The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการบริหารและการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนบางลี่วิทยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by บางลี่วิทยาวารสาร, 2020-06-23 07:15:47

คู่มือการเปิดเรียน Covid-19 โรงเรียนบางลี่วิทยา

คู่มือแนวทางการบริหารและการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนบางลี่วิทยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ปีการศึกษา 2563

คำนำ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาดในวงกวาง
โดยเมือ่ วันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2563 องคการอนามยั โลก ไดป ระเมินสถานการณและประกาศใหโรค COVID-
19 เปนภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหวางประเทศ (Public Health Emergency of International
Concern) โดยแนะนำใหทุกประเทศเรง รดั การเฝาระวงั และปองกนั ความเส่ยี งจากเช้ือ COVID-19 และสำหรับ
ในประเทศไทยน้นั ไดม ีการพบผูปว ยติดเชื้อจำนวนหนึง่ ซ่ึงถงึ แมวา ตัวเลขผูช ว ยตดิ เชื้อในแตละวันจะมีจำนวน
ลดนอยลง แตก็ยังคงอยูในสภาวการณที่ไมอาจวางใจได ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงของประชาชนทุกคนตอ
การสัมผัสเชือ้ โรค และปอ งกนั ไมใหประชาชนไดรบั ผลกระทบตอ สุขภาพ ตอ งใหความสำคัญตงั้ แตการรักษาสุข
วิทยาสวนบุคคล โดยเฉพาะในประชาชนกลุมเสี่ยง ทั้งเด็ก ผูสูงอายุ และผูที่มีโรคประจำตัว รวมถึงการจัด
การดานอนามยั ส่งิ แวดลอ มอยางถูกสุขลักษณะและเหมาะสมในทุกพน้ื ที่ โดยเฉพาะทสี่ าธารณะ

โรงเรียนบางลี่วิทยา ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลนักเรียน ผูปกครอง ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา จึงไดจ ัดทำคมู อื แนวทางการบริหารและการจดั การเรียนการสอน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปการศึกษา
2563 เพื่อใหโรงเรียนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดอยางมีประสิทธิภาพ
ท้งั นี้ เน้ือหาในเอกสารฉบบั นี้ จะมีการปรบั ปรุงแกไ ขเพอื่ ใหส อดคลองกับสถานการณท เี่ ปลีย่ นแปลงระยะตอไป

โรงเรียนบางลี่วิทยา
สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 9

23 มิถนุ ายน พ.ศ. 2563



สารบญั หนา

คำนำ ข
สารบัญ 1
ความรูเกี่ยวกับโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2
สถานศกึ ษากบั สถานการณโ รคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 3
ขอ มลู สถานศกึ ษา โรงเรียนบางลี่วทิ ยา 6
การประเมนิ ความพรอมของสถานศึกษาในการเปดภาคเรยี น ปก ารศกึ ษา 2563 7
การประเมินความพรอมของนักเรียนในการเปดภาคเรียน ปการศึกษา 2563 8
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียนบางลีว่ ทิ ยา 10
บทบาทในการเรียนของนักเรยี น 12
บทบาทในการสอนของครู 14
การจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี น 15
มาตรการและแนวทางในการดแู ลดานอนามยั และสิ่งแวดลอมของโรงเรยี น
แนวทางดำเนินงานและบรหิ ารงบประมาณการสนบั สนนุ คา ใชจ า ยในการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 21
ในชวงสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 29
การปองกนั การแพรร ะบาดของโรค COVID-19 กรณเี กดิ การระบาด 30
ภาคผนวก 31
33
หนังสอื รบั รองการประเมินความพรอมในการเปด ภาคเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา
แบบประเมินตนเองของสถานศกึ ษาในการเตรียมความพรอ มกอนเปด ภาคเรยี น



ความรเู กี่ยวกับโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19)

โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) คืออะไร

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) เปนตระกูลของไวรัสที่
กอใหเกิดอาการปวยตั้งแตโรคไขหวดั ธรรมดา ไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เชน โรคระบบทางเดินหายใจ
ในตะวนั อออกกลาง (MERS-CoV) โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลนั รุนแรง (SARS-CoV) เปน ตน ซง่ึ เปนสาย
พันธุใหมที่ไมเคยพบมากอนในมนุษย กอใหเกิดอาการปวยระบบทางเดินหายใจในคน และสามารถแพรเช้ือ
จากคนสูคนได โดยเชื้อไวรัสนี้พบการระบาดครั้งแรกในเมืองอูฮั่น มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน
ในชว งปลายป 2019 หลังจากนั้นไดม ีการระบาดไปท่ัวโลก องคก ารอนามัยโลกจึงตงั้ ช่ือการติดเช้ือไวรัสโคโรนา
สายพันธใุ หมน้วี าโรค COVID-19

อาการของผูป วยโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

อาการทั่วไป ไดแก อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไมไ ดก ลน่ิ ไมร ูร ส ในกรณีทีอ่ าการรุนแรงมากอาจทำใหเ กิดภาวะแทรกซอน เชน ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย
หรอื อาจเสยี ชวี ิต

โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แพรก ระจายเชอื้ ไดอ ยา งไร

โรคชนิดนี้มีความเปนไปไดที่มีสัตวเปนแหลงรังโรค สวนใหญแพรกระจายผานการสัมผัสกับผูติดเชื้อ
ผานทางละอองเสมหะจากการไอ น้ำมูก น้ำลาย ปจจุบันยังไมมีหลักฐานสนับสนุนการแพรกระจายเชื้อผาน
ทางพื้นผิวสมั ผัสที่มีไวรัส แลวมาสัมผัสปาก จมูก และตา สามารถแพรเชื้อผานทางเชือ้ ที่ถูกขับถายออกมากับ
อุจจาระเขา สูอ ีกคนหน่ึง โดยผา นเขาทางปากไดด ว ย

โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) รกั ษาไดอยางไร

ยังไมมียาสำหรับปองกันหรือรักษาโรคโควิด 19 ผูที่ติดเชื้ออาจตองไดรับการรักษาแบบ
ประคับประคองตามอาการ โดยอาการที่แสดงแตกตางกัน บางคนรุนแรงไมมาก ลักษณะเหมือนไขหวัดทั่วไป
บางคนรุนแรงมาก ทำใหเกิดปอดอักเสบได ตองสังเกตอาการอยางใกลชิด รวมกับการรักษาดวยการ
ประคับประคองอาการจนกวา จะพนอาการชว งน้นั และยังไมม ยี าตัวใดทมี่ หี ลกั ฐานชัดเจนวารักษาโรคโควิด 19
โดยตรง

1

สถานศกึ ษากบั สถานการณโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

สถานศึกษาเปนสถานที่ที่มีนักเรียนอยูรวมกันจำนวนมาก มักจะมีความเสี่ยงสูง หากมีระบบ
การจัดการที่ไมดี อาจจะมีการแพรระบาดของเชื้อ COVID-19 ไดในกลุมเด็ก เนื่องจากพบวาการติดเช้ือ
COVID-19 สวนใหญจะไมคอยมีอาการหรือมีอาการแสดงคอนขางนอย ความรุนแรงจะนอยมาก แตเด็ก
นักเรียนจะเอาเชื้อกลับบาน อาจทำใหการแพรระบาดเกดิ ข้ึนไดอยา งรวดเรว็ (Super spread) ไปยังบุคคลใน
บาน หากมีการระบาดในกลุมเด็กขึ้น จะมีผลกระทบในสังคมหรือผูใกลชิด เชน ครู พอแม ผูสูงอายุ ที่ติดเชื้อ
จากเดก็ ดังนน้ั หากมีการเปดเรียน มีโอกาสสงู ท่จี ะเกิดการตดิ เช้ือในกลุมเด็กเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเด็กเปนกลุมท่ีตอง
ไดรับ การดูแลและระมัดระวงั ในการกระจายเชอ้ื เปนอยางมาก มาตรการในการเปด เทอม จึงมีความสำคัญมาก
ในการควบคุมการระบาด การวางแผนเปดเทอมจึงตองมน่ั ใจวา สามารถควบคุมไมใ หเ กดิ การระบาดของโรคใน
เด็กนักเรยี นได

ทม่ี า : คมู อื การปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

2

ขอ มูลสถานศึกษา โรงเรยี นบางล่ีวทิ ยา
สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 9

ขอ มลู ทวั่ ไป

โรงเรียนบางลี่วิทยา มีขนาดพื้นที่ 49 ไร 2 งาน 52.4 ตารางวา ตั้งอยูเลขที่ 96/1 ถนนบางล่ี-
หนองวัลยเปรียง ตำบลสองพี่นอง อำเภอสองพี่นอง จังหวัดสุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย 72110 เบอรโทรศัพท
035-531051 โทรสาร 035-531051 เปด สอน : ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ถึงระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 6

เว็บไซต : www.bangli.ac.th
www.youtube.com/bangliwitthaya
facebook : http://www.facebook.com/bangliwitthaya
E-mail : http://www. [email protected]

ขอมลู ผบู ริหาร

1. ผูอำนวยการสถานศึกษา นายเช่ียวชาญ ดวงใจดี โทรศพั ท 0625108720
2. รองผูอำนวยการสถานศึกษา (ตามมาตรฐานตำแหนง) จำนวน 4 คน

2.1 นายไพทูล บุญสงดี โทรศัพท 0818619330 รับผิดชอบฝาย (ตามโครงสรางการบริหารงาน
ของสถานศึกษา) กลมุ บริหารงานทวั่ ไป

2.2 นายศาสตรวิทย บรรจุทรัพย โทรศัพท 0898051838 รับผิดชอบฝาย (ตามโครงสราง
การบริหารงานของสถานศกึ ษา) กลมุ บรหิ ารงานวชิ าการ

2.3 นายประยุทธ พันธุบัว โทรศัพท 0818803255 รับผิดชอบฝาย (ตามโครงสราง
การบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา) กลุม บริหารงานกจิ การนกั เรยี น

2.4 นางนัยนภร วิริยะประสิทธ์ิ โทรศัพท 0861255279 รับผิดชอบฝาย (ตามโครงสราง
การบริหารงานของสถานศกึ ษา) กลุม บริหารงานบุคคลและงบประมาณ

3

สรุปจำนวนบคุ ลากร

จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง และวฒุ ิการศกึ ษา (ณ วนั ท่ี 19 ม.ิ ย.63)

จำนวนบคุ ลากร (คน)

ประเภท/ตำแหนง ต่ำกวา ปริญญา ปรญิ ญา ปรญิ ญา ปริญญา รวม

ตรี ตรี โท เอก 1
-
1. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 1

ผอู ำนวยการ - --1 65
1
รองผอู ำนวยการ - --- 1
5
รวม - - - 1 72

2. สายงานการสอน -
10
ขา ราชการครู - 41 23 1 2
-
ครูผูทรงคณุ คาแหงแผนดิน - 1- 12
84
พนกั งานราชการ - -1-

ครอู ตั ราจาง - 5--

รวม - 46 25 1

3. สายงานสนับสนนุ

ขา ราชการ - ---

พนกั งานจางทั่วไป 8 2--

ลูกจางประจำ 2 ---

อืน่ ๆ - - - -

รวม 10 2 - -

รวมท้ังส้นิ 10 48 25 1

4

ขอ มูลนักเรยี น (ณ วันที่ 19 มถิ ุนายน 2563)

จำนวนนกั เรยี นในโรงเรียน ปการศกึ ษา 2563 รวม 1,334 คน จำแนกตามระดบั ช้ันที่เปดสอน

ระดับชั้นเรียน จำนวนหอง เพศ รวม เฉลย่ี ตอ หอง
ชาย หญิง
ม.1
ม.2 8 123 146 269 34
ม.3
รวม 7 122 137 259 37
ม.4
ม.5 7 101 129 230 33
ม.6
รวม 22 346 412 758 34
รวมทั้งหมด
5 83 142 225 45

5 69 134 203 41

5 53 95 148 30

15 205 371 576 38

37 551 783 1,334 36

จำนวนนักเรียน 1,334 คน จำนวนบุคลากรสายงานสอน 72 คน
อัตราสวนนักเรยี น : ครู = .....18.... : ....1....  เปนไปตามเกณฑ ไมเปนไปตามเกณฑ

ขอ มูลอาคารสถานท่ี รายการ จำนวน
5 หลงั
ท่ี 2 หลัง
1 อาคารเรยี น 3 หลัง
2 อาคารฝกงาน 5 หลงั
3 อาคารประกอบ 0 สระ
4 หองนำ้
5 สระวา ยนำ้

5

การประเมินความพรอมของสถานศกึ ษา
ในการเปด กาคเรยี น ปก ารศึกษา 2563

โรงเรียนบางลี่วิทยา ประเมินความพรอมของสถานศึกษา ในการเปดภาคเรียนปการศึกษา 2563
ดำเนินการ โดยโรงเรยี นประเมินรว มกับคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ตามแบบประเมนิ ตนเองสำหรับ
สถานศึกษาในการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งผล
การประเมิน ปรากฏผา นทัง้ หมด 44 ขอ ระดับ สีเขียว หมายถงึ โรงเรียนเปดเรียนได

6

การประเมนิ ความพรอ มของนักเรยี น
ในการเปดกาคเรยี น ปการศกึ ษา 2563

โรงเรียนดำเนินการใหนักเรียนทำแบบประเมินตนเอง โดยใชแบบประเมินตนเองสำหรับนักเรียนใน
การเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียน เพื่อเฝาระวังและปองกันการแพรระบาดโรคโควิด 19 ของ
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ผลปรากฎดงั นี้

7

8

9

10

11

12

13

14

รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน

โรงเรียนบางลี่วิทยา ไดกำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียน ในสถานการณ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 โดย
พิจารณาตามความเหมาะสมและบรบิ ทของโรงเรยี น ดงั นี้

การเรียนในชั้นเรียน

การเรียนการสอนที่เนนใหนักเรียนทุกคนมาโรงเรียนทุกวันทำการ แบงหองเรียนปกติใหเปน 2 กลุม
คอื กลมุ ก และ กลมุ ข กลุม ละไมเ กิน 25 คน จัดการเรียนการสอน โดยใชหอ งเรียนเปนฐาน (Classroom-
Based Management)

มีการเตรยี มความพรอ มการจัดการเรียนการสอนในทุก ๆ ดาน คือ

15

การจดั หองเรียน

ขนาดของหองเรียน โตะ และเกา อน้ี ักเรียน (มาตรฐานตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2549)
มีขนาดหองไมต ำ่ กวา 6 เมตร X 8 เมตร
โตะ กวา ง 60 X ลึก 40 X สงู 76 ซม.
เกาอี้ กวาง 30 X ลึก 40 X สูง 85 ซม.

จัดใหมีการเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) จำนวนนักเรียน 20 – 25 คน/หองเรียน
(กรณีบางหองเรียนจัดนักเรียนเกิน 25 คน แตไมเกิน 30 คน หองเรียนก็มีขนาดใหญและมีการเวนระยะหาง
ทางสังคม (Social Distancing) ทีเ่ หมาะสม

รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน

การจัดการเรียนการสอนแบบปกติ การเรียนในชั้นเรียน (On-Site) โรงเรียนบางลี่วิทยาเปนโรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดกลาง ที่มีขนาดพื้นที่ของโรงเรียนบริเวณกวาง สามารถจัดการเรียนการสอนใหมีการเวน
ระยะหา งทางสงั คม (Social Distancing) ไดอ ยางสะดวกภายใต “ ชีวติ วิถีใหม ” (New Normal)

16

บทบาทในการเรียนของนักเรยี น

เขา เรียนตาม วัน เวลา (ตารางทโ่ี รงเรียนกำหนด)

มาตรการและแนวทางในการดแู ลนักเรยี นของผปู กครอง

โรงเรยี นช้แี จงและทำความเขาใจกับผูปกครองใหผปู กครองดำเนนิ การดงั น้ี
1. เตรียมอาหารเชา ใหนักเรียนรบั ประทานกอนมาโรงเรยี น

2. เตรียมอปุ กรณก ารเรยี น และหนากากอนามยั ใหก บั นักเรยี น

การเดินทางมาโรงเรยี นของนักเรยี น

1. นกั เรียนเดนิ ทางโดยรถตโู ดยสารหรอื รถรับ – สงนักเรยี น
โรงเรียนรวมกับภาคีเครือขายดำเนินการประชุมผูประกอบการรถรับ – สงนักเรียน รถตูโดยสาร

อืน่ ๆ ดงั น้ีขอความรว มมอื กบั คนขับรถ ในการใสห นา กากอนามยั ทุกครงั้ ขณะขับรถ ทำความสะอาดรถ เบาะที่
นั่งกอนรับนักเรียนในชวงตอนเชา และสงนักเรียนในชวง ตอนเย็นอยางเครงครัด โดยทางโรงเรยี นเตรยี มหรอื
กำชบั การใชน ้ำยาฆา เช้ือในสัดสวนท่สี ามารถฆาเชอื้ โรคไวรัสโคโรนา 2019 ได

17

2. ผปู กครองมาสงดว ยตัวเอง
โรงเรียนกำหนดมาตรการขอความรว มมือ จากผูปกครอง ในการใสหนากากอนามัยทุกครั้ง ท่ีมา

สงนักเรยี น และทำตามกฎระเบียบของโรงเรยี น อยา งเครงครัด

เม่อื นกั เรียนเดินทางถึงโรงเรียน

กรณีที่ผูปกครองมาสงที่โรงเรียน และมีความประสงคขอเขาบริเวณ
โรงเรียน โรงเรียนกำหนดใหผูปกครองสงนักเรียนหนาอาคาร 1 มีการคัดกรอง
ตรวจเช็คอุณหภูมิ และใชแอลกอฮอลเจลโดยเนนมาตรทางสาธารณสุขอยาง
เครง ครัด

18

บทบาทในการสอนของครู

ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) บทบาทของครูที่ตอง
ดำเนนิ การในการจัดการเรียนรูและดแู ลควบคมุ ช้นั เรยี นและจดั กิจกรรมการเรียนรู

การเรยี นการสอนตามปกติ

ทางโรงเรียนไดกำหนดตารางสอนใหกับครูตามรายวิชาที่สอน โดยครูตองเตรียมการสอนเพื่อจัด
การเรียนรู

- ปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาที่สอนใหกระชับและใหสอดคลองกับสถานการณ
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(covit-19) โดยครูจัดทำโครงการสอน แผนการจัดการเรียนรู
สื่อการเรียนการสอนใหสอดคลอ งกับการจัดการเรียนรูท่ีโรงเรยี นกำหนด เชื่อมโยงกับรูปแบบวิธกี ารที่กำหนด
ในคมู อื เตรยี มความพรอมในการเปดโรงเรยี นภาคเรยี นท่ี 1/2563

- ครูปรบั วธิ ีการวดั ผลประเมนิ ผลของรายวชิ าทสี่ อน โดยใชเ คร่ืองมือการวัดผลทห่ี ลากหลายและ
ใชเทคโนโลยีชวยในการบรหิ ารจดั การ

- ครูจดั การเรยี นการสอนท่ีผสมผสาน เชน
On-site ครูทกุ คนจัดการเรยี นรูในโรงเรียนตามท่โี รงเรียนกำหนดควบคกู ับมาตรการการแพร

ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา(covit-19)
ครูใช กลุม LINE และ Application Google Classroom ในการบริหารหองเรียนใน

การสอน Online

บทบาทครูท่ีเกย่ี วของกบั ระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน

- ครูที่ปรึกษาทุกคนออกเยี่ยมบานนักเรียนและมอบอุปกรณการเรียนใหกับนักเรียนเพื่อการเตรียม
ความพรอมกอ นเปด เรยี นตามปกติ

- ครทู ปี่ รกึ ษาไดสรางกลุมไลนห อ งเรียนเพ่อื ใชในการสอ่ื สารกับนักเรยี น
- ครูที่ปรึกษาสราง Google Classroom/Home room และ กลุมไลนของผูปกครอง เพื่อใชในการ
ตดิ ตอ กบั ผปู กครอง

19

การควบคมุ และดูแลชั้นเรียน

- ควบคมุ ดแู ลนักเรยี นในชนั้ เรยี นใหมีระยะหางระหวา งบคุ คลอยา งนอย 1-2 เมตร
- โรงเรียนสงเสริม นิเทศ กำกับ ติดตามใหนักเรียนมีของใชสวนตัว เชน อุปกรณการเรียน อุปกรณ
ในการรบั ประทานอาหาร
- ครูใหคำแนะนำ ประชาสัมพันธ การปองกันและการลดความเส่ียงจากการแพรระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19)
- โรงเรียนมีระบบเฝาระวัง และสงตอกรณีมีนักเรียนมีความจำเปนในการรับความชวยเหลือฉุกเฉิน
และมกี ารสงตอ ภายในและสงตอภายนอกภาคีเครือขายของโรงเรยี น

20

การจัดการเรยี นการสอนของโรงเรยี น

จดั การเรยี นการสอนแบบปกติ

จัดการเรียนการสอนแบบปกติ (การเรียนในชั้นเรียน On-site) จัดการเรียนการสอนใหมี
การเวน ระยะหา ง ทางสงั คม (Social Distancing) ไดอ ยา งสะดวก ภายใต “ ชีวติ วิถีใหม ” (New Normal)

การจดั การนักเรียน

แบงจำนวนนักเรียนหนึ่งหองปกติออกเปน 2 กลุม กลุมละไมเกิน 25 คน และจัดสถานที่ใหนักเรียน
เขาเรียนกลมุ ละ 1 หอง

การจัดการเรียนการสอน

ครูผูสอน 1 คน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งสองกลุมโดยสลับเวลาเขาสอนและโรงเรียนไดจัดครู
ชวยดูแลนักเรียนกลุมที่ครูผูสอนไมไดอยูกับนักเรียนโดยนักเรียนกลุมนี้ครูผูสอนไดจัดกิจกรรมไวให เชน
ใบความรู ใบงาน เปน ตน

21

มาตรการและแนวทางในการดูแล
ดา นอนามัยและส่งิ แวดลอ มของโรงเรียน

เมือ่ มาถงึ โรงเรียนนักเรยี นตองใสห นากากอนามยั เดนิ เปนแถวผานประตโู รงเรียน คุณครูเวรประจำวนั
ดำเนนิ การตรวจคัดกรอง โดยเดินผานตามจุดท่มี ีการเวนระยะ ตามทางเดนิ

จดุ ที่ 1 ตรวจวดั อุณหภูมิ
จดุ ที่ 2 ลา งมอื ดวยเจลแอลกอฮอล
โรงเรียนดำเนินการขอความรวมมือจากผูปกครองอาสา สภานักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ
หมูบาน (อสม.) และประสานงานกับโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคที่ 17 ใหเปนที่ปรึกษาของโรงเรียน
ขณะทำการคัดกรองหากพบนักเรียนมีอาการไข จาม มีน้ำมูก หายใจเหนื่อยหอบ ใหผูปกครองรับนักเรียน
กลับไปพบแพทย
เมอื่ ผานจดุ คัดกรอง นักเรยี นเดินมายังจุดสแกนใบหนา เพื่อตรวจสอบการมาเรียนและลางมือกอนเดิน
ไปยังหอ งเรยี นที่มีครทู ่ีปรกึ ษาดแู ลอยู

กิจกรรมหนา เสาธง

โรงเรียนบางลี่วิทยาจะดำเนินการจัดกิจกรรมหนา เสาธง ในชวงเวลา 08.00 – 08.30 น. โดยให
นักเรียนเขาแถวที่โตะเรียน ในหองมีกิจกรรมหนาเสาธงผานทางอินเทอรเน็ตกลุมไลนหอง และเสียงตามสาย
โดยมคี รทู ่ปี รกึ ษาคอยดูแลความเรียบรอ ยและใหข อมูลรายละเอยี ดตามที่กิจกรรมหนา เสาธงตองการส่อื สาร

22

การจัดสภาพแวดลอมในหองเรยี น

โรงเรียนบางลี่วิทยาจะดำเนินการจัดสภาพแวดลอมในหองเรียน โดยจัดโตะเรียนจำนวนไมเกิน
20 – 25 ตัว แตละตัวมีการเวนระยะหางทางกายภายภาพ 2 เมตร สำหรับหองเรียนปกติทั่วไป และจัดโตะ
เรียนใหมีระยะหางทางกายภาย 1.5 เมตร และบนโตะเรียนมีฉากพลาสติกใสกั้น สำหรับหองเรียนพิเศษ
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1/8

สวนท่ี 4 เน้ือหาของครศู าสตรวิทย
ในหองเรียนทั้งหองเรียน ก และหองเรียน ข มีการจัดเวรทำความสะอาดหองเรียน โตะเรียน

และเกาอท้ี กุ ครงั้ ดวยนำ้ ยาฆา เช้อื ท้ังกอนเรยี น พกั กลางวันและหลงั เรียน มีการบันทกึ ขอมูลอยางเครง ครัด โดย
ครูท่ปี รกึ ษาคอยกำกบั ดแู ล

โรงเรยี นจะดำเนนิ การจดั ตั้งจุดวางเจลแอลกอฮอลล างมือบรเิ วณโตะครู ทกุ หองเรียน และขณะ
ในขณะท่ีจัดการเรยี นการสอน ครผู ูส อนและนักเรยี นตอ งใสห นากากอนามยั ตลอดเวลา

23

ครูที่ปรึกษาและครูผูสอน ใหความรูและคำแนะนำแกนักเรียน โดยใหนักเรียนทุกคนเตรียม
อุปกรณการเรียนของตนเองมาโรงเรียนใหพรอมทุกวัน หลีกเลี่ยงการยืมสิ่งของตาง ๆ จากเพื่อน และงด
การสัมผัสรา งกายซง่ึ กนั และกนั

24

การใชห องน้ำโรงเรียน

โรงเรียนจะดำเนินการจัดเจาหนาที่ ไดแก นักการภารโรงและแมบานทำความสะอาด มาดูแล
ทำความสะอาดหองน้ำ และดูแลนักเรียนในการใชหองน้ำ ทั้งในชวงเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน ใหนักเรียน
สลับกันใชห อ งน้ำครง้ั ละไมเกิน 2 คน โดยรอคิวและมจี ดุ เวน ระยะอยางชันเจน

โรงเรียนมีมาตรการในการทำความสะอาด ฆาเชื้อและบันทึกเวลาในการทำความสะอาดหองน้ำ
โรงเรยี น โดยมอบหมายครเู วรประจำวนั แมบาน นกั การ ดำเนนิ การอยา งเครง ครัด

25

ครูที่รับผิดชอบงานอนามัยรวมกับครูที่ปรึกษา สอนนักเรียนลางมือโดยเนนวิธีการลางมือ 7
ขน้ั ตอน 20 วินาทีของกรมอนามัย ผา นกลมุ ไลนของหองเรียนและกลุมไลนงานราชการของโรงเรียน และสอน
ปฏิบัติจริงประกอบเพลงลางมือในหองเรียน โดยเนนใหนักเรียนลางมือบอย ดวยสบูเหลวทั้งกอนและหลัง
รบั ประทานอาหาร

โรงเรียนมีมาตรการ ใหนักเรียนนำอาหารมารับประทานเองที่หองเรียนตามความสะดวก
และการสั่งขาวกลองรักษโลกจากแมคาในโรงอาหารไปรับประทานที่หองเรียน โดยเนนการเวนระยะหางทาง
สงั คม

26

การรับประทานอาหาร

1. การรับประทานอาหารของนักเรียน โดยนกั เรยี นรบั ประทานอาหาร
ทหี่ อ งเรยี นประจำ

- นกั เรียนนำอาหารมาจากบาน
- นกั เรียนส่งั ซื้ออาหารกบั รานคาทโ่ี รงอาหาร
2. น้ำดื่ม โดยโรงเรียนไดจัดจำหนายน้ำดื่มใหกับนักเรียน โดยการขอ
อนุญาตมาซอื้ น้ำดื่ม อยูในดลุ ยพนิ ิจของครูท่ีปรึกษาหรือครปู ระจำวชิ า โดยเนน
การเวน ระยะหางของนักเรียน

การมารับนักเรียนกลบั บา น

1. ผูปกครองมารับ
- ผปู กครองมารบั นักเรียนกลับบา น โดยผปู กครองมารับนกั เรยี นที่หนา อาคาร 1
- ผูปกครองผา นการคดั กรองของทางโรงเรยี น
- โรงเรียนปลอยนกั เรียนกลบั บานโดยมกี ารเหล่อื มเวลา

2. นกั เรยี นกลับบานเอง
- นักเรียนเดนิ เขาแถวโดยเวนระยะหางทางสังคมโดยการเดินออกจากโรงเรยี น
- นักเรียนเดนิ เขาแถวโดยเวน ระยะหา งทางสังคมข้ึนรับ – สงประจำ
- นกั เรียนเดนิ เขา แถวโดยเวนระยะหา งทางสังคมและนำรถจักรยานยนตกลับบา น

การทำความสะอาดหองเรียนและอาคารเรียน

โรงเรียนกำหนดมาตรการการทำความสะอาดหองเรียน และอาคารเรียน 3 เวลาคือ ชวงเชา
พักกลางวัน และหลังเลิกเรียน โดยในหองเรียนใหครูที่ปรึกษาจัดเวรรับผิดชอบในการทำความสะอาด
ประจำวนั

การเตรยี มตวั กอ นเปดภาคเรียน

- โรงเรยี นกำหนดมาตรการการทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรียนท้งั หมดดวยนำ้ ยาฆาเชอื้ กอ นเปด
ภาคเรยี น เชน ทำความสะอาดหองเรียน หองปฏิบัติการ หองพักครู อุปกรณไฟฟา ฯลฯ

- โรงเรยี นจดั หอ งพยาบาลเพื่อรองรบั นักเรียนกรณเี กิดการเจบ็ ปว ย และจดั ครูแนะแนว เปน ท่ี
ปรึกษากรณีนกั เรียนเกิดความวิตกกงั วลเก่ียวกับการระบาดของเชื้อโรคไวรสั โคโรนา 2019

- โรงเรียนเชิญหนวยงานภายนอก เชน โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราชองคที่ 17 เปนท่ีปรกึ ษาดาน
สขุ อนามยั ของโรงเรยี น

27

แนวทางการดำเนนิ งานและบริหารงบประมาณ
การสนบั สนุนคา ใชจ า ยในการจดั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ในชวงสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019

การบริหารงบประมาณประจำป โดยปกติแลวรัฐบาลสนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ใหกับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน จำนวน
5 รายการ ดงั นี้

1. คาจัดการเรยี นการสอน
2. คาหนงั สือเรียน
3. คา อุปกรณก ารเรยี น
4. คาเครื่องแบบนักเรียน
5. คา กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรยี น
โดยในแตล ะรายการ มีการดำเนินการดังน้ี
1. คาจดั การเรียนการสอน (เงนิ อุดหนนุ รายหัว) สามารถใชใ นลกั ษณะ 3 ประเภทงบรายจาย ดงั นี้

1.1 งบบุคลากร ไดแก คา จา งชว่ั คราว เชน จา งครูอัตราจา งรายเดอื น พนักงานขบั รถ นักการ
ภารโรง เปนตน

1.2 งบดำเนินงาน ไดแ ก คาตอบแทน คา ใชสอย คาวสั ดุ และคา สาธารณปู โภค
1.3 งบลงทุน ไดแ ก คาครภุ ัณฑ และคาที่ดิน สิง่ กอสราง
รายการที่ 2, 5, 4 ดำเนนิ การตามระเบยี บวธิ ีการใชง บประมาณ ในแตล ะประเภทรายการ
5. คากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู รียน
รายการคากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี น สถานศึกษาดำเนินการดังนี้
1) กจิ กรรมวชิ าการ
2) กจิ กรรมคุณธรรม จริยธรรม ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ ำเพ็ญประโยชน
3) กิจกรรมทศั นศึกษา
4) กจิ กรรมการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
5) กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เชน การผลิตสื่อการเรียนการสอน ใบงาน แบบฝกหัด และคาใชจายในการ
ติดตามและเยี่ยมบานนักเรียนทีเ่ ปนคาเบี้ยเลี้ยง คาพาหนะ คาน้ำมันเชื้อเพลิงของขาราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา เปน ตน

28

การปอ งกนั การแพรระบาดของโรค COVID-19
กรณเี กิดการระบาด

ในกรณีที่โรงเรียนพบวา มีนักเรียน ครู หรือบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนที่อยูในกลุม เสี่ยง ใหดำเนินการ
ตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 กรณีเกิดการระบาด ของกรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสขุ ดังตอ ไปนี้

กรณเี กดิ การระบาดในสถานศึกษา
เหตุการณร ะบาด หมายถงึ เม่ือพบผูปวยยืนยันอยางนอย 1 ราย ท่ีคิดวาอาจมีการแพรก ระจายเชื้อใน

สถานศกึ ษา
1. ผูปวยที่เขา เกณฑตองสอบสวน (PUI = Patient Under Inverstigation) หมายถึง ผูที่มีประวัตไิ ข

หรือวัดอุณภูมิกายไดตั้งแต 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไป รวมกับอาการทางเดินหายใจอยางใดอยางหนึ่ง (ไอ
น้ำมูก เจ็บคอ หายใจเร็ว หรือหายใจเหนื่อยหรือหายใจลำบาก) และมีประวัติสัมผัสใกลชิดกับผูปวยยืนยัน
ในชว ง 14 วันกอนมอี าการ

2. ผปู วยยืนยัน หมายถงึ ผทู ่มี ีผลตรวจทางหองปฏบิ ัตกิ าร พบวา ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
3. ผูสัมผัสทม่ี คี วามเส่ยี งตอการตดิ เชื้อสูง (High risk contact) หมายถึง ผสู มั ผัสใกลชิด ตามลักษณะ
ขอใดขอหนงึ่ ดังน้ี

- ผทู ีเ่ รยี นรวมหอ ง ผทู ่นี อนรวมหอ ง หรือเพอื่ นสนทิ ทค่ี ลุกคลกี นั
- ผูสัมผัสใกลชิดหรือมีการพูดคุยกับผูปวยในระยะ 1 เมตร นานกวา 5 นาที หรือถูกไอ จาม
รดจากผปู ว ยโดยไมม กี ารปอ งกนั เชน ไมสวมหนา กากอนามัย
- ผูที่อยูในบริเวณที่ปด ไมมีการถายเทอากาศ เชน ในรถปรับอากาศ ในหองปรับอากาศ
รว มกับผูปว ยและอยหู างจากผูปว ยไมเกนิ 1 เมตร นานกวา 15 นาที โดยไมมกี ารปองกนั
4. ผูส ัมผสั ทีม่ คี วามเสีย่ งตอการติดเช้ือตำ่ (Low risk contact) หมายถงึ ผทู ่ที ำกจิ กรรมอ่ืน ๆ รวมกับ
ผปู วย แตไมเ ขาเกณฑความเสย่ี ง
5. ผไู มไดสมั ผสั หมายถึง ผทู อ่ี ยใู นสถานศกึ ษาแตไ มมีกจิ กรรมหรอื พบผูป วยในชวง 14 วันกอนวัย
6. ผูที่มีภาวะเสีย่ งตอการปวยรุนแรง (Underlying condition) หมายถึง ผูที่มีภูมิตา นทานต่ำ หรือมี
โรคประจำตวั หรอื ผูสูงอายุ

29

ภาคผนวก

30

31

32

33

34

35

36


Click to View FlipBook Version