The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book เล่มนี้เป็นกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจด้านการบิน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น ไม่มีการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มฟรี ไม่มีระบบความบันเทิงให้บริการผู้โดยสาร เป็นต้น ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kawin.kk42, 2022-03-12 09:08:30

สายการบินต้นทุนต่ำ

E-Book เล่มนี้เป็นกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจด้านการบิน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น ไม่มีการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มฟรี ไม่มีระบบความบันเทิงให้บริการผู้โดยสาร เป็นต้น ทำให้สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถวางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย

Keywords: การบิน,เครื่องบิน,สายการบินต้นทุนตำ่

สายการบนิ ตน้ ทุนต่ำ

นาย ณฐั พล สุมานกิ กลมุ่ เรียนที่ 4 รหสั นกั ศึกษา 116410104014-8
นาย กวิน แจม่ ไส กลมุ่ เรียนท่ี 4 รหสั นกั ศกึ ษา 116410104021-3
นาย จกั รภพ เกตคุ ง กลมุ่ เรียนที่ 4 รหสั นักศึกษา 116410104043-7

รายงานน้เี ป็นส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาวิชาสารนิเทศและการเขียนรายงานทางวิชาการ
ภาควิชาอุตสาหกรรมการบริการการบิน คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564



สายการบนิ ต้นทุนต่ำ

นาย ณฐั พล สุมานกิ กลมุ่ เรียนที่ 4 รหัสนักศึกษา 116410104014-8
นาย กวิน แจม่ ไส กลมุ่ เรียนท่ี 4 รหัสนักศกึ ษา 116410104021-3
นาย จกั รภพ เกตคุ ง กลมุ่ เรียนที่ 4 รหัสนักศึกษา 116410104043-7

รายงานน้เี ป็นส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาวิชาสารนิเทศและการเขียนรายงานทางวิชาการ
ภาควิชาอุตสาหกรรมการบริการการบิน คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564



คำนำ

รายงานฉบับน้ี จดั ทำข้นึ เพือ่ ปฏิบัติการเขียนรายงานการคน้ คว้าท่ีถกู ต้องอย่างเป็นระบบ อันเป็น
ส่วนหนึ่งของรายวิชา 01210001 สารนิเทศและการเขียนรายงานทางวิชาการ (Information and
Academic Report Writing) ซึ่งรายงานนี้เป็นการอธิบายเพื่อให้เข้าใจในสายการบินต้นทุนต่ำ และยัง
สามารถนำความรู้ที่ไดใ้ นรายงานนี้ไปใชเ้ พ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อ่นื ดังนั้นมคี วามจำเป็นอย่าง
มากที่จะต้องนำเสนอความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ ที่มาและความสำคัญ ต้นกำเนิด ปัจจัย และ
กระบวนการตา่ งๆ ในอุตสาหกรรมสายการบนิ ตน้ ทนุ ต่ำ

รายงานเล่มนี้ กล่าวถึงเนื้อหาเกี่ยวกับสายการบินต้นทุนต่ำ เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจที่จะศึกษา
เกี่ยวกับสายการบินต้นทุนต่ำ หรือต้องการหาความรู้ในเรื่องนี้ก็สามารถศึกษาเป็นแนวทางได้เพื่อที่จะ
นำเอาไปใช้หรอื เผยแพรต่ ่อไป

ขอขอบคณุ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. พนดิ า สมประจบ ทก่ี รณุ าให้ความรู้และคำแนะนำโดยตลอด
และขอขอบคุณเจ้าของเว็บไซด์ที่ให้ความสะดวกในการค้นหาข้อมูล ที่ผู้ที่เขียนใช้อ้างอิงทุกท่าน หากมี
ขอ้ บกพร่องระการใด ผ้เู ขียนขอน้อมรบั ไว้เพอ่ื ปรบั ปรุงต่อไป

ณัฐพล สุมานิก
กวิน แจ่มไส

จกั รภพ เกตคุ ง
14 มีนาคม 2565



สารบัญ

หนา้
คำนำ............................................................................................................................. ........................ ก
สารบญั ภาพประกอบ............................................................................................................................ ง
บทที่

1 บทนำ............................................................................................................................. ............. 1
1.1 ความหมายของสายการบนิ ตน้ ทุนต่ำ (Meaning of low cost airlines).......................... 1
1.2 ต้นกำเนดิ ของสายการบินตน้ ทุนต่ำ (The origins of low-cost airlines)........................ 2
1.3 สายการบนิ ต้นทุนตำ่ แบง่ เปน็ 2 ประเภท (There are two types of low-cost 2

airlines)............................................................................................................................. ....................
1.3.1 Premium Low-Cost............................................................................................... 2
1.3.2 Ultra Low-Cost...................................................................................................... 3

2 ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ การเลือกใช้สายการบินต้นทนุ ต่ำ......................................................................... 4
2.1 ปจั จัยด้านสินค้า และ บรกิ าร (Product and service factors)........................................ 4
2.2 ปจั จยั ด้านราคา (price factor).......................................................................................... 5
2.3 ด้านช่องทางการจัดจำหนา่ ย (distribution channel)....................................................... 6
2.4 ดา้ นการส่งเสริมการตลาด (marketing promotion)......................................................... 7
2.5 ปัจจัยด้านบุคลากร (Personnel factor)........................................................................... 7
2.6 ปจั จัยดา้ นสภาพแวดลอ้ มกายภาพ (physical environment factor)............................. 7

3 รูปแบบการให้บริการของสายการบนิ ต้นทุนตำ่ ........................................................................... 9

3.1 รปู แบบในการให้บริการ (service model)...................................................................... 9

3.2 กลยทุ ธ์การให้บริการของสายการบนิ ต้นทุนตำ่ (Service strategy of low-cost 13
airlines)............................................................................................................................. ................... 14
15
3.3 ประเภทของกลยุทธก์ ารมุ่งเน้นความสนใจ (Types of Attention Focusing
Strategies)...........................................................................................................................................

4 กลยุทธส์ ว่ ยประสมการตลาดบรกิ ารของสายการบนิ ต้นทุนต่ำในประเทศไทย...........................

4.1 ขอ้ มลู ดา้ นประชากรศาสตร์............................................................................................... 16



สารบญั (ต่อ)

4.2 กลยุทธส์ ่วนประสมการตลาดบริการของสายการบินตน้ ทนุ ตำ่ .......................................... 16
17
4.3 พฤติกรรมการเข้าใช้บรกิ ารของ......................................................................................... 18

4.4 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบรกิ าร กบั ปจั จยั ดา้ น 20
ประชากรศาสตร์............................................................................................................................. ....... 20
22
5 ผลบวก/ผลลบ ของสายการบนิ ต้นทุนต่ำ.................................................................................. 23
24
5.1 ผลบวกของสายการบินต้นทนุ ต่ำ....................................................................................... 25
26
5.2 ผลลบของสายการบนิ ตน้ ทุนต่ำ...........................................................................................

6 สรุป............................................................................................................................. .....................

บรรณานกุ รม............................................................................................................................. ...........
บรรณานุกรม (ต่อ)........................................................................................................................ ........
บรรณานกุ รม (ต่อ)................................................................................................................................



สารบญั รปู ภาพ

ภาพท่ี หน้า
1 สายการบินไทเกอร์แอร์.............................................................................................................. 1
2 สายการบนิ นกแอร์..................................................................................................................... 2
3 สายการบนิ ไลอ้อนแอร์............................................................................................................... 3
4 การให้บรกิ ารสายการบนิ นกแอร์............................................................................................... 4
5 โปรโมช่ันสายการบินนกแอร.์ ..................................................................................................... 5
6 ช่องทางการจดั จำหน่ายสายการบินไลออ้ นแอร.์ ........................................................................ 6
7 สง่ เสรมิ เชญิ ชวน การตลาดสายการบนิ แอรเ์ อเชยี ..................................................................... 7
8 สภาพแวดล้อมกายภาพ............................................................................................................ 8
9 Boing 777................................................................................................................................ 10
10 Airbus 330............................................................................................................................. 10
11 เชค็ อินผา่ นแอปพลเิ คชนั่ แอร์เอเชยี ........................................................................................ 12
12 การโฆษณาบนลำตัวเครื่องบิน................................................................................................. 13
13 สายการบนิ Low-Cost........................................................................................................... 14
14 สายการบนิ ตน้ ทนุ ต่ำ................................................................................................................ 15

1

บทท่ี 1
บทนำ

สายการบินต้นทุนต่ำ คือ รูปแบบการให้บริการของสายการบิน โดยมีกลยุทธการดำเนินธรุ กิจด้าน
การบิน ด้วยการลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น เครื่องแบบพนักงาน อาหารบริการบนเครื่องบิน ทำให้
สามารถขายตั๋วโดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต ทำให้
สามารถวางแผนจดั การเท่ยี วบนิ ได้งา่ ย

1.1 ความหมายของสายการบนิ ต้นทนุ ต่ำ (Meaning of low cost airlines)
สายการบนิ ตน้ ทุนต่ำเปน็ สายการบนิ ท่ีมีราคาค่าตว๋ั ถูกกว่าสายการบินมาตรฐาน ด้วยการลดต้นทุน

การบนิ เช่น เครอื่ งแบบพนกั งานทีด่ ูเรียบง่ายกว่าสายการบินพรเี มยี ม, ไม่มีอาหารและเครอื่ งด่ืมบริการฟรี
บนเครื่องบิน, ไมม่ ีโควตานำ้ หนกั บรรทุกสมั ภาระใต้เคร่ืองบินให้ผ้โู ดยสารฟรี เป็นต้น ทำใหส้ ามารถขายต๋ัว
โดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งยังเน้นการขายตั๋วล่วงหน้าผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งช่วยให้สามารถ
วางแผนจัดการเที่ยวบินได้ง่าย ลดความเสี่ยงด้านการโดยสารไม่เต็มลำ เช่น ไทยแอร์เอเชีย ไทเกอร์แอร์
เวย์ นกแอร์ ไทยไลอ้อนแอร์ เปน็ ตน้

ภาพท่ี 1 สายการบนิ ไทเกอร์แอร์, ม.ป.ท. : ออนไลน์

2

ภาพท่ี 2 สายการบินนกแอร์, ม.ป.ท. : ออนไลน์

1.2 ตน้ กำเนิดของสายการบินต้นทุนตำ่ (The origins of low-cost airlines)
ต้นกำเนิดสายการบินราคาระหยัดนั้นมาจากประเทศสหรัฐอเมริกาด้วยสายการบิน SouthWest

Airlines ในช่วงปี 2513 จากนั้นรูปแบบการดำเนินธุรกิจก็ได้รับการถ่ายทอดไปยังยุโรปโดยในปี 2534
โดยครั้งนั้นได้เปลี่ยนลักษณะการบริการแบบ Traditional Carrier ของสายการบินสัญชาติไอริชอย่าง
Ryanair ให้เป็นสายการบินราคาประหยัด จากนั้นแนวคิดได้ถูกนำไปปรับใช้อย่างแพร่หลายจนกระท่ัง
ปัจจุบัน ยุโรปมีสายการบินราคาประหยัดแพร่รายใหญ่หลายสาย เช่น EasyJet , Norwegian Air
Shuttle , WizzAir สายการบินราคาประหยัดในสหภาพยุโรปจะมีลักษณะพิเศษเพราะอยู่ในระบบตลาด
เดยี วของสหภาพ กลา่ วคอื สามารถไปตั้งศูนย์กลาง การบนิ ในประเทศสมาชิกสหภาพยโุ รปไดเ้ ลยโดยไม่
ตอ้ งร่วมหุน้ ต้งั สายการบินกบั ประเทศทไี่ ปตัง้ ศนู ย์กลางการบนิ
1.3 สายการบินต้นทุนตำ่ แบ่งเปน็ 2 ประเภท (There are two types of low-cost airlines)

1.3.1 Premium Low-Cost : สายการบินต้นทุนต่ำ ที่ยังคงให้สิทธิ์แก่ผู้โดยสารในการโหลด
สัมภาระลงใต้ท้องเครื่องบินได้ฟรีไม่เกิน 10-20 กิโลกรัม, เลือกที่นั่งฟรี และยังมีของว่างและน้ำดื่มใน
ปริมาณที่จำกัด ให้บริการบนเที่ยวบิน โดยสายการบินที่ให้บริการลักษณะนี้ เช่น มาลินโดแอร์ของ
มาเลเซยี , นกแอร์ในช่วง พ.ศ. 2547-2559, ไทยไลออ้ นแอร์ ในช่วง พ.ศ. 2556-2559

3

1.3.2 Ultra Low-Cost : สายการบินต้นทนุ ต่ำ ทย่ี ึดหลักว่า "ไมม่ อี ะไรฟรี อยากได้อะไรเพม่ิ ก็
ต้องซื้อเพิ่ม" ถา้ ไม่ซื้ออะไรเพมิ่ กจ็ ะไดแ้ ค่การเดินทางท่ปี ลอดภยั จนถงึ จุดหมายปลายทางเทา่ นั้นถ้ามี
สมั ภาระใหญ่เกนิ กำหนดไม่อนุญาตใหข้ ้ึนไปบนเคร่ืองบินต้องเสยี คา่ ระวางโหลดสมั ภาระใต้ท้องเครื่องบนิ
(แต่บางสายการบินหรือบางระดบั ของต๋วั ก็ใหส้ ิทธโ์ิ หลดสมั ภาระฟรี) อยากนั่งตรงไหนพเิ ศษกต็ ้องจา่ ยเพ่มิ ,
อยากทานอาหารบนเคร่ืองก็ต้องซื้อเพิ่ม, ตัดบรกิ ารทุกสงิ่ อยา่ งออกเหลือแค่การใหบ้ ริการการเดินทางด้วย
ความปลอดภัยและตรงต่อเวลามากทีส่ ุด สายการบินแบบน้ีตว๋ั มกั จะมรี าคาถกู กว่าของสายการบนิ แบบ
Premium Low-Cost สายการบนิ ในลักษณะนี้เช่น ไลออ้ นแอร์, แอรเ์ อเชยี , ไทเกอรแ์ อร์, เจต๊ สตาร์, สกู๊ต,
เซบแู ปซิฟิค เป็นตน้

ภาพที่ 3 สายการบนิ ไลอ้อนแอร์, ม.ป.ท : ออนไลน์

4

บทท่ี 2
ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลอื กใช้สายการบินต้นทนุ ตำ่

ปจั จบุ ันการคมนาคมทางอากาศมีความสำคญั ตอ่ การคมนาคมในประเทศไทยมากข้ึน อีกท้ังคนไทย
ก็ให้ความสนใจทีจ่ ะเดินทางโดยเครื่องบนิ โดยสารเพิ่มขึ้น ทำให้อัตราการเติบโตของสายการบินต้นทนุ ตำ่
ในประเทศไทยอย่างต่อเนื่องและมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง โดยเฉพาะการแข่งขันจัดโปรโมชั่นด้าน
ราคา

2.1 ปจั จัยด้านสนิ ค้า และ บริการ (Product and service factors)
ด้านสินค้าและบริการ หมายถึง สินค้าหรือบริการที่จัดทำขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของ

ผู้โดยสารใหเ้ กิดความพึงพอใจ ได้แก่ ด้านความทันสมัยของตัวเครื่องบิน การบริการอาหารและเคร่ืองด่มื
บนเครื่องบิน ความสะดวกสบายของเก้าอี้โดยสาร ความหลากหลายของเส้นทางบิน ความปลอดภัยและ
ช่ือเสียงของสายการบิน

ภาพที่ 4 การให้บรกิ ารสายการบนิ นกแอร์, ม.ป.ท : ออนไลน์

5

2.2 ปัจจัยดา้ นราคา (price factor)
ด้านราคา หมายถงึ จำนวนเงนิ หรือจำนวนมูลค่ารวมทผ่ี โู้ ดยสารยอมจ่ายเพื่อแลกกับผลประโยชน์ท่ี

ได้รับจากการใช้บริการจากสายการสายการบิน ได้แก่ ราคาบัตรโดยสารการแจกแจงรายละเอียดราคา
บัตรโดยสารท่ีชัดเจน และราคาบัตรโดยสารเครื่องบนิ ของสายการบนิ ประเภทนีม้ ักจะตำ่ กว่าบัตรโดยสาร
ชั้นประหยัดของสายการบินใหญๆ่ ประมาณ 40-50 %

ภาพท่ี 5 โปรโมช่ันสายการบนิ นกแอร์, ม.ป.ท. : ออนไลน์

6

2.3 ดา้ นชอ่ งทางการจดั จำหน่าย (distribution channel)
ดา้ นช่องทางการจัดจำหนา่ ย หมายถึง สถานที่ในการใหบ้ ริการและช่องทางในการจัดจำหน่ายบัตร

โดยสาร ไดแ้ ก่ ความหลากหลายของช่องทางการซ้ือบัตรโดยสาร และมีความหลากหลายของช่องทางการ
ชำระเงิน และมีการพัฒนาระบบการจองและการขายบัตรโดยสารของสายการบินเองโดยไม่ผ่านตัวกลาง
หรือตวั แทนจำหนา่ ย เพ่อื ลดคา่ ใชจ้ ่ายต่างๆ เชน่ คา่ คอมมสิ ชน่ั เป็นตน้ ส่วนใหญเ่ ปน็ การขายบตั รโดยสาร
ผา่ นทางอนิ เทอร์เนต็ หรือทางโทรศพั ท์นอกจากนี้ เพื่อประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการพิมพ์และค่ากระดาษ บาง
สายการบินออกบัตรโดยสารโดยใช้กระดาษบางคลา้ ยกระดาษใบเสร็จรับเงนิ ของห้างสรรพสินค้า แทนการ
ออกบัตรกระดาษแข็งอย่างตั๋วของสายการบินพรีเมียม และบางสายการบินมีการออกบัตรโดยสารแบบ
Ticketless คือ ไม่มีการออกบัตรโดยสารเป็นกระดาษให้ แต่จะบอกรหัสบัตรโดยสารให้ผู้โดยสาร เมื่อ
Check-in ผู้โดยสารเพียงแต่บอกรหัสและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเท่าน้ัน
หรอื ผโู้ ดยสารสามารถ Check-in ออนไลนผ์ า่ นอินเทอร์เนต็ แล้วจึงพิมพ์ ไฟล์บัตรโดยสารได้โดยไม่ต้องให้
พนักงานพิมพ์ให้ หรือสามารถ Check-in ผ่านสมาร์ตโฟนโดยใช้แอปพลิเคชันของสายการบิน แล้วจะ
ได้รับข้อมูลบัตรโดยสารในสมาร์ตโฟนซึ่งใช้แทนบัตรกระดาษได้เลย บางสายการบินยังอาจมีการคิด
ค่าธรรมเนยี มการพิมพ์บัตรโดยสารท่ีสนามบินกบั ผูโ้ ดยสารทไี่ มไ่ ด้พิมพ์บตั รโดยสารเตรียมมาลว่ งหนา้

ภาพท่ี 6 ช่องทางการจดั จำหนา่ ยสายการบินไลออ้ นแอร์, ม.ป.ท. : ออนไลน์

7

2.4 ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด (marketing promotion)
การชกั จูงให้กลุ่มเป้าหมายตัดสนิ ใจใช้บริการ ไดแ้ ก่การลดราคาบตั รโดยสาร สทิ ธิที่ได้รับจากการ

สะสมคะแนนจากสายการบิน การโฆษณาประชาสัมพันธ์ในสื่อต่าง ๆ และบางสายการบินราคาประหยัด
บางรายยังได้ขายโฆษณาบนลำตวั เคร่ืองบนิ หรอื โฆษณาจำนวนมากภายในห้องโดยสารของเครื่องบินอีก
ด้วยเพื่อเพมิ่ รายได้ แม้อาจทำใหผ้ โู้ ดยสารเสยี บรรยากาศ

ภาพท่ี 7 สง่ เสริมเชิญชวน การตลาดสายการบินแอร์เอเชีย, ม.ป.ท. : ออนไลน์

2.5 ปจั จยั ด้านบุคลากร (Personnel factor)
พนักงานที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ให้บริการเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้โดยสาร บุคคลากรต้องมี

ความสามารถมีทัศนคติที่ตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ มีความคิดริเริ่ม มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา
ไดแ้ ก่ พนกั งานภาคพน้ื ดนิ พนักงานตอ้ นรับบนเครือ่ งบิน
2.6 ปจั จัยด้านสภาพแวดล้อมกายภาพ (physical environment factor)

รูปลักษณ์ภายนอกที่ผู้โดยสารสามารถมองเห็นและรับรู้เป็นการสร้างและน ำเสนอลักษณะทาง
กายภาพให้แก่ลูกค้า โดยสร้างคุณภาพโดยรวมทั้งทางด้านกายภาพ และรูปแบบการให้บริการเพื่อสร้าง
คุณค่าให้กับลูกค้าไม่ว่าจะเป็นเคาน์เตอร์ของสายการบิน ตัวเครื่องบิน รูปลักษณ์สีสันของตัวเครื่องบิน
และความสะอาดภายในห้องโดยสารเครื่องบิน

8

ภาพที่ 8 สภาพแวดลอ้ มกายภาพ, ม.ป.ท. : ออนไลน์

9

บทที่ 3
รูปแบบการใหบ้ รกิ ารของสายการบนิ ตน้ ทุนต่ำ

สายการบนิ ราคาประหยัด หรอื สายการบินต้นทนุ ต่ำ เปน็ กลยทุ ธ์การดำเนินธุรกิจด้านการบิน ด้วย
การลดค่าใช้จ่ายของการบิน เช่น ไม่มีการให้บริการอาหารและเครื่องดื่มฟรีไม่มีระบบความบันเทิง
ให้บริการผู้โดยสาร เป็นต้น ทำให้สามารถขายตัว๋ โดยสารในราคาประหยัดได้ อีกทั้งมีการขายตั๋วลว่ งหนา้
ผ่านระบบอินเทอรเ์ น็ตทำใหส้ ามารถวางแผนจดั การเทย่ี วบินได้ง่ายลดความเส่ยี งการโดยสารไมเ่ ต็มลำ

3.1 รปู แบบในการใหบ้ ริการ (service model)

-ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินของสายการบินประเภทนี้มักจะต่ำกว่าบัตรโดยสารชั้นประหยัดของสายการ
บนิ ใหญ่ๆ ประมาณ 40-50 %

-ให้บริการแบบ Single Economy Class คือมีบริการที่นั่งเฉพาะชั้นประหยัด (สำหรับเส้นทางบิน
ระยะไกลซ่งึ ใชเ้ ครอื่ งบินขนาดใหญ่ อาจมีชั้นธุรกิจใหบ้ รกิ ารดว้ ย)

-มักใช้เครื่องบินโดยสารเพียงรุ่นเดียวหรือแบบเดียวในการให้บริการ เพื่อความสะดวกและประหยัดค่า
บำรุงรักษา ตลอดจนค่าใช้จ่ายฝึกอบรมนักบิน เพราะการใช้เครื่องบินน้อยรุ่นทำให้ประหยัดค่าอะไหล่/
อปุ กรณ์ และงา่ ยตอ่ การดูแลรักษา นอกจากน้ี ยงั อาจไดร้ ับสว่ นลดในการส่ังซ้ือจากบริษัทผู้ผลิตเคร่ืองบิน
เมื่อเหมาซื้อเครื่องบินแบบและรุ่นเดียวกันทั้งฝูงบิน นอกจากนี้เครื่องบินรุ่นที่เลือกใช้ก็เป็นรุ่นท่ี
ประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิง มีขนาดเครื่องบินที่เหมาะสมกับระยะทางการบินและจำนวนผู้โดยสาร แต่ก็จัด
วางที่นั่งให้เต็มลำที่สุด หรือเป็นที่นั่งชั้นประหยัดทั้งลำ เพื่อให้สามารถจุผู้โดยสารได้มากที่สุดในแต่ละ
เที่ยวบินด้วย (เช่น แอรบ์ ัส เอ320 หรอื โบอิง 737 เป็นตน้ )

10

-ส่วนใหญใ่ ห้บริการเสน้ ทางบนิ ไม่ไกลนัก มักใช้เวลาบนิ ไม่เกิน 3-4 ชวั่ โมง เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั พิสัยการบิน
ของเครอื่ งบนิ ร่นุ ทป่ี ระหยัดน้ํามนั เชื้อเพลงิ ดังกล่าว หรอื หากเสน้ ทางบินไกล 5-12 ชวั่ โมงกจ็ ะใช้เครื่องบิน
ลำใหญ่ขึ้น ที่ยังมีความประหยัดน้ำมัน และสามารถบินได้ไกลกว่าเพราะบรรจุน้ำมันเชื้อเพลิงได้มากกว่า
แต่ก็จำเป็นตอ้ งมีจำนวนผู้โดยสารท่ีซ้ือตั๋วที่มากขึ้นตามขนาดของเครื่องบินด้วยเพื่อให้เที่ยวบินน้ันเตม็ ลำ
หรือทำกำไรไดม้ ากทสี่ ดุ (เชน่ โบอิง 777หรือ แอร์บัส A330 เปน็ ต้น)

ภาพท่ี 9 Boing 777, ม.ป.ท. :ออนไลน์

ภาพที่ 10 Airbus 330, ม.ป.ท. : ออนไลน์

11

-ส่วนใหญ่จะไม่มีบริการแจกอาหารและเครื่องดื่มฟรีแก่ผู้โดยสารทุกคนบนเครื่องบิน ซึ่งจะช่วยลดภาระ
งานและจำนวนพนกั งานต้อนรับบนเครอื่ งบนิ ได้ หากผ้โู ดยสารตอ้ งการอาหารหรอื เครือ่ งด่ืม สามารถเลือก
ซ้ือไดใ้ นกระบวนการจองต๋วั เครื่องบิน หรือแกไ้ ขข้อมลู ตั๋วเพ่อื เลือกซื้ออาหารและเครื่องดื่มเพ่ิม หรือซื้อได้
โดยตรงจากพนกั งานบนเครือ่ งบิน

-ส่วนใหญ่จะไม่มีโควตาน้ำหนักสัมภาระบรรทุกใต้ท้องเครื่องบินให้ฟรีแก่ผู้โดยสารทุกคนบนเครื่องบิน
หากผู้โดยสารต้องการบรรทุกสัมภาระใต้ท้องเครื่องบิน สามารถเลือกซื้อโควตาน้ำหนักสัมภาระได้ใน
กระบวนการจองตวั๋ เครื่องบิน หรือในการแกไ้ ขข้อมลู ตวั๋ ภายหลังการซ้ือ (มักจะราคาแพงกวา่ การซ้ือพร้อม
กระบวนการจองต๋ัว)

-มักจะมคี วามเข้มงวดในการบังคับใช้กฎที่เก่ียวกับจำนวน นำ้ หนัก และขนาด ของกระเป๋าหรือสัมภาระท่ี
ถือติดตัวขึ้นเครื่องบิน มากกว่าสายการบินที่ให้บริการเต็มรูปแบบ (สายการบินระดับพรีเมียม หรือสาย
การบินฟลู เซอรว์ ิส) โดยทั่วไป ทผี่ โู้ ดยสารจะไดร้ บั โควตานำ้ หนกั สัมภาระบรรทุกฟรี (ผ้โู ดยสารสายการบิน
เต็มรปู แบบจึงอาจไมจ่ ำเป็นต้องถือกระเปา๋ เดินทางขนาดใหญต่ ดิ ตัวขน้ึ ไปบนเคร่ืองบิน)

-เน้นบริการขึ้นและลงจอด ณ สนามบินระดับรอง ไม่ใช่สนามบินที่เป็นศูนย์กลางการบินหลัก ๆ ระหว่าง
ประเทศ (Hub) เชน่ การใช้ทา่ อากาศยานดอนเมืองหรือทา่ อากาศยานอตู่ ะเภาแทนท่าอากาศยานสุวรรณ
ภูมิ เปน็ ตน้ ทำให้ตน้ ทุนค่าใช้สนามบนิ ต่ำกว่า ไมว่ ่าจะเป็นคา่ ธรรมเนียมขึ้น–ลงจอด และการใช้พ้ืนท่ีจอด
เครื่องบิน โดยพยายามบินให้มากที่สุด เพื่อลดต้นทุนให้กับสายการบินได้มากขึ้น และจอดเครื่องให้น้อย
ที่สุด เช่นไม่เกิน 45 นาทีถึง 1 ชั่วโมง เพื่อที่ค่าธรรมเนียมในการจอดที่สนามบินในเส้นทางนั้น ๆ จะได้มี
ราคาถูก

-มีการพัฒนาระบบการจองและการขายบัตรโดยสารของสายการบินเองโดยไม่ผ่านตัวกลางหรือตัวแทน
จำหน่าย เพื่อลดค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าคอมมิสชั่น เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นการขายบัตรโดยสารผ่านทาง
อินเทอร์เน็ต (e-ticketing) หรือทางโทรศัพท์ (Call Center) นอกจากนี้ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
พิมพ์และค่ากระดาษ บางสายการบินออกบัตรโดยสารโดยใช้กระดาษบางคล้ายกระดาษใบเสร็จรับเงิน
ของห้างสรรพสนิ คา้ แทนการออกบัตรกระดาษแขง็ อย่างตั๋วของสายการบินพรีเมียม และบางสายการบิน
มกี ารออกบัตรโดยสารแบบ Ticketless คอื ไมม่ ีการออกบัตรโดยสารเป็นกระดาษให้ แต่จะบอกรหัสบัตร
โดยสารให้ผู้โดยสาร เมื่อ Check-in ผู้โดยสารเพียงแต่บอกรหัสและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนให้
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเท่านั้น หรือผู้โดยสารสามารถ Check-in ออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ตแล้วจึงพิมพ์

12

(พรนิ ต์) ไฟล์บัตรโดยสารได้โดยไม่ต้องให้พนักงานพิมพ์ให้ หรือสามารถ Check-in ผ่านสมาร์ตโฟนโดยใช้
แอปพลิเคชันของสายการบิน แล้วจะได้รบั ข้อมูลบัตรโดยสารในสมาร์ตโฟนซึง่ ใช้แทนบัตรกระดาษได้เลย
บางสายการบินยังอาจมีการคิดค่าธรรมเนียมการพิมพ์บัตรโดยสารที่สนามบินกับผู้โดยสารที่ไม่ได้พิมพ์
บตั รโดยสารเตรยี มมาลว่ งหน้า

ภาพที่ 11 เชค็ อนิ ผ่านแอปพลิเคชั่นแอร์เอเชีย, ม.ป.ท. : ออนไลน์
-ไม่มีการบริการภาคพื้นดิน เช่น ไม่มีห้องรับรองพิเศษ (VIP Lounge) ไม่มีบริการจัดส่งหรือถ่ายโอน
สัมภาระเลยเส้นทางบิน หรือจุดหมายปลายทาง (No Baggage Transferring Service) แต่อาจมีบริการ
ตามความต้องการของผู้โดยสาร เช่น ห้องรับรอง,รถรับส่งจากสนามบินไปยังเมืองปลายทาง
โดยผ้โู ดยสารตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ิมเติม

13

-สายการบินราคาประหยัดมีนโยบายให้นักบินต้องเน้นการประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิงให้กับสายการบิน
นกั บนิ จงึ อาจใช้วิธีการต่าง ๆ ในการขับเคร่ืองบนิ ให้ประหยัดน้ำมนั เช่น การบินไต่ระดับสูงข้ึนหรือบินลด
ระดับลงจะเป็นไปอย่างรวดเร็ว เป็นต้น อาจทำให้ความสบายในการนัง่ โดยสารนั้นมนี ้อยกว่าของสายการ
บนิ เต็มรูปแบบ แต่อยา่ งไรก็ตามไมไ่ ดเ้ ป็นการลดความปลอดภยั ลงแต่อย่างใด
-สายการบินราคาประหยัดบางรายยังได้ขายโฆษณาบนลำตัวเครื่องบินหรือ โฆษณาจำนวนมากภายใน
ห้องโดยสารของเครื่องบินอีกดว้ ยเพือ่ เพิ่มรายได้ แมอ้ าจทำใหผ้ ู้โดยสารเสียบรรยากาศ

ภาพท่ี 12 การโฆษณาบนลำตัวเครอื่ งบนิ , ม.ป.ท. : ออนไลน์

3.2 กลยทุ ธก์ ารให้บริการของสายการบินตน้ ทุนต่ำ (Service strategy of low-cost airlines)
เพราะในช่วงหลายปีที่ผ่านมาธุรกิจสายการบินต้นทุนต่ำมีแนวโน้มที่จะเติบโตได้ดีในอนาคต

เนื่องจากรูปแบบการให้บริการของสายการบินต้นทุนต่ำนั้นจะแตกต่างจากการให้บริการของสายการบิน
ปกตทิ ม่ี ่งุ เนน้ การบริการแบบหรูหรา สะดวกสบายและมีราคาคา่ โดยสารท่สี งู แตร่ ูปแบบการให้บริการของ
สายการบินต้นทุนต่ำนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การทำงานที่มีประสิทธิภาพ ลดการบริการหรือสิ่งอำนวยความ
สะดวกทไ่ี มจ่ ำเป็นออกไปเพื่อลดตน้ ทนุ ทำใหส้ ามารถกำหนดอัตราคา่ โดยสารใหร้ าคาตำ่ มาก ๆ ได้

14

ภาพที่ 13 สายการบนิ Low-Cost, ม.ป.ท : ออนไลน์
จึงเป็นปจั จัยสำคญั ทีก่ ระตุ้นให้มีผู้โดยสารเข้ามาใชบ้ ริการเพ่ิมมากขึ้น อีกท้งั ภาครฐั บาลยังให้การ
ส่งเสริมธุรกิจสายการบิน ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศตามนโยบายเปิดน่านฟ้าเสรี ดังนั้นจึง
จำเป็นอย่างยงิ่ ทผ่ี ู้ประกอบการในปจั จุบันจะต้องเข้าใจลักษณะพฤติกรรมและปัจจัยที่มผี ลต่อการตัดสินใจ
เลอื กใชบ้ ริการสายการบินต้นทนุ ต่ำ เพ่อื ผู้ประกอบการจะไดส้ ามารถกำหนดกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของผโู้ ดยสารให้มากที่สุด

3.3 ประเภทของกลยุทธ์การมงุ่ เน้นความสนใจ (Types of Attention Focusing Strategies)
กลยุทธ์การมุ่งจุดสนใจเฉพาะ ตั้งอยู่บนฐานระหว่างการเป็นผู้นำด้านราคาต้นทุนต่ำกับความ

แตกตา่ งของสินค้าและบรกิ าร เง่อื นไขทีจ่ ะทำให้กลยทุ ธก์ ารมุ่งจดุ สนใจเฉพาะมีความนา่ สนใจ มดี ังตอ่ ไปน้ี
คือ เป้าหมายและส่วนแบ่งทางการตลาดมีขนาดใหญ่มากพอที่จะทำให้มีผลกำไรและมีศักยภาพใน
การเติบโตของตลาด ผู้นำในอุตสาหกรรมจะต้องพยายามที่จะลดจำนวนของคู่แข่งลงการทำให้คู่แข่งเข้า
มาในตลาดได้ยากขึ้นคือ การเพิ่มความสามารถขององค์กรในการตอบโจทย์ลูกค้าให้มากขึ้น จนกระทั่ง
สามารถทำให้ลูกค้าไดร้ ับความพึงพอใจมากกว่าที่คาดหวงั ไวใ้ นตลาดเฉพาะส่งิ ทผี่ ูใ้ หบ้ รกิ ารจะต้องละเอียด
และ ใสใ่ จคือ ความชอบและไมช่ อบของลกู ค้า

15

บทท่ี 4
กลยุทธ์ส่วยประสมการตลาดบริการของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย

ในประเทศไทย การเดินทางทางอากาศได้รับความนยิ มกนั อยา่ งแพร่หลายทัง้ ในกล่มุ นักท่องเท่ียว
และนักธุรกิจ อันเนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ เช่น ความสะดวกสบาย ความรวดเร็วในการเดินทาง
การประหยัดเวลาในการเดินทาง ท่าให้ธุรกิจการบินเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่องมีสายการบินจำนวน มาก
เกิดขึ้นใหม่เพื่อรองรับความต้องการของผู้ใช้บริการ โดยสายการบินแบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ
สายการบินระดับพรีเมี่ยม (Premium Airline) และสายการบินประเภทต้นทุนต่ำ (Low Cost Airline)
ในปี พ.ศ.2545 รัฐบาลไทยได้มีนโยบายการเปิดน่านฟ้าเสรีภายในประเทศเพ่ือเป็นการส่งเสริมให้มีสาย
การบินสามารถเข้าท่าการแข่งขันทั้งทางด้านราคาและบริการ ท่าให้สายการบินเอกชนสามารถบินทับ
เส้นทางการบินของสายการบินแห่งชาติได้และต่อมาได้ยกเลิกข้อก ำหนดเพดานราคาขั้นต่ำสายการบิน
ต่างๆ จึงสามารถกำหนดอัตราค่าโดยสารในราคาที่ถูกลงได้ สง่ ผลให้ธุรกิจสายการบินราคาประหยัด
หรือต้นทนุ ต่ำ (Low Cost Airline) แนวโน้มความต้องการของตลาดยังมคี วามต้องการสูงขึน้ เร่ือย ๆ จาก
การที่ผู้โดยสารค่านึงถงึ เร่ืองความประหยัด ควบคู่กับการเดินทางถงึ จุดหมายปลายทางอย่างรวดเร็ว และ
ปลอดภัยแต่สายการบินต้นทุนต่ำจะกำหนดเง่ือนไขต่างๆ กับผู้โดยสาร เช่น ไม่มีการคืนตั๋วให้ หาก
ผโู้ ดยสารยกเลิก หรอื มาไม่ทนั หากจะเปล่ียนเท่ียวบนิ ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมตลอดจนจา่ กดั น้ำหนกั สมั ภาระ
เข้มงวด ส่วนท่ีเกินต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมรวมไปถึงการจ่าหน่ายอาหารและเครื่องดื่มบนเคร่ืองแทนการ
แจกอาหารและเคร่ืองดื่มฟรี โดยมสี ายการบินตน้ ทุนต่ำ ไดแ้ กส่ ายการบินไทยไลอ้อนแอร์, สายการบินนก
แอรแ์ ละสายการบินแอร์เอเชยี

ภาพที่ 14 สายการบนิ ตน้ ทุนตำ่ , ม.ป.ท. : ออนไลน์

16

*ข้อมูลอ้างอิงมาจาก วารสารวิชาการ สถาบนั เทคโลยีแห่งสุววรณภูมิ*

4.1 ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
อิงข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 400 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 34.1 อายุ

ระหว่าง 26 – 35 ปี คิดเป็นร้อยละ 41.8 การศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 65.8 อาชีพรับ
ราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกจิ คดิ เปน็ ร้อยละ 38.8 และมีรายได้เฉลี ยต่อเดือน 15,001- 30,000 บาท คิด
เป็นรอ้ ยละ 59.8

4.2 กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการของสายการบินต้นทุนตำ่
ในส่วนของกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการของสายการบินต้นทุนต่ำพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้

ความสำคัญทุกด้านในระดับมาก โดยในด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Evidence) มีค่าเฉล่ีย
รวมที่ 4.01 และค่าเฉลี่ย ด้านเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้บรรยากาศบนเคร่ืองบินมีค่าเฉลี่ยที
4.38ความสะอาดของห้องโดยสารมีค่าเฉลี่ยที 4.32 รูปแบบของเคร่ืองแบบพนักงานบริการภาคพื้นดิน
และบนเคร่ืองบินมีค่าเฉล่ียที 4.28 เคร่ืองบินมีความทันสมัย และอุปกรณ์มีความพร้อมในการให้บริการมี
ค่าเฉลี่ยที 4.09, ห้องน้ำสะอาด และมีอุปกรณ์ที่ ใช้ในห้องน้ำท่ีเพียงพอมีค่าเฉล่ียที 3.76, ท่ีน่ังโดยสาร
กว้างขวาง สะอาดและมีความสะดวกสบายมีค่าเฉล่ียที 3.68 และเคร่ืองบินมีรูปลักษณ์ การตกแต่ง และ
การออกแบบที่ทันสมัยสวยงามมีค่าเฉลี่ยที่ 3.61 ตามลำดับในด้านราคา (Price) มีค่าเฉลี่ย รวมท่ี 3.93
และค่าเฉลี่ยด้านเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ การแจ้งอัตราค่าโดยสาร/ค่าธรรมเนียมต่างๆ
อยา่ งชัดเจนมคี ่าเฉลี่ยที่ 4.08, อตั ราคา่ โดยสาร/ค่าธรรมเนียมที่ เหมาะสมมีคา่ เฉลี่ยที 4.00, ไม่มคี า่ ใช้จา่ ย
อื่นๆ เพ่ิมเติมขณะท่ี ใช้บริการ เช่น อาหาร/เคร่ืองด่ืมมีค่าเฉล่ียที 3.97 และอัตราค่าโดยสาร/
ค่าธรรมเนียมที่ ถูกกว่าสายการบินอื่นมคี ่าเฉล่ียที 3.67 ตามลำดบั

ในด้านการส่งเสริมการตลาดมีค่าเฉลี่ยรวมที่ 3.79 และค่าเฉล่ียด้านเรียงตามล่าดับจากมากไป
น้อยได้ดงั น้มี กี ารโฆษณา ประชาสัมพนั ธต์ ามสื่อตา่ งๆมีค่าเฉล่ียท่ี 3 .82, มีศูนยบ์ ริการขอ้ มูล Call Center
เพ่ือบริการสอบถามข้อมูลมีค่าเฉลี่ยที่ 3.81, มีรายการส่งเสริมการขายท่ีจูงใจเช่น การลดราคาค่าโดยสาร
มีค่าเฉล่ียท่ี 3.79 และมีเว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนมีค่าเฉลี่ยท่ี 3.77 ตามลำดับในด้านการส่งเสริม
การตลาด มีค่าเฉล่ีย รวมที่ 3.79 และค่าเฉลี่ยด้านเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้มีการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ตามสื่อ ต่างๆ มีค่าเฉลี่ยที 3.82, มีศูนย์บริการข้อมูล (Call Center) เพ่ือบริการสอบถาม
ข้อมูลมคี า่ เฉล่ียที่ 3.81, มีรายการส่งเสริมการขายที่ จูงใจเชน่ การลดราคาค่าโดยสารมีค่าเฉลี่ยที่ 3.79

17

และมีเว็บไซต์ท่ีให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนมีค่าเฉลี่ยท่ี 3.77 ตามลำดับในด้านช่องทางการจัด
จำหน่าย (Place) มีค่าเฉลี่ยรวมที่3.76 และค่าเฉล่ียด้านเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้มีความ
สะดวกรวดเรว็ ในการซื้อ/สอบถามเก่ียวกบั ตัว๋ โดยสารมีค่าเฉล่ียท่ี 3.77, สามารถจองตว๋ั ผา่ นทางโทรศัพท์/
เว็บไซต์ได้มีค่าเฉลี่ยที่ 3.76 และมีช่องทางการจ่าหน่ายต๋ัวโดยสารท่ีหลากหลาย และเพียงพอมีค่าเฉลี่ยที่
3.75 ตามลำดับในด้านกระบวนการให้บริการ (Process) มีค่าเฉลี่ยรวมที่ 3.64 และค่าเฉล่ียด้านเรียง
ตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้การรับกระเป๋าสะดวก รวดเร็ว และไม่แออัดมีค่าเฉล่ี ยท่ี 3.66,
กระบวนการเช็คอินมีความสะดวก รวดเร็วมีค่าเฉล่ียที่ 3.66, มีความรวดเร็วในการช่วยเหลือ และ
ให้บรกิ ารลูกคา้ มคี า่ เฉล่ียท่ี 3.65 และการออกเดนิ ทางและถึงทห่ี มายตามกำหนดเวลา ไมล่ า่ ชา้ มีคา่ เฉลี่ยที่
3.61ตามลำดับด้านผลิตภัณฑ์ (Product) มคี า่ เฉลี่ยรวมท่ี 3.60 และคา่ เฉล่ีย ดา้ นเรยี งตามล่าดับจากมาก
ไปน้อยได้ดังนี้ ด้านมีเส้นทางการบินที่ ตรงต่อความต้องการมีค่าเฉลี่ยท่ี 3.67, ความมีชื่อเสียง และ
ภาพลักษณ์ท่ีดีมีค่าเฉลี่ยท่ี 3.65, จ่านวนเที่ยวบินที่เพียงพอมีค่าเฉลี่ยที่ 3.63 และความสะดวก รวดเร็ว
และปลอดภัยมีค่าเฉลี่ยที่ 3.47 ตามลำดับในด้านพนักงาน (People) มีค่าเฉลี่ยรวมท่ี 3.51 และค่าเฉล่ีย
ด้านเรียงตามลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้นักบนิ มปี ระสบการณ์และมีความสามารถควบคุมเคร่ืงบินได้ดีมี
ค่าเฉลี่ยท่ี 3.62, มีการแจ้งรายละเอียดการบินของพนักงานบนเคร่ืองบินและนักบินมีค่าเฉลี่ยที่ 3.54,
พนกั งานภาคพ้ืนดินมีมารยาท/มีความยินดีในการให้บริการมีค่าเฉล่ียที่ 3.53 และพนกั งานบนเครื่องบินมี
มารยาท/มคี วามยินดีในการให้บรกิ ารมีค่าเฉลี่ยที่ 3.35 ตามลำดบั

4.3 พฤตกิ รรมการเข้าใชบ้ ริการของ
ผู้โดยสารขาวไทยที มีผลต่อสายการบินต้นทุนต่ำกลุ่มตัวอย่างเคยใช้บริการสายการบินไทยไล

อ้อนแอร์มากที่สดุ คิดเป็นร้อยละ 54.0 เหตุผลในการเลือกใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ คือ ค่าโดยสาร
ราคาถูก คิดเป็นร้อยละ 62.0 การตดั สนิ ใจสว่ นใหญ่ตัดสินใจดว้ ยตัวเองคดิ เป็นร้อยละ 74.0 วัตถุประสงค์
หลักของการเดินทางด้วยสายการบินส่วนใหญ่ทำงาน/ ประชุม/ ทำธุรกิจคิดเป็นร้อยละ 47.3 ซื้อบัตร
โดยสารผ่านทางเว็บไซต์ของสายการบิน คิดเป็นร้อยละ 63.5 และจำนวนครั้งต่อปีท่ีใชบ้ ริการสายการบนิ
ตน้ ทุนต่ำคือ 1-2 ครง้ั คิดเป็นรอ้ ยละ 51.0

18

4.4 ความสมั พนั ธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ กบั ปัจจยั ด้านประชากรศาสตร์
ปัจจัยส่ิงแวดล้อมทางกายภาพในด้านบรรยากาศบนเคร่ืองบินมีความสัมพันธ์กับอายุ, ในด้าน

ความสะอาดของห้องโดยสารมีความสัมพันธ์กับอายุและรายได้, ในด้านรูปแบบของเครื่องแบบพนักงาน
บริการภาคพื้นดินและบนเครื่องบนิ มีความสัมพันธ์กบั อาชีพ, ด้านเคร่ืองบินมคี วามทันสมัย และอุปกรณ์มี
ความพร้อมในการให้บริการมีความสัมพันธ์กับเพศและอายุ, ในด้านห้องน้ำสะอาด และมีอุปกรณ์ท่ีใช้ใน
ห้องน้ำท่ีเพียงพอมีความสัมพันธ์กับเพศอายุ และอาชีพ ส่วนในด้านท่ีนั่งโดยสารกว้างขวางสะอาดและมี
ความสะดวกสบายมีความสัมพันธ์กับการศึกษา และด้านเคร่ืองบินมีรูปลักษณ์ การตกแต่งและการ
ออกแบบท่ี ทันสมัยสวยงามไมพ่ บความสัมพันธใ์ ด

ปัจจัยทางราคาในดา้ นการแจ้งอัตราค่าโดยสาร/ คา่ ธรรมเนียมต่างๆ อย่างชดั เจนมีความสัมพันธ์
กับอายุ, อัตราค่าโดยสาร/ค่าธรรมเนียมท่ีเหมาะสมมีความสัมพันธ์กับเพศอายุและรายได้, ด้านไม่มี
ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ เพ่ิมเติมขณะท่ีใช้บริการ เช่น อาหาร/ เคร่ืองด่ืมมีความสัมพันธ์กับอายุอาชีพ และรายได้,
ด้านอัตราค่าโดยสาร/ ค่าธรรมเนียมท่ีถูกกว่าสายการบินอ่ืนมีความสัมพันธ์กับรายได้ปัจจัยการส่งเสริม
การตลาดในด้านมีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ตามสื่อต่างๆมีความสัมพันธ์กับเพศและอายุ, ด้านมี
ศนู ยบ์ ริการขอ้ มลู (Call Center) เพอื่ บรกิ ารสอบถามข้อมลู มีความสัมพันธก์ ับเพศอายุ และอาชพี , ด้านมี
รายการส่งเสริมการขายท่ี จูงใจ เช่น การลดราคาค่าโดยสารมีความสัมพันธ์กับเพศ อายุ และการศึกษา,
ด้านมีเว็บไซต์ (Website) ที่ให้ข้อมูลอย่างครบถ้วนมีความสัมพันธ์กับอายุ และรายได้ปัจจัยช่องทางการ
จดั จ่าหน่าย ในด้านสามารถจองต๋วั ผ่านโทรศัพท์/ เว็บไซต์ได้มคี วามสัมพันธ์กับเพศ อาชีพ, ด้านมีช่องทาง
การจ่าหน่ายตั๋วโดยสารท่ีหลากหลายและเพียงพอมีความสัมพันธ์กับอาชีพ แต่ด้านมีความสะดวกรวดเร็ว
ในการซ้อื / สอบถามเกี่ยวกับตว๋ั โดยสารไม่พบความสมั พนั ธใ์ ด

ปัจจัยกระบวนการให้บริการในด้านกระบวนการเช็คอินมีความสะดวกรวดเรว็ มคี วามสัมพันธ์กบั
รายได้แต่ด้านการรับกระเป๋าสะดวก รวดเร็ว และไม่แออัด, มีความรวดเร็วในการช่วยเหลือ และ
ให้บรกิ ารลูกคา้ และดา้ นการออกเดินทาง และถึงทหี่ มายตามกำหนดเวลาไม่ลา่ ชา้ ไมพ่ บความสัมพันธ์ใด

ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ในด้านมีเส้นทางการบินที ตรงต่อความต้องการมีความสัมพันธ์กับอาชีพ,
ความมีช่ือเสียง และภาพลักษณ์ที่ดีมีความสัมพันธ์กับอายุ, ความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย
มคี วามสมั พันธก์ บั อายุ อาชีพ และรายไดจ้ ำนวนเทย่ี วบนิ ที่เพียงพอไมพ่ บความสัมพนั ธ์ใด

19

ปจั จยั ด้านพนักงานในดา้ นมีการแจ้งรายละเอียดการบินของพนักงานบนเคร่ืองบินและนักบิน กับ
ในด้านพนักงานภาคพื้นดินมีมารยาท/ มีความยินดีในการให้บริการมีความสัมพันธ์กับอายุส่วนด้าน
พนักงานบนเครื่องบินมีมารยาท/ มีความยินดีในการให้บริการมีความสัมพันธ์กับเพศ แต่ด้านนักบินมี
ประสบการณแ์ ละมีความสามารถควบคมุ เคร่ืองบนิ ได้ดีไม่พบความสัมพนั ธใ์ ด

20

บทท่ี 5

ผลบวก/ผลลบ ของสายการบินตน้ ทุนต่ำ

5.1 ผลบวกของสายการบินตน้ ทนุ ตำ่

1. กระตนุ้ ให้นกั ท่องเที่ยวมีการเดินทางโดยเครือ่ งบินมากขน้ึ และขยายเส้นทางท่องเที่ยวได้กว้างขวางข้ึน
โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจากมาเลเซียซึ่งมักเดินทางเข้าประเทศไทยจากด่านทางบกที่อำเภอหาดใหญ่เป็น
หลัก ราคาบัตรโดยสารเครื่องบินที่ถูกลงอย่างมากจะเป็นตัวจูงใจให้นักท่องเที่ยวเดินทางท่องเที่ยวไปยัง
แหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ เช่น เชียงใหม่และภูเก็ตมากขึ้น แทนที่จะท่องเที่ยวอยู่ในกรุงเทพฯ เพียงอย่างเดียว
จึงเป็นการกระจายนักท่องเที่ยว และทำให้สะดวกสบายในการบินตรงมากขึ้น สายการบินต้นทุนต่ำไดร้ ับ
ความนิยมในการใช้บริการจึงมีศักยภาพในการเปิดเส้นทางบินตรงใหม่ ๆ เช่นเที่ยวบินตรงระหว่างสอง
ภูมิภาคของไทย (เช่น ไปกลับ เชียงใหม่-ขอนแก่น หรือไปกลับ ภูเก็ต-เชียงราย เป็นต้น) ซึ่งช่วยให้ผู้
เดินทางสามารถเดินทางได้อยา่ งรวดเรว็ ไมต่ ้องเสียเวลารอเปลีย่ นเคร่ืองบนิ ท่ที า่ อากาศยานดอนเมืองหรือ
สุวรรณภูมิอีกต่อไป และสำหรับบางเส้นทางนั้นการบินตรงจะบินสั้นกว่าการบินอ้อมไปต่อเครื่องบินท่ี
กรุงเทพฯ (รวมเวลาบินของทั้งสองเที่ยวบิน) อย่างเห็นได้ชัดอีกด้วย เช่น ขอนแก่น-เชียงใหม่ บินสั้นกว่า
และใชเ้ วลาน่ังบนเครอ่ื งบินรวมน้อยกว่า ขอนแก่น-ดอนเมือง รวมกบั ดอนเมือง-เชียงใหม่ เปน็ ต้น รวมถึง
บางกรณอี าจช่วยให้ไม่ต้องนง่ั รถไกลขา้ มจังหวัดเพ่ือไปให้ถึงสนามบนิ หรือจุดหมายปลายทางอกี ดว้ ย (เช่น
เส้นทางบินตรงจากอดุ รธานีสู่ท่าอากาศยานอู่ตะเภาทำให้สามารถน่ังเคร่ืองบินจากอุดรธานีไปถึงอู่ตะเภา
ได้โดยตรงภายในเที่ยวบินเดียว จากเดิมที่ต้องลงจอดที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิหรือดอนเมืองแล้วจึงหา
รถนงั่ โดยสารไปต่อ)

2. ทำให้เกิดการขยายตวั ของนักท่องเท่ยี วกลุ่มตา่ งๆ มากขนึ้ โดยเฉพาะตลาดนักท่องเทย่ี วระดับกลางและ
ระดับล่างที่มีงบจำกัดในการเดินทาง รวมทั้งทำให้มีการขยายตัวในกลุ่มนักท่องเที่ยวจากประเทศเพื่อน
บ้านและในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นการส่งเสริมให้เมืองหลักในประเทศไทย เช่น
เชียงใหม่และภูเก็ต รวมทั้งเมืองใหญ่อื่นๆ เป็นศูนย์กลางทางการบิน และเป็นประตูสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
อ่นื ๆ

21

3. เพิ่มความถี่ในการเดินทางมากขึ้น โดยนักท่องเที่ยวมีโอกาสเดินทางได้บ่อยขึ้น จากเดิมอาจเดินทาง
เพียงปลี ะ 1 ครั้ง ราคาบัตรโดยสารเคร่อื งบนิ ที่ถูกลงทำใหน้ ักทอ่ งเที่ยวมโี อกาสเลือกเดนิ ทางได้มากกว่า 1
ครั้ง ต่อปี โดยส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวมาเลเซียและสิงคโปร์สามารถเดินทางมาประเทศไทยในช่วงสุด
สัปดาห์ได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะการเดินทางเข้าภูเก็ตและเชียงใหม่ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีจำนวน
นักทอ่ งเท่ียวและรายไดโ้ ดยรวมมากขึ้น แต่วันพักเฉลี่ยของนักท่องเทย่ี วสัน้ ลง

4. ส่งผลดีต่อธุรกิจท่องเที่ยวอื่นๆ เช่น ตัวแทนจำหน่ายบริการทางการท่องเที่ยว บริษัทจัดนำเที่ยว และ
โรงแรมสามารถเสนอขายรายการนำเที่ยวหรอื แพ็กเกจได้หลายรปู แบบในราคาทป่ี ระหยดั หรือถูกลง ซ่งึ จะ
ชว่ ยส่งเสรมิ การขยายตวั ของภาคธรุ กิจ เพราะเมื่อนักท่องเที่ยวสามารถประหยัดค่าใชจ้ ่ายในส่วนของการ
เดินทาง ก็จะมีเงนิ ในการใชจ้ า่ ยเป็นค่าท่ีพัก ค่าอาหาร ค่าของที่ระลึก และการจบั จ่ายใชส้ อยอ่ืนๆ ได้มาก
ขึ้น นอกจากนี้ ยังทำให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจโรงแรมเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกระแสการเดินทางของกลุ่ม
นักท่องเที่ยวระดับกลาง–ล่าง โดยในปีหน้า โรงแรม 1-3 ดาว มีแนวโน้มจะเติบโตมากขึ้น ทั้งด้านอัตรา
การเข้าพักเฉล่ียและจำนวนโรงแรม ทงั้ น้ี โรงแรมในเครอื ACCOR มีนโยบายท่ีจะเปดิ โรงแรมระดับกลาง–
ลา่ งในเมอื งทอ่ งเท่ียวหลักรองรบั เช่น โคราชและขอนแกน่ เป็นตน้

5. ทำให้เกิดการแข่งขันในภาคธุรกิจการบินและภาคการขนส่งอื่นๆ มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นรถไฟหรือรถ
ประจำทางทั้งในด้านราคา คุณภาพ และการบริการ ซึ่งธุรกิจต่างๆ ต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และ
พฒั นาประสทิ ธิภาพใหด้ ีขน้ึ อันจะส่งผลดตี ่อผ้บู ริโภคในการมีทางเลอื กมากย่ิงขน้ึ

6. อาจเกิดสงครามราคาขนึ้ มา โดยสายการบนิ ตน้ ทุนตํ่าสายตา่ งๆจะแข่งกันลดราคากนั เพ่ือดงึ ลูกค้าให้มา
ใช้บริการ ผู้ที่ได้ประโยชน์คือผูโ้ ดยสารที่ได้เดินทางโดยสารได้ในราคาที่ตํา่ ลงมากขึ้น รวมถึงสายการบินท่ี
ไม่ใช่สายการบินต้นทนุ ต่ำบางรายก็ไดล้ ดราคาลง หรือจัดโปรโมชัน เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในทางธุรกิจ
เช่นกนั

22

5.2 ผลลบของสายการบินต้นทุนต่ำ

1. ทางเลือกที่มากขึ้นทำให้นักท่องเที่ยวไทยเดินทางออกไปเที่ยวต่างประเทศมากขึ้นกว่าเดิม ส่วน
นักท่องเที่ยวต่างประเทศที่เคยเดินทางมาประเทศไทยได้ง่าย เช่น มาเลเซีย ซึ่งนิยมเดินทางโดยรถยนต์/
รถโดยสารมาไทยก็สามารถเดินทางไปประเทศอื่นๆ ได้

2. สายการบินที่ให้บริการเต็มรูปแบบหรือสายการบินแบบดั้งเดิมบางราย ซึ่งรวมถึงสายการบินประจำ
ชาติ อาจได้รับผลกระทบในด้านลบ เช่นจำนวนผู้โดยสารลดลง มีกำไรลดลงหรือขาดทุนมากขึ้น จึงอาจ
ต้องลดต้นทุนต่าง ๆ ลง เช่น ลดระดับการใหบ้ ริการ, ลดจำนวนเสน้ ทางบิน, ลดจำนวนเครือ่ งบนิ หรือลด
จำนวนรนุ่ หรอื แบบของเครอ่ื งบนิ ลง เป็นตน้ เพื่อให้ธรุ กิจสายการบินดำเนินตอ่ ไปได้ ซงึ่ บางกรณีอาจทำให้
คุณภาพของสายการบินลดต่ำลงไปด้วย หรืออาจถงึ ขั้นมีผลประกอบการยำ่ แย่จนต้องปิดกิจการลง เม่ือไม่
สามารถแข่งขันทางธุรกิจกับสายการบินอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงสายการบินต้นทุนต่ำได้ (เช่น ราคาตั๋วแพงกว่า
อย่างชัดเจน) นอกจากนี้สายการบินแบบเต็มรูปแบบบางรายก็ยังได้ลงทุนหรือเข้าถือหุ้นในสายการบิน
ต้นทนุ ตำ่ แหง่ อน่ื หรอื กอ่ ตงั้ สายการบินใหมแ่ บบตน้ ทนุ ต่ำขึน้ มา เพือ่ แขง่ ขนั กบ้ สายการบนิ ตน้ ทุนต่ำอน่ื ๆ

3. สายการบินต้นทนุ ตำ่ ในปัจจุบันมักนยิ มใชเ้ คร่ืองบินขนาดแอร์บัส เอ320 หรือโบองิ 737 ซ่ึงไม่สามารถ
บินไปลงจอดยังท่าอากาศยานบางแห่งที่มีรันเวย์ขนาดเล็กหรือสั้น หรือแคบ ทำให้บางสนามบินไม่อาจมี
สายการบินต้นทุนต่ำมาให้บริการได้ หรือสายการบินที่มีเครื่องบินเล็กจะยังสามารถกุมความได้เปรียบใน
ท่าอากาศยานเหลา่ นจี้ นทำใหส้ ามารถตงั้ ราคาคา่ โดยสารสูง ๆ ได้

23

บทที่ 6

สรปุ

สรปุ ได้วา่ กลยทุ ธก์ ารประกอบธุรกิจของสายการบนิ ต้นทนุ ต่ำจะตอ้ งใชก้ ลยุทธ์แบบผสมผสานจาก
ท้ังกลยทุ ธก์ ารมุง่ จุดสนใจเฉพาะกลุม่ กลยทุ ธก์ ารเป็นผนู้ ำในเรือ่ งตน้ ทนุ และกลยทุ ธ์ความโดดเด่นแตกต่าง
ของสินค้าและบริการ ตัวอย่างเช่นในธุรกิจสายการบิน เช่น ที่นั่งการมุ่งเน้นลักษณะเฉพาะของพนักงาน
คุณภาพการบริการ รุ่นเครอ่ื งบนิ และอาหาร รวมถึงทรพั ยากรต่างๆ ของทางสายการบนิ เคล็ดลับที่ดีที่สุด
ในการทำให้สินคา้ และบริการสามารถทำกำไรได้อยา่ งยัง่ ยนื คือ การให้สินคา้ สามารถขายตวั เองได้หมายถึง
สินค้าสามารถตอบโจทย์ความต้องการและสามารถแก้ปัญหาของ ลูกค้าได้ซึ่งเป็นการดำเนินการที่ มี
ประสทิ ธิภาพและย่ังยืนท่ีสุด การนำเสนอสนิ คา้ และบริการที่เหนือกวา่ ท่ีคแู่ ขง่ ขนั มอบให้แก่ลูกค้าในตลาด
การแข่งขันคือการส่งมอบคุณค่า การใส่ใจในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ และผู้บริหารสายการบินจำเป็น
จะต้องกล้าที่จะตัดสินใจ เพื่อให้ทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ

การดำเนินธุรกิจของสายการบินต้นทุนต่ำในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาเผชิญกับการแข่งขันที่
รุนแรงการทำงานภายใต้ภาวะความกดดันนี้หลายองค์กรธุรกิจสายการบินจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
รูปแบบธุรกิจให้สอดรับกับพฤติกรรม และความต้องการของผู้โดยสารมากขึ้นด้วยการใช้รูปแบบธุรกิจ
แบบผสมผสานเพื่อสามารถผลิตสินค้าและบรกิ ารให้ตรงใจลูกค้าที่ช่วยให้ธุรกิจสายการบนิ ยังคงยืนระยะ
ให้บริการได้ตอ่ ไปในระยะยาว

24

บรรณานุกรม

เจนจิรา นาทองคำ. “ปจั จัยท่มี อี ิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรมการเลอื กใชบ้ ริการสายการบินตน้ ทนุ ต่ำ,”
[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-
Journal/article/view/148634, ม.ป.ป. [สบื ค้นเมื่อ 20 กุมภาพนั ธ์ 2565]

กิตตินันท์ นาคทอง. “สายการบินราคาประหยัด,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :hattps//th.wikipedia.org/wiki/สายการบินราคาประหยดั , ม.ป.ป.
[สบื ค้นเมอ่ื 20 กุมภาพนั ธ์ 2565]

ภัทรภร จิรมหาโภคา. “กลยทุ ธ์การประกอบธุรกิจของสายการบนิ ตน้ ทุนตำ่ ในประเทศไทย,” [ออนไลน์].
เขา้ ถึงไดจ้ าก :file:///C:/Users/ADMIN/Downloads/tourismtaat, ม.ป.ป.
[สบื คน้ เม่อื 20 กุมภาพนั ธ์ 2565]

การนิ เรือง. “ปจั จยั ทางการตลาดท่มี ผี ลต่อการเลอื กซื้อสนิ ค้า,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้
จาก :https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/twin-6/sec2/6014154053.pdf, ม.ป.ป.
[สบื คน้ เมอ่ื 20 กมุ ภาพันธ์ 2565]

มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ สาขามนุษยศ์ าสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์. “กลยุทธก์ ารให้บริการของสายการ
บินต้นทุนต่ำ,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :http://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/3506, ม.ป.ป.
[สืบคน้ เม่อื 20 กุมภาพนั ธ์ 2565]

Higgins, Michelle. “การโฆษนาบนเครื่องบนิ ,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :https://hmong.in.th/wiki/In-flight_advertising, 2551.
[สืบค้นเมือ่ 20 กมุ ภาพันธ์ 2565]

“สายการบินตน้ ทุนตำ่ ,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :www.incubator.wikimedia.org/wiki/Wy/th/สาย
การบินต้นทุนต่ำ, 2565. [สบื คน้ เมื่อ 20 กมุ ภาพนั ธ์ 2565]

25

บรรณานุกรม (ตอ่ )

“สายการบนิ นกแอร์,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :https://nok-th.listedcompany.com, 2556.
[สืบค้นเม่อื 20 กมุ ภาพันธ์ 2565]

“สายการบนิ เต็มรูปแบบกับสายการบินต้นทนุ ต่ำ,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :https://tadoo.co/
ทอ่ งเทยี่ ว/ค่มู ือ/สายการบนิ เตม็ รูปแบบกับสายการบินตน้ ทุนต่ำ/,2565.
[สบื คน้ เม่ือ 21 กุมภาพนั ธ์ 2565]

“กลยทุ ธก์ ระบวนการทางธรุ กิจและสภาพแวดลอ้ ม,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :https://hmong.in.th/wiki/Low-cost_airline,2550. [สืบค้นเมอ่ื 21 กมุ ภาพันธ์ 2565]

“โลว์คอสต์สยายปีกเอเชียถึงเวลา ฟูลเซอรว์ สิ ตอ้ งปรับตัว,” [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้
จาก :https://www.posttoday.com/politic/analysis/47856, ม.ป.ป.
[สบื คน้ เมื่อ 21 กมุ ภาพันธ์ 2565]

สภุ สิ ดา เป้งคำภา และเสกสรร สทุ ธิสงค์. “ปจั จัยการเลอื กใชส้ ายการบินต้นทุนต่ำของผู้โดยสาร ณ ทา่
อากาศยานนานาชาติอุดรธานี,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :file:///C:/Users/ADMIN/Downloads/kmathaha, ม.ป.ป.
[สืบค้นเมอื่ 21 กุมภาพนั ธ์ 2565]

“เปรียบเทียบสายการบนิ พรีเมี่ยมกบั โลวคอสต์,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :www.ปะเที่ยวกัน.com/
เกร็ดเที่ยว/เปรยี บเทยี บสายการบิน-full-service/, ม.ป.ป. [สบื ค้นเม่ือ 21 กุมภาพันธ์ 2565]

สำนักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย ฝ่ายส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมการบนิ กองเศรษฐกิจการบนิ .
“สภาวะอตุ สาหกรรมการบิน,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :www.caat.or.th/wp-
content/uploads/2019/05/รายงานสภาวะอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทย-พ.ศ.-2561-
ฉบบั ปรับปรงุ -ณ-วันท่ี-17-พฤษภาคม-2562.pdf, ม.ป.ป. [สืบคน้ เมอ่ื 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2565]

26

บรรณานุกรม (ตอ่ )

ท่าอากาศยานไทย. “สายการบินโลวคอสต์,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้
จาก :https://marketeeronline.co/archives/114973, ม.ป.ป.
[สบื ค้นเมอ่ื 21 กุมภาพันธ์ 2565]

“สายการบินไดอ้ ะไรเมอ่ื ออกโปรโมชัน่ ,” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้
จาก :https://www.longtunman.com/19727, ม.ป.ป. [สบื ค้นเมื่อ 22 กมุ ภาพันธ์ 2565]

“Boing777,” [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :https://th.wikipedia.org/wiki/โบองิ _777,2564
[สบื ค้นเมื่อ 22 กุมภาพนั ธ์ 2565]

“Airbus 330,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :https://isecosmetic.com/wiki/Airbus_A330, ม.ป.ป.
[สบื ค้นเมื่อ 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2565]

“Low-cost Airline,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :www.blockdit.com/posts/5cec042098fe1423420dfdc2, ม.ป.ป.
[สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2565]

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. “การเร่ิมของสายการบนิ ตน้ ทุนตำ่ ,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2548/epg0548ks_ch1.pdf, ม.ป.ป.
[สืบค้นเม่ือ 23 กุมภาพันธ์ 2565]

“สายการบินราคาประหยัดได้รางวัล,” [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้
จาก :https://www.ryt9.com/s/prg/3250401, ม.ป.ป. [สืบคน้ เม่อื 23 กุมภาพนั ธ์ 2565]




Click to View FlipBook Version