The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2563 สสจ. นศ. รวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2563 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2563 สสจ. นศ. รวม

Keywords: รายงานประจำปี 2563 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 39

ปจจยั แหงความสําเรจ็
1. เจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณเขาแนะนําสงเสริมใหสหกรณดําเนินธุรกิจตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

โดยเฉพาะการทําเกษตรอินทรียแบบมีสวนรวมของสมาชิก ในการประกอบอาชีพเล้ียงกุง-ปู-ปลา เชน การ
จัดทํานํ้าหมักปุยชีวภาพขายใหกับสมาชิกในราคาเพ่ือถูกลดตนทุนการผลิต และผลผลิตสวนเกินขายใหแก
บุคคลภายนอก

2. เนื่องจากที่ทําการของนิคมสหกรณปากพญา ต้ังอยูในพื้นที่ชุมชนของสมาชิก ทําใหการเขาแนะนํา
สงเสริมของเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณ มีความใกลชิด และทั่วถึง มีการลงพื้นท่ีพบปะสมาชิกอยางสม่ําเสมอ
และสมาชิกสหกรณเขา มามีสวนรว มในกจิ กรรมตางๆ เชน กจิ กรรมสาธารณประโยชนในพื้นท่ีนิคมสหกรณปาก
พญา กิจกรรมรองเพลงชาติ ฯลฯ สงผลใหเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณสามารถรับรูและเขาใจถงึ ปญหาตางๆของ
สหกรณฯ ในเชงิ ลกึ

3. เจาหนาที่สงเสริมสหกรณเขาแนะนําสงเสริม และติดตามผลการดําเนินธุรกิจดานตางๆ ของ
สหกรณรวมถึงสงเสริมการมีสวนรวมของสมาชิกใหเปน ไปตามแผนที่กําหนด รวมประชุมกําหนดแผนและแนว
ทางแกไ ขปญ หาตางๆ เชน แผนการติดตามหนี้คางชาํ ระของสมาชิก เปน ตน

4. แนะนําสงเสริมใหคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ บริหารงานภายใตหลักธรรมาภิบาล สงผลให
คณะกรรมการฯ มีความเขมแข็ง มุงม่ัน ทุมเท ต้ังใจในการบริหารงาน โดยยึดหลักการสหกรณ ดวยความซ่ือ
สัตว สจุ ริต

5. นิคมสหกรณปากพญาเปนหนวยงานประสานงาน ในการบูรณาการระหวางหนวยงานภาครัฐ,
ภาคสังคม สวนทองถ่ิน ที่เก่ียวของกับสหกรณ อํานวยความสะดวกเพ่ือใหสมาชิกสหกรณสามารถเขาถึง
โครงการภาครฐั ท่เี กีย่ วขอ ง

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 40

อําเภอ ลานสกา

ประกอบดว ย สหกรณ 5 แหง สมาชกิ 2,496 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชิก 306 คน
 ผลการเขา แนะนาํ สงเสรมิ และแกไขปญ หาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่รับผิดชอบใน อําเภอลานสกา จังหวัด
นครศรีธรรมราช ตามภารกิจของกลุมสงเสริมสหกรณ 1 สงผลตอพัฒนาสหกรณและกลุมเกษตรกร โดย
ภาพรวม ดังน้ี

1. การพฒั นาองคก รของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกร
1.1 พัฒนาโครงสรา งของสหกรณ กลุมเกษตรกร
สงเสริมใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาดานโครงสรางการบริหารองคกรท่ีดีและมี

ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน โดยมีระบบอํานาจการบังคับบัญชา การติดตอสื่อสาร ท่ีสามารถเชื่อมตอคนและงาน เพ่ือ
รว มกนั ทํางานใหบ รรลเุ ปา หมายตามแผนงานทไ่ี ดรับความเหน็ ชอบจากท่ีประชมุ ใหญส มาชิก

1.2 พัฒนากระบวนการทาํ งานของสหกรณกลุม เกษตรกร
การพัฒนากระบวนการทํางาน สหกรณและกลุมเกษตรกรไดใหความสําคัญในการเลือกผูนํา

และบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถ บุคลิกภาพและมุงหวังในผลประโยชนขององคกร โดยไดกําหนด
วัตถุประสงคและเปาหมายของงานที่ชัดเจน มีการเตรียมการวางแผนการทํางาน รายงานและประเมินผลการ
ปฏิบตั งิ านเปน ประจําทกุ เดอื น รวมทงั้ การปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ิงานใหเ ปน ไปตามแผนงานทก่ี ําหนด

1.3 พฒั นาบคุ ลากรของสหกรณ กลุมเกษตรกร
บุคลากรผูเกี่ยวของกับงานสหกรณและกลุมเกษตรกรอันประกอบดวย สมาชิก

คณะกรรมการ พนักงานเจาหนาที่ ไดมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาท่ี และตระหนักในความรับผิดชอบ
มากยิ่งข้ึน ในการพัฒนาบุคลากรไดจัดใหมีการประชุม อบรม สัมมนา โดยสหกรณ กลุมเกษตรกรเปน
ผูดําเนินการเอง และสงบุคลากรไปรับการอบรม สัมมนากับหนวยงานตางๆ เพ่ือเพ่ิมทักษะความชํานาญงาน
ของบุคลากร รวมทั้งการปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรเพ่ือมุงเปาหมายสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคของ
สหกรณ กลุม เกษตรกร

2. การพฒั นาธรุ กิจของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
ธรุ กิจของแตละสหกรณ กลุมเกษตรกร มีความแปลกแยกแตกตางกันไปตามประเภทและชนิดของ

สหกรณ กลุมเกษตรกร ตามวัตถุประสงคของการจัดตั้งสหกรณ กลุมเกษตรกรซ่ึงกําหนดไวในขอบังคับ โดยมี
ธุรกิจตางๆ เชน ธุรกิจดานการเงิน ธุรกิจดานการผลิต ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจดานการแปรรูป ธุรกิจดาน
การบริการ เปนตน ในแตละดานของธุรกิจ สหกรณกลุมเกษตรกรไดพัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑและบริการ
การกําหนดกลยุทธ เพื่อความพึงพอใจสมาชิกซ่ึงเปนผูรับสินคาและบริการของสหกรณ กลุมเกษตรกร อันจะ
นํามาซง่ึ ความมั่งค่งั ย่ังยนื ทางเศรษฐกจิ และสังคมของมวลสมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร

การพัฒนาธุรกิจของสหกรณขางตนของสหกรณกลุมเกษตรกรในพื้นที่ อําเภอลานสกา จังหวัด
นครศรีธรรมราช นอกจากจะทําใหธุรกิจแตละดานเติบโตอยางตอเน่ือง อํานวยประโยชนแกสมาชิกท้ังทาง
เศรษฐกิจและสังคมโดยภาพรวม ธุรกิจของสหกรณบางธรุ กิจยังเปนตนแบบ หรือเปนทีอ่ างองิ ของธุรกิจเอกชน
ซึ่งสงผลกระทบตอสังคมในภาพรวม

สํานกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 41

ดา นปจจัยและเง่ือนไขของการดําเนินธุรกิจสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร ดําเนินธุรกิจโดยพ่ึงพาตนเอง
เปนหลัก โดยการจัดหาเงินทุนจากสมาชิก สะสมทุนจากสวนเกินในการดําเนินงาน และดําเนินกิจการงานทั้ง
มวลภายใตกรอบของกฎหมาย คําสั่ง คําแนะนํา ประกาศนายทะเบียน ระเบียบ มติที่ที่ประชุมใหญสมาชิก
และมตทิ ี่ประชุมคณะกรรมการดาํ เนนิ การ
 ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

ดานบุคลากร
1. สมาชิกสหกรณ

- สมาชิกสหกรณใ หความสาํ คัญกับสทิ ธิทีต่ นเองจะไดร บั แตล ะเลยการทําหนาที่ของตน
2. คณะกรรมการสหกรณ

- ขาดองคความรใู นการบริหารกิจการสหกรณ
3. ฝายจดั การสหกรณ

- เจา หนา ทท่ี ่ีมปี ระสบการณแ สวงหาประโยชนส วนตน โดยอาศยั ความไมรูของคณะกรรมการ
4. ผูตรวจสอบกจิ การสหกรณ

- ผตู รวจการสหกรณไมป ฏิบตั ิหนาท่ตี ามอํานาจหนา ที่ทพ่ี ึงกระทาํ
5. เจาหนาที่ของรฐั

- เจา หนา ที่สงเสรมิ สหกรณใ หความสาํ คัญกับการกํากับสหกรณม ากกวาการแนะนําสงเสริม
ปญหาดานการจดั การ
1. ในบางสหกรณ กลุมเกษตรกรจัดตั้งขึ้นตามนโยบาย ไมไดเกิดจากความตองการของผูซึ่งจะเปน
สมาชิก
2. สมาชกิ ไมท ราบขอ มูลของสหกรณ
3. สหกรณข าดความคลองตัวในการจัดการธุรกจิ ในภาวะท่จี ะตองแขงขนั กบั เอกชน
4. การใหบ ริการของสหกรณท่ไี มค รอบคลุมครบวงจร
5. การแสวงหาผลประโยชนส วนของกลมุ คนที่รวมกนั จัดต้ังสหกรณ
ปญ หาจากภาครัฐ
1. การขาดการประสานรวมมอื กนั ของหนว ยงานภาครัฐ
2. เทคโนโลยีทก่ี า วกระโดดทําใหส หกรณล า หลงั
ปญหาอน่ื ๆ
1. ระบบอปุ ถมั ภและการเมืองในสหกรณ
2. การปลอ ยปละละเลยเกรงใจ ไมน ําหลกั กฎหมายมาบังคบั ใชอยา งจริงจัง
3. ความมอี ทิ ธิพลของกรรมการและเจา หนา ท่ใี นสหกรณ

สาํ นักงานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 42

 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา
สรปุ แนวทางสงเสรมิ สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรใหไดม าตรฐาน มดี ังนี้
1. การสงเสริมใหบุคลากรของสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่และ

ตระหนักถึงความรับผิดชอบในตําแหนงหนาที่ของตน รวมท้ังการเพิ่มพูนความรู ประสบการณ ความเขาใจใน
เรอื่ งการบรหิ ารจัดการธรุ กิจของเจา หนาทีแ่ ละกรรมการสหกรณ

2. จัดระบบควบคุมในสหกรณ
3. การจัดใหมีธรรมาภิบาลในสหกรณ
4. การสือ่ สารขอมลู ถงึ สมาชกิ ทีร่ วดเรว็ ถกู ตอ ง
5. การสอบถามความจาํ เปน ตองการของสมาชิกสหกรณ
6. ความรวมมอื บรู ณาการของหนว ยงานภาครฐั ในการสง เสริมงานสหกรณ

 สหกรณ/กลุม เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563

สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณเครดติ ยูเน่ยี นลานแกวประชาสรรค จํากัด

ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

1. จาํ นวนสมาชกิ
- จาํ นวนสมาชกิ 712 คน
- ระหวา งปมรี ับสมาชกิ ใหม 16 คน
2. ผลการดําเนินงานปส นิ้ สดุ บญั ชี 30 มถิ นุ ายน 2563
- สินทรัพย 48,513,292.00 บาท
- เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 8,351,933.42 บาท
- ลูกหนีเ้ งนิ ใหกยู ืมแกส มาชกิ 36,273,680.80 บาท
- ดอกเบ้ียเงินใหก คู า งรบั 363,192.45 บาท
- เงนิ ลงทนุ ระยะยาว 291,400.00 บาท
- สินคา คงเหลือ 72,573.13 บาท
- สินทรพั ยอนื่ 135,726.97 บาท
- ท่ีดนิ อาคาร และอปุ กรณ 3,024,857.23 บาท
- หนีส้ ิน 19,304,112.09 บาท
- เงินรับฝากจากสมาชิก 17,288,791.48 บาท
- เงนิ กยู ืมและเงนิ เบิกเกินบัญชี 990,688.78 บาท
- สํารองบาํ เหนจ็ เจาหนาท่ี 953,780.00 บาท
- หนี้สินอน่ื 70,761.83 บาท

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 43

- ทนุ 29,209,179.91 บาท
- ทุนเรอื นหนุ 24,856,850.00 บาท
- ทุนสํารอง 0.00 บาท
- ขาดทุนสะสม (1,255,559.30) บาท
- ทุนสะสมตามขอบังคบั 3,943,803.35 บาท
- กาํ ไรสทุ ธิ 1,664,085.86 บาท
สหกรณมีกําไรสุทธิประจําปมากกวายอดขาดทุนสะสมจากปกอน หากจะนํากําไรสุทธิประจําปไป
ชดเชยผลการขาดทุนสะสม ก็จะทาํ ใหย อดขาดทนุ สะสมหมดไป แตเ พอื่ ใหส มาชิกไดรบั ผลตอบแทน ณ วันส้ินป
คณะกรรมการดําเนินการ ไดนํากําไรสุทธิจํานวนหนึ่งตามหลักเกณฑท่ีนายทะเบียนสหกรณกําหนด มาจัดสรร
ตามขอบังคับ เพื่อใหสมาชิกไดรับเงินปนผลเงินเฉลี่ยคืน และสหกรณไมมีขอบกพรองและไมมีขอสังเกตท่ีสุม
เส่ยี งตอ การดําเนินงาน
3. ประโยชนท ี่สมาชกิ สหกรณไดรับ
ดานเศรษฐกิจ
- สหกรณใหสินเชื่อแกสมาชิกในเงื่อนไขท่ีผอนปรน ระหวางปบัญชีส้ินสุด 30 มิถุนายน 2563
สหกรณค ิดดอกเบี้ยเงนิ กูกับสมาชกิ โดยเฉล่ยี รอ ยละ 10 ตอ ป
- สหกรณใหดอกเบยี้ เงินรบั ฝากสมาชกิ โดยเฉลยี่ รอ ยละ 3 ตอป
- สมาชกิ ไดร ับสวัสดิการ เกิด แก เจบ็ ตาย จากสหกรณ
- สหกรณเหลือกําไรท่ีจากการโอนไปชดเชยคางขาดทุนสะสม จํานวน 824,085.86 บาท นําไป
จดั สรรเปน เงิน
ปน ผลตามหนุ และเงนิ เฉลยี่ คืนตามสว นธรุ กจิ รอ ยละ 2.50 และ 2.00 ตามลําดบั
ดา นสงั คม
- สมาชกิ สหกรณร วมมอื กนั ทํากิจกรรมของสังคมอยา งตอ เนื่อง
- ดวยเหตุที่สมาชิกสหกรณเครดิตยูเน่ียนลานแกวประชาสรรค จํากัด มีท่ีต้ังอยูในชุมชนเล็กๆ มี
สหกรณเปน แกนกลางในการจัดกิจกรรมทางสงั คมอยูเนืองๆ สมาชิกไดมีการแลกเปลีย่ นเรยี นรูระหวางกนั เปน
โอกาสทจ่ี ะไดส รางสัมพันธภาพท่ีดีตอกัน
- สหกรณใ ชทนุ สาธารณะประโยชนเ พอื่ สงั คมตามหลักการสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 44

ภาพการประชุมใหญส ามญั ประจาํ ป 2563
สหกรณเ ครดติ ยเู น่ยี นลานแกวประชาสรรค จาํ กัด

สํานกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 45

ภาพประชมุ โครงการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตสมาชกิ เครดิตยเู นยี่ นดว ยพลงั สตรีและเยาวชน

สํานักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 46

ปจจัยแหงความสําเรจ็
- คณะกรรมการบริหารงานสหกรณดวยความรอบคอบ ตามกรอบวัตถุประสงคของสหกรณ คําส่ัง

คําแนะนาํ ระเบยี บ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ ระเบยี บของสหกรณ และมตขิ องทปี่ ระชมุ
- พนักงาน เจาหนาท่ีฝายจัดการ มีความรู ประสบการณในงานท่ีรับผิดชอบ มีการจัดการงานของ

สหกรณอ ยา งเปนระบบ มีการควบคุม และการตดิ ตามการปฏบิ ัติงานทอี่ ยางตอ เนอื่ ง
- สมาชิกสวนใหญเปนผูมีพ้ืนความรูประสบการดานการออม ตามแนวทางของการสหกรณเครดิตยู

เน่ียน และใหค วามรวมมือปฏิบตั ิตามระเบียบ กติกาทส่ี หกรณกําหนด
- ผตู รวจสอบกิจการ ชวยเหลือตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของสหกรณอ ยา งเครง ครดั
- สหกรณม เี ครอ่ื งมือ อุปกรณ และเทคโนโลยที เ่ี พียงพอในการปฏิบตั ิงาน
- สหกรณไดรบั ขอเสนอแนะ คําแนะนาํ และความรวมมือจากองคกร หนว ยงานภาคี และสว นราชการ

ทรี่ ับผิดชอบเปน อยางดี
- เจาหนาที่สงเสริมสหกรณในกลุมสงเสริมสหกรณ 1 มีความมุงม่ัน เสียสละ ปฏิบัติหนาท่ีแนะนํา

สงเสริมสหกรณ กลุมเกษตรกร ดวยจิตวิญญาณของนักสหกรณ โดยการเขารวมประชุมคณะกรรมการ แสดง
ความเห็น เสนอแนะใหการดาํ เนนิ งานเปน ไปตามวตั ถุประสงค กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวขอ ง รวมท้ังการใหการ
ชว ยเหลือจดั ทาํ บญั ชี งบการเงินในสหกรณก ลมุ เกษตรกรขนาดเล็กทย่ี งั มีความออนแอในการจัดการ อีกดวย

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 47

อาํ เภอ พรหมครี ี

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชกิ 4,097 คน กลุม เกษตรกร 5 แหง สมาชิก 587 คน
 ผลการเขาแนะนาํ สงเสรมิ และแกไ ขปญหาสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร

จากการเขา แนะนาํ สงเสริมสหกรณและกลุม เกษตรกรท่รี บั ผิดชอบใน อําเภอพรหมครี ี นครศรีธรรมราช
ตามภารกิจของกลมุ สงเสรมิ สหกรณ 1 สง ผลตอ การพฒั นาสหกรณและกลมุ เกษตรกรโดยภาพรวม ดงั น้ี

1. การพฒั นาองคกรของสหกรณและกลมุ เกษตรกร
1.1 พฒั นาโครงสรา งของสหกรณ กลมุ เกษตรกร
สงเสริมใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาดานโครงสรางการบริหารองคกรที่ดีและมี

ประสทิ ธิภาพย่งิ ขนึ้
1.2 พฒั นากระบวนการทาํ งานของสหกรณกลมุ เกษตรกร
กรรมการและเจาหนาที่ของสหกรณมีการพัฒนากระบวนการทํางานท่ีสอดประสาน สนอง

ความตอ งการของสมาชกิ ดขี นึ้
1.3 พฒั นาบคุ ลากรของสหกรณ กลมุ เกษตรกร
สมาชิก คณะกรรมการ และพนักงานเจาหนาที่ของสหกรณ ไดตระหนักในภาระ บทบาท

หนา ทขี่ องตน ปรบั เปลย่ี นทศั นคตเิ ปนทพี่ งึ ประสงคมากขน้ึ
2. การพฒั นาธุรกจิ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
ธรุ กิจของสหกรณในภาพรวมมีอตั ราการเติบโตที่ใกลเคียงกบั ปก อน สมาชิกสหกรณ กลุมเกษตรกร

ใหความสําคญั กับธุรกิจนี้เปนลําดับแรก การซื้อสินคา การรับฝากเงิน และรวบรวมผลผลิต เปนธรุ กิจที่สมาชิก
ใหความสาํ คัญเปนลาํ ดับรอง ตามลาํ ดบั

สหกรณและกลุมเกษตรกรในพ้ืนท่ี อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนสหกรณภาค
การเกษตร แมจ ะมสี หกรณเครดิตยูเนี่ยน แตสมาชิกสหกรณกวารอยละ 90 เปน เกษตรกร แมสมาชิกบางสวน
มีอาชีพนอกภาคเกษตรแตก็มีอาชีพรองทางดานการเกษตร ธุรกิจของสหกรณในภาพรวมจึงเกี่ยวเน่ืองกับ
การเกษตร และสหกรณ กลมุ เกษตรกรกเ็ ปนทีพ่ ่งึ ทห่ี วังของบรรดาสมาชกิ
 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

ดา นบคุ ลากร
1. สมาชิกสหกรณ

- เกษตรกรสวนใหญไ มมพี น้ื ความรูดานการสหกรณ
2. คณะกรรมการสหกรณ

- คณะกรรมการที่มาจากสมาชิกท่ีขาดพ้ืนความรูดานการสหกรณ ทําใหถูกชักจูง ครอบงําจาก
กรรมการอนื่ และ/หรือจากฝายจดั การทมี่ ีประสบการณส งู โดยหยบิ ยื่นผลประโยชนเชงิ นโยบายเปนเหยอื ลอ

3. ฝา ยจัดการสหกรณ
- พนักงานเจา หนาท่ีฝา ยจดั การ อาศัยความไดเ ปรยี บดานขอ มูลและประสบการณอนั ยาวนาน แสวง

ประโยชนจ ากความไมรู ออ นดอยของกรรมการ
4. ผตู รวจสอบกจิ การสหกรณ
- ผูตรวจสอบกิจการมีความเกรงใจฝายจัดการและกรรมการ ทําใหไมกลาจะทําหนาท่ีอยาง

ตรงไปตรงมา
สํานักงานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 48

5. เจาหนา ทขี่ องรฐั
- ในอดีตเจาหนาที่สงเสริมสหกรณบางคนรวมกับฝายจัดการแสวงผลประโยชนจากสหกรณ โดย

อาศัยทรพั ยากรของสหกรณเอื้อประโยชนตอกนั
ปญหาดา นการจัดการ
1. การจดั การงานสหกรณของฝายจดั การท่หี ลบหลกี การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบฯ
2. การไมเ ปดเผย ซอ นเรน ขอมูล ของฝายจัดการ
ปญหาจากภาครฐั
1. ความตอเนอ่ื งของนโยบาย
2. เจาหนา ทีข่ องรัฐหยอนยานการทาํ หนาท่ี
ปญ หาอนื่ ๆ
1. ระบบอปุ ถมั ภที่ครอบงาํ ในสหกรณ
2. การไมกลาไมกลา บงั คบั ใชกฎหมายของเจา หนาท่รี ัฐ
3. การมอี ํานาจเหนือกรรมการของฝา ยจดั การ หรือกรรมการมอี ทิ ธิพลเหนอื เจา หนาท่สี หกรณ

 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญหา
สรุปแนวทางสงเสรมิ สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรใหไดม าตรฐาน มีดังน้ี
บุคลากรทุกฝายที่เก่ียวของกับสหกรณ กลุมเกษตรกร มีความตระหนักในภาระหนาที่ และ

ปฏบิ ัติหนา ที่โดยยึดประโยชนของสว นรวมเปน หลกั ไมแ สวงประโยชนจ ากสหกรณ

 สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563

สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรพรหมครี ี จาํ กัด

ผลงาน/ความสําเรจ็ ของสหกรณ/กลุม เกษตรกร

1. จาํ นวนสมาชิก
- จาํ นวนสมาชกิ 2,922 คน ในจํานวนนเ้ี ปนสมาชิกสมทบ 1,488 คน
- ระหวางปม รี บั สมาชกิ ใหม 42 คน
2. ผลการดาํ เนนิ งานปส ิ้นสุดบัญชี 31 ธนั วาคม 2562
- สินทรพั ย 591,536,659.66 บาท
- เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร 7,623,189.27 บาท
- เงินฝากสหกรณอ น่ื 42,006,777.36 บาท
- เงนิ ลงทุน 2,100,000.00 บาท
- ลกู หนี้เงินใหกูย มื แกสมาชกิ 495,066,687.04 บาท
- ดอกเบย้ี เงินใหกคู างรับ 4,055,511.12 บาท
- สินคาคงเหลือ 3,876,932.65 บาท
- สนิ ทรพั ยอ่นื 249,547.30 บาท
- ทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ 69,719,314.92 บาท

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 49

- หนี้สิน 438,100,301.20 บาท
- เงินรับฝากจากสมาชิก 332,980,863.93 บาท
- เงนิ กูย ืมและเงินเบกิ เกินบญั ชี 75,795,560.14 บาท
- สาํ รองบาํ เหน็จเจาหนาที่ 10,534,230.00 บาท
- หน้สี นิ อื่น 18,899,646.49 บาท
- ทุน 153,436,358.46 บาท
- ทุนเรอื นหุน 117,256,730.00 บาท
- ทนุ สํารอง 19,554,427.88 บาท
- ทนุ สะสมตามขอ บังคับ 5,101,406.87 บาท
- กําไรสุทธิ 11,523,793.71 บาท
***สหกรณม ีขอสังเกตลูกหน้ีการคาคางนานกวา เกิน 2 ป จาํ นวน 1.79 ลา นบาท ไดรบั การแกไขดาน
เอกสาร แตสหกรณไมไดร บั การชําระหนี้ เปนเงนิ 1.61ลา นบาท***
3. ประโยชนที่สมาชกิ สหกรณไดรับ
ดานเศรษฐกจิ
- สมาชกิ สหกรณไดร บั สินเชอื่ ในเง่ือนไขทีผ่ อ นปรน อัตราดอกเบีย้ ตาํ่ กวา ตลาดเงนิ ท่วั ไป
- สมาชกิ ผูฝากเงนิ ไดรบั ดอกเบย้ี เงินฝากทเ่ี ปน ธรรมและสงู กวาในตลาดเงนิ
- สหกรณจัดสวสั ดิการตา งๆ แกสมาชกิ
- ในสหกรณที่มผี ลประกอบการมีสวนเกินจากการดําเนินธุรกิจ(กาํ ไร) จะไดรบั การจดั สรรเงนิ
สวนเกินกลบั คืน
ดา นสงั คม
- สมาชิกสหกรณไดมโี อกาสตดิ ตอ สอ่ื สมั พนั ธในโอกาสตางๆทสี่ หกรณจ ดั ขึน้ เปนการสรา งสมั พันธ
แลกเปล่ียนขอมูลขาวสารตอกัน

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 50

ภาพการกระจายลําไย จากการเขา รวมโครงการสนบั สนนุ การกระจายผลไมข องสถาบนั เกษตรกร

ปจจัยแหงความสาํ เร็จ
- บุคลากรทุกฝายท่ีเกยี่ วขอ งปฏิบัตหิ นาท่ีของตนดวยความมุงม่ันตอผลประโยชนของสวนรวม ภายใต

กฎกติกาที่เปนธรรม ไดรับผลประโยชนหรือคาตอบแทนที่เหมาะสม มีเครื่องมืออุปกรณที่เพียงพอตอการ
ปฏิบตั ิงาน

- พนักงานเจาหนาที่สงเสริมสหกรณในกลุมสงเสริมสหกรณ 1 มีความมุงม่ัน เสียสละ ปฏิบัติหนาท่ี
แนะนําสงเสริมสหกรณ กลุมเกษตรกร ดวยจิตวิญญาณของนักสหกรณ โดยการเขารวมประชุมคณะกรรมการ
แสดงความเหน็ เสนอแนะใหการดําเนนิ งานเปนไปตามวัตถุประสงค กฎหมาย ระเบยี บท่ีเก่ยี วของ รวมท้ังการ
ใหการชวยเหลือจัดทําบัญชี งบการเงินในสหกรณกลุมเกษตรกรขนาดเล็กท่ียังมีความออนแอในการจัดการ
อีกดวย

สํานกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 51

อาํ เภอ ปากพนัง

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชกิ 1,735 คน กลมุ เกษตรกร 8 แหง สมาชกิ 358 คน
 ผลการเขาแนะนํา สงเสรมิ และแกไ ขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

จากการเขา แนะนําสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีรับผิดชอบในอําเภอปากพนงั ตามภารกจิ ของ
กลุมสง เสรมิ สหกรณ 2 สง ผลตอสหกรณและกลุมเกษตรกรมกี ารพฒั นาในองคกรและพัฒนาธรุ กจิ ดังนี้

1. ดานการพัฒนาองคกรของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
1.1 บุคลากรในสหกรณและกลุมเกษตรกรซึ่งประกอบดวย สมาชิก คณะกรรมการ ผูตรวจสอบ

กิจการและเจาหนาที่สหกรณ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองมากย่ิงข้ึนสงผลใหบุคลากรใน
สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรมคี วามรคู วามเขาใจเกีย่ วกบั สหกรณและกลุมเกษตรกรมากยิ่งขน้ึ

1.2 คณะกรรมการมีการตดิ ตามงานตามแผนงานประจําปทีไ่ ดรบั การอนุมัตจิ ากทป่ี ระชุมใหญเปน
ประจาํ ทกุ เดือนทําใหมีการควบคมุ ภายในที่ดีและไมมีขอ บกพรอ งเกดิ ข้ึน

2. ดา นการพัฒนาธุรกิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
2.1 ดานเงินทุน สหกรณและกลุมเกษตรกรมีความรูความเขา ใจในบทบาทหนา ที่ของตนเองมากขึน้

มีความเขา ใจวาสมาชิกทุกคนเปน เจา ของ เปน ผูใชบริการในธุรกิจ ทําใหส หกรณแ ละกลุมเกษตรกรมีการเพิ่มทนุ
ภายในจากการถือหุนและเงินรับฝากจากสมาชกิ มากขนึ้ ซง่ึ ชว ยลดตน ทุนในการบรหิ ารจัดการของสหกรณและ
กลมุ เกษตรกร

2.2 สหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีอยูในความรับผดิ ชอบ ไดขยายธุรกิจเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะธรุ กจิ จัดหา
สนิ คา มาจาํ หนา ย สินคา ที่มีความจําเปน ในการดาํ รงชวี ิตของสมาชกิ คือขา วสาร ทาํ ใหสามารถลดคาใชจายใน
ครวั เรอื นของสมาชิกไดเพื่อซ้ือสนิ คา ตน ทนุ ต่ําจากสหกรณ

ผลการจดั มาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท่ีผานมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ไี่ มผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลุม เกษตรกรผานเกณฑมาตรฐาน ๘ แหง จากท้ังหมด 9 แหง

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
จากการเขา แนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่อี ยูในความรบั ผดิ ชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญหาอุปสรรคในการดําเนนิ งาน ดังน้ี
1. ดานบคุ ลากร
1.1 สมาชิกไมม ีความรูความเขาใจในอุดมการณ หลกั การและวธิ กี ารสหกรณเทา ที่ควร สว นใหญ

การเขามาเปนสมาชิกของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรหวังแตจะรบั ประโยชนข องตนเอง (กเู งนิ เพียงอยา งเดยี ว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรใู นเรอ่ื งการบริหารธรุ กิจสงผลใหธรุ กิจของสหกรณเ กิดการขาดทนุ

และไมม กี ารวิเคราะหถึงจุดคุมทุน
๑. ๓ คณะกรรมการและฝา ยจัดการไมไดน ําหลักธรรมมาภบิ าลมาใชในการบรหิ ารจดั การองคก ร
1.๔ ในการจัดทําแผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ า ยประจําปเพอื่ นาํ เสนอทป่ี ระชุมใหญ

พิจารณา ขาดการมีสวนรวมจากทุกฝา ย สวนใหญฝายจดั การจะดาํ เนนิ การเพยี งฝา ยเดียว

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 52

2. ดา นการพฒั นาธรุ กิจของสหกรณและกลมุ เกษตรกร
2.1 ทนุ ดาํ เนินงานของสหกรณไมเ พยี งพอตอ การดําเนนิ ธรุ กจิ
2.2 สหกรณและกลุม เกษตรกรท่ีไมมีโครงสรา งดานการบริหารจัดการองคกร ทาํ ใหการดําเนินงาน

ของสหกรณแ ละกลุม เกษตรกรเกดิ การขาดทนุ
 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญ หา

จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ
แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมา จัดทําแผนรายเดือน และแตละ
เดือนจะตองมีการติดตามประเมินผล โดยตองมีการมอบหมายใหกับคณะกรรมการและฝายจัดการท่ีเก่ียวของ
แตล ะฝา ย
 สหกรณ/ กลุม เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรปากพนงั จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุม เกษตรกร

จากการแนะนาํ ใหม กี ารจัดประชมุ เสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจ ัดใหมกี ารประชุม
กลุมสมาชิกประจําทุกไตรมาสและใหทําการสํารวจความตองการสินคาจากสมาชิก จากการสํารวจความ
ตองการของสมาชิก สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคาอปุ โภค บริโภคที่มีความจําเปนในการดํารงชีวิต
ประจําวันเพ่ือลดคาใชจา ยในครัวเรือน โดยการจัดหาขา วสารมาจําหนาย เจา หนาท่ีสงเสริมสหกรณ ไดแนะนํา
ใหกลุมเกษตรกรเชอื่ มโยงธุรกิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากดั เพื่อมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนาย
ขาวสาร ตั้งแตเดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจัดหาขาวสารมาจําหนายใหแกสมาชิก
จํานวน 20.45 ตัน จํานวนเงิน 732,634.00 บาทซึ่งจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 2 บาท
สง ผลใหส มาชิกลดคาใชจายในครวั เรือนจาํ นวน 500 บาท/ครัวเรือน สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 264 ราย
สหกรณ/ กลุม เกษตรกร กลุม เกษตรกรทาํ นาชะเมา
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

จากการแนะนําใหมีการจัดประชุมเสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนํากลุมเกษตรกรจัดใหมีการ
ประชุมคณะกรรมการดําเนินการเปนประจําทุกเดือนและใหทําการสํารวจความตองการสนิ คาจากสมาชิก จาก
การสํารวจความตองการของสมาชิก สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคา อุปโภค บรโิ ภคที่มีความจําเปน
ในการดํารงชวี ิตประจําวันเพ่อื ลดคาใชจายในครัวเรือน โดยการจัดหาขาวสารมาจําหนาย แตก ลุมฯ ไมมีเงินทุน
หมุนเวียนเพียงพอในการดําเนินธุรกิจ เจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณ ไดแนะนําใหกลุมเกษตรกรเชื่อมโยงธุรกิจกับ
สหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด โดยสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด ไดจําหนายขาวสารเปนเงินเช่ือ
ใหแกกลุมเกษตรกรทํานาชะเมา เพื่อมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนายขาวสาร ตั้งแตเดอื นตุลาคม 2562 –
30 กันยายน 2563 กลุมฯจัดหาขา วสารมาจาํ หนายใหแ กสมาชิกจํานวน 5.6 ตนั จํานวนเงนิ 169,046.00
บาทซ่ึงจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉลี่ยกิโลละ 2 บาท สงผลใหสมาชิกลดคาใชจายในครัวเรือนจํานวน
500 บาท/ครวั เรอื น สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 19 ราย คดิ เปน รอยละ 70

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 53

ประโยชนท ี่สหกรณ/กลมุ เกษตรกรไดรับ
- สามารถลดตน ทุนเพราะไดซื้อสินคา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยกระจายสนิ คา
- มปี ริมาณธุรกิจเพม่ิ ข้ึน
- สมาชิกมีสวนรว มเพ่มิ ขนึ้
- มีรายไดเ พ่ิมขน้ึ

ประโยชนท ่ีสมาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคาใชจ า ยในครัวเรือนลงได
- สมาชกิ ไดบ ริโภคขา วสารท่ีมีคุณภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเซ็นต

ภาพประกอบการประชมุ 3 ฝาย

สํานกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 54

ภาพประกอบ ธุรกิจจัดหาสนิ คามาจําหนาย

ปจจัยแหงความสําเร็จ
กลมุ สงเสรมิ สหกรณ 2 สงเสริมแนะนําใหสหกรณการเกษตรกรปากพนงั จํากัดและกลุมเกษตรกร

ทาํ นาชะเมา เช่ือมโยงธรุ กจิ จัดหาสินคามาจําหนายกบั สหกรณการเกษตรพรหมครี ี จาํ กัดซ่ึงเปนศนู ยก ระจาย
สินคา สหกรณและกลุมจัดหาสินคาราคามีคุณภาพและราคาถกู มาจําหนายแกสมาชกิ สงผลใหส หกรณแ ละ
กลุม เกษตรกรพัฒนาความเขมแข็ง และพฒั นาธุรกจิ ทําใหสหกรณและกลุมเกษตรกรมีความเขม แข็งและเปน
ศนู ยกลางในการรวบรวมผลผลติ จากสมาชกิ และชุมชน

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 55

อําเภอ เชยี รใหญ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชิก 2,409 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 201 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไ ขปญหาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขา แนะนําสง เสริมสหกรณและกลมุ เกษตรกรที่รบั ผิดชอบในอาํ เภอเชียรใหญ ตามภารกิจของ
กลุมสงเสริมสหกรณ 2 สงผลตอ สหกรณและกลุมเกษตรกรมกี ารพัฒนาในองคกรและพัฒนาธุรกจิ ดังน้ี

1. ดา นการพัฒนาองคกรของสหกรณและกลุมเกษตรกร
ใชเกณฑ จัดช้ันสมาชิก เปนเคร่ืองมือในการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ และไดมีการจัด

ประชุมกลุมสมาชิก สงผลใหสมาชิก ผูนํากลุมมีความรูความเขาใจ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของ
ตนเองมากยงิ่ ข้ึน

2. ดา นการพัฒนาธุรกจิ ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณม สี ว นรวมในการทาํ ธุรกิจกับสหกรณเ พิ่มข้นึ มีการขยายธรุ กจิ เพ่มิ ขึ้น

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ่ผี า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท่ไี มผ านมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
กลุม เกษตรกรผานเกณฑมาตรฐาน 3 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรที่อยูในความรบั ผิดชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญ หาอปุ สรรคในการดําเนนิ งาน ดังนี้
1.1 สมาชกิ ไมม คี วามรูความเขา ใจในอุดมการณ หลกั การและวธิ ีการสหกรณเ ทา ทคี่ วร สว นใหญก าร

เขามาเปน สมาชิกของสหกรณและกลุมเกษตรกรหวังแตจะรับประโยชนของตนเอง (กเู งนิ เพยี งอยางเดียว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรูในเร่อื งการบริหารธุรกจิ สงผลใหธรุ กจิ ของสหกรณเ กิดการขาดทุน

และไมม กี ารวเิ คราะหถงึ จุดคุมทนุ
๑.๓ คณะกรรมการและฝา ยจัดการไมไ ดน าํ หลักธรรมมาภบิ าลมาใชในการบริหารจดั การองคกร
1.๔ ในการจดั ทาํ แผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ ายประจาํ ปเ พ่ือนําเสนอท่ีประชุมใหญ

พจิ ารณา ขาดการมสี วนรวมจากทุกฝา ย สว นใหญฝายจัดการจะดาํ เนนิ การเพยี งฝายเดยี ว
● ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา

จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะห
จากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมา จัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล โดยตองมกี ารมอบหมายใหก ับคณะกรรมการและฝา ยจัดการทีเ่ กีย่ วขอ งแตละฝาย

สํานกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 56

●สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสาํ เรจ็ ของการปฏบิ ัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรบา นเนิน – บา นกลาง จํากดั
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุม เกษตรกร

จากการแนะนาํ ใหมีการจดั ประชุมเสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจดั ใหมีการประชุม
กลุมสมาชิกและใหท าํ การสํารวจความตอ งการสนิ คา จากสมาชกิ จากการสํารวจความตองการของสมาชิก
สมาชิกมคี วามตองการใหก ลุมจัดหาสนิ คาอุปโภค บริโภคท่ีมคี วามจําเปน ในการดํารงชวี ิตประจาํ วนั เพื่อลด
คา ใชจ ายในครัวเรือน โดยการจดั หาขาวสารมาจาํ หนาย เจาหนาท่ีสง เสริมสหกรณ ไดแนะนําใหสหกรณ
เชอื่ มโยงธุรกจิ กบั สหกรณก ารเกษตรพรหมคีรี จาํ กดั เพื่อมาบริการสมาชกิ ยอดการจําหนายขาวสาร ตง้ั แต
เดอื นตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจ ดั หาขาวสารมาจาํ หนา ยใหแ กส มาชิก จาํ นวน 44.45
ตนั จาํ นวนเงนิ 1,186,058.00 บาทซงึ่ จําหนายราคาถกู กวาทอ งตลาด เฉล่ยี กิโลละ 2 บาท สง ผลใหสมาชิก
ลดคาใชจ ายในครวั เรือนจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรอื น สมาชกิ ใชบ ริการจาํ นวน 98 ราย

เช่อื มโยงเครือขา ยปยุ ผสมจากสหกรณการเกษตรปากพนงั ทําใหส มาชกิ ไดร บั ปุย ท่มี ีคุณภาพ ราคาถูก
ทําใหสมาชกิ ลดตนทุนการผลิต ทาํ ใหสหกรณม ีปรมิ าณธรุ กิจเพม่ิ ขึ้นต้ังแตเ ดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน
2563 สหกรณจ ัดหาปุยผสมจําหนา ยใหแ กส มาชิก จาํ นวน 32.90 ตนั จาํ นวนเงนิ 481,020.00 บาท ซ่งึ
จาํ หนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 6 บาท สง ผลใหส มาชกิ ลดตนทนุ การผลติ ไดปล ะ 1,000 บาท/ไร
สมาชกิ ใชบริการจาํ นวน 15 ราย

ประโยชนท ่ีสหกรณ/กลุมเกษตรกรไดร ับ
- สามารถลดตน ทุนเพราะไดซ ้ือสนิ คา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยกระจายสินคา
- มปี รมิ าณธุรกจิ เพมิ่ ข้ึน
- สมาชิกมสี ว นรวมเพม่ิ ขน้ึ
- มรี ายไดเ พ่ิมขึน้

ประโยชนท ่ีสมาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคาใชจายในครัวเรือนลงได
- สมาชิกไดบรโิ ภคขา วสารทีม่ ีคณุ ภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเซน็ ต

ภาพประกอบ ธรุ กิจจดั หาสนิ คามาจาํ หนาย

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 57

ภาพประกอบ ธรุ กิจรวบรวมผลผลติ จากสมาชิก (ปาลม )

ปจจัยแหงความสําเร็จ
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาที่สงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพ่ือจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานักงานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 58

อาํ เภอ หัวไทร

ประกอบดว ย สหกรณ 4 แหง สมาชกิ 3,049 คน กลมุ เกษตรกร 6 แหง สมาชกิ 433 คน
● ผลการเขา แนะนาํ สงเสริม และแกไ ขปญหาสหกรณและกลุม เกษตรกร

จากการเขาแนะนาํ สง เสรมิ สหกรณแ ละกลุมเกษตรกรท่รี ับผิดชอบในอาํ เภอหัวไทร ตามภารกจิ ของ
กลุมสงเสรมิ สหกรณ 2 สง ผลตอ สหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพฒั นาในองคกรและพัฒนาธุรกิจ ดังนี้

1. ดา นการพัฒนาองคก รของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณและกลมุ เกษตรกร คณะกรรมการ ผูต รวจสอบกิจการและเจา หนา ท่ีสหกรณ ได

จัดทาํ เวทเี สวนา เพ่อื ใหผ นู าํ กลุมเปน ศนู ยก ลางในการพฒั นาสหกรณในทุก ๆ ดาน โดยใชเกณฑ จดั ชน้ั สมาชิก
เปนเคร่อื งมือในการบริหารจัดการธรุ กิจของสหกรณ

2. ดา นการพฒั นาธรุ กิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีสวนรวมในการทําธุรกิจกับสหกรณ/ กลุมเกษตรกรเพม่ิ ข้นึ มี

การขยายธรุ กิจเพ่มิ ขึ้น โดยเฉพาะธรุ กจิ จดั หาสนิ คา มาจาํ หนา ย (สินคาอุปโภค บรโิ ภค) ท่ีมีความจาํ เปนในการ
ดํารงชีวติ ประจําวนั ทาํ ใหล ดคา ใชจ ายในครัวเรอื น

ผลการจดั มาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ่ีผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
สหกรณที่ไมผานมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลมุ เกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 5 แหง จากท้ังหมด 6 แหง

● ปญ หา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
จากการเขา แนะนําสงเสริมสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรทอี่ ยูในความรบั ผดิ ชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ

2 มปี ญ หาอุปสรรคในการดําเนินงาน ดงั นี้
1. ดา นบคุ ลากร
1.1 สมาชิกไมม ีความรูความเขาใจในอุดมการณ หลักการและวธิ ีการสหกรณเทาที่ควร สว นใหญ

การเขามาเปน สมาชิกของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรหวงั แตจะรบั ประโยชนของตนเอง (กเู งินเพยี งอยา งเดียว)
1.2 คณะกรรมการยงั ขาดความรูในเรื่องการบริหารธรุ กิจสงผลใหธ รุ กิจของสหกรณเ กิดการขาดทนุ

และไมม ีการวิเคราะหถึงจุดคุมทนุ
๑.๓ คณะกรรมการและฝายจดั การไมไดนาํ หลักธรรมมาภิบาลมาใชใ นการบริหารจัดการองคก ร
1.๔ ในการจัดทาํ แผนงานและประมาณการรายไดและคาใชจ า ยประจําปเ พ่ือนาํ เสนอทป่ี ระชมุ ใหญ

พจิ ารณา ขาดการมสี วนรว มจากทุกฝาย สว นใหญฝา ยจดั การจะดําเนนิ การเพียงฝา ยเดียว
2. ดานการพัฒนาธุรกจิ ของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
2.1 ทุนดาํ เนินงานของสหกรณไมเ พยี งพอตอ การดําเนินธุรกิจ
2.2 สหกรณและกลมุ เกษตรกรท่ีไมมีโครงสรา งดานการบริหารจัดการองคก ร ทาํ ใหการดําเนนิ งาน

ของสหกรณแ ละกลุมเกษตรกรเกิดการขาดทนุ

สาํ นักงานสหกรณจ ังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 59

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
วิเคราะหผ ลการดําเนินงานของสหกรณ ระดมสมอง กําหนดแนวทางการสรา งความเขมแขง็

รวมกันจดั ทําแผนพฒั นาความเขม แข็ง เนนการพฒั นาดา นระบบการบรหิ ารจดั การองคกร การควบคุมภายใน
การสงเสริมการมสี ว นรวม และธรรมาภบิ าลในการบริหาร วิเคราะหจ ัดทําแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ ซง่ึ แผนที่
จดั ทาํ นั้นสามารถตอบสนองความตองการของสมาชกิ และชุมชน ในการจัดทาํ แผนพัฒนาธรุ กจิ นาํ ขอ มูลการ
ประเมินศักยภาพเบื้องตนของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร มาประกอบการพจิ ารณาในการจัดทาํ แผนพฒั นาสหกรณ
● สหกรณ/ กลุมเกษตรกรที่สะทอนผลสาํ เรจ็ ของการปฏบิ ตั ิงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณปาลมควนชะลิก จํากัด
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

สหกรณสามารถฟนฟูกิจการสหกรณไดสําเร็จ สหกรณลดขาดทุนสะสมไดจํานวน 1,214,330.18
บาท วันส้ินปทางบัญชี 30 มิถุนายน 2563 มีสมาชิกเพ่ิมข้ึนจากปกอน 58 ราย สมาชิกมีสวนรวมในการทํา
ธุรกิจกับสหกรณ 285 คนเพ่ิมข้ึนจากปกอน 45 คน ปริมาณธุรกิจเพิ่มข้ึน 23,268,043 บาท สหกรณมี
กาํ ไรสุทธปิ ระจําป 1,167,722 บาท

สหกรณเชอ่ื มโยงธรุ กิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จาํ กัด เพอ่ื มาบริการสมาชกิ ยอดการจําหนาย
ขาวสาร ตง้ั แตเดือนตุลาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563 สหกรณจัดหาขา วสารมาจําหนา ยใหแกสมาชิก
จาํ นวน 38.40 ตนั จํานวนเงนิ 1,414,279.00 บาทซึง่ จาํ หนายราคาถูกกวา ทองตลาด เฉลี่ยกโิ ลละ 2 บาท
สง ผลใหส มาชิกลดคา ใชจ า ยในครัวเรอื นจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรือน สมาชิกใชบรกิ ารจํานวน 74 ราย

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 60

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณป าลม ควนชะลกิ จาํ กัด

ปจจัยแหง ความสาํ เรจ็
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาที่สงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 61

อาํ เภอ เฉลมิ พระเกยี รติ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชิก 2,144 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 124 คน
● ผลการเขา แนะนํา สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลุมเกษตรกร

จากการเขาแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรท่ีรับผิดชอบในอําเภอเฉลิมพระเกียรติ
ตามภารกิจของกลุมสงเสริมสหกรณ 2 สงผลตอสหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพัฒนาในองคกรและพัฒนา
ธุรกิจ ดงั น้ี

แนะนํา สงเสริม ใหคําปรึกษา ใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร ปฏิบัติตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ
ขอกําหนดตาง ๆ ตามคําสั่งนายทะเบียนสหกรณ นโยบาย มติท่ีประชุมใหญและมติท่ีประชุมคณะกรรมการ
รวมท้ังการแนะนําสงเสริมใหคณะกรรมการดําเนินการกํากับ ดูแล การปฏบิ ัติงานของฝา ยจัดการใหเปนไปตาม
กฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ มติที่ประชุมใหญ หรือมติที่ประชุมคณะกรรมการ โดยมีแนวทางการปฏิบัติงาน
เชน แนะนําใหสหกรณสงสําเนารายงานการประชุมใหญห รือรายงานการประชุมคณะกรรมการใหกลุมสงเสริม
สหกรณท ราบ เปน ตน

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณทผ่ี านมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ่ีไมผ า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
กลมุ เกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 3 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อุปสรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
- สมาชิกสหกรณมสี วนรวมในการซ้อื สนิ คา จากสหกรณน อ ยลง
- สมาชกิ สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรไมสามารถชาํ ระหน้ีสินได
- สหกรณยังไมไ ดดาํ เนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
1. สหกรณสํารวจความตองการสินคาของสมาชิก นําสินคาไปจําหนายตอนประชุมกลุม ออกรานกับ

หนว ยงานราชการตามพืน้ ที่ตาง ๆ และรับยอดซ้อื สินคาตามทอ่ี งคการบริหารสวนตําบลสั่งซ้ือเปนครง้ั คราว
2. สหกรณเชิญสมาชิกช้ันนํามาเสนอปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข และจัดทําฐานขอมูลสมาชิก

และแผนงานการดําเนนิ ธรุ กจิ รวบรวมผลผลติ จากสมาชกิ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 62

●สหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเร็จของการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตรศภุ นิมติ ฯ เฉลิมพระเกียรติ จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เรจ็ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

จากการแนะนําใหม กี ารจัดประชมุ เสวนาคณะกรรมการและสมาชิก แนะนําสหกรณจัดใหมกี ารประชุม
กลุมสมาชิกและใหทําการสํารวจความตองการสินคาจากสมาชิก จากการสํารวจความตองการของสมาชิก
สมาชิกมีความตองการใหกลุมจัดหาสินคาอุปโภค บริโภคที่มีความจําเปนในการดํารงชีวิตประจําวันเพ่ือลด
คาใชจายในครัวเรือน โดยการจัดหาขาวสารมาจําหนาย เจาหนาที่สงเสริมสหกรณ ไดแนะนําใหสหกรณ
เชื่อมโยงธุรกิจกับสหกรณการเกษตรพรหมคีรี จํากัด เพ่ือมาบริการสมาชิก ยอดการจําหนายขาวสาร ต้ังแต
เดือนตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563 สหกรณจัดหาขาวสารมาจําหนายใหแกสมาชิก จํานวน 7.6 ตัน
จํานวนเงิน 273,585.00 บาทซึ่งจําหนายราคาถูกกวาทองตลาด เฉล่ียกิโลละ 2 บาท สงผลใหสมาชิกลด
คา ใชจ า ยในครัวเรือนจาํ นวน 500 บาท/ครวั เรอื น สมาชิกใชบริการจํานวน 35 ราย

ประโยชนท ่สี หกรณ/ กลมุ เกษตรกรไดรับ
- สามารถลดตนทนุ เพราะไดซ้ือสนิ คา ในราคาถูกซื้อมาจากศูนยก ระจายสนิ คา
- มีปริมาณธรุ กจิ เพม่ิ ขึ้น
- สมาชกิ มสี ว นรวมเพิม่ ขึน้
- มรี ายไดเพ่ิมขนึ้

ประโยชนทส่ี มาชิกไดรบั
- สมาชกิ สามารถลดคา ใชจา ยในครวั เรือนลงได
- สมาชิกไดบรโิ ภคขา วสารที่มีคุณภาพ เปน ขาวหอมมะลิ 100 เปอรเ ซน็ ต

ภาพประกอบ ธุรกิจจัดหาสินคา มาจาํ หนาย

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาท่ีสงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ รวมถึงแผนฟนฟูกิจการสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตอง
วิเคราะหจากผลการดําเนินงานของสหกรณท่ีผานมาจัดทําแผนรายเดือน และแตละเดือนจะตองมีการติดตาม
ประเมินผล

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 63

อาํ เภอ พระพรหม

ประกอบดวย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 5,029 คน กลุมเกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 214 คน
● ผลการเขา แนะนาํ สงเสริม และแกไขปญหาสหกรณและกลุมเกษตรกร

1. ดา นการพฒั นาองคก รของสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร
1.1 สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกร คณะกรรมการ ผูตรวจสอบกิจการและเจาหนาท่ีสหกรณ

ไดจัดทําเวทีเสวนา เพื่อใหผูนํากลุมเปนศูนยกลางในการพัฒนาสหกรณในทุก ๆ ดาน โดยใชเกณฑ จัดชั้น
สมาชกิ เปนเคร่อื งมือในการบรหิ ารจดั การธรุ กิจของสหกรณ และไดมกี ารจัดประชุมกลมุ สมาชิก จดั ประชุมผูน ํา
กลมุ สมาชกิ ทําใหสมาชกิ มคี วามรูความเขาใจ มคี วามรคู วามเขาใจในบทบาทหนาท่ขี องตนเองมากยิ่งขน้ึ

1.2 คณะกรรมการมกี ารติดตามงานตามแผนงานประจาํ ปท ี่ไดรบั การอนมุ ัติจากท่ปี ระชมุ ใหญเปน
ประจาํ ทุกเดือนทาํ ใหม ีการควบคุมภายในทดี่ ี

2. ดานการพัฒนาธรุ กิจของสหกรณและกลุมเกษตรกร
2.1 ดานเงินทุน สหกรณและกลุมเกษตรกร สวนใหญพึ่งพาจากแหลง เงนิ ทุนภายใน จากการถือ

หุน และเงนิ ฝากจากสมาชิกเพ่ือลดตนทุนในการบริหารจดั การสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรโดยลดการพ่งึ พาจาก
แหลง เงนิ ทุนภายนอก

2.2 ดานการพัฒนาธรุ กิจ
สมาชิกสหกรณและกลุมเกษตรกรมีสว นรว มในการทาํ ธรุ กจิ กบั สหกรณ/กลมุ เกษตรกรเพิ่มขนึ้

มีการขยายธรุ กิจเพ่มิ ขึน้ โดยเฉพาะธรุ กจิ จัดหาสินคามาจาํ หนา ย (สินคา อุปโภค บรโิ ภค) ท่ีมคี วามจาํ เปน ในการ
ดํารงชีวติ ประจําวัน ทําใหล ดคาใชจายในครวั เรอื น

ผลการจัดมาตรฐาน ประจาํ ป 2563
สหกรณท ผ่ี า นมาตรฐานสหกรณ 1 แหง
สหกรณท ี่ไมผ า นมาตรฐานสหกรณ 2 แหง
กลุมเกษตรกรผา นเกณฑมาตรฐาน 1 แหง จากทั้งหมด 3 แหง

● ปญหา/อุปสรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
จากการแนะนําสงเสริมสหกรณและกลุมเกษตรกรในความรับผิดชอบของกลุมสงเสริมสหกรณ 2 มี

ปญ หาและอุปสรรค ดังน้ี
1. สหกรณและกลุมเกษตรกรมีการพบปะสมาชิกนอย ปละ 1 – 2 คร้ัง สงผลใหสมาชิกไมมีความรู

ความเขา ในในบทบาทหนาทข่ี องตนเอง และไมสามารถทราบปญ หา และความตองการของสมาชกิ อยา งแทจ ริง
2. คณะกรรมการไมคอยแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุมคณะกรรมการประจําเดือน ไมไ ดใชงบการเงิน

มาเปนเครื่องมือในการบริหารจดั การองคกร

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 64

● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา
จัดทําแผนพัฒนาความเขมแข็ง จัดทาํ แผนการพัฒนาการดําเนนิ การแกไขปญหา เนนการพัฒนาดาน

การบริหารจัดการองคกร และธรรมาภิบาลในการบริหาร เกิดจากกระบวนการจัดทําแผนแบบมีสวนรวม
ประกอบดวย คณะกรรมการดําเนินการ ฝายจัดการ ผูนําสมาชิก ท่ีปรึกษาของสหกรณ และเจาหนาท่ีสงเสริม
สหกรณ ดงั นี้

วเิ คราะหผ ลการดาํ เนนิ งานของสหกรณ ระดมสมอง กาํ หนดแนวทางการสรางความเขม แขง็
รวมกนั จัดทําแผน พัฒนาความเขมแข็ง เนนการพฒั นาดานระบบการบริหารจัดการองคก ร การควบคุมภายใน
การสงเสริมการมีสวนรวม และธรรมาภิบาลในการบริหาร วิเคราะหจัดทําแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ ซึ่งแผนที่
จัดทําน้ันสามารถตอบสนองความตองการของสมาชิกและชุมชน ในการจัดทําแผนพัฒนาธุรกิจ นําขอมูลการ
ประเมนิ ศักยภาพเบ้ืองตนของสหกรณ/กลุม เกษตรกร มาประกอบการพิจารณาในการจัดทําแผนใหเ หมาะสมใน
การจัดทาํ แผนพฒั นาสหกรณ/ กลุมเกษตรกร จัดทําแผนปฏิบัติงานหลักในการพฒั นาแกไ ขปญหาสหกรณ/ กลุม
เกษตรกร
● สหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุม เกษตรกร สหกรณการเกษตรพระพรหม จาํ กัด
ผลงาน/ความสําเรจ็ ของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

สมาชกิ มีสว นรวมในการทาํ กิจกรรมและรวมทําธรุ กจิ กบั สหกรณ รอ ยละ 80ของสมาชกิ ทัง้ หมด
สมาชกิ คณะกรรมการ ผตู รวจสอบกจิ การและเจาหนาทีส่ หกรณ ไดจ ดั ทําเวทเี สวนา เพื่อใหผูน ํากลมุ เปน
ศูนยก ลางในการพัฒนาสหกรณในทุกๆ ดา น โดยใชเกณฑ จัดช้ันสมาชิก เปนเครือ่ งมือในการบรหิ ารจัดการ
ธรุ กจิ ของสหกรณ และไดม ีการจัดประชุมกลุมสมาชกิ จดั ประชมุ ผนู ํากลุมสมาชิกทาํ ใหสมาชิกมีความรูความ
เขา ใจ มีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองมากย่งิ ขึ้น

ภาพประกอบ กจิ กรรมประชุมกลมุ สมาชิก

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 65

ภาพประกอบ ธรุ กจิ จดั หาสนิ คามาจําหนา ย

ภาพประกอบ ธรุ กิจรับเงนิ ฝากจากสมาชกิ

ปจจยั แหงความสาํ เรจ็
แนะนําใหมีการประชุม 3 ฝาย เจาหนาท่ีสงเสริม คณะกรรมการ ฝายจัดการเพื่อจัดทําแผนพัฒนา

ความเขมแข็งสหกรณ แผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ แบบมีสวนรวม โดยตองวิเคราะหจากผลการดําเนินงานของ
สหกรณท ่ีผา นมาจดั ทําแผนรายเดอื น และแตล ะเดอื นจะตอ งมีการติดตามประเมนิ ผล

พัฒนาสหกรณใหเปน ศูนยก ลางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนพฒั นาใหเปน สหกรณระดับอําเภอ 1
สหกรณ 1 อาํ เภอ) นนั้ สงผลใหส หกรณพฒั นาความเขมแข็ง และพัฒนาธรุ กจิ ทาํ ใหสหกรณมคี วามเขมแข็ง
และเปนศูนยกลางในการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกและชุมชน

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 66

อําเภอ รอ นพบิ ลู ย

ประกอบดวย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 3,392 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชกิ 890 คน
 ผลการเขา แนะนํา สง เสริม และแกไขปญหาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณแ ละกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเก่ียวกับหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณและขอบังคับ

ระเบียบท่ีถกู ตอง เหมาะสม โดยผานที่ประชุมคณะกรรมการดําเนนิ การประชมุ กกลุมสมาชกิ สหกรณ และการ
เขา รวมประชุมกับกลุมองคก รประชาชนอน่ื ๆ

๑.๒ สงเสริม ติดตามและชวยแกปญหาดานการดําเนินธุรกิจและการบริหารจัดการองคกรให
เปนไปตามกฎหมาย ขอ บังคับ ระเบียบ คําส่งั และกฎหมายอนื่ ท่ีเกยี่ วของดวยวธิ ีการสหกรณตามวัตถุประสงค
การจัดต้งั และการใหบ ริการทีด่ ีแกสมาชิก โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล

๑.๓ สง เสรมิ แนะนํา และตดิ ตามใหม ีการใชอุปกรณก ารตลาด อยางมปี ระสิทธิภาพ
๑.๔ สงเสรมิ แนะนํา ตดิ ตามการเช่ือมโยงธรุ กิจกับสหกรณระหวางสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปที่ไดรับอนุมัติ
จากที่ประชุมใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนนิ งานไมใหเ กดิ ขอ บกพรอ ง การทจุ รติ และสงเสรมิ ใหผ า นเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพ่ือเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนําความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะจากสมาชิกใหค ณะกรรมการพจิ ารณาแกไขปรับปรงุ
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของที่ประชุม
ใหญและทป่ี ระชมุ คณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนาํ สง เสรมิ ชวยเหลอื การจดั ทาํ บญั ชีของกลุมเกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลุมเกษตรกรท่ีหยุดดําเนินธุรกิจ เพ่ือใหกลับมาดําเนินธุรกิจ
มีการเพิ่มปรมิ าณธรุ กิจ
๖. ปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ/กจิ กรรมทเ่ี ปนภารกิจของกลมุ งานวิชาการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุม
เกษตรกรพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดบั ชัน้ การควบคมุ ภายในของสหกรณ การสง เสริม
ธรรมาภิบาล ลดภาระหนแี้ ละชดเชยดอกเบ้ียสมาชิกสหกรณผูประสบอุทกภยั การติดตามการใชเงนิ กตู า ง ๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพฒั นาธุรกิจสหกรณ โดยสง เสริมการสรางเครือขายและเช่ือมโยงธุรกิจ
ระหวา งสหกรณ รวมทัง้ การสง เสริมกลมุ อาชีพในสหกรณ
๖.3 กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูต รวจการสหกรณ สหกรณละ
๑ ครั้ง รวมท้งั การใหคําแนะนําและการรายงานผลการแกไขขอสงั เกตของผตู รวจการสหกรณ
6.4 กลุมจัดตั้งและสงเสริมสหกรณกิจกรรมสงเสริมกิจกรรมสหกรณในโรงเรือนตํารวจตระ
เวนชายแดน การประกวดการบันทกึ รายงานการประชุม การบนั ทกึ บญั ชี การศกึ ษาดงู าน สหกรณดเี ดน

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 67

 ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
1. ปญ หาภายในองคกรสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
1.๑ ดานสมาชกิ
สมาชิกขาดการมสี ว นรวมในการดําเนนิ ธรุ กจิ กบั สหกรณอยางตอเนื่อง
1.2 ดานคณะกรรมการ
คณะกรรมการขาดความรู ความเขาใจในบทบาทหนาที่ของตนเองการมอบหมายงาน

การดําเนนิ งานตามแผนงานใหประสมความสําเรจ็
1.3 ผตู รวจสอบกจิ การ
ผูตรวจสอบกจิ การ ยงั ขาดความรู ความเขา ใจในการตรวจสอบเชงิ ลึก
1.4 การดาํ เนินธรุ กจิ
ธุรกิจของสหกรณยังไมครบวงจรโดยเฉพาะธุรกิจรวบรวมผลผลิต บุคลากรในห

สกรณขาดการขับเคลื่อนอยางจริงจัง ทําแตธุรกิจแบบเดิมเนนสินเช่ือ สําหรับธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนายยัง
ขาดทุน

1.5 ดานฝา ยจดั การ
เจา หนา ที่ของสหกรณยังขาดความกระตือรอื รนในการขับเคลอื่ นพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ

ใหม ีความเขม แข็งการขบั เคลอื่ นตามแผนกลยุทธ
 ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญหา

1. จัดใหม ีการศึกษาอบรมสมาชิก คณะกรรมการและเจาหนาท่สี หกรณอ ยา งตอเนื่องทุกป
2. จัดใหม ีการศึกษาดงู านสหกรณทปี่ ระสมความสําเรจ็ แลว นํามาขบั เคลื่อนประยุกตใ ช
3. ทบทวนแผนกลยุทธทุกป
4. สหกรณควรมีธรุ กิจครบวงจรสอดคลอ งกบั ความตอ งการสมาชิก มีสนิ คา ตรงตามความตอ งการของ
สมาชิกหลากหลายรวมถงึ รบั ฝากขายผลผลิตสมาชกิ
 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสําเร็จของการปฏิบตั ิงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลุมเกษตรกร สหกรณการเกษตรเขานอ ย จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
สหกรณก ารเกษตรระดบั อําเภอ
1. ชือ่ สหกรณก ารเกษตรเขานอ ย จํากดั ประเภทของสหกรณก ารเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 30 มิถนุ ายน 2563 จํานวน 1,390 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา ปาลมนํา้ มนั
๔. สหกรณด ําเนินธุรกิจ สนิ เช่ือ เปน ธรุ กิจหลัก และธรุ กิจอื่นประกอบดวย

- สนิ เชื่อ
- รบั ฝากเงนิ
- ซ้อื (ปยุ ขา วสาร อาหารสัตว วสั ดกุ ารเกษตร)

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 68

5. ผลการดาํ เนินงานท่โี ดดเดน ของสหกรณ มีสวัสดกิ ารตา ง ๆ ใหก ับสมาชิก ธรุ กจิ สนิ เชื่อ,ธรุ กจิ จดั หา
6. บทบาทของสหกรณในการขับเคล่ือนงานตามนโยบายของรฐั เปน แมขายในอําเภอรอนพิบูลย
7. เปน สหกรณบ ริการสมาชกิ ตามจดุ ตาง ๆ ทกุ เดือน
8. มีโครงการระดมทนุ เปนกรณีพิเศษ
9. มีการจดั ชน้ั สมาชกิ
10. มกี ารเชื่อมโยงธรุ กิจระหวางสหกรณ
11. เขารว มสนับสนุนกจิ กรรมสหกรณนักเรียนโรงเรียนตชด.เขาวงั และโรงเรียนตชด.บานควนมีชยั
12. เขา รวมกจิ กรรมวนั สหกรณนกั เรยี น

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณก ารเกษตรเขานอ ย จํากดั

สํานักงานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 69

ปจ จยั แหง ความสาํ เรจ็
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพื่อทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธุรกิจสหกรณ โดยใชเ คร่อื งมอื และเทคนิคตางๆ ดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวิเคราะหอ ัตราสว นทางการเงนิ
- เกณฑก ารประเมนิ ความเขม แขง็
- เกณฑม าตรฐานสหกรณ
นาํ ผลการวิเคราะหท ่ีไดไปนําเสนอในการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการฯ รว มกบั คณะกรรมการ/ฝา ย

จดั การ/ผนู ํากลุม/หนว ยงานท่ีเก่ยี วของ
2. แนะนําใหสหกรณมีแผนการออกบริการในพ้ืนท่ีทุกเดือนในวันท่ี 4,5,6,7,8 เพ่ือสรางความ

เขม แข็งสรางการมสี ว นรวมของสมาชิก
3. ไดแนะนําขับเคลื่อนโครงการเช่ือมโยงธุรกิจระหวางสหกรณ/กลุมเกษตรกร เพื่อเพ่ิมปริมาณธุรกิจ

รวมกัน ซื้อ-ขาย ไดสินคาคุณภาพดี ราคาถูก มาจําหนายแกสมาชิก และเครือขายโดยส่ังซ้ือขาวสารของ
สหกรณการเกษตรกันทลักษณ จํากัด จังหวัดศรีสะเกษ สหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ดจวนพัฒนา จํากัด
และส่ังซ้อื ขาวสารสหกรณการเกษตรวสิ ยั จํากดั จังหวดั รอ ยเอ็ด

4. ไดแนะนําใหสหกรณปฏิบัติตามหลักสหกรณขอท่ี 7 เอื้ออาทรตอชุมชนบริจาคทุนสาธารณประโยชน
เปนขาวสารแกนกั เรียนของโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานเขาวัง ตําบลหินตก อําเภอรอนพิบูลย จังหวัด
นครศรีธรรมราช ซ่งึ เปนโครงการพระราชดาํ รใิ นสมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

5. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินงานใหสหกรณมีการประชมุ กลุมสมาชิก เพื่อขับเคล่ือน
การดาํ เนินงานสรา งการมสี ว นรว มของสมาชิกอยา งตอเนื่อง

สํานักงานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 70

อําเภอ บางขัน

ประกอบดวย สหกรณ 8 แหง สมาชกิ 1,017 คน กลุมเกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 151 คน
 ผลการเขา แนะนํา สงเสริม และแกไขปญหาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเก่ียวกับหลักการ วิธีการ อุดมการณสหกรณและขอบังคับ

ระเบียบที่ถูกตอง เหมาะสม โดยผานท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนนิ การประชุมกกลุม สมาชิกสหกรณ และการ
เขารว มประชมุ กบั กลมุ องคก รประชาชนอน่ื ๆ

๑.๒ สงเสริม ติดตามและชวยแกปญหาดานการดําเนินธุรกิจและการบริหารจัดการองคกรให
เปนไปตามกฎหมาย ขอ บังคับ ระเบียบ คําส่งั และกฎหมายอืน่ ทเี่ ก่ียวของดวยวิธีการสหกรณต ามวัตถุประสงค
การจัดต้งั และการใหบ รกิ ารที่ดแี กส มาชกิ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

๑.๓ สงเสรมิ แนะนาํ และติดตามใหม ีการใชอ ปุ กรณการตลาด อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเชื่อมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงิน
ระหวางสหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปที่ไดรับอนุมัติ
จากทปี่ ระชมุ ใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหน ําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพ่ือปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนินงานไมใ หเกิดขอ บกพรอง การทจุ ริต และสงเสรมิ ใหผ า นเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพื่อเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนาํ ความคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะจากสมาชิกใหค ณะกรรมการพิจารณาแกไขปรบั ปรุง
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของที่ประชุม
ใหญแ ละทปี่ ระชมุ คณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนาํ สงเสรมิ ชว ยเหลอื การจดั ทําบญั ชีของกลมุ เกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลุมเกษตรกรทห่ี ยุดดาํ เนนิ ธุรกจิ เพอื่ ใหก ลบั มาดําเนินธุรกจิ
๖. ปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมทีเ่ ปนภารกจิ ของกลุมงานวชิ าการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุม
เกษตรกรพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การสหกรณ การยกระดับช้นั การควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสริม
ธรรมาภิบาล ลดภาระหน้แี ละชดเชยดอกเบี้ยสมาชกิ สหกรณผปู ระสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเงินกูตางๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพฒั นาธุรกิจสหกรณ โดยสง เสริมการสรางเครือขายและเชื่อมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทงั้ การสงเสรมิ กลมุ อาชีพในสหกรณ
๖.3 กลมุ ตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณใ นฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณล ะ
๑ ครัง้ รวมทัง้ การใหคําแนะนาํ และการรายงานผลการแกไขขอสังเกตของผตู รวจการสหกรณ

สํานกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 71

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร
1. ปญ หาดานบุคลากรของสหกรณ
1.๑ ดานสมาชิก สวนใหญยังขาดความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักการ อุดมการณ และวิธีการ

สหกรณ และบทบาทหนาท่ีของตน สงผลใหรวมทําธุรกิจกับสหกรณนอย โดยเฉพาะสหกรณที่ประสบภาวะ
ขาดทนุ จากการดําเนนิ งาน

1.๒ ดานกรรมการดําเนินการและฝายจัดการ สวนใหญยังไมเขาใจบทบาท หนาท่ีของตน
และยังขาดความรวมมือในการแกไขปญหาการดําเนินงานและแนวคิดในการพัฒนาสหกรณ กรรมการที่ไดรับ
การเลือกต้ังเขามาใหมยังขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ วิธีการสหกรณ และบทบาท
หนาท่ีของตน

1.3 ผตู รวจสอบกิจการ สวนใหญย ังขาดความรคู วามสามารถในการตรวจสอบกิจการสหกรณ
เน่ืองจากสวนใหญยังไมผานการอบรมหลักสูตรผูตรวจสอบกิจการที่กรมตรวจบัญชีสหกรณรับรอง สงผลใหไม
สามารถปฏิบัตหิ นาทตี่ ามบทบาทหนาท่ขี องตนไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

2. เน่ืองจากสหกรณ/กลุมเกษตรกร สวนใหญในอําเภอบางขันดําเนินธุรกิจแปรรูปยางพารา ซ่ึงมี
ภาวะการแขงขันคอยขางสูงกับภาคเอกชนในพ้ืนท่ี ประกอบกับราคายางพาราตกต่ําและมีความผันผวน สงผล
ใหสหกรณส ว นใหญประสบปญหาขาดทุนจากการดาํ เนนิ งาน เน่ืองจากมีตน ทุนการผลิตท่ีสูง
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา

1. วิเคราะหขอ มูลและบรบิ ทของสหกรณโ ดยใชเ ครื่องมือและเทคนิคตางๆ ไดแ ก SWOT Analysis
การวิเคราะหอ ตั ราสว นทางการเงนิ , เกณฑการมาตรฐานสหกรณ, เกณฑก ารประเมินความเขม แขง็ ของสหกรณ
เพอ่ื นําผลการวิเคราะหมาจัดทําแผนการแนะนําสง เสรมิ พฒั นา และกาํ กับดแู ลสหกรณ

2. เขารวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณ เพ่ือแนะนําสงเสริมตามแผนการแนะนําสงเสริม
พรอมทั้งใชเวทีตางๆ ในการแนะนําสงเสริมสหกรณและขับเคลื่อนพัฒนาสหกรณ เชน การประชุมเชิง
ปฏิบัติการจดั ทําแผนกลยุทธข องสหกรณ การประชุมใหญส ามัญประจาํ ป การประชมุ สามฝา ยรวมกบั หนวยงาน
ทีเ่ ก่ียวของ เปน ตน

3. ติดตามผลการดําเนินงานของสหกรณ พรอมสรุปปญหา/อุปสรรคของสหกรณ ที่ไมเปนไปตาม
แผนงานทวี่ างไว เพอื่ หาแนวทางการปรับปรุงแกไ ข

4. ใหความชวยเหลือ ประสานงานการไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณและ
หนวยงานท่ีเกี่ยวของ ในการเขารวมโครงการตางๆ ตามนโยบายท่ีสําคัญของรัฐ เพ่ือใหสหกรณดําเนินการได
ทนั เวลาท่กี ําหนด

สํานกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 72

ภาพกิจกรรม การดาํ เนินงานของสหกรณกองทุนสวนยางโสตประชา จํากัด

 สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรที่สะทอนผลสําเร็จของการปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณกองทนุ สวนยางโสตประชา จํากดั
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

1. ช่ือ สหกรณก องทุนสวนยางโสตประชา จํากัด ประเภทของสหกรณ สหกรณก ารเกษตร
2. จํานวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 มีนาคม 2563 จํานวน 226 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลักของสหกรณ ยางพารา ปาลม นาํ้ มนั
4. ธรุ กิจทสี่ หกรณดําเนินการ ธรุ กิจสนิ เชือ่ ธุรกจิ การรับฝากเงิน ธรุ กจิ จัดหาสินคามาจําหนา ย
ธรุ กจิ รวบรวมผลติ ผลการเกษตร (ปาลม นํา้ มนั ผลิตภณั ฑยางพารา) ธรุ กจิ แปรรูปผลิตผลการเกษตร (แปรรปู
ปยุ ผสม, แปรรูปยางพารา และแปรรปู ยางคอมปาวด) ซงึ่ สหกรณด าํ เนนิ ธุรกิจครบวงจรสอดคลอ งกบั ความ
ตองการของสมาชกิ
5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดนของสหกรณ สหกรณกองทุนสวนยางโสตประชา จํากัด เปนสหกรณ
แหงเดียวในจังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีดําเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลยางพาราจากสมาชิกมาแปรรูปเปน
ผลิตภัณฑย างคอมปาวด ซึ่งสงผลใหสมาชกิ สามารถขายผลิตผลทางการเกษตรไดในราคาท่สี ูง และเกิดการจาง
แรงงานแกลูกหลานสมาชิกในชุมชน และสหกรณไดเขารวมโครงการสงเสริมการใชยางในภาครัฐในการเปน
ผูผลิตแผนยางธรรมชาติครอบกําแพงคอนกรีต และหลักนําทางยางธรรมชาติ ซึ่งกระทรวงคมนาคมและ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดมีการทําบันทึกขอตกลงความรวมมือในการนําอุปกรณทางดานการจราจรและ
อํานวยความปลอดภัยในหนวยงานภาครัฐเพื่อยกระดับความปลอดภัยทางถนน ซึ่งเปนการสงเสริมสนับสนุน
ผลิตผลจากเกษตรกรชาวสวนยางพาราในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดใกลเคียง ทําใหราคายางพารา
ปรับตวั สงู ขนึ้ ซ่ึงเปนผลดีสาํ หรบั เกษตรกรชาวสวนยาง

สาํ นักงานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 73

อําเภอ จฬุ าภรณ

ประกอบดวย สหกรณ 2 แหง สมาชกิ 299 คน กลมุ เกษตรกร 2 แหง สมาชกิ 210 คน
 ผลการเขาแนะนํา สง เสริม และแกไ ขปญ หาสหกรณแ ละกลุมเกษตรกร

๑. การสง เสรมิ สหกรณแ ละกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรูเกี่ยวกับหลักการ วธิ ีการ อดุ มการณส หกรณและขอบังคับระเบียบ

ท่ีถูกตอ ง เหมาะสม โดยผานทีป่ ระชุมคณะกรรมการดําเนิน การประชุมกกลุมสมาชิกสหกรณ และการเขา รวม
ประชุมกับกลุมองคก รประชาชนอื่น ๆ

๑.๒ สง เสรมิ ตดิ ตามและชวยแกปญหาดานการดาํ เนนิ ธุรกิจและการบรหิ ารจดั การองคกรใหเ ปน ไป
ตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวของดวยวิธีการสหกรณตามวัตถุประสงคการ
จัดตั้ง และการใหบรกิ ารที่ดแี กสมาชกิ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล

๑.๓ สงเสริม แนะนํา และติดตามใหม ีการใชอปุ กรณการตลาด อยางมีประสิทธภิ าพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเช่ือมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงินระหวาง
สหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปท่ีไดรับอนุมัติจากท่ี
ประชุมใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตางๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพ่ือปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนนิ งานไมใหเกดิ ขอบกพรอง การทุจรติ และสงเสรมิ ใหผานเกณฑมาตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพ่ือเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมท้ัง
การนําความคิดเหน็ และขอเสนอแนะจากสมาชกิ ใหค ณะกรรมการพจิ ารณาแกไขปรับปรุง
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของท่ีประชุม
ใหญแ ละท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการ
๔. แนะนํา สง เสริม ชวยเหลือการจัดทําบัญชขี องกลมุ เกษตรกร
๕. ตดิ ตาม ตรวจสอบ แนะนําสหกรณ/กลมุ เกษตรกรที่หยุดดําเนินธรุ กิจ เพื่อใหก ลับมาดาํ เนนิ ธรุ กจิ
๖. ปฏบิ ัติงานตามโครงการ/กิจกรรมท่เี ปนภารกจิ ของกลมุ งานวิชาการ
๖.๑ กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร
พฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดับช้ันการควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสรมิ ธรรมาภิ
บาล ลดภาระหนีแ้ ละชดเชยดอกเบี้ยสมาชกิ สหกรณผ ูประสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเ งนิ กตู างๆ
๖.๒ กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ โดยสงเสริมการสรางเครือขายและเชื่อมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทั้งการสง เสรมิ กลมุ อาชพี ในสหกรณ
๖.๓ กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณละ ๑
ครัง้ รวมทั้งการใหค าํ แนะนําและการรายงานผลการแกไขขอ สังเกตของผตู รวจการสหกรณ
๖.๔ กลุมจัดต้ังและสงเสรมิ สหกรณ วเิ คราะหข อมูลตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการจดั ตั้งสหกรณ เพื่อให
คําแนะนําแกคณะผูจัดต้ังเกี่ยวกับการขอจดทะเบียนจัดตั้งเปนสหกรณ ศึกษาวิเคราะหถึงความเปนไปไดของ
การจดั ตัง้ สหกรณ และผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ โดยเปนเจาภาพหลกั ประสานกบั ทุกกลมุ ฝาย ในการจัดต้งั สหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 74

 ปญหา/อุปสรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
1. การจัดต้ังสหกรณ/กลุมเกษตรบางสถาบัน ไมไดเกิดขึ้นจากความตองการ“สหกรณ”ของ

ประชาชนโดยแทจริง แตจัดตั้งขึ้นจากความ“อยาก”ของหนวยงานภาครัฐหรือดวยแรงผลักดันทางการเมือง
หรือดวยอํานาจของคนบางคน ภายหลังเม่อื หนวยงานเปลี่ยนผูบริหารเปล่ยี นนโยบาย หรืออํานาจทางการเมือง
เส่อื มลง จะสงผลตอเสถยี รภาพและความมั่นคงของสหกรณ/กลุมเกษตรกรอยางหลีกเล่ียงไมได

๒. ปญหาภายในองคก รสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
๒.๑ ดานสมาชกิ
คุณภาพของสมาชิกเขาใหมหลังการกอตั้ง จํานวนไมนอยเปนผูไมมีคุณภาพในฐานะสมาชิก

สหกรณ เขามาเปนสมาชิกสหกรณเพียงเพื่อหวังประโยชนจากสหกรณ ไมใสใจท่ีจะศึกษารับความรูดานการ
สหกรณไมปฏบิ ัตหิ นา ท่ขี องสมาชกิ อยา งแทจรงิ

๒.๒ ดา นกรรมการและผตู รวจสอบกิจการ
มีกรรมการของสหกรณจํานวนหนึ่งท่ีอาสาเขามาเปนกรรมการเพื่อหวังจะไดประโยชนจาก
สหกรณ หรือเพ่อื หวังประโยชนท างสังคม/การเมอื ง ไมใสใจศึกษากจิ การงานของสหกรณ ไมแสดงความคดิ เห็น
ใด เปนกรรมการตรายางเพื่อประทับตราเอกสารตามท่ีฝายจัดการเสนอข้ึนมา ในสวนของสหกรณ/กลุม
เกษตรกรที่ไมมีพนกั งานเจา หนาที่ มปี ระธานกรรมการ และ/หรือ กรรมการอ่ืนทําหนา ท่ผี ูจัดการและเจาหนาที่
ทาํ ใหอํานาจเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด
ผูตรวจสอบกิจการบางคน/บางสถาบันไมปฏิบัติหนาที่ตามอํานาจหนาที่ของตน การ
ตรวจสอบกิจการตรวจสอบตามเอกสารท่ีพนักงานเจาหนาที่หยิบย่ืนใหซึ่งจะไมไดประโยชนใดๆจากการตรวจ
การ
๒.๓ ดานฝายจดั การ
ผูจัดการ/ฝายจัดการของบางสหกรณมีช่ัวโมงบินสูง สามารถดําเนินการใดๆใหประธาน
กรรมการหรือคณะกรรมการทั้งคณะอยูในอํานาจของตน สหกรณมีขอบกพรองทางการเงิน/บัญชี ขาดการ
กระตือรือรนในการทํางาน
2.4 การดาํ เนินธรุ กิจไมค รบวงจร
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไขปญ หา
๑. การจัดต้งั สหกรณ/ เกษตรกรตองมาจากความตองการของประชาชนอยา งแทจรงิ เทาน้นั
๒. บุคลที่สมัครเขาเปนสมาชิกตองผานการอบรมบทบาทหนาที่ของสมาชิกเปนเบ้ืองตน และควรใช
ขอมูลท่ีเปนสิทธิและหนาที่ของสมาชิก นํามาจัดช้ันสมาชิกอยางเขมขน เพ่ือประโยชนการใหบริการและสิทธิ
ประโยชนท ่ีแตกตาง
๓. ในสหกรณท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ควรกําหนดท่ีคุณสมบัติของผูท่ีจะเขาสูตําแหนง
ประธานกรรมการและกรรมการอ่ืนท่เี หมาะสมกับเศรษฐกจิ ของสหกรณ
๔. การจัดจางผูจัดการและเจาหนาที่ตองโปรงใสและเปนธรรม การจัดทําสัญญาจางตองกําหนด
เงอ่ื นไขการประเมนิ คุณภาพทุก ๆ หวงเวลา ๓ – ๕ ป รวมทั้งกําหนดเงอื่ นไขใหพนักงานเจาหนาทีไ่ ดสบั เปลย่ี น
หมุนเวยี นการปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นหว งเวลาเดยี วกบั การประเมินคณุ ภาพ
5. สหกรณควรดาํ เนินธรุ กจิ ครบวงจรสอดคลอ งกับความตองการของสมาชิก

สาํ นักงานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 75

 สหกรณ/ กลุม เกษตรกรที่สะทอนผลสําเร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลุมเกษตรกร สหกรณก องทุนสวนยางเทพทองพัฒนา จํากัด
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/ กลุมเกษตรกร

สหกรณการเกษตรระดบั อาํ เภอ
1. ช่ือสหกรณก องทนุ สวนยางเทพทองพัฒนา จํากดั ประเภทของสหกรณการเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 มนี าคม 2563 จาํ นวน 232 ราย
3. ผลผลิตการเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา
๔. สหกรณดาํ เนินธุรกิจ ขาย (รวบรวมน้ํายางสด แปรรูปเปนยางแผนรมควนั ) เปนธุรกิจหลัก

และธรุ กจิ อน่ื ประกอบดว ย
- รับฝากเงนิ
- ซ้อื (ปุย วัสดกุ ารเกษตร)

5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดนของสหกรณ สหกรณรวบรวมผลผลิต (น้ํายางสด) จากสมาชิก
และเกษตรกรทั่วไป ดวยความยุติธรรม สามารถสรางอํานาจตอรองกับตลาดและยกระดับราคาผลผลิตใน
ภาพรวมของอําเภอได

6. มกี ารเชอ่ื มโยงธุรกิจปุยกับสหกรณก องทุนสวนยางเสมด็ จวดพฒั นา จํากัด

ภาพถาย การมสี ว นรว มของสหกรณก องทนุ สวนยางเทพทองพฒั นา จาํ กัด

สาํ นกั งานสหกรณจังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 76

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพ่ือทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธรุ กิจสหกรณ โดยใชเคร่อื งมือและเทคนิคตา ง ๆดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวเิ คราะหอตั ราสวนทางการเงิน
- เกณฑการประเมินความเขมแขง็
- เกณฑมาตรฐานสหกรณ
นาํ ผลการวิเคราะหท่ีไดไปนาํ เสนอในการประชุมเชงิ ปฏิบัติการฯ รวมกับคณะกรรมการ/ฝา ย

จัดการ/ผนู าํ กลุม /หนวยงานท่ีเก่ยี วของ
2. แนะนําใหสหกรณรวบรวมน้ํายางสดจากสมาชิก เพื่อแปรรูปเปนยางกอนถวยโดยซื้อแบบกงสี

ทําใหสหกรณม ผี ลการดาํ เนินงานจากธรุ กิจแปรรปู มกี ําไรอยางตอเนื่อง ลดความเสย่ี งดานการขาดทนุ
3. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการสํารวจความตองการปุยผสมของสมาชิก และมีการ

เช่ือมโยงเครือขายระหวางสหกรณดานปุยผสมโดยไดเชื่อมโยงกับสหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ดจวนพัฒนา
จํากัด

สํานกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 77

อําเภอ ชะอวด

ประกอบดวย สหกรณ 7 แหง สมาชกิ 3,087 คน กลุม เกษตรกร 4 แหง สมาชกิ 390 คน
 ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไขปญ หาสหกรณแ ละกลมุ เกษตรกร

๑. การสง เสริมสหกรณและกลุมเกษตร
๑.๑ สงเสริมและเผยแพรความรเู ก่ยี วกับหลกั การ วิธีการ อุดมการณส หกรณและขอบังคับระเบียบ

ที่ถูกตอ ง เหมาะสม โดยผานทป่ี ระชุมคณะกรรมการดําเนิน การประชุมกกลุมสมาชิกสหกรณ และการเขารวม
ประชุมกับกลมุ องคกรประชาชนอนื่ ๆ

๑.๒ สง เสริม ตดิ ตามและชว ยแกปญ หาดานการดําเนนิ ธรุ กจิ และการบริหารจัดการองคกรใหเปน ไป
ตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ คําส่ัง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของดวยวิธีการสหกรณตามวัตถุประสงคการ
จดั ตง้ั และการใหบริการท่ีดแี กสมาชกิ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล

๑.๓ สง เสริม แนะนาํ และตดิ ตามใหมกี ารใชอ ปุ กรณก ารตลาด อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
๑.๔ สงเสริม แนะนํา ติดตามการเช่ือมโยงธุรกิจกับสหกรณอ่ืน โดยเฉพาะการรับฝากเงินระหวาง
สหกรณ
๑.๕ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหดําเนินงานเปนไปตามแผนงานประจําปท่ีไดรับอนุมัติจากท่ี
ประชมุ ใหญ
๑.๖ สงเสริมสหกรณ/กลุมเกษตรกรใหนําขอมูลทางบัญชี รายงานการตรวจการ รายงานการ
ตรวจสอบกิจการ ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ไปใชในการประเมินสถานภาพ เพื่อปรับปรุงกระบวนการบริหาร
และวางแผนการดําเนินงานไมใ หเ กิดขอบกพรอง การทุจรติ และสงเสริมใหผ า นเกณฑม าตรฐาน
๒. เขารวมประชุมกลุมสมาชิกสหกรณ เพื่อเผยแพรอุดมการณ หลักการและวิธีการสหกรณ รวมทั้ง
การนําความคดิ เห็นและขอเสนอแนะจากสมาชกิ ใหคณะกรรมการพิจารณาแกไขปรบั ปรงุ
๓. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการใหคําแนะนํา ขอเสนอแนะ ขอสังเกตในการดําเนินงาน
ภายใตกรอบของกฎหมาย ขอบังคับ คําส่ัง/คําแนะนําของนายทะเบียนสหกรณ ระเบียบและมติของท่ีประชุม
ใหญแ ละทปี่ ระชมุ คณะกรรมการดาํ เนินการ
๔. แนะนาํ สง เสรมิ ชว ยเหลอื การจดั ทําบัญชีของกลุมเกษตรกร
๕. ติดตาม ตรวจสอบ แนะนาํ สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรท่หี ยุดดาํ เนินธรุ กจิ เพื่อใหกลับมาดําเนินธรุ กิจ
๖. ปฏบิ ัติงานตามโครงการ/กจิ กรรมท่เี ปนภารกจิ ของกลุม งานวชิ าการ
๖.1 กลุมสงเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ โดยสงเสริมใหสหกรณ/กลุมเกษตรกร
พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ การยกระดับชั้นการควบคมุ ภายในของสหกรณ การสงเสรมิ ธรรมาภิ
บาล ลดภาระหนแี้ ละชดเชยดอกเบีย้ สมาชกิ สหกรณผปู ระสบอุทกภัย การตดิ ตามการใชเ งินกตู า งๆ
๖.2 กลุมสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ โดยสงเสริมการสรางเครือขายและเช่ือมโยงธุรกิจ
ระหวางสหกรณ รวมทงั้ การสง เสริมกลุม อาชพี ในสหกรณ
๖.3 กลุมตรวจการสหกรณ โดยการตรวจการสหกรณในฐานะผูตรวจการสหกรณ สหกรณล ะ
๑ คร้งั รวมทั้งการใหค ําแนะนําและการรายงานผลการแกไขขอสงั เกตของผตู รวจการสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 78

 ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร
1. ปญ หาภายในองคก รสหกรณ/กลุม เกษตรกร
1.๑ ดา นสมาชกิ
คุณภาพของสมาชิกเขาใหมหลังการกอตั้ง จํานวนไมนอยเปนผูไมมีคุณภาพในฐานะสมาชิก

สหกรณ เขามาเปนสมาชิกสหกรณเพียงเพื่อหวังประโยชนจากสหกรณ ไมใสใจท่ีจะศึกษารับความรูดานการ
สหกรณไ มปฏบิ ตั หิ นาท่ขี องสมาชิกอยา งแทจ ริง

1.๒ ดา นกรรมการและผูต รวจสอบกิจการ
มีกรรมการของสหกรณจํานวนหน่ึงท่ีอาสาเขามาเปนกรรมการเพื่อหวังจะไดประโยชนจาก

สหกรณ หรือเพือ่ หวงั ประโยชนท างสังคม/การเมือง ไมใสใจศกึ ษากจิ การงานของสหกรณ ไมแสดงความคิดเห็น
ใด เปนกรรมการตรายางเพ่ือประทับตราเอกสารตามที่ฝายจัดการเสนอข้ึนมา ในสวนของสหกรณ/กลุม
เกษตรกรทีไ่ มมพี นกั งานเจา หนา ท่ี มปี ระธานกรรมการ และ/หรอื กรรมการอื่นทาํ หนา ทผ่ี ูจัดการและเจาหนาที่
ทําใหอ าํ นาจเบด็ เสรจ็ เด็ดขาด

ผูตรวจสอบกิจการบางคน/บางสถาบันไมปฏิบัติหนาท่ีตามอํานาจหนาที่ของตน การ
ตรวจสอบกิจการตรวจสอบตามเอกสารท่ีพนักงานเจาหนาทหี่ ยิบยื่นใหซ่ึงจะไมไดประโยชนใด ๆจากการตรวจ
การ

1.๓ ดา นฝา ยจดั การ
ผูจัดการ/ฝายจัดการของบางสหกรณมีช่ัวโมงบินสูง สามารถดําเนินการใด ๆใหประธาน

กรรมการหรือคณะกรรมการทั้งคณะอยูในอํานาจของตน สหกรณมีขอบกพรองทางการเงิน/บัญชี ขาดการ
กระตอื รือรน ในการทาํ งาน

1.4 การดาํ เนินธุรกิจไมครบวงจร
 ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ขปญ หา

1. บุคคลที่สมัครเขาเปนสมาชิกตองผานการอบรมบทบาทหนาที่ของสมาชิกเปนเบ้ืองตน และควรใช
ขอมูลท่ีเปนสิทธิและหนาท่ีของสมาชิก นํามาจัดชั้นสมาชิกอยางเขมขน เพื่อประโยชนการใหบริการและสิทธิ
ประโยชนท ี่แตกตา ง

2. ในสหกรณท่ีมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ควรกําหนดที่คุณสมบัติของผูท่ีจะเขาสูตําแหนง
ประธานกรรมการและกรรมการอืน่ ท่เี หมาะสมกบั เศรษฐกจิ ของสหกรณ

3. การจัดจางผูจัดการและเจาหนาที่ตองโปรงใสและเปนธรรม การจัดทําสัญญาจางตองกําหนด
เงอื่ นไขการประเมนิ คุณภาพทกุ ๆ หวงเวลา ๓ – ๕ ป รวมทั้งกําหนดเง่ือนไขใหพ นักงานเจาหนาที่ไดสับเปลีย่ น
หมุนเวียนการปฏิบัติหนาทใ่ี นหวงเวลาเดยี วกบั การประเมนิ คณุ ภาพ

4. สหกรณควรดาํ เนินธรุ กิจครบวงจรสอดคลอ งกับความตอ งการของสมาชิก

สาํ นกั งานสหกรณจ งั หวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 79

 สหกรณ/กลมุ เกษตรกรท่ีสะทอนผลสําเรจ็ ของการปฏิบัติงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/ กลมุ เกษตรกร สหกรณการเกษตรศภุ นมิ ติ ชะอวดพัฒนา จาํ กดั
ผลงาน/ความสําเร็จของสหกรณ/กลุมเกษตรกร

สหกรณก ารเกษตรระดบั อําเภอ
๑. ชื่อสหกรณ สหกรณก ารเกษตรศุภนมิ ิตชะอวดพฒั นา จํากดั ประเภทสหกรณก ารเกษตร
๒. จาํ นวนสมาชกิ สหกรณ ณ 31 มนี าคม ๒๕๖๓ จาํ นวน 1,843 ราย
๓. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ ปาลม นํา้ มัน ยางพารา
๔. สหกรณด าํ เนนิ ธุรกจิ สนิ เชอ่ื เปน ธุรกจิ หลกั และธุรกิจอน่ื ประกอบดวย
- สนิ เช่อื
- รบั ฝากเงิน
- รวบรวมผลผลติ ทางการเกษตร (ปาลม ทะลาย), ยางกอนถว ย
- ซอื้ (ปุย ขาวสาร วัสดกุ ารเกษตรและสินคาอปุ โภคบริโภค)
5. ผลการดําเนินงานที่โดดเดน ของสหกรณ
- สหกรณรวบรวมผลผลิต (ปาลมทะลาย) จากสมาชิกและเกษตรกรท่ัวไป ดว ยความ

ยุตธิ รรม สามารถสรา งอาํ นาจตอรองกบั ตลาดและยกระดบั ราคาผลผลติ ในภาพรวมของอาํ เภอได
-สหกรณมกี ารรวบรวมยางกอ นถวยจากสมาชกิ และจากกลุมเกษตรกรในพ้ืนท่ีและมี

การเชื่อมโยงเครือขาย เพ่ือเปนการยกระดับผลผลิตใหมีคุณภาพ และเปนการตอรองเรื่องราคา ทําใหสมาชิก
และเกษตรกรมรี ายไดเ พิม่ มากขึน้

- สงเสริมกลมุ อาชีพในสังกัดสหกรณ เชน กลุมสตรีศุภนิมิตชะอวด มีผลิตภัณฑไดแก
ผลิตภัณฑกระจูด ทําใหสมาชิกในกลุมอาชีพมีงานทําเปนประจําอยางเนื่องและมีรายไดเพ่ิมข้ึน ทําใหความ
เปน อยูดขี ึน้

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 80

ภาพถาย การมสี วนรว มของสหกรณการเกษตรศภุ นิมิตชะอวดพฒั นา จํากดั

ปจ จยั แหง ความสาํ เร็จ
1. รวมประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณเพ่ือทบทวนแผนพัฒนาความเขมแข็งและแผนพัฒนา

ธรุ กิจสหกรณ โดยใชเ ครือ่ งมอื และเทคนิคตา ง ๆดังนี้
- SWOT Analysis
- CAMELS Analysis การวเิ คราะหอัตราสว นทางการเงนิ
- เกณฑก ารประเมนิ ความเขมแขง็
- เกณฑม าตรฐานสหกรณ
นําผลการวเิ คราะหที่ไดไปนาํ เสนอในการประชุมเชิงปฏบิ ัติการฯ รวมกบั คณะกรรมการ/ฝา ย

จดั การ/ผูน ํากลุม /หนว ยงานที่เกยี่ วของ
๒. ชวยเหลือประสานงานการไดรับงบประมาณสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณใหแกกลุมสตรี

สหกรณโดยผานสหกรณการเกษตรศุภนิมติ ชะอวดพัฒนา จํากดั ไดท นั เวลาทีก่ าํ หนด
3. ไดแนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินงานใหสหกรณมีการประชุมกลุมสมาชิก เพ่ือขับเคลื่อน

การดาํ เนินงานสรา งการมสี ว นรว มของสมาชกิ อยา งตอ เนอ่ื ง
4. แนะนําในท่ีประชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณใหมีการเชื่อมโยงธุรกิจระหวางสหกรณเพ่ือ

เพ่ิมปริมาณธุรกิจโดยไดรวมมือกับสหกรณกองทุนสวนยางบานควนเถียะ จํากัด ส่ังซ้ือขาวสารของสหกรณ
การเกษตรกันทลักษณ จํากัด จังหวัดศรีสะเกษ จํานวนคร้ังละ 3 ตัน ผานสหกรณกองทุนสวนยางบานเสม็ด
จวนพัฒนา จํากัด ทําใหไ ดร าคาถูกและไดเช่ือมโยงเครือขายกลุม เกษตรกรทําสวนยางพารานางหลง กลุมทํานา
นางหลง รวบรวมยางกอนถว ยเพ่ือจัดจําหนายใหไดราคาสูง โดยไดรับการสนับสนนุ จากสํานักงานการยางแหง
ประเทศไทย สาขารอนพิบูลย มาชว ยใหคําแนะนาํ

สํานักงานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 81

อาํ เภอ ทุงสง

ประกอบดวย สหกรณ 23 แหง สมาชิก 2,038 คน กลมุ เกษตรกร 3 แหง สมาชกิ 154 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

สหกรณและกลุมเกษตรกรในภาพรวม ซ่ึงมีสหกรณ จํานวน 23 สหกรณ เปนสหกรณการเกษตร
ประเภทสหกรณกองทุนสวนยาง จํานวน 12 สหกรณ และสหกรณการเกษตรระดับอําเภอ 2 สหกรณกลุม
เกษตรกรจํานวน 3 กลมุ จากผลการแนะนาํ สง เสรมิ แยกไดดงั นี้

1. สหกรณกองทุนสวนยาง สหกรณ เจาหนาที่สงเสริมสหกรณท่ีรับผิดชอบปฏิบัติตามคูมือ
คําแนะนําการสงเสริมสหกรณตามระบบการสงเสริม ผลการดําเนินงานของสหกรณเปนไปตามระเบียบ
ขอ บงั คบั การดําเนนิ ธุรกิจ/ปริมาณธุรกจิ การรวบรวมและแปรรูปยางพาราเปนไปตามระบบเศรษฐกิจและกลไก
ของตลาดแตสหกรณสามารถถบริหารจัดการไดโดยยึดหลักและระบบสหกรณที่มุงใหเกิดประโยชนสูงสุดแก
สมาชิก แตในชวงตนฤดูกาลผลิตราคายางพารา คอนขางผันผวน สหกรณฯตองมีการปรับกระบวนการ
ในการบริหารจัดการผลิตใหท ันทวงที

2. สหกรณการเกษตรระดับอําเภอ มี 2 สหกรณ คือ สหกรณการเกษตรทุงสง จํากัด
และชุมนุมสหกรณกองทุนสวนยางนครศรีธรรมราช จํากัด เปนสหกรณขนาดใหญ มที ุนดําเนินงานและสมาชิก
จํานวนมากดาํ เนนิ ธรุ กิจครบทุกธรุ กิจ สามารถใหบรกิ ารแกส มาชกิ ได ครอบคลุม ทัว่ ถึง และมปี ระสิทธิภาพ

3. กลมุ เกษตรกร เปนกลมุ ท่ที าํ ธุรกิจสินเช่ือและธุรกจิ จัดหาสินคา มาจาํ หนา ยแกสมาชกิ
ผลการดําเนินงานเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ ดําเนินธุรกิจครบทุกธุรกิจ สามารถใหบริการแกสมาชิกได
เปนอยา งดี และกลมุ เกษตรกรอ่ืนเปน กลมุ เกษตรกรขนาดเลก็ ไดร ับความพึงพอใจจากสมาชกิ เปน อยางดี
● ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนินงานของสหกรณ/กลุม เกษตรกร

ปญหาสวนใหญที่เกิดข้ึนในสหกรณ/กลุมเกษตรกร สาเหตุสวนใหญมาจากคณะกรรมการดําเนินงาน
ของสหกรณ ขาดความรูความสามารถในการบริหารจัดการสหกรณ และเห็นแกประโยชนสวนตน พรรคพวก
ของตนเอง ในสวนของสหกรณกองทุนสวนยางฯ ที่มีโรงอบรมควันฯ ท่ีเปนที่ดินของเอกชนในการอุทิศท่ีใหใช
เม่ือมาถึงรุนลูก จะมีปญหาการใชท่ีดินเนื่องจากเจาของท่ีดินทวงกรรมสิทธ์ิในที่ดิน และมีปญหาในการ
ดาํ เนนิ งานของสหกรณ
● ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไขปญหา

1. แนะนาํ ใหสมาชกิ เขาใจบทบาทหนาทีข่ องตนเอง คัดเลือกผูนําท่ีมีความตั้งใจ เสยี สละ และมีความ
พรอมในการทํางานใหกับสหกรณ

2. จัดใหมกี ารอบรม ใหความรแู กสมาชิก เพอ่ื เปน การสรา งจติ สาํ นกึ ยึดในอุดมการณ หลกั การและ
วธิ ีการสหกรณ อยางตอเนื่อง

3. จดั ใหม รี ะบบการประเมนิ ผลการดาํ เนินงานหรอื การบริหารจดั การของสหกรณอยางตอเน่ือง
4. ใหห นวยงานระดับกรมฯ ประสานงาน กบั การยางแหงประเทศไทย ในการจดั การการใชสิทธิ์ใน
ท่ดี ินทมี่ ีโรงรมควนั ฯ ท่ีเปน ทรัพยส ินของการยางแหง ประเทศไทยใหชัดเจน

สาํ นักงานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 82

● สหกรณ/กลุมเกษตรกรท่ีสะทอ นผลสําเรจ็ ของการปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร : สหกรณก องทนุ สวนยางนาพรุ จาํ กัด

1. ช่อื สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากดั ประเภทของสหกรณ การเกษตร
2. จาํ นวนสมาชิกสหกรณ ณ 31 ธนั วาคม 2563 จํานวน 128 ราย
3. ผลผลติ การเกษตรหลกั ของสหกรณ ยางพารา
4. ธุรกิจทีส่ หกรณดาํ เนินการ รวบรวมน้ํายางสดเพ่ือแปรรูป ธรุ กิจรวบรวมน้ํายาง ธรุ กิจจัดหาสินคา
มาจําหนาย โดยธุรกจิ หลักของสหกรณ คือ รวมรวบยางพาราเพ่อื แปรรูป
5. ผลการดําเนินงานทีโ่ ดดเดนของสหกรณ สหกรณส ามารถตอบสนองความตอ งการของสมาชกิ ใน
การรวบรวมผลผลติ ทางการเกษตรไดอ ยา งดียง่ิ สามารถเพม่ิ มลู คาผลผลติ ฯ สรา งความแตกตางดานราคา มี
การจัดสรรคืนสูสมาชิกอยางเปนธรรม และ สมาชกิ สหกรณมีสว นรวมในการดําเนนิ งานสหกรณทสี่ ูง
6. บทบาทของสหกรณใ นการขบั เคลอ่ื นงานตามนโยบายของรัฐ
ผลงาน/ความสาํ เร็จของสหกรณ/กลมุ เกษตรกร
สหกรณท่ีมีผลงานโดดเดนในอําเภอทุงสง คือ สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากัด โดยผลงานที่ดเี ดน
ในปท่ีผานมา สหกรณกองทุนสวนยางนาพรุ จํากัด เปนสหกรณท่ีสามารถชวยเหลือเกษตรกรสมาชิกไดอยาง
แทจริง ท้ังในทางเศรษฐกิจและสังคม จากการเขาแนะนําสงเสริมฯ กํากับดูแล ของเจาหนาที่สงเสริมสหกรณ
ทําใหสหกรณสามารถสรา งการมีสว นรวมของสมาชิก 97 % เปอรเซน็ ตการแปรรูปยางแผนรว มควนั ในอัตราที่
สูง รอยละ 98 สหกรณมีอัตราการทํากําไรในแตละธุรกิจเพ่ิมข้ึนทุกป อยางตอเนื่อง สงผลใหสหกรณมีกําไร
และสหกรณผานมาตรฐานในระดับ A มีการจัดสรรสวัสดิการสมาชิกใหแกสมาชิก ในเวลาท่ีมีภัยพิบัติ เชน
วาตภัย (พายุปาบึก) อุทกภัย (นํ้าทว ม) และภัยแลง มีใชก ารทนุ สาธารณประโยชน ใหแกชุมชนในพื้นท่ี เชน
วันเด็ก วันลอยกระทง รวมบุญกฐิน ผาปา เปนประจําทุกป และในป 2563 สหกรณไดเปนเจาภาพในการ
ทอดกฐินสามัคคีของขบวนการสกรณนครศรีธรรมราช อีกท้ังสมาชิกไดรับผลตอบแทน ในสวนของการจัดสรร
กําไรสุทธิ เปนเงินปนผล และเงินเฉล่ียคืน คณะกรรมการดําเนินการมีความตั้งใจ บริหารงานโดยใชหลักธรรม
มาภิบาล สมาชิกมคี ณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ขี ้ึน

สํานกั งานสหกรณจงั หวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 83

ภาพถาย การมสี ว นรวมของสมาชกิ และสังคมของสหกรณก องทุนสวนยางนาพรุ จํากัด

สาํ นกั งานสหกรณจังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 84

ปจ จัยแหงความสําเร็จ
1. การรวมกันวางแผนปฏิบัติงานประจําป ระหวางเจาหนาที่สงเสริมสหกรณและสหกรณ วิเคราะห

สหกรณ ดวยวิธีการ Swot analysis จัดทําเวทีการมีสวนรวมใหสหกรณไดแสดงความคิดเห็น ในการพัฒนา
องคกรรวมกนั

2. มีแผนปฏบิ ัตงิ านท่กี ําหนดอยางชัดเจน ปฏิบตั ิตามแผน และติดตามผลการดาํ เนินงานอยางตอ เนือ่ ง
3. ไดมีการอบรมใหความรูแกสมาชิกสหกรณ เร่ือง อุมดการณ ,หลักการ,วิธีการสหกรณ บทบาท
หนาท่ีทีด่ ีของสสมาชกิ ปลูกจิตสํานึกรักสหกรณ ทําใหสมาชกิ มี ความรูความเขาใจในระบบสหกรณโดยสมาชิก
และ มีความเช่ือมั่นและศรัทธาวาสหกรณเปนสถาบันท่ีใหความชวยเหลือและแกไข ปญหาดานเศรษฐกิจคือ
การแกไขปญหาราคายาง และสังคมใหกับสมาชิกและชุมชนได และมีความสํานึกวาสหกรณเปนของตนเอง
และเปน ของสมาชิกทุกคน จะทําใหประชาชนเขา รว มเปน สมาชกิ และมสี วนรว มในการชวยบรหิ ารดูแล
4. ไดจัดใหมีการอบรมบทบาทหนาที่ใหกับคณะกรรมการเปนประจําทุกป ทําใหคณะกรรมการ
ดําเนินการฯ มีความรูในบทบาทหนาท่ีของตนเอง และ มีความตั้งใจท่ีเขามาบริหารงาน และปฏิบัติงานดวย
ความซือ่ สัตยส จุ รติ ยดึ ถือผลประโยชนส ว นรวมของสหกรณเ ปน สําคัญ
5. สรางความรคู วามเขาใหกับเจาหนาท่ีสหกรณ ปลูกจติ สํานกึ รักองคกร ทําใหเจาหนาที่ตองมคี วามรู
ความสามารถในงานทที่ ํา มคี วามซื่อสัตยสจุ รติ มุงใฝห าความรใู นการพฒั นางาน
6. ไดการสนับสนุนจากภาครัฐโดยกรมสงเสริมสหกรณ ในการแนะนําสงเสริมสหกรณอยางสม่ําเสมอ
ทาํ ใหส หกรณปฏิบตั ิงานเปนไปตามระเบยี บ ขอบังคับฯ และหนวยราชการอนื่ ๆ ที่เก่ียวขอ ง เชน การยางแหง
ประเทศไทย สนบั สนุนงบประมาณฝก อบรมฯ ศกึ ษาดูงาน

สาํ นกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 85

อําเภอ ทงุ สง (นคิ มสหกรณท ุงสง)

ประกอบดวย สหกรณ 7 แหง สมาชกิ 2,426 คน กลุม เกษตรกร - แหง สมาชกิ - คน
● ผลการเขาแนะนาํ สงเสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

ผลการแนะนําสงเสริมสหกรณ
ไดเ ขาแนะนําสงเสรมิ สหกรณท ีอ่ ยใู นความรับผิดชอบดงั น้ี
1. ดานการมีสวนรวมของสมาชิก ไดแนะนําใหสหกรณดําเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล โปรงใส
ตรวจสอบได ตามหลักการ อุดมการณ วิธกี ารสหกรณ และเปน การสรางจิตสํานึกท่ีดีของสมาชกิ ท่ีมตี อสหกรณ
เพือ่ เปน การสรางความเขมแขง็ ใหก ับสหกรณ
2. การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน แนะนําใหสหกรณดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพในทุกๆ
ดา น เชนการผลิตยางพารา ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจจัดหาสินคามาจาํ หนาย เพื่อเปนการสรา งมูลคาเพม่ิ ใหกับธุรกิจ
ของสหกรณ
3. การสรางอาชีพเสริมแกสมาชิก แนะนําใหสหกรณจัดทําโครงการอาชีพเสริมแกสมาชิกตามหลัก
สหกรณเพือ่ เปน การสรางอาชีพเสรมิ แกสมาชกิ
4. เศรษฐกจิ พอเพียงแนะนาํ สงเสรมิ ไหสหกรณน าํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งลงสสู มาชกิ
● ปญหา/อปุ สรรคในการดาํ เนินงานของสหกรณ
1. ดานสมาชกิ สมาชิกยังไมเ ขา ใจถึงอุดมการณ หลักการ และวิธการสหกรณ
2. ดานกรรมการ กรรมการยังไมมจี ติ สํานึกในการเปนกรรมการสหกรณ
3. เจา หนา ท่ีของสหกรณ ยังไมมีจิตวญิ ญาณการเปน เจาหนาทข่ี องสหกรณ
4. ผตู รวจสอบกิจการยังไมมีความรู ความสารถในการทาํ หนา ท่ีของตนเอง
● ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไข
ใหการศึกษาอบรม ศึกษาดูงานแกบุคลากรของสหกรณและใหเจาหนาท่ีสงเสริมสหกรณมีโอกาส
ในการสรางความเขาใจถึงหลักการ อุดมการณ วิธีการแกสมาชิกและบุคคลท่ัวไปเพ่ือเปนการประชาสัมพันธ
ดา นสหกรณแกบุคคลท่ัวไปดวย
● สหกรณ/ กลมุ เกษตรกรที่สะทอ นผลสําเร็จของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/กลมุ เกษตรกร : สหกรณการเกษตรเขาขาว จํากัด
ผลงาน/ความสาํ เรจ็ ของสหกรณ/กลุมเกษตรกร
สหกรณการเกษตรเขาขาว จํากัด เปนสหกรณประเภทการเกษตรซึ่งอยูในความดูแลของนิคมสหกรณ
ทุงสง สํานกั งานสหกรณจังหวดั นครศรธี รรมราช ทางนิคมฯไดเ ขาแนะนาํ สง เสริมไหสหกรณน ําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงลงสูสมาชิก สงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน มีความพอประมาณในการดําเนินชีวิตและการ
ประกอบอาชีตามกําลังตามศักยภาพของตนเอง สามารถสรางอาชีพเสริม ดานการเกษตร ปศุสัตว ประมงเพื่อ
เปน การเพ่ิมรายไดใหกับครอบครัว สง ผลตอคุณภาพชีวติ ความเปนอยูที่ดีข้นึ

สาํ นกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 86

ภาพถา ย การแนะนาํ สง เสรมิ ไหส หกรณน าํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงลงสูส มาชกิ

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรธี รรมราช

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 87

ปจจยั แหง ความสาํ เรจ็
1. สหกรณไดมีการเรียนรหู ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งลงสูคณะกรรมการ เจา หนา ที่ และสมาชิก

โดยจดั ใหมีการศึกษาอบรมที่สหกรณโ ดยการเชิญวิทยามาใหการศึกษาอบรม และมกี ารนาํ สมาชิกออกไปศึกษา
ดูงานนอกสถานที่

2. สมาชิกสามารถสรางอาชีพเสริม ดานการเกษตร ปศุสัตว ประมงเพ่ือเปนการเพ่ิมรายไดใหกับ
ครอบครัว โดยยดึ หลกั แนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. เสริมสรางความเขมแข็งแกสมาชิกสหกรณผูที่ดําเนินกิจกรรมตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ใหมีความเขมแข็งมากย่ิงข้ึนและมีความย่ังยืน สามารถเปนแกนนําและแบบอยางใหสมาชิกสหกรณ
หรือเกษตรกรทว่ั ไปไดย ึดถือเปน รูปแบบในการปรับปฏบิ ตั ิตาม

4. เขารวมประชุมคณะกรรมการเพ่ือช้ีแจงถึงความสําคัญของโครงการที่มีผลตอสมาชิก
ดา นเศรษฐกิจและไดว างแผนการดําเนินแกคณะกรรมการ

5. สหกรณประกาศรับสมาชิก เจาหนาท่ีสงเสริมไดมีสวนรวมในการคัดเลือกสมาชิกเขารวมโครงการ
เศรษฐกิจฯ

6. เจาหนาที่สงเสริมไดประชุมเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บันได 9 ข้ัน ใหสมาชิกเขาใจ
แลว นําไปสกู ารปฏบิ ตั ิ

7. ตดิ ตามประเมนิ ผลสมาชกิ รายตวั

สํานกั งานสหกรณจ ังหวัดนครศรีธรรมราช

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป พ.ศ. 2563 (Annual Report) | 88

อําเภอ นาบอน

ประกอบดว ย สหกรณ 3 แหง สมาชิก 1,174 คน กลุม เกษตรกร 3 แหง สมาชิก 275 คน
● ผลการเขาแนะนาํ สง เสริม และแกไขปญ หาสหกรณและกลมุ เกษตรกร

สหกรณแ ละกลมุ เกษตรกรในอําเภอนาบอน ประกอบดว ย สหกรณภาคการเกษตร 3 สหกรณ และกลุม
เกษตรกรประเภททําสวน 3 กลุมเกษตรกร โดยมสี หกรณการเกษตรระดบั อาํ เภอ 1 สหกรณ จากการแนะนํา
สง เสรมิ แยกไดด ังน้ี

1. สหกรณก ารเกษตรระดับอําเภอ คือสหกรณการเกษตรนาบอน จํากดั เปน สหกรณท ี่สมาชกิ เปน
จํานวนมาก สหกรณมีธุรกจิ ทีส่ ามารถใหบริการสมาชกิ ไดครอบคลุม ท้ังธรุ กิจสนิ เชื่อ จดั หาสนิ คามาจําหนาย
ธรุ กิจรวบรวมผลิตผล ธุรกจิ แปรรปู ผลิตผลทางการเกษตร แปรรูปปุยผสม และเงนิ รับฝากจากสมาชิก สหกรณ
สามารถใหบ ริการสมาชกิ ไดถึงรอ ยละ 99.69 ของสมาชกิ ทัง้ หมด

ในปท ี่ผา นมา สหกรณประสบปญหาราคาผลติ ผล (ยางพารา) มีราคาผนั ผวน ราคาตกตาํ่ ประกอบกบั มี
คแู ขงเอกชนหลายราย ทาํ ใหสหกรณต องปรบั แผนการรับซ้ือผลผลิตหลายครง้ั โดยยดึ หลักการใหบริการสมาชกิ
ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ดําเนินการโดยยดึ หลักการ อดุ มการณส หกรณเ พื่อใหสมาชิกไดรับประโยชนส ูงสดุ

2. สหกรณก องทนุ สวนยาง ประกอบดว ย 2 สหกรณ คือสหกรณก องทุนสวนยางควนยูง จํากัด และ
สหกรณกองทนุ สวนยางหนองดพี ัฒนา จํากดั สาํ หรับสหกรณก องทนุ สวนยางควนยงู จํากัด สหกรณด าํ เนินธุรกิจ
เพยี งธุรกิจเดยี ว คือ แปรรปู ผลิตผลทางการเกษตร (แปรรูปยางพารา) เปน สหกรณท่ีมผี ลการดําเนนิ งานขาดทุน
สะสม สมาชกิ มีสวนรว มในการดาํ เนินธรุ กิจ เพยี งรอยละ 17.04 ของสมาชิกท่ีหมด ที่ผา นมาสหกรณดําเนิน
ธรุ กจิ ขาดทนุ ตดิ ตอกันมาหลายป เนอื่ งจากราคายางพาราผนั ผวน สมาชิกมาสงนาํ้ ยางนอย ประกอบกบั มคี ูแขง
หลายราย โดยแนะนาํ ใหสหกรณสํารวจราคาตลาดรับซ้อื น้ํายางเพ่ือใหสหกรณร บั ซ้ือนาํ้ ยางไดใกลเ คยี งกบั ราคา
รานอ่ืน มีการประชมุ คณะกรรมการเปน ประจําทุกเดอื น เพ่อื รบั ทราบผลการดําเนนิ งาน และแกไ ขปญหาใหทัน
สถานการณ และสหกรณกองทนุ สวนยางหนองดีพัฒนา จํากดั สหกรณหยุดดาํ เนินธุรกจิ ตั้งแตป 2559 และปด
บญั ชีไมไดมา 4 ป แนะนาํ ใหส หกรณนัดประชุมคณะกรรมการดําเนินการเพ่ือติดตามหนี้ และรวมกันพิจารณา
วา สหกรณจ ะดาํ เนินธุรกจิ ตอไปหรอื เลกิ สหกรณ

3. กลุมเกษตรกร ประกอบดวย กลุมเกษตรกรทําสวนนาบอน และกลุมเกษตรกรทําสวนทุงสง
ประกอบธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนายเพียงอยางเดียว เปนกลุมท่ีมีขนาดเล็ก มีทุนดําเนนิ งานนอย แตสามารถ
ใหบริการสมาชกิ ไดตามความสามารถในการบริหารงานของคณะกรรมการ และกลมุ เกษตรกรทําสวนยางพารา
นาบอน เปนกลุมทีม่ ธี ุรกิจคอนขางมาก ใหบรกิ ารสมาชิกได แตคณะกรรมการขาดความรูเร่อื งการสหกรณ การ
บรหิ ารงานและการดําเนนิ ธุรกจิ สง ผลใหกลมุ มผี ลการดําเนินงานขาดทนุ ตดิ ตอกัน
● ปญ หา/อปุ สรรคในการดําเนนิ งานของสหกรณ/ กลมุ เกษตรกร

ปญหาการดําเนินงานของสหกรณ/กลุมเกษตรกร สวนใหญเกิดจากคณะกรรมการขาดความรู
ความสามารถในการบริหารงาน ขาดการพัฒนาความรูใหทันตอสถานการณทางเศรษฐกิจปจจุบัน คิดถึง
ประโยชนสวนตนเปนใหญ ในสวนของสมาชิก ไมทราบถึงบทบาทหนาที่ของตนเอง ไมรวมทาํ ธุรกิจกับสหกรณ

สาํ นกั งานสหกรณจงั หวดั นครศรีธรรมราช


Click to View FlipBook Version