของวิทยาลัยการปกครองท้องถิน ศาสตรมหาบัณฑิต (Master
มหาวิทยาลัยขอนแก่น of Public Administration)

25 เมษายน 2557
รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชยั ไตรรตั นศิรชิ ยั อธกิ ารบดี
รว่ มลงนามในบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือทางวิชาการ กับ
Dr. R.Bowen Loftin อธกิ ารบดี University of Missouri at
Columbia เพือขยายเวลาความรว่ มมือทางวิชาการระหว่างสองสถาบัน

7 กุมภาพันธ์ 2559 30 กรกฎาคม 2558
สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น แต่งตัง วิทยาลัยการปกครองท้องถิน
รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ โดย รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ
ดํารงตําแหน่ง คณบดีวิทยาลัย คณบดี ลงนามบันทึกข้อตกลงความรว่ มมือ
การปกครองท้องถิน วาระทีสอง ทางวิชาการกับ The Mark O. Hatfield
School of Government, College of
Urban and Public Affairs, Portland
State University
ANNUAL REPORT 2020 | 13

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

6 กรกฏาคม 2559 30 กรกฎาคม 2558
ฯพณฯ ดร.ทองลุน สีสุลิด นายก วิทยาลัยการปกครองท้องถิน
รฐั มนตรี แหง่ สาธารณรฐั โดย รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ใหเ้ กียรติ ธนวสุ คณบดี ลงนามบันทึกข้อ
เปดศูนย์คอมพิวเตอรแ์ ละการเรยี นรู้ ตกลงความรว่ มมือทางวิชาการ
หรอื COLA Library ซงึ วิทยาลัยฯ กับ The Mark O. Hatfield
ได้ดําเนินการพัฒนาและปรบั ปรุงให้ School of Government,
เปนหอ้ งสมุดทีมีชวี ิตทางด้านการ College of Urban and
บรหิ ารกิจการสาธารณะเพือให้ Public Affairs, Portland
บรกิ ารแก่นักศึกษา บุคลากร และผู้ State University
สนใจทัวไป และเปนพืนทีทํางานรว่ ม
กัน (coworking space)

13 -15 กันยายน 2560
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน จัดประชุมวิชาการนานาชาติ “International
Conference on Government Performance Management and
Leadership” ครงั ที 5 รว่ มกับ School of Management Lanzhou
University, Mark O. Hatfield School of Government Portland State
University, Konrad-Adenauer-Stiftung Thailand Office, สกว., เทศบาล
นครขอนแก่น, KKTT, Public Service Research Institution Waseda
University, สวทช. และกองวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

28 กันยายน -1 ตุลาคม 2561
วิทยาลัยการปกครองท้องถินได้มีโอกาสต้อนรบั
Prof. Alexander N. Cartwright อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยมิสซูรี
ในโอกาสทีเดินทางมา Renew MOU กับมหาวิทยาลัยขอนแก่น
พรอ้ มภรรยา และ Dr.Sang Kim, Director of Asian Affairs Center &
Missouri International Training Institute พรอ้ มทังได้นําเสนอ
ผลการดําเนินงานภายใต้ความรว่ มมือของสองสถาบัน และหารอื ประเด็น

ทีจะทํารว่ มกันในอนาคต

26-27 กันยายน 2562 8 พฤษภาคม 2562
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน มหาวิทยาลัย รศ.นพ.ชาญชยั พานทองวิรยิ ะกุล
ขอนแก่น COLA KKU เจ้าภาพรว่ มจัด รกั ษาการอธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
The 6th International Conference เปนประธานในการประกอบพิธลี งนามบันทึก
on Government Performance ความรว่ มมือระดับคณะ ระหว่างวิทยาลัย
Management and Leadership การปกครองท้องถิน กับ สาขาวิชาวิทยาการ
ณ สาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนาม คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มข.
เพือพัฒนาหลักสูตรข้ามศาสตร์
14 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

23 พฤศจิกายน 2562
พิธเี ปดหอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ (Smart Classroom) และรบั มอบครุภัณฑ์
อุปกรณ์เครอื งมือในการเรยี นการสอนทีสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้า
เรยี นรู้ หอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ (Smart Classroom) บรจิ าคโดย
ดร.ทองเปลว กองจันทร์ อธบิ ดีกรมชลประทาน และคณะ

13 มกราคม 2563
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน รว่ มพิธเี ปดตัวแคมเปญ
“ยุวชนสรา้ งชาติ” โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
เปนประธานพิธเี ปดตัวโครงการยุวชนสรา้ งชาติอย่างเปนทางการ

ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรฐั บาล กรุงเทพฯ
16 มกราคม 2563
วิทยาลัยการปกครองท้องถิน รว่ มกับคณะเกษตรศาสตร์ คณะนิติศาสตร์
คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์
ได้รว่ มลงนามบันทึกความรว่ มมือกับสันนิบาตเทศบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และสถานประกอบการในจังหวัดขอนแก่น จาํ นวน 18 หน่วยงาน ในการเตรยี มคน
ใหม้ ีลักษณะของคนในศตวรรษที 21

7 กุมภาพันธ์ 2563
รศ.ดร.พีรสิทธิ คํานวณศิลป
ดํารงตําแหน่งเปนคณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถิน
ซงึ ได้ดํารงตําแหน่ง ตังแต่วันที 7 กุมภาพันธ์ 2563 จนถึงปจจุบัน

ANNUAL REPORT 2020 | 15

แผนยุทธศาสตร์
การบรหิ าร

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 1

ป รับ เ ป ลี ย น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
(Education Transformation)

กลยุทธท์ ี 1 ปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู รเดมิ ในระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท
และปรญิ ญาเอกทีวทิ ยาลัยดาํ เนนิ การจดั การเรยี นการสอนอยูใ่ นปจจุบนั โดย
มกี ารปรบั การจดั การเรยี นรแู้ บบรายวชิ าใหเ้ ปนการจดั การเรยี นรแู้ บบชุดวชิ า
(Modular System) และบูรณาการขา้ มศาสตร์ มกี ารจดั การประเมนิ ผล
การเรยี นรโู้ ดยใชร้ ปู แบบการวดั สมรรถนะของผเู้ รยี น (Skill/Competency
Assessment) แทนการสอบวดั ผลแบบดงั เดมิ โดยหลักสตู รจะต้องมุง่ ตอบ
สนองต่อลักษณะพลวตั ของสงั คม พรอ้ มปรบั เปลียนตามความต้องการของ
ผเู้ รยี นและสอดรบั กับความต้องการของตลาดงาน

กลยุทธท์ ี 2 สรา้ งหลักสตู รใหมด่ า้ นการบรหิ ารกิจการสาธารณะดจิ ทิ ัล
(Digital Governance and Public Affairs) โดยเนน้ มติ ิการบรหิ ารจดั การ
อัจฉรยิ ะ (Smart Governance) ทีมกี ารออกแบบหลักสตู รใหส้ อดคล้องกับ
สภาพปญหาและความต้องการของภาครฐั ภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม

กลยุทธท์ ี 3 พฒั นารปู แบบใหมใ่ นการจดั การหลักสตู รเพอื ตอบสนอง
กล่มุ ผเู้ รยี นทีหลากหลายทังจากภายในและต่างประเทศ ทังในรปู แบบหลักสตู ร
ทีต้องการปรญิ ญา (New Forms of Degree Program) และหลักสตู รทีไม่
ต้องการปรญิ ญา (Non-Degree Program) นอกจากนนั ยงั จดั หลักสตู รต่อ
เนอื งแบบขา้ มศาสตรท์ ังในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโท ผา่ นความรว่ มมอื
กับคณะวชิ าภายในมหาวทิ ยาลัยขอนแก่นและสถาบนั การศึกษาชนั นาํ ของโลก
และจดั การศึกษาในรปู แบบชุดวชิ า (Modular System) และระบบธนาคาร
หนว่ ยกิต (Credit Bank) ทีสอดรบั กับแนวคิดการจดั การศึกษาตลอดชวี ติ
(Life Long Learning)

กลยุทธท์ ี 4 พฒั นานกั ศึกษาวทิ ยาลัยการปกครองท้องถินใหม้ สี มรรถนะและ
ทักษะทีจาํ เปนในอนาคต โดยผา่ นการจดั การเรยี นรแู้ บบใชช้ ุมชนและสภาพ
ปญหาเปนฐาน (Community/Problem-Based Learning) และผา่ นการเปด
โลกทัศนส์ คู่ วามเปนสากล (Global Exposure) เพอื ใหน้ กั ศึกษามจี ติ สาธารณะ
มลี ักษณะเปนพลเมอื งของโลกและเชอื มโยงทังระดบั สากลและระดบั ท้องถิน
(Glocalization)

กลยุทธท์ ี 5 พฒั นาระบบการจดั การศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษาใหส้ ามารถดงึ
ผเู้ รยี นทีมศี ักยภาพทังภายในและต่างประเทศ ผา่ นระบบการคัดเลือกแบบ
เชงิ รกุ (Active Recruitment) และพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะทีสอดคล้องกับ
ความต้องการของตนเองและหรอื หนว่ ยงานทีสงั กัด โดยพฒั นาทางเลือกใน
การศึกษาวจิ ยั ทีหลากหลาย ซงึ จะนาํ ไปสกู่ ารสรา้ งนวตั กรรมเพอื แก้ปญหา
ขององค์กรและสงั คม

16 | ANNUAL REPORT 2020

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 2

ป รับ เ ป ลี ย น ก า ร ทํา ง า น วิ จั ย

กลยุทธท์ ี 1 ปรบั เปลียนรปู แบบการทําวจิ ยั ทีมุง่ เพยี งการสรา้ งองค์ความรหู้ รอื
เพยี งเพอื การตีพมิ พใ์ หเ้ ปนการวจิ ยั เพอื การสรา้ งนวตั กรรม (Innovations)
เพอื มุง่ การแก้ไขปญหา (Solutions) ของประเทศ
กลยุทธท์ ี 2 มุง่ แสวงหาแหล่งสนบั สนนุ งบประมาณดา้ นการวจิ ยั จากแหล่งทนุ
ภายนอกหรอื จากผใู้ ชผ้ ลการวจิ ยั
กลยุทธท์ ี 3 แสวงหาเครอื ขา่ ยหรอื พนั ธมติ รดา้ นการวจิ ยั กับหนว่ ยงานทังภาค
รฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม เพอื ทําการวจิ ยั ทีตอบสนองต่อความ
ต้องการของหนว่ ยงานหรอื ของประเทศ

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 3

ป รับ เ ป ลี ย น ก า ร บ ริห า ร จั ด ก า ร ท รัพ ย า ก ร
บุ ค ค ล ( H R T r a n s f o r m a t i o n )

กลยุทธท์ ี 1 พฒั นาระบบการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ทีมุง่ เนน้ การประเมนิ ผล
ความสาเรจ็ ของผลงานตามยุทธศาสตรข์ องวทิ ยาลัย โดยนาํ ระบบเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลเขา้ มาเปนเครอื งมอื ในการประเมนิ ผลตาม OKRs ทีไดร้ บั มอบหมาย
กลยุทธท์ ี 2 กําหนดเสน้ ทางความก้าวหนา้ ของบุคลากรตามลักษณะการทํางาน
โดยยดึ ผลสมั ฤทธทิ ีสามารถตอบสนองต่อความสาํ เรจ็ ของวทิ ยาลัยและตาม
สมรรถนะของบุคลากร
กลยุทธท์ ี 3 ยกระดบั ขดี ความสามารถของบุคลากรใหม้ คี วามรแู้ ละทักษะที
พรอ้ มและเหมาะสมในการทํางานในศตวรรษที 21 โดยเฉพาะในดา้ นเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล ภาษาและการสอื สาร และการสรา้ งและบรหิ ารเครอื ขา่ ย รวมถึงมกี าร
สรรหาบุคลากรทีมคี วามสามารถสงู หรอื พเิ ศษเฉพาะดา้ นทังภายในและต่าง
ประเทศ มาทํางานทีวทิ ยาลัยเพอื รเิ รมิ หรอื สรา้ งการเปลียนแปลงในองค์กร
กลยุทธท์ ี 4 สรา้ งระบบการจา้ งบุคลากรทีหลากหลายและยดื หยุน่ มคี ่าจา้ งที
ดงึ ดดู ใจใหผ้ มู้ คี วามสามารถสงู เขา้ มาชว่ ยผลักดนั ความสาํ เรจ็ ของยุทธศาสตร์
ของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

ANNUAL REPORT 2020 | 17

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 4

ป รับ เ ป ลี ย น ก า ร บ ริก า ร วิ ช า ก า ร
(Academic Service Transformation)

กลยุทธท์ ี 1 บูรณาการการบรกิ ารวชิ าการใหเ้ ปนสว่ นหนงึ ของการจดั การเรยี น
การสอนโดยใชช้ ุมชนและสภาพปญหาจรงิ เปนฐาน นอกจากนนั นวตั กรรมหรอื
แนวทางในการแก้ไขปญหาทีไดท้ ดสอบแล้วถกู นาํ มาเผยแพรใ่ หเ้ ปนทรพั ยส์ นิ
ทางปญญารว่ มกันของสงั คม (Public Domain) ซงึ เปนการสะท้อนใหเ้ หน็ ถึง
ปรชั ญาของการตังวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน
กลยุทธท์ ี2 พฒั นาองค์ความรหู้ รอื ผลิตภัณฑ์ใหมใ่ หส้ อดคล้องกับความ
ต้องการของหนว่ ยงานผใู้ ชห้ รอื ของตลาดเพอื ใหเ้ กิดความนา่ สนใจและตรงกับ
ความต้องการของผใู้ ช้
กลยุทธท์ ี 3 บูรณาการการบรกิ ารวชิ าการใหเ้ ชอื มโยงกับการจดั การศึกษาในรปู
แบบของชุดวชิ า(Modules) และธนาคารหนว่ ยกิต (Credit Bank) เพอื เอือต่อ
การเทียบโอนหนว่ ยกิตและนาํ ไปสกู่ ารนบั รวมเขา้ เปนสว่ นหนงึ ของหลักสตู ร
ปรญิ ญา

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 5

ป รับ เ ป ลี ย น รู ป แ บ บ ก า ร บ ริห า ร จั ด ก า ร
อ ง ค์ ก ร เ พื อ ส ร้า ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า อ ย่ า ง ยั ง ยื น
(Management Transformation for
Advancement and Sustainability)

กลยุทธท์ ี 1 ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการบรหิ ารงานภายในวทิ ยาลัยใหส้ อดรบั กับ
ความจาํ เปนภารกิจ และความยงั ยนื ขององค์กร
กลยุทธท์ ี 2 ปรบั วธิ กี ารทํางานเดมิ ทีมจี ุดอ่อน เพอื สรา้ งระบบการทํางานใหม่
โดยเนน้ ผลลัพธ์ (Objectives and Key Results: OKRs) ทีสมั พนั ธก์ ับ
ความก้าวหนา้ และความยงั ยนื ของวทิ ยาลัย โดยนาํ เอาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเขา้ มา
เปนเครอื งมอื
กลยุทธท์ ี 3 สรา้ งระบบการสอื สารและปฏิสมั พนั ธใ์ นองค์กร (Interactive
Communication) ผา่ นระบบดจิ ทิ ัล ทีสามารถสอื สาร เขา้ ถึง สรา้ งการมสี ว่ น
รว่ มและเกิดการเตรยี มความพรอ้ ม

18 | ANNUAL REPORT 2020

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 6

ป รับ ป รุ ง วิ ท ย า ลั ย ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ น
ใ ห้ เ ป น ส ถ า น ที ที น่ า ทํา ง า น ( A B e s t P l a c e
to Work)

กลยุทธท์ ี 1 ปรบั ปรงุ และยกระดบั อาคารสถานทีในการทํางานใหม้ คี วามสะดวก
สะอาด สวยงามและเอือต่อการทํางานตามภารกิจต่าง ๆ โดยเนน้ ความสมั พนั ธ์
และต่อเนอื งของเนอื งานทีทํา

กลยุทธท์ ี 2 ปรบั ปรงุ ระบบโครงสรา้ งพนื ฐานดา้ นดจิ ทิ ัลเทคโนโลยใี หท้ ันสมยั
และพรอ้ มใชใ้ นทีทํางาน ภายใต้แนวคิด SMART COLA เชน่ ระบบโครงขา่ ย
Internet ภายในอาคารทีรวดเรว็ และตอบสนองระบบการรกั ษาความปลอดภัย
แบบอัจฉรยิ ะ (Smart Security) ระบบการเขา้ พนื ทีทํางาน (Access) ผา่ น
การจดจาํ ใบหนา้ (Facial Recognition) ทีสามารถนาํ ขอ้ มูลมาประกอบการ
บรหิ ารได้

กลยุทธท์ ี 3 เพมิ สวสั ดกิ ารและสทิ ธปิ ระโยชนใ์ หบ้ ุคลากรโดยไมน่ อ้ ยกวา่ สงิ ที
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นจดั ให้ พฒั นาระบบสง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ ตามสาย
วชิ าชพี ทีสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงผลงานและการมสี ว่ นสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความสาํ เรจ็ ของ
องค์กร รวมถึงการยกยอ่ งเชดิ ชูบุคลากรทีมกี ารทํางานทีโดดเดน่

กลยุทธท์ ี 4 สรา้ งระบบการจดั การความรแู้ บบเขม้ ขน้ (Comprehensive
Knowledge Management) มกี ารบนั ทึกและติดตามความก้าวหนา้ ของงาน
อยา่ งเปนระบบ และสอดคล้องกับระบบการประเมนิ ผลการทํางาน

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 7

ส ร้า ง วิ ท ย า ลั ย ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ น
ใ ห้ เ ป น ส ถ า น ที ที น่ า เ รีย น รู้ ( A B e s t P l a c e
to Learn)

กลยุทธท์ ี 1 จดั สงิ แวดล้อมการเรยี นรใู้ หท้ ันสมยั และสนบั สนนุ การเรยี นรใู้ น
ศาสตรด์ า้ นการบรหิ ารกิจการสาธารณะ เชน่ จดั หาหนงั สอื และตําราทีทันสมยั
ทังในรปู แบบเอกสารสงิ ตีพมิ พแ์ ละดจิ ทิ ัล

กลยุทธท์ ี 2 สง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รทีมุง่ เนน้ การพฒั นา
สมรรถนะทีจาํ เปนในการใชช้ วี ติ และทํางาน (Global Competencies) สาํ หรบั
โลกในศตวรรษที 21 และสรา้ งเครอื ขา่ ยความสมั พนั ธก์ ับศิษยเ์ ก่า

กลยุทธท์ ี 3 จดั ใหม้ กี ารถ่ายทอดองค์ความรแู้ ละประสบการณใ์ หม่ ๆ โดยเชญิ ผู้
เชยี วชาญหรอื ผทู้ ีประสบความสาํ เรจ็ ในดา้ นต่าง ๆ ทีมชี อื เสยี งทังระดบั ชาติและ
นานาชาติ เพอื แลกเปลียนประสบการณแ์ ละสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหแ้ ก่นกั ศึกษา
และสาธารณชน

ANNUAL REPORT 2020 | 19

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 8

ป รับ เ ป ลี ย น อ ง ค์ ก ร ใ ห้ ก้ า ว สู่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล
(Digital Transformation)

กลยุทธท์ ี 1 ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เชน่ หอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ
(Smart Classroom) และอุปกรณด์ จิ ทิ ัลต่าง ๆ ในการจดั การเรยี นการสอน

กลยุทธท์ ี 2 พฒั นาระบบงานใหม้ ลี ักษณะเปนบรกิ ารอิเล็กทรอนกิ ส์
(e-Services) ใหค้ รอบคลมุ ภารกิจและบรกิ ารต่าง ๆ ของวทิ ยาลัยฯ เพอื ให้
เปนสาํ นกั งานดจิ ทิ ัล (Digital Office) เต็มรปู แบบ และนาํ ตัวแบบทีพฒั นานี
ไปถ่ายทอดในลักษณะการบรกิ ารวชิ าการทีสามารถสรา้ งรายไดใ้ หแ้ ก่วทิ ยาลัย
การปกครองท้องถินได้

กลยุทธท์ ี 3 พฒั นาระบบการเรยี นรอู้ อนไลน์ (Courseware) สาํ หรบั เสรมิ
การเรยี นรใู้ นรายวชิ าและชุดวชิ าต่าง ๆ

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 9

ส ร้า ง วิ ท ย า ลั ย ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ น
ใ ห้ เ ป น ส ถ า น ที ที น่ า เ รีย น รู้ ( A B e s t P l a c e
to Learn)

กลยุทธท์ ี 1 เฟนหาและคัดเลือกผเู้ ชยี วชาญทางดา้ นการบรหิ ารกิจการ
สาธารณะในยุคดจิ ทิ ัล(Digital Governance and Public Affairs)
จากประเทศทีประสบความสาํ เรจ็ ทางดา้ นนี เพอื สง่ เสรมิ และเอือใหว้ ทิ ยาลัยฯ
เปนศูนยก์ ลางการเรยี นรขู้ องอาเซยี น

กลยุทธท์ ี 2 เฟนและคัดเลือกนกั ศึกษาต่างชาติทีมคี วามสามารถสงู จาก
ทกุ ภมู ภิ าคของโลก เพอื สรา้ งเครอื ขา่ ยศิษยท์ ีมศี ักยภาพในการเปน
ผนู้ าํ ประเทศในอนาคต

กลยุทธท์ ี 3 การพฒั นาสมรรถนะทางดา้ นภาษาอังกฤษของบุคลากรและ
นกั ศึกษาของวทิ ยาลัยฯ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิหนา้ ทีในบรรยากาศของการเปน
สถาบนั การเรยี นรนู้ านาชาติ โดยนาํ รปู แบบการจดั การสอนภาษาอังกฤษเชงิ รกุ
และเขม้ ขน้ โดยเจา้ ของภาษาตลอดระยะเวลา 1 ปแรกของหลักสตู ร เพอื เตรยี ม
ความพรอ้ มทางดา้ นภาษาใหแ้ ก่นกั ศึกษาในการเรยี นรใู้ นรายวชิ าต่าง ๆ และการ
ประกอบอาชพี

กลยุทธท์ ี 4 สรา้ งสงิ แวดล้อมในวทิ ยาลัยฯ ใหม้ คี วามเปนนานาชาติ โดยปรบั
ภาษาทีใชใ้ นหนา้ เวบ็ ไซต์ของวทิ ยาลัยฯ ใหเ้ ปนภาษาอังกฤษอยา่ งเต็มรปู แบบ
เอกสารและสอื การสอนของอาจารยเ์ ปนภาษาอังกฤษ เอกสารประชาสมั พนั ธ์
และปายสญั ลักษณต์ ่าง ๆ ในวทิ ยาลัยฯ เปนภาษาอังกฤษ มกี ิจกรรมในการ
พฒั นาศักยภาพในการใชภ้ าษาอังกฤษของทังบุคลากรและนกั ศึกษา

กลยุทธท์ ี 5 สรา้ งและขยายเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางดา้ นวชิ าการ วจิ ยั
การเรยี นการสอน และการบรกิ ารวชิ าการกับสถาบนั การศึกษาและองค์กร
ชนั นาํ ของโลก

20 | ANNUAL REPORT 2020

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 1 0

บ ริห า ร โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล
(Good Governance)

กลยุทธท์ ี 1 สรา้ งวฒั นธรรมการทํางานเปนทีมและมกี ารบรหิ ารองค์กรโดยให้
ความสาํ คัญกับความเสมอภาค ความยุติธรรม การมสี ว่ นรว่ ม ความรบั ผดิ ชอบ
การตอบสนองต่อเปาหมายขององค์กร ความโปรง่ ใส และการตรวจสอบได้
โดยมติ ิต่าง ๆ เหล่านตี ้องถกู กําหนดไวใ้ นนโยบายและกิจกรรมต่าง ๆ ของ
วทิ ยาลัย รวมถึงการจดั การเรยี นการสอน

กลยุทธท์ ี 2 สรา้ งระบบความโปรง่ ใสในการบรหิ ารงานผา่ นชอ่ งทางเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล โดยมุง่ เนน้ ใหเ้ ปนการบรหิ ารจดั การแบบเปด (Open Governance)
ทีขอ้ มูลและขา่ วสารทางการบรหิ าร สามารถเขา้ ถึงไดผ้ า่ นทางเวบ็ ไซต์
(Website) และชอ่ งทางสอื สงั คมออนไลน์ (Social Media) ขอ้ มูลเปนระบบ
และการจดั การขอ้ มูลทีดี (Data Governance) พรอ้ มสาํ หรบั การตรวจสอบ
โดยสาธารณะ ตามหลักเกณฑ์ของสาํ นกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบ
ปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (สานกั งาน ป.ป.ช.) และตามทีมหาวทิ ยาลัยกําหนด

ป ร ะ เ ด็ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที 1 1

เ ส ริม ส ร้า ง ค ว า ม ร่ว ม มื อ เ พื อ ก า ร พั ฒ น า
(Collaboration and Coordination)

กลยุทธท์ ี 1 สรา้ งหอ้ งทดสอบนวตั กรรมทางการบรหิ ารกิจการสาธารณะดจิ ทิ ัล
(Testbed Center for Public Affairs Management) ทีเปนการรว่ มมอื กัน
ระหวา่ งวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน คณะวชิ าต่าง ๆ ในมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน องค์กรภาครฐั อืน ๆ และภาคเอกชน นวตั กรรมที
ผา่ นและไดร้ บั รองจากการทดสอบสามารถนาํ ไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในการบรกิ าร
สาธารณะและนาํ ไปพฒั นาผลิตภัณฑ์ในเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้

กลยุทธท์ ี 2 สรา้ งความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในการพฒั นา
ทรพั ยากรบุคคลและต่อยอดหลักสตู รการอบรมทีหนว่ ยงานต่าง ๆ ดาํ เนนิ การ
อยูใ่ หเ้ ปนหลักสตู รทีไดป้ รญิ ญาหรอื ไมไ่ ดร้ บั ปรญิ ญา (Non-degree)

กลยุทธท์ ี 3 สรา้ งแหล่งการเรยี นการรกู้ ารปกครองท้องถินและกิจการ
สาธารณะของอาเซยี นทังในระบบออนไลนแ์ ละระบบคลังขอ้ มูล รว่ มกับ
มหาวทิ ยาลัยหรอื สถาบนั ทีเชยี วชาญดา้ นการปกครองท้องถินและกิจการ
สาธารณะในกล่มุ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ทีสาธารณะสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลเหล่า
นไี ดแ้ ละสามารถนาํ ไปเปนประเดน็ ในการศึกษาวจิ ยั และเผยแพรเ่ ปนภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ

ANNUAL REPORT 2020 | 21

โครงสรา้ งองค์กร

22 | ANNUAL REPORT 2020

คณะผบู้ รหิ าร

วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

ชุดที 1 ชุดที 2

ตลุ าคม 2562 – 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 - ปจจุบนั

รศ.ดร.ศุภวฒั นากร วงศ์ธนวสุ รศ.ดร.พรี สทิ ธิ คํานวณศิลป
คณบดี คณบดี

อ.สรุ เดช ทวแี สงสกลุ ไทย อ.สรุ เดช ทวแี สงสกลุ ไทย
รองคณบดี รองคณบดีฝายนวตั กรรม

ผศ.ณรงค์ เกียรติคณุ วงศ์ อ.ดร.ฌาน เรอื งธรรมสงิ ห์ และองค์กรสมั พนั ธ์
ผชู้ ว่ ยคณบดีฝายวชิ าการ ผชู้ ว่ ยคณบดีฝายพฒั นานักศึกษา อ.ดร.ศิรศิ ักดิ เหล่าจนั ขาม

อ.ดร.พฒั นพงศ์ โตภาคงาม อ.ดร.ศิรศิ ักดิ เหล่าจนั ขาม รองคณบดีฝายบรหิ าร
ผชู้ ว่ ยคณบดีฝายวเิ ทศสมั พนั ธ์ ผชู้ ว่ ยคณบดีฝายวจิ ยั และ
โครงการบรกิ ารวชิ าการ ผศ.ดร.กฤชวรรธน์ โล่หว์ ชั รนิ ทร์
รองคณบดีฝายวชิ าการ
อ.ดร.อจริ ภาส์ เพยี รขุนทด นายเฉลิมพงษ์ พงษ์ประชา วจิ ยั และการต่างประเทศ
ผชู้ ว่ ยคณบดีฝายกิจการพเิ ศษ หวั หน้าสาํ นักงานคณบดี นายเฉลิมพงษ์ พงษ์ประชา
รกั ษาการแทนผอู้ ํานวยการ
กองบรหิ ารงานวทิ ยาลัย
ANNUAL REPORT 2020 | 23

บุคลากรวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

พนกั งานวทิ ยาลัย สายวชิ าการ จาํ นวน 28 ราย

กราฟแสดงสดั สว่ นคณุ วุฒทิ างการศึกษาของอาจารย์ (รอ้ ยละ)

ปรญิ ญาโท
25%

25

ปรญิ ญาเอก 75
75%

กราฟแสดงสดั สว่ นตําแหนง่ ทางวชิ าการ (รอ้ ยละ)

ศาสตราจารย์
4%

รองศาสตราจารย์ 4
21%

21

18 57 อาจารย์
57%

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
18%

24 | ANNUAL REPORT 2020

พนกั งานวทิ ยาลัย สายสนบั สนนุ จาํ นวน 24 ราย
กราฟแสดงสดั สว่ นกล่มุ งานบุคลากรสายสนบั สนนุ (รอ้ ยละ)

กล่มุ งานบรกิ ารวชิ าการ นวตั กรรม และองค์กรสมั พนั ธ์
8.3%

กล่มุ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและโสตทัศนปู กรณ์ 2

8.3%

กล่มุ งานบรหิ ารจดั การอาคารและระบบกายภาพ 2 กล่มุ งานอํานวยการ
8.3% 37.5%
2
9

กล่มุ งานการต่างประเทศ 2
8.3% 4

3

กล่มุ งานบรกิ ารการศึกษา วจิ ยั และพฒั นานกั ศึกษา กล่มุ งานการเงิน บญั ชี และพสั ดุ
16.7% 12.5%

กราฟแสดงสดั สว่ นคณุ วุฒกิ ารศึกษาบุคลากรสายสนบั สนนุ (รอ้ ยละ)

ตํากวา่ ปรญิ ญาตรี
12%

ปรญิ ญาโท 12
38%
38

50

ปรญิ ญาตรี
50%

ANNUAL REPORT 2020 | 25

การจดั การเรยี นการสอน
วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน มกี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสตู รอยา่ งต่อเนอื งทังในระดบั ปรญิ ญาตรี
ระดบั ปรญิ ญาโท และระดบั ปรญิ ญาเอก โดยมหี ลักสตู รปรญิ ญาตรที ังหมด 3 หลักสตู ร ปรญิ ญาโท 1
หลักสตู ร และปรญิ ญาเอก 1 หลักสตู ร

B.P.A. หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี 3 หลักสตู ร ไดแ้ ก่

หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การปกครองท้องถิน
Bachelor of Public Administration Program in Local Governance
ปจจุบนั มนี กั ศึกษาทัง 4 ป จาํ นวน 322 คน

B.P.A. หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การการคลัง
Bachelor of Public Administration Fiscal Management
ปจจุบนั มนี กั ศึกษาทัง 4 ป จาํ นวน 317 คน

B.Tech. หลักสตู รเทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการจดั การเมอื งและโครงสรา้ งพนื ฐาน
Bachelor of Technology Program in City and Infrastructure Management
ปจจุบนั มนี กั ศึกษาทัง 4 ป จาํ นวน 257 คน

M.P.A. D.P.A.

หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท 1 หลักสตู ร คือ หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาเอก 1 หลักสตู ร คือ
หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต (หลักสตู ร หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารกิจการ
ปรบั ปรงุ พ.ศ.2559) Master of Public Administration สาธารณะ (หลักสตู รนานาชาติ) Doctor of Public Administration
Program ซงึ แบง่ ออกเปน 5 กล่มุ วชิ า เพอื การบรหิ าร Program in Public Affairs Management International
องค์กรภาครฐั ในโลกยุคใหม่ คือ 1. การบรหิ ารงานท้องถิน
ยุคใหม่ 2. การบรหิ ารงานตํารวจและชุมชน 3. การบรหิ าร Program เกิดขนึ ภายใต้ความรว่ มมอื ระหวา่ งวทิ ยาลัยการปกครอง
ความมนั คงแหง่ ชาติยุคใหม่ 4. การบรหิ ารกิจการรว่ มรฐั ท้องถินมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น กับมหาวทิ ยาลัยฮาวาย มหาวทิ ยาลัย
และเอกชน และ 5. การบรหิ ารจดั การความขดั แยง้ ปจจุบนั มสิ ซูรี และมหาวทิ ยาลัยพอรต์ แลนดส์ เตท เปนหลักสตู รสาํ หรบั ผทู้ ีมี
มนี กั ศึกษา จาํ นวน 156 คน วสิ ยั ทัศนเ์ ชงิ รกุ ในการรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เพอื การบรหิ ารกิจการ
สาธารณะ และมุง่ เปนนกั วชิ าการทีมคี วามรทู้ ีโดดเดน่ และมคี วามเขา้ ใจ
26 | ANNUAL REPORT 2020 มคี วามสามารถในการดาํ เนนิ การวจิ ยั และมคี วามสามารถในการแปลง
ทฤษฎีการบรหิ าร ปจจุบนั มนี กั ศึกษา จาํ นวน 4 คน

กราฟแสดงจาํ นวนนกั ศึกษาปจจุบนั แยกหลักสตู ร (คน)

400

300 322 317

200 257
100
156
0
4

รป.บ.(ปกครอง)
รป.บ.(ค ัลง)

ทล.บ.(จัดการเมือง)
รป.ม.
รป.ด.

กราฟแสดงผสู้ าํ เรจ็ การศึกษา
ประจาํ ปการศึกษา 2562 ตามหลักสตู ร (คน)

รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต รป.บ.(การจดั การปกครองท้องถิน)
22.1% 26.7%

62 75

ทล.บ.(การจดั การเมอื งและโครงสรา้ งพนื ฐาน) 59 85
21%
รป.บ.(การจดั การการคลัง)
30.2%

ANNUAL REPORT 2020 | 27

สงิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้

ห้อง Smart Classroom

วทิ ยาลัยการปกครองท้องถินเปนหนว่ ยงานทีมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ยดึ มนั
ในหลักธรรมาภิบาล มจี ติ บรกิ ารสาธารณะ เหน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตน
ในยุคปจจุบนั การเรยี นการสอนไมเ่ พยี งแต่ทีนกั ศึกษาจะต้องเรยี นในชนั เรยี น
แต่ต้องสามารถเรยี นรไู้ ดท้ กุ สถานที ทกุ เวลา วทิ ยาลัยการปกครองท้องถินไดจ้ ดั ทํา
หอ้ งเรยี น Smart Classroom เพอื สนบั สนนุ การจดั การเรยี นรใู้ นยุคดจิ ทิ ัลและ
สนบั สนนุ การจดั การสอนทีใชเ้ ทคโนโลยมี าเปนสอื กลางในการเรยี นรู้ โดยการติดตัง
จอ Interactive Screen เพมิ ระบบสง่ สญั ญาณอินเตอรเ์ นต็ และจดั สงิ แวดล้อม
ภายในหอ้ งเรยี นใหส้ อดคล้องกับการเรยี นรใู้ นยุคใหม่ เปนการสนบั สนนุ เผยแพร่
ความรทู้ ีเรยี นในหอ้ งเรยี นนสี สู่ าธารณะไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เปนประโยชนต์ ่อ
การสนบั สนนุ การศึกษา ค้นควา้ เรยี นรู้ การสอนของอาจารย์ และเอือต่อ
การผลิตบณั ฑิตทีพรอ้ มจะเปนผนู้ าํ ในยุคดจิ ทิ ัล

28 | ANNUAL REPORT 2020

อุปกรณก์ ารสอนออนไลนข์ องคณาจารยแ์ ละนกั ศึกษา

อุปกรณ์ การสนบั สนนุ การสอนออนไลนข์ องคณาจารย์

แพก็ เกจระบบการประชุมออนไลน์ Zoom แบบ Business สาํ หรบั 20 Hosts
($199.90/ป/โฮสต์) ระยะเวลา 1 ป
กล้องเวบ็ แคม 1080p พรอ้ มไมค์ Built-in
หฟู ง Bluetooth แบบ In-Ear พรอ้ มไมค์ Built-in
ไมโครโฟนสาํ หรบั คอมพวิ เตอร์

ระบบ ชุดระบบไฟสตดู โิ อสาํ หรบั Live Streaming
กิจกรรม ฉากสเี ขยี วสาํ หรบั สตดู โิ อ

การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพอื เพมิ ประสทิ ธภิ าพการสอนออนไลนโ์ ดยใชร้ ะบบจดั การการเรยี นรู้
(Learning Management System) สาํ หรบั คณาจารย์
การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพอื เพมิ ประสทิ ธภิ าพการเรยี นออนไลนส์ าํ หรบั นกั ศึกษา
จดั นกั ศึกษาชว่ ยสนบั สนนุ การจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องคณาจารย์
สนบั สนนุ การออกแบบและผลิตสอื การเรยี นการสอน
การปรบั ปรงุ และพฒั นาเวปไซต์เพอื สง่ เสรมิ การประชาสมั พนั ธเ์ ชงิ รกุ และพฒั นาระบบสอื สาร
องค์กรผา่ นสอื สงั คมออนไลน์

ไอแพด สาํ หรบั นกั ศึกษา

วทิ ยาลัยไดจ้ ดั ทําประกาศวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน(ฉบบั ที 172 /2563) เรอื ง
แนวปฏิบตั ิและหลักเกณฑ์การใหย้ มื เครอื งคอมพวิ เตอรแ์ ท็บเล็ต (Tablet) วทิ ยาลัยการ
ปกครองท้องถิน และในภาคการศึกษาภาคต้น ปการศึกษา 2563 ไดด้ าํ เนนิ การใหย้ มื
เครอื งคอมพวิ เตอรแ์ ท็บเล็ต จาํ นวน 900 เครอื ง ดงั นี

1. ยนื ความประสงค์ขอยมื จาํ นวน 788 เครอื ง
2. รบั เครอื งคอมพวิ เตอรแ์ ท็บเล็ต จาํ นวน 744 เครอื ง
3. ยงั ไมม่ ารบั เครอื งคอมพวิ เตอรแ์ ท็บเล็ต จาํ นวน 33 เครอื ง
4. เครอื งคอมพวิ เตอรแ์ ท็บเล็ตทียงั ไมถ่ กู ยนื ความประสงค์ จาํ นวน 112 เครอื ง

ANNUAL REPORT 2020 | 29

ทนุ สนบั สนนุ การศึกษาและการจดั การเรยี นรูใ้ นยุคดิจทิ ัล

ทนุ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

ทนุ ประเภท ก ทนุ ต่อเนอื งจนจบการศึกษา ภาคการศึกษาต้น ปการศึกษา 2563
จาํ นวน 3 ทนุ
กองทนุ 40 ป ภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2562 จาํ นวน 18 ทนุ
กองทนุ 40 ป ภาคการศึกษาต้น ปการศึกษา 2563 จาํ นวน 19 ทนุ

เขา้ รว่ มมาตรการเยยี วยาลดค่าธรรมเนียมการศึกษา ป 63 10%

วทิ ยาลัยดาํ เนนิ การเพอื จา่ ยเงินชว่ ยเหลือนกั ศึกษา 10% ของค่าธรรมเนยี มการศึกษา
จาํ นวน 845 คน ไดแ้ ก่ ระดบั ปรญิ ญาตรี จาํ นวน 774 คน ระดบั ปรญิ ญาโท จาํ นวน 71
คน

ทนุ จากหนว่ ยงานภายนอกมหาวทิ ยาลัย

ทนุ การศึกษาจากท่านพลตํารวจเอกอชริ วทิ ย์ ปละ 60,000 บาท จาํ นวน 2 ทนุ

ทนุ ภายในวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

ทนุ การเขา้ ถึงอินเตอรเ์ นต็ ภาคการศึกษาต้น ปการศึกษา 2563 จาํ นวน 695 ทนุ
ทนุ จา้ งงานนกั ศึกษา

- โครงการเสรมิ สรา้ งทักษะการปฏิบตั ิงานดา้ นอาคารและสถานที จาํ นวน 3 คน
- โครงการจา้ งงานผไู้ ดร้ บั ผลกระทบโควดิ -19 จาํ นวน 150 คน
- โครงการนกั ศึกษาชว่ ยงานวชิ าการ เสาร-์ อาทิตย์ จาํ นวน 3 คน

30 | ANNUAL REPORT 2020

พฒั นาการและการปรบั ปรงุ หลักสตู ร

หลักสตู รสาํ หรบั การจดั การเรยี นการสอนของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถินทัง 3 ระดบั ทังในระดบั
ปรญิ ญาตรี ระดบั ปรญิ ญาโท และระดบั ปรญิ ญาเอก ทีเกิดจากการพฒั นารว่ มกับสถาบนั การศึกษา
ต่าง ๆ ทังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ทังในประเทศและต่างประเทศ

ตรี

รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต เทคโนโลยบี ณั ฑิต
การจดั การปกครองท้องถิน การจดั การการคลัง การจดั การเมอื งและโครงสรา้ งพนื ฐาน

เปดสอนครงั แรกเมือ : ป 2548 เปดสอนครงั แรกเมือ : ป 2551 เปดสอนครงั แรกเมือ : ป 2551
ปรบั ปรุงล่าสุดเมือ : 5 กันยายน 2561 ปรบั ปรุงล่าสุดเมือ : 5 กันยายน 2561 ปรบั ปรุงล่าสุดเมือ : 10 ตุลาคม 2561
การจัดการศึกษา : ปกติ การจัดการศึกษา : ปกติ การจัดการศึกษา : ปกติ
ขันตอน : ปรบั ปรุงจากหลักสูตร ขันตอน : ปรบั ปรุงจากหลักสูตร ขันตอน : ปรบั ปรุงจากหลักสูตร
ตามกรอบ TQF ปรบั ปรุง พ.ศ.2556 ตามกรอบ TQF ปรบั ปรุง พ.ศ.2556 ตามกรอบ TQF ปรบั ปรุง พ.ศ.2556
สกอ. รบั ทราบเมือ : 3 พฤษภาคม 2563 สกอ. รบั ทราบเมือ : 6 พฤษภาคม 2563 สกอ. รบั ทราบเมือ : 24 พฤษภาคม 2563

โท รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต

เปดสอนครงั แรกเมือ : ป 2551
ปรบั ปรุงล่าสุดเมือ : 3 กุมภาพันธ์ 2559
การจัดการศึกษา : พิเศษ
ขันตอน : ปรบั ปรุงจากหลักสูตร
ตามกรอบ TQF ปรบั ปรุง พ.ศ.2555
ขณะนีหลักสูตรได้ผ่านการพิจารณากลันกรองโดยคณะกรรมการกลันกรอง
หลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 14/2563 เมือวันที
29 ธนั วาคม 2563 และได้ผ่านการพิจารณากลันกรองโดยสภาวิชาการ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 1/2564 เมือวันที 18 มกราคม
2564 ขณะนีหลักสูตรอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภามหาวิทยาลัยในรอบ
การปรบั ปรุงป 2564

รฐั ประศาสนศาสตรดษุ ฏีบณั ฑิต การบรหิ ารกิจการสาธารณะ (นานาชาติ) เอก

เปดสอนครงั แรกเมือ : ป 2554
ปรบั ปรุงล่าสุดเมือ : 17 กันยายน 2559
การจัดการศึกษา : พิเศษ
ขันตอน : ปรบั ปรุงจากหลักสูตรใหม่
ตามกรอบ TQF พ.ศ.2553
ขณะนีหลักสูตรได้ผ่านการพิจารณากลันกรองโดยคณะกรรมการกลัน
กรองหลักสูตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 14/2563
เมือวันที 29 ธนั วาคม 2563 และได้ผ่านการพิจารณากลันกรองโดยสภา
วิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครงั ที 1/2564 เมือวันที
18 มกราคม 2564 ขณะนีหลักสูตรอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภา
มหาวิทยาลัยในรอบการ ปรบั ปรุง
ป 2564

ANNUAL REPORT 2020 | 31

กราฟสรปุ คะแนนผลการประเมนิ หลักสตู ร ประจาํ ปการศึกษา 2562

4

3 3.39 3.75 3.85

3.14 3.1

2

1

0

รป.บ.(ปกครอง)
รป.บ.(ค ัลง)

ทล.บ.(จัดการเมือง)
รป.ม.
รป.ด.

32 | ANNUAL REPORT 2020

ดา้ นการวจิ ยั

งานวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ

(โครงการวจิ ยั ทีไดร้ บั ทนุ ภายในและภายนอก จาํ นวนผลงานตีพมิ พ์ ในประเทศและนานาชาติ โครงการบรกิ ารวชิ าการ)

ได้รบั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานภายใน 750,000 บาท
จาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การพัฒนานโยบายสาธารณะเพือเพิมขีดความสามารถในการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน เพือลดความเหลือมลําทางเศรษฐกิจและเพิม
คุณภาพชวี ิตของประชาชนในพืนที

ได้รบั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานภายนอก 1,623,710 บาท
จาก สาํ นักงานการวิจัยแหง่ ชาติ
การพัฒนานโยบายสาธารณะเพือเพิมขีดความสามารถในการใหบ้ รกิ ารสาธารณะ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน เพือลดความเหลือมลําทางเศรษฐกิจและเพิม 750,000 บาท
คุณภาพชวี ิตของประชาชนในพืนที จาก สาํ นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
การศึกษาเพือเสรมิ สรา้ งความเปนพลเมืองในระบบการศึกษาระดับโรงเรยี น
บทเรยี นจากต่างแดนและข้อเสนอแนะสู่สังคมไทย 958,333.75 บาท
โครงการ การวางแผนกลยุทธใ์ นการนํานโยบายการพัฒนาตามแนวทางเมือง จาก สาํ นักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์
อัจฉรยิ ะไปสู่การปฏิบัติ: การถอดบทเรยี น การประเมิน การตรวจสอบความตรง วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
และการพัฒนาข้อเสนอแนะ 45,180,000 บาท
การจ้างงานประชาชนทีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของไวรสั จาก กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
COVID-19 เพือพัฒนาชุมชนชนบทและชุมชนเมืองด้วยองค์ความรูแ้ ละ นวัตกรรม
เทคโนโลยี ระยะที 1 (1,255 คน) 42,876,000 บาท
โครงการจ้างงานประชาชนทีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของไวรสั จาก กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
COVID-19 ระยะที 2 นวัตกรรม
การสาํ รวจและประเมินความพึงพอใจในการใหบ้ รกิ ารขององค์กรปกครองส่วน 2,662,090 บาท
ท้องถิน 18 แหง่ จาก องค์กรปกครองท้องถิน จาํ นวน 18 แหง่
Publication Khon Kaen Model - A Compilation of Articles and
Lessons Learned from the Project December 25, 2019 150,000 บาท
จาก Konrad Adenauer Stiftung
The New Look of Public Administration: A Seminar Series for Faculty
Reorientation and Development (September- October 2020) 200,000 บาท
จาก Konrad Adenauer Stiftung
โครงการวิจัยการพัฒนาเมืองคารบ์ อนตําผ่านระบบการพัฒนาเมืองอย่างยังยืน
1,884,619 บาท
การประเมินพฤติกรรมเด็กและเยาวชนไทยทียึดหมันความซอื สัตย์สุจรติ ตาม จาก UNDP
โครงการผลักดันหลักสูตรด้านทุจรติ ศึกษา การติดตามและประเมินผลสัมฤทธใิ น
การใชห้ ลักสูตรฯ เพือพัฒนาและขยายผลหลักสูตรต้านทุจรติ ศึกษา 7,400,000 บาท
การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดําเนินงานของหน่วยงานภาครฐั จาก สาํ นักงานคณะกรรมการการปองกันและปราบ
ของสาํ นักงานเขตกรุงเทพมหานคร ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
โครงการสาํ รวจและประเมินความพึงพอใจของผู้ใชบ้ รกิ าร 840,000 บาท
ประจาํ ปงบประมาณ 2563 ขององค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดขอนแก่น จาก สาํ นักงานคณะกรรมการการปองกันและปราบ
ปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
50,000 บาท
จาก องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดขอนแก่น

ANNUAL REPORT 2020 | 33

การตีพมิ พผ์ ลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจาํ
ประจาํ ปงบประมาณ 2563 (ตลุ าคม 2562-กันยายน 2563)

การกตารีพตมิ ีพพมิ ว์ พารใ์ นสาฐรานขอ้ มูล ISI/Scopus การนาํ เสนอผลงาน
ฐานขอ้ มูล ISI/Scopus9.8%
ทางวชิ าการระดบั ชาติ

การตีพมิ พใ์ นวารสารฐานขอ้ มูล TCI 1 12 8 12 การนาํ เสนอผลงานระดบั นานาชาติ
13.8% 17
การตีพมิ พว์ ารสาร การนาํ เสนอผล9ง.8า%น
ฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที 1 ทางวชิ าการระดบั นานาชาติ

74

การตีพมิ พใ์ นวากราสราตรฐีพามิ นพขว์ อ้ ามรูลสาTรCI 2
6ฐ0าน.2ข%อ้ มูล TCI กล่มุ ที 2

Local Administration Journal

https://so04.tci-thaijo.org/index.php/colakkujournals

34 | ANNUAL REPORT 2020

ดา้ นการต่างประเทศ

ความรว่ มมอื กับทางมหาวทิ ยาลัยและสถาบนั ระหวา่ งประเทศ

USA CHINA

Georgia State University Zhongnan University of
(GSU) Economics and Law
Portland State University (ZUEL)
(PSU)
The Huazhong
MOU University of Science
and Technology (HUST)

MOU

INDONESIA

Universitas Negeri
Surabaya (UNESA)

Universityof
Muhammadiyah Malang
(UMM)

การเยอื นเพอื สรา้ งความสมั พนั ธ์ การแลกเปลียนบุคลากรนกั ศึกษา
และความรว่ มมอื กับมหาวทิ ยาลัยใน และอาจารยก์ ับมหาวทิ ยาลัยในต่าง
ต่างประเทศ เพอื พบปะผบู้ รหิ ารและ ประเทศ
หารอื ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ
Inbound : 26
Outbound : 20

ลาว ญปี ุน Inbound : 17
Outbound : -
อเมรกิ า มาเลเซยี
Inbound : 15
Outbound : 10

ANNUAL REPORT 2020 | 35

กิจกรรมทีรว่ มมอื กับต่างประเทศ l การจดั เสวนาผา่ นชอ่ งทางดจิ ทิ ัล

Policy Research and Policy The Blurred Boundary of Public
Analysis Methods and Private Affairs in the 21st
Century
3 กันยายน 2563
บรรยายโดย Professor 1 ตลุ าคม 2563
Andrey Timofeev ตําแหนง่ บรรยายโดย ศาสตราจารย์ Bruce Gilley
Research Assistant ตําแหนง่ ศาสตราจารยด์ า้ นรฐั ศาสตรป์ ระจาํ ที
Professor of Economics Mark O. Hatfield School of Government
จาก International Center for ของ Portland State University ซงึ เปน
Public Policy (ICEPP) ศูนยว์ จิ ยั เกียวกับการเมอื งเปรยี บเทียบ
Georgia State University, การเมอื งระหวา่ งประเทศและนโยบายสาธารณะ
USA บรรยายในหวั ขอ้ ในหวั ขอ้ “The Blurred Boundary of
"Policy Research and Public and Private Affairs in the 21st
Policy Analysis Methods Century”
(The Role of Academia in
Policy Making บทบาทของ A New Look of Public Administration:
สถาบนั การศึกษาในการ Past, Present, and Future
กําหนดนโยบาย"
8 ตลุ าคม 2563
Digital Platform for บรรยายโดย ศาสตราจารย์ Assistant Prof. David Lee ตําแหนง่ ผชู้ ว่ ย
Promoting Public ศาสตราจารยด์ า้ นรฐั ประศาสนศาสตร์ แหง่ Public Administration Program
Engagement and Local College of Social Sciences, University of Hawaiʻi at Mānoa, USA
Democracy มคี วามเชยี วชาญดา้ นการจดั การสาธารณะรว่ มกันและการประเมนิ โปรแกรม ใน
หวั ขอ้ “A New Look of Public Administration: Past, Present, and
10 กันยายน 2563 Future.”
บรรยายโดย Professor Robert Krimmer ตําแหนง่
Professor of e-Governance within Ragnar Nurkse Governance as a Strategy for
Department of Innovation and Governance, School National Development: The Case of
of Business and Governance at Tallinn University of Singapore
Technology จากประเทศ Estonia ในหวั ขอ้ “Digital
platform for promoting public engagement and 15 ตลุ าคม 2563
local democracy” แพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัลเพอื สง่ เสรมิ บรรยายโดย Dr. Gillian Koh ตําแหนง่ รองผู้
การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและประชาธปิ ไตยในท้องถิน อํานวยการฝายวจิ ยั ของสถาบนั ศึกษานโยบาย
และนกั วจิ ยั อาวุโสในฝายธรรมาภิบาลและ
Digital Government เศรษฐกิจทีโรงเรยี นนโยบายสาธารณะลีกวนยู
Transformation for แหง่ มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาติสงิ คโปร์ ในหวั ขอ้
Equitable and Inclusive “Governance as a Strategy for
Public Services National Development: The Case of
Singapore”
17 กันยายน 2563
บรรยายโดย Associate Prof. Digital Transformation: A New
Juell-Skielse ตําแหนง่ Focus of Thai Government’s Policy
รองศาสตราจารยป์ ระจาํ ภาควชิ า
Computer and Systems 28 ตลุ าคม 2563
Science มหาวทิ ยาลัย บรรยายโดย นางไอรดา เหลืองวไิ ล
สตอกโฮล์ม ดาํ เนนิ การวจิ ยั และ รองผอู้ ํานวยการสาํ นกั งานพฒั นา
การศึกษาในระบบองค์กรรฐั บาล รฐั บาลดจิ ทิ ัล (องค์การมหาชน)
อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละนวตั กรรม (สพร.) ใในหวั ขอ้ "Digital
ดจิ ทิ ัล ในหวั ขอ้ “Digital Transformation: A New Focus
Government of Thai Government’s Policy"
Transformation for
Equitable and Inclusive
Public Services”

36 | ANNUAL REPORT 2020

COLLEGE OF LOCAL ADMINISTRATION

ดา้ นการพฒั นานกั ศึกษา
และศิษยเ์ ก่าสมั พนั ธ์

โครงการพฒั นานกั ศึกษา ดา้ นทักษะวชิ าชพี

ดา้ นการสรา้ งจติ สาํ นกึ ต่อสงั คม โครงการยุวชนอาสา จาํ นวน 14 โครงการในพนื ทีจงั หวดั
กาฬสนิ ธุ์ ณ มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์
โครงการศึกษาดงู านเพอื พฒั นาศักยภาพนักศึกษาและสง่ โครงการเขา้ ปฐมนิเทศผเู้ ขา้ รว่ มโครงการยุวชนอาสา ระยะที
เสรมิ การเรยี นรู้ รายวชิ า CL301401 และ CL302202 1 ณ มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์

โครงการเรยี นรูน้ อกหอ้ งเรยี น รายวชิ า CL301401 ทฤษฎี ดา้ นทักษะดจิ ทิ ัล
การจดั การปกครองท้องถิน
โครงการการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเพอื เพมิ ประสทิ ธภิ าพการ
โครงการการแขง่ ขนั กีฬาฟุตบอลสมุ านะคัพ ครงั ที 6 เรยี นออนไลน์สาํ หรบั นักศึกษา

โครงการศึกษาดงู านเพอื พฒั นาศักยภาพนักศึกษาและสง่ ดา้ นประสบการณต์ ่างประเทศ
เสรมิ การเรยี นรู้ รายวชิ า 001314 การจดั การท่องเทียวและ
มรดกทางวฒั นธรรม สนับสนุนงบประมาณโครงการเปดโลกทัศน์นักศึกษา
มหาวทิ ยาลัยขอนแก่นสคู้ วามเปนสากลครงั ที 17
โครงการเรยี นรูน้ อกหอ้ งเรยี น รายวชิ า CL301401 ทฤษฎี
การจดั การปกครองท้องถิน กิจการสโมสรนกั ศึกษา

โครงการการบรรยายพเิ ศษใหก้ ับนักศึกษาวทิ ยาลัยฯ เพอื โครงการการวทิ ยาอักษรสมั พนั ธ์ ครงั ที 14 ประจาํ ปการ
ใหน้ ักศึกษาได้เขา้ ใจถึงการเปนบณั ฑิตในยุคศตวรรษที 21 ศึกษา 2562
กับการเรยี นรูย้ ุคใหม่ โครงการการแขง่ ขนั ระหวา่ งคณะ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ประจาํ ปการศึกษา 2562
โครงการศึกษาเขา้ รว่ มพธิ เี ปดโครงการยุวชนอาสาตามทีได้ โครงการการแขง่ ขนั กีฬาระหวา่ งคณะ
รบั การคัดเลือกจากกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ประจาํ ปการศึกษา 2562
วจิ ยั และนวตั กรรม

โครงการปรบั ปรุงอาคาร สถานที และทําความสะอาด

โครงการการเตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารเปนบณั ฑิตใน
ศตวรรษที 21

โครงการพฒั นาศักยภาพนักศึกษาและสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
กิจกรรมพฒั นานักศึกษา

โครงการเตรยี มความพรอ้ มนักศึกษา เพอื ต้อนรบั สวู่ ถิ ีแบบ
New Normal วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน มหาวทิ ยาลัย
ขอนแก่น งบประมาณจากเงินอุดหนุนบาํ รุงสโมสรนักศึกษา

ANNUAL REPORT 2020 | 37

สหกิจศึกษา

ต่างประเทศ
ต่างประเทศ
27.5%

60

ภายในประเทศ

158 ภายในประเทศ
72.5%

รางวลั ทีนกั ศึกษาไดร้ บั

นักศึกษา COLA KKU ชนั ปที 3 หลักสตู รเทคโนโลยี
บณั ฑิต สาขาการจดั การเมอื งและโครงสรา้ งพนื ฐาน
ควา้ รางวลั ชมเชยอันดับ 1 ในโครงการประกวด
ออกแบบปรบั ปรุงภมู ทิ ัศน์สวนปาล์ม มหาวทิ ยาลัย
ขอนแก่น จากผลงาน: PALM PARK

นกั ศึกษาในทีม ประกอบดว้ ย
1.นางสาวปานหทัย มงคลพนั ธุ์
2.นางสาวอรโุ ณทัย จาํ ปาโพธิ
3.นายอัษฎาวุธ ดวงไขษ่ ร
4.นางสาวศราวณะ สภุ ารมย์
5.นายสพั พญั ู ไรข่ าม
6.นางสาวสริ นิ ทรธ์ ร สวุ รรณบล
7.นางสาวสพุ ตั รา แก้วจาํ รอง
8. นายอิทธพิ ทั ธ์ ทิวาพฒั น์
โดยมี อ.ดร.วมิ ลสริ ิ แสงกรด ทีปรกึ ษาโครงการ

38 | ANNUAL REPORT 2020

รางวลั
และความภาคภมู ใิ จ

ANNUAL REPORT 2020 | 39

การอบรมสมั มนาและการเขา้ รว่ ม
เปนวทิ ยากรของอาจารยป์ ระจาํ

รศ.ดร.พรี สทิ ธิ คํานวณศิลป

คณะกรรมการกลันกรองการใหป้ รญิ ากิตติมศักดิ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซยี 14 พฤศจิกายน 2562
ผู้ทรงคุณวุฒปิ ระเมินผลงานทางวิชาการ คณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย 9 มกราคม 2563
ผู้ทรงคุณวุฒปิ ระเมินผลงานทางวิชาการ มหาวิทยาลัยศรปี ทุม 9 มกราคม 2563
ผู้ทรงคุณวุฒปิ ระเมินผลงานทางวิชาการมหาวิทยาลัยศรปี ทุม 20 มีนาคม 2563
ผู้ทรงคุณวุฒปิ ระเมินผลงานทางวิชาการ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 6 สิงหาคม 2563

รศ.ดร.ศุภวฒั นากร วงศ์ธนวสุ

เข้ารว่ มการสัมมนา “เหลียวหลัง แลหน้า อนาคตการพัฒนาเมืองคารบ์ อนตําผ่านกลไกการมีส่วนรว่ มของทุก
ภาคส่วน ” ในวันที 23 กันยายน 2563 ณ หอ้ ง Topaz Suites โรงแรมโนโวเทลกรุงเทพ แพลทินัม ประตูนํา
เข้ารว่ มโครงการประสานงานจัดการงานวิจัยและนวัตกรรมเพือพัฒนาเมือง (RDC) ประชุมหารอื กับเครอื ข่าย
วิจัย ระหว่างวันที 21-23 กันยายน 2563 ณ หอ้ งประชุม ชนั 20 อาคาร SM TOWER กรุงเทพฯ
เปนวิทยากรในหวั ข้อ “ทักษะทีจาํ เปนในการปฏิบัติงานเวชปฏิบัติชุมชน” (ภาวะผู้นํา/กลยุทธใ์ นการบรหิ ารเครอื
ข่าย) ในวันอิทตย์ที 8 กันยายน 2563 ณ หอ้ งประชุมดอดปบ ชนั 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ
พระชนมพรรษา คณะพยาบาล มหาวิทยาลัยบูรพา
จังหวัดขอนแก่นเชญิ รว่ มเปนวิทยากรรว่ มในการเสวนาในประเด็น “โลกเปลียน คนปรบั เราจะต้องขยับกัน
อย่างไร” ในวันที 4 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมราชาวดีรสี อรท์ แอนด์โฮเต็ล
รบั เชญิ เปนทีปรกึ ษาและผู้ทรงคุณวุฒใิ นกระบวนการจัดทําแผนด้าน ววน. ของสาํ นักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ
วิทยาศาสตร์ วิจัยนวัตกรรม (สกสว.)

ดร.ศิรศิ ักดิ เหล่าจนั ขาม

เปนวิทยากรบรรยายพิเศษ หวั ข้อ การวิจัยเชงิ นโยบาย (Policy Research) ใหก้ ับหลักสูตรสังคมวิทยา
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มข. วันที 22 ก.พ.2563
เปนวิทยากรรว่ มวิพากษ์รายงานความก้าวหน้าวิทยานิพนธแ์ ละดุษฎีนิพนธ์ หลักสูตรสังคมวิทยา คณะ
มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มข. วันที 29-30 มิ.ย.2563
เปนวิทยากรบรรยายพิเศษ หวั ข้อ หลักธรรมาภิบาลในองค์กรและการมีจิตสาธารณะทีดี เชญิ โดย
อบต.บ้านไผ่ อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น วันที 11 มีนาคม 2563
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินหนังสือ/ตํารา วิทยาลัยการปกครองท้องถิน มข. วันที 21 พฤศจิกายน 2562

ผศ.ดร.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชั รนิ ทร์

รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน สถาบัน/
หน่วยงานทีเชญิ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที 14/2/2563
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทาง วารสารอินฟอรเ์ มชนั สถาบัน/หน่วยงานทีเชญิ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที 16/6/2563
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการวารสาร Korean Association for Public
Administration วันที 23/12/2562
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทาง วารสาร Forum for Development จากสถาบัน
Studies Korean Association for Public Administration วันที 23/05/2563

40 | ANNUAL REPORT 2020

ดร.ฌาน เรอื งธรรมสงิ ห์

รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ จากวารสารLocal Administration
Journal, KKU วันที 8 พ.ค. 63
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ วารสาร Local Administration
Journal, KKU วันที 11 มิถุนายน 63
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทาง Local Administration Journal, KKU วันที
20 กุมภาพันธ์ 63
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวารสาร Local Administration Journal, KKU
วันที 18 มีนาคม 63
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทาง คณะมนุษย์ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ วันที 7 พฤษภาคม 2563
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทาง วารสาร Local Administration Journal,
KKU วันที 1 พฤษภาคม 2563

ดร.พฒั นพงศ์ โตภาคงาม

รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศเรอื ง The 3rd APEC Low-Carbon Model
Town Symposium in San Borja, Peru Asia Pacific Economic Cooperation ระหว่างวันที
19 - 26 ตุลาคม 2562
รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศ เรอื ง “The 8th Temasek Foundation
Leadership in Urban Governance Programme (TFLUGP)” ในระหว่าง วันที 24 - 30
พฤศจิกายน 2562 ณ ประเทศสิงคโปร์

ผศ.ณรงค์ เกียรติคณุ วงศ์

รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศ เรอื ง Inclusive Education and Public
Administration ได้รบั เชญิ จาก University of Surabaya
รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศ เรอื ง The Challenges of Bureaucratic
lnnovation to improving of Public Services (Case of Thailand and Indonesia) ได้รบั เชญิ จาก
Department of Governmental Studies, Faculty of Social and Political Sciences, University
Muhammadiyah Malang

ผศ.ดร.วษิ ณุ สมุ ติ สวรรค์

รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ เรอื ง ภาวะผู้นําในเชงิ การบรหิ ารจัดการ
ทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ทีมีอิทธพิ ลต่อความสาํ เรจ็ ขององค์กร
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ African Journal of Business
Management
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ African Journal of Business
Management
รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความ/ผลงานวิจัย/ผลงานทางวิชาการ วิทยาลัยปกครองท้องถิน มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น

ดร.อจริ ภาส์ เพยี รขุนทด

รบั เชญิ เปนผู้ประเมินบทความวิจัย เรอื ง Effects of Livelihoods of Households with PLWHA on
Agriculture in Kaduna State, Nigeria: A Qualitative Study

ANNUAL REPORT 2020 | 41

ดร.วมิ ลสริ ิ แสงกรด

รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศเรอื ง The 3rd APEC Low-Carbon Model
Town Symposium in San Borja, Peru Asia Pacific Economic Cooperation ระหว่างวันที
19 - 26 ตุลาคม 2562
รบั เชญิ เปนวิทยากรหรอื ผู้ทรงคุณวุฒิ ในต่างประเทศ เรอื ง “The 8th Temasek Foundation
Leadership in Urban Governance Programme (TFLUGP)” ในระหว่าง วันที 24 - 30
พฤศจิกายน 2562 ณ ประเทศสิงคโปร์

รศ.ดร.ศิวชั ศรโี ภคางกลุ

รบั เชญิ เปนวทิ ยากรหรอื ผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายในหรอื ภายนอกมหาวทิ ยาลยั ภายในประเทศ เรอื ง กรรมการพฒั นาหลกั สตู ร คณะศลิ ปกรรมศาสตร์
เมอื วนั ที 23 ม.ค. 2563
คณะทํางานกองบรรณาธกิ ารวารสาร "สทิ ธแิ ละสนั ตศิ กึ ษา สถาบนั /หนว่ ยงานทเี ชญิ สถาบนั สทิ ธมิ นษุ ยชนและสนั ตศิ กึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
มกราคม-มถิ นุ ายน, กรกฎาคม - ธนั วาคม 2563
ผเู้ ชยี วชาญตรวจสอบเครอื งมอื การวจิ ยั คณะรฐั ศาสตรแ์ ละรฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม
กรรมการสอบเคา้ โครงวทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 20 มนี าคม 2563
กรรมการสอบวทิ ยานพิ นธ์ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม วนั ที 9 มถิ นุ ายน 2563
ผทู้ รงคณุ วุฒวิ พิ ากษห์ วั ขอ้ วทิ ยานพิ นธข์ องนสิ ติ หลกั สตู รรฐั ศาสตรม์ หาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่
24 กรกฎาคม 2563
วทิ ยากรบรรยาย รายวชิ า ความเปนพลเมอื งและพลเมอื งโลก มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี วนั ที 3 ธนั วาคม 2562, 7, 14 มกราคม 2563
วทิ ยากร ในโครงการ "พฒั นาผลงานวชิ าการ" คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ลพสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี วนั ที 29 มถิ นุ ายน 2563
วทิ ยากรบรรยายในรายวชิ า ความเปนพลเมอื งแลพพลเมอื งโลก สาํ นกั วชิ าเทคโนโลยสี งั คม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี
วนั ที 25 สงิ หาคม, 1 กนั ยายน, 8 กนั ยายน 2563
วทิ ยากรบรรยาย หวั ขอ้ "การบรหิ ารความขดั แยง้ อยา่ งสรา้ งสรรค"์ ศนู ยฝ์ กอบรมวชิ าชพี โอซจี ี และทปี รกึ ษาทางดา้ นธรุ กจิ แหง่ สปป.ลาว
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารมนษุ ยศ์ าสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นครพนม
วนั ที 29 กนั ยายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการจดั การและการพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี
วนั ที 30 กรกฎาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการเมอื งการปกครอง (journal of Politics and Governance)
วนั ที 13 กรกฎาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการเมอื งการปกครอง (Journal of Politics and Governance)
วนั ที 1 กรกฎาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ วารสารการเมอื งการปกครอง (Journal of Politics and Governance) วนั ที 18 มถิ นุ ายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการเมอื งการปกครอง (Journal of Politics and Governance)
วนั ที 23 เมษายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง วารสารการเมอื งการปกครอง (Journal of Politics and Governance)
วนั ที 19 พฤษภาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารดา้ นการบรหิ ารรฐั กจิ และการเมอื ง วนั ที 11 พฤศจกิ ายน 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารดา้ นการบรหิ ารรฐั กจิ และการเมอื ง วนั ที 11 พฤศจกิ ายน 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง วารสารดา้ นการบรหิ ารรฐั กจิ และการเมอื ง วนั ที 25 กนั ยายน 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการเมอื งการปกครอง ฉบบั พเิ ศษจากสาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ
วนั ที 24 ธนั วาคม 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการเมอื งการปกครอง (Journal of Politics and Governance)
วนั ที 5 พฤศจกิ ายน 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ วารสารการดา้ นการบรหิ ารรฐั กจิ และการเมอื ง วนั ที 2 ตลุ าคม 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง วารสารรฐั ศาสตรแ์ ละรฐั ประศาสนศาสตรว์ นั ที 16 ธนั วาคม 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง วารสารดา้ นการบรหิ ารรฐั กจิ และการเมอื ง วนั ที 25 กนั ยายน 2562
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 30 กนั ยายน2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 14 สงิ หาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 13 กรกฎาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 1 กรกฎาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 16 มถิ นุ ายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Legal Entity Management and Local Innovation
วนั ที 9 มถิ นุ ายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Local Governance and Innovation วนั ที 26 พฤษภาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Local Governance and Innovation วนั ที 11 เมษายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Science and Buddhistic Anthropology วนั ที 27 สงิ หาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Science and Buddhistic Anthropology วนั ที 30 กนั ยายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Science and Buddhistic Anthropology วนั ที 21 มถิ นุ ายน 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทาง Journal of Science and Buddhistic Anthropology วนั ที 24 พฤษภาคม 2563
รบั เชญิ เปนผปู้ ระเมนิ บทความ/ผลงานวจิ ยั /ผลงานทางวชิ าการ Journal of Science and Buddhistic Anthropology วนั ที 25 มถิ นุ ายน 2563

42 | ANNUAL REPORT 2020

อาจารยส์ รุ เดช ทวแี สงสกลุ ไทย

15 ธนั วาคม 2563 รว่ มเสวนาหวั ขอ้ ความเปนไปไดใ้ นการพฒั นาพนื ทเี ชงิ พาณชิ ยร์ อบบงึ แกน่ นคร โดยระบบราง และความเชอื มโยง
กบั การพฒั นาเมอื งสขู่ อนแกน่ เมอื งอจั ฉรยิ ะ
16 พฤศจกิ ายน 2563 รว่ มอภปิ รายเรอื ง มติ ใิ หมข่ องการพฒั นาองคก์ รใหเ้ ขม้ แขง็ อยา่ งสรา้ งสรรค์ "กรณศี กึ ษา ขอนแกน่ Smart
City /Mice City" เทศบาลเมอื งปเู จา้ สมงิ พราย
14 พฤศจกิ ายน 2563 บรรยาย Smart City, Smart People คยุ กบั ...คนขอนแกน่ ทําไมเมอื งนถี งึ ...นา่ อยู่ วทิ ยาการตลาดทนุ รนุ่
30
7 พฤศจกิ ายน 2563 วทิ ยากรในเวทกี ารประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยที 1 หวั ขอ้ การเมอื งเรอื งการกระจายอํานาจเพอื ลดความเหลอื มลํา สถาบนั
พระปกเกลา้
4 พฤศจกิ ายน 2563 บรรยาย เรอื ง การเปนผปู้ ระกอบการ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาขอนแกน่
31 ตลุ าคม 2563 วทิ ยากรบรรยาย "นวตั กรรมธรุ กจิ นําธรุ กจิ สคู่ วามยงั ยนื " อบรม“โครงกํารนกั อุตสาํ หกรรมรนุ่ ใหม่ จงั หวดั
อุดรธานี รนุ่ ที 1”(YOUNG F.T.I.UDONTHANI)
17 ตลุ าคม 2563 Mentor เทคซอส เพอื ใหค้ วามรู้ และคําแนะนําในดา้ นตา่ ง ๆ ทเี กยี วขอ้ งกบั Smart City แกผ่ แู้ ขง่ ขนั
12 ตลุ าคม 2563 วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรโู้ ครงการขอนแกน่ SMART City ภายในงานอบรมสมั มนา " โฮป อะคาเดมี กา้ วทนั การ
เปลยี นแปลง เพอื การพฒั นาสงั คม"
7 ตลุ าคม 2563 รว่ มเสวนาในงาน TDRI Annual Conference ในหวั ขอ้ “จะออกแบบอนิ เตอรเ์ ฟสรฐั ไทยอยา่ งไร ใหป้ ระชาชนได้
บรกิ ารทดี ขี นึ ?”
3 ตลุ าคม 2563 บรรยาย วปอ. มส เรอื ง การกระจายความเจรญิ สภู่ มู ภิ าค
2 ตลุ าคม 2563 บรรยายในหวั ขอ้ "ขอนแกน่ เมอื ง Smart city" งาน "Sibb Knowledge Sharing"
28 กนั ยายน 2563 รว่ มเสวนา เรอื ง "รวมพลคนอยากเปลยี นกรงุ เทพฯ"
10 กนั ยายน 2563 บรรยาย คณะ สจว. หลกั สตู รจติ วทิ ยาความมนั คง รนุ่ ที 120
31 สงิ หาคม 2563 ผดู้ ําเนนิ รายการในหวั ขอ้ การสง่ เสรมิ บรรษทั ภบิ าลและการตอ่ ตา้ นทจุ รติ ประเดน็ ทเี ปนขอ้ สนทนาจะเรมิ จาก
ความสาํ คญั ในมติ กิ ารพฒั นาประเทศ และการลงมอื ทําใหเ้ ปนจรงิ ในสถานการณป์ จจบุ นั ณ United Nations Conference Centre
28 สงิ หาคม 2563 บรรยาย เรอื ง การพฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะ ใหก้ บั คณะดงู านจากสาขาพฒั นาสงั คม คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
อุบลราชธานี ในกจิ กรรม นโยบายการพฒั นาและการลดความเหลอื มลําทางสงั คม
27 สงิ หาคม 2563 บรรยาย รว่ มกบั สาํ นกั งานทางหลวงที 7 หลกั สตู ร นกั บรหิ ารระดบั ตน้ กระทรวงคมนาคม(นบต.คค.) รนุ่ ที 12
หวั ขอ้ “แนวทางการพฒั นาเมอื งขอนแกน่ และเสน้ ทางโครงขา่ ย EW Corridor ในจงั หวดั ขอนแกน่ ”
26 สงิ หาคม 2563 กรรมการตดั สนิ การนําเสนอผลงานตน้ แบบนวตั กรรมเชงิ พาณชิ ย์ และเยยี มชมบธู นทิ รรศการเทคโนโลยี ARI
20 สงิ หาคม 2563 เสวนา หวั ขอ้ Smart City & Urbanization ในงานสมั มนา Re-start Thailand พลงั ชมุ ชนพลกิ ฟนประเทศไทย
8 สงิ หาคม 2563 บรรยายหวั ขอ้ ขอนแกน่ โมเดล การพฒั นาทอ้ งถนิ จงั หวดั ภมู ภิ าคอยา่ งยงั ยนื โครงการ ธนารกั ษส์ ญั จร
20 กรกฎาคม 2563 บรรยายการศกึ ษาดงู านในประเทศแบบออนไลน์ โครงการบรกิ ารวชิ าการ หลกั สตู รนกั บรหิ ารระดบั สงู กระทรวง
สาธารณสขุ (นบส.สธ.) ประจาํ ปงบประมาณ 2563
9 กรกฎาคม 2563 บรรยายเรอื ง Professional views on smart city development: KKTT case study
1 กรกฎาคม 2563 อภปิ ราย เรอื ง “กจิ การเพอื สงั คม : ถงึ ไหน .. อยา่ งไร ?” จดั โดย คณะกรรมาธกิ ารการพฒั นาสงั คม และกจิ การ
เดก็ เยาวชน สตรผี สู้ งู อายุ คนพกิ าร และผดู้ อ้ ยโอกาส วุฒสิ ภา รว่ มกบั คณะกรรมาธกิ าร การแกป้ ญหาความยากจน และลดความ
เหลอื มลํา วุฒสิ ภา
27 มถิ นุ ายน 2563 CEO Virtual Talk: Creative Digital Economy & Tourism, from Global to Local ผา่ นทาง Facebook
Live : TAT Khonkaen / หอการคา้ จงั หวดั ขอนแกน่ / TCDC Khon Kaen / DEPA
25 มถิ นุ ายน 2563 เสวนาวชิ าการกฎบตั รแหง่ ชาติ ครงั ที 3 "พลกิ โฉมเมอื งดว้ ยทา่ อากาศยาน และธรุ กจิ การบนิ ยคุ ใหม่ /Join
Zoom Meeting
24 มถิ นุ ายน 2563 ผทู้ รงคณุ วุฒิ โครงการวจิ ยั “การศกึ ษาการศกึ ษาเครอื งมอื และกระบวนการพฒั นาเมอื งอจั ฉรยิ ะ” โครงการ
ประสานแผนงานยทุ ธศาสตรเ์ ปาหมาย Spearhead ดา้ นสงั คม แผนงานการพฒั นาภมู ภิ าคและจงั หวดั 4.0
19 มถิ นุ ายน 2563 เสวนาเพอื หาคําตอบ โลกหลงั โควดิ -19 เรอื ง อุตสาหกรรมทอ่ งเทยี วหลงั โควดิ -19 /Join Zoom Meeting
15 มถิ นุ ายน 2563 เปดโครงการ สรา้ งอาชพี สรา้ งชวี ติ สรา้ งชาติ "Khon Kaen Smart City เชอื มโยง ขอนแกน่ 4 ดี เกษตร
อจั ฉรยิ ะ" (ขอนแกน่ 4 ด:ี รายไดด้ ี สขุ ภาพดี สมารด์ ี เศรษฐกจิ ด)ี
5 มถิ นุ ายน 2563 เสวนาออนไลน์ ในหวั ขอ้ “เมอื งกบั เศรษฐกจิ ฐานรากในยคุ New Normal: รงุ่ รว่ ง หรอื รงุ่ รงิ ”
30 พฤษภาคม 2563 ประชมุ โคช้ โครงการจา้ งงานประชาชนทไี ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารระบาดของไวรสั COVID-19 ครงั
ท1ี /2563 /Join Zoom Meeting
29 พฤษภาคม 2563 รว่ มแชรป์ ระสบการณ์ ในโครงการ Business Brotherhood ในฐานะ Big Brother เพอื รว่ มแชรป์ ระสบการณ์
การดําเนนิ ธรุ กจิ ใหแ้ กน่ อ้ ง ๆ อุทยานวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
23 พฤษภาคม 2563 ปาฐกถา เรอื ง ธรุ กจิ ปรบั เมอื งเปลยี น เรยี นรสู้ ภู้ ยั วกิ ฤต กจิ กรรม TCDC:EMPOWERINGISAN TALK
2020 สาํ นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ (องคก์ ารมหาชน) และศนู ยส์ รา้ งสรรคง์ านออกแบบ จงั หวดั ขอนแกน่ /Join Zoom
Meeting
1 พฤษภาคม 2563 รว่ มสมั มนา Khon Kaen’s New Economy Agenda under New Normal วาระใหมพ่ ฒั นาเศรษฐกจิ
ขอนแกน่ /Join Zoom Meeting
10 เมษายน 2563 Town Hall Meeting รว่ มกําหนดอนาคตประเทศไทย ครงั ท1ี /Join Zoom Meeting
10 มนี าคม 2563 อบรมพฒั นาศกั ยภาพการวเิ คราะห์ และรายงานผลดว้ ย Power BI
6 มนี าคม 2563 วทิ ยากรพูดคยุ ในประเดน็ ทเี กยี วขอ้ งกบั การกระจายอํานาจ และการปกครองทอ้ งถนิ เพอื รว่ มกนั กําหนดโจทยว์ จิ ยั
ใหมๆ่ "โครงการสมั มนาระดมปญญา หวั ขอ้ เรอื ง นโยบายใหม่ แนวคดิ ใหม่ และโจทยว์ จิ ยั ใหมเ่ พอื การกระจายอํานาจ"
3 มนี าคม 2563 วทิ ยากรเสวนา เรอื ง ความทา้ ทายการขบั เคลอื นการพฒั นาเมอื งยคุ ในยคุ Disruptive Technology
27 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ฝกอบรมตามโครงการพฒั นา และเพมิ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านบคุ ลากร สาํ นกั การชา่ ง
24 มกราคม 2563 บรรยายสรปุ เกยี วกบั ประวตั คิ วามเปนมา การบรหิ ารจดั การ การวจิ ยั และการพฒั นานวตั กรรมทนั สมยั ของทาง
มหาวทิ ยาลยั ใหก้ บั นายทหารนกั เรยี นหลกั สตู รพรรคนาวนิ รนุ่ ที 70 และนายทหารนกั เรยี นหลกั สตู รทวั ไปรนุ่ ที 43 กรมยทุ ธศกึ ษา
ทหารเรอื ณ วทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถนิ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
13 มกราคม 2563 เปดตวั "แผนงานยวุ ชนสรา้ งชาต"ิ ณ ตกึ สนั ตไิ มตรี (หลงั นอก) ทําเนยี บรฐั บาล

ANNUAL REPORT 2020 | 43

รายงานการตรวจสอบบญั ชี
เปรยี บเทียบ 2559-2563

สนิ ทรพั ย์ หนสี นิ และทนุ

งบรายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ยเปรยี บเทียบ

44 | ANNUAL REPORT 2020

รายงานการจดั ซอื จดั จา้ ง
ประจาํ ปงบประมาณ 2563

9,656, 975.49 วธิ เี ฉพาะเจาะจง
17,540 35.5%
27,196,975.49
วธิ ปี ระกาศเชญิ ชวน
64.5% ,000.00

ANNUAL REPORT 2020 | 45

คณะผจู้ ดั ทํา

ทีปรกึ ษา

รศ.ดร.พรี สทิ ธิ คํานวณศิลป คณบดี
ดร.ศิรศิ ักดิ เหล่าจนั ขาม รองคณบดฝี ายบรหิ าร
รองคณบดฝี ายวชิ าการ วจิ ยั และการต่างประเทศ
ผศ.ดร.กฤชวรรธน์ โล่หว์ ชั รนิ ทร์

คณะผจู้ ดั ทํา

นายเฉลิมพงษ์ พงษ์ประชา รกั ษาการผอู้ ํานวยการกองบรหิ ารงานวทิ ยาลัย
นายอุเทน บวั แสง ฝายนโยบายและแผน หลักสตู รและประกันคณุ ภาพ
ฝายออกแบบผลิตสอื สงิ พมิ พแ์ ละประชาสมั พนั ธ์
นางสาวจติ รลัดดา แสนตา

สนบั สนนุ ขอ้ มูล

บุคลากรวทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน

ผา่ นทีประชุมคณะกรรมการประจาํ วทิ ยาลัยการปกครองท้องถิน
ครงั ที 1/2564 เมอื วนั ที 21 มกราคม 2564

www.cola.kku.ac.th


Click to View FlipBook Version