1
ตำบลทงุ่ เตา อำเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
สว่ นท่ี1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน
ประวตั คิ วามเปน็ มา
"บา้ นทงุ่ เตา เราน้ันสำคญั ไฉน นี้ไมใ่ ชเ่ ต่านา แต่เป็นเตาไฟ ในสมยั พมา่ มารกุ ราน จับประหาร
ทว่ั ถ่นิ แผน่ ดนิ ไทย นายกองเมืองยกพลขนเสบยี งส่งั พร้อมเพรียงเกณฑพ์ ลขนกันไป ลัคแผ่นดินถ่ินนี้ท่ี
กันดาร สู่สายธารภูผากลางป่าไพร พบเหลก็ พุนเหลก็ ใหญเ่ หลือคณานับ จงึ หยุดทพั ต้งั ไว้ปลายน้ำไหล
แล้วสร้างเตาหลอมหล่อด้วยพอใจ จึงจัดอาชาในยคชสาร ให้ทหารลำเลียงพอเที่ยงวัน นายพลน้ัน
ชำนาญด้านเหล็ก อันแข็งเพ็กใส่เตาเผาไฟแดง เอาก้อนดีเหล็กแดงแต่งเป็นดาบเพื่อสู้ปราบศัตรูผู้
รุกราน มอี าวุธยุทธภัณฑ์อนั แข็งแรงแล้วแจกแจงกองทัพไทยส่ไู พรี มีอาวธุ หลายอย่างสร้างด้วยเหล็ก
ทั้งใหญ่เล็กเป็นเหล็กเหนียวเขียวขึ้นสี เพื่อต่อสู้ศัตรูกู้ธานี ให้ทุ่งเตานี้อยู่รอดตลอดมา" (นายนิวิสน์
ทองแกมแก้ว,30 สงิ หาคม 2564)
ในสมัยก่อน พม่าเคยยกทัพเข้ามารุกรานประเทศไทยโดยผ่ายเข้ามาในพื้นที่แห่งนี้ ทหาร
ฝ่ายไทยได้เกณฑ์พลไปสู้รบ ระหว่างทางได้พบเหล็กจำนวนมากตั้งอยู่บรเิ วณใกล้แหล่งน้ำจึงได้หยุด
ทัพและสร้างเตาหลอมเหล็กข้นึ มาเพอ่ื นำเหลก็ เหลา่ น้ันมาหลอมเป็นอาวธุ ส้รู บกับศัตรู ต่อมาชาวบ้าน
แถบน้กี ไ็ ด้ยดึ อาชพี ตีเหลก็ ตามบา้ นเรอื นตา่ งๆสรา้ งเตาหลอมเหล็กข้ึน มีการไปหาบหินจากเขาเหล็ก
ซึ่งอยู่บริเวณตำบลลำพูน อำเภอบ้านนาสาร มาหลอมจนกลายเป็นน้ำเหล็กแล้วตีเป็นเครื่องมือ
เครอ่ื งใชต้ ่างๆเชน่ มดี จอบ พร้า เปน็ ตน้ ต่อมาชาวบ้านจึงเรยี กพื้นท่ีแหง่ น้วี ่า“ทงุ่ เตา” เนื่องมาจาก
การสรา้ งเตาหลอมเหล็กในสมัยโบราณ ตำบลท่งุ เตาในอดีต มีพื้นท่กี วา้ งใหญ่ต่อมาตำบลทุ่งเตาได้มี
การแบ่งพื้นที่ภายในตำบล เป็น 5 หมู่บ้านโดยแต่ละหมู่บ้านมีประวัติความเป็นมาของชื่อเรียกที่
แตกตา่ ง กันออกไปตามลกั ษณะ ของอาณาเขตทีต่ งั้ ของบริเวณนน้ั ตามสภาพการประกอบอาชีพและ
สง่ิ แวดลอ้ มทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไป( แผนพัฒนาท้องถิน่ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
คำขวญั ตำบลทงุ่ เตา
“ เมอื งเตาหลอมโบราณ งานชักพระบก แกห้ มรับเดือนหก มโนราห์แข่ง แหลง่ ผลไม้รส
ดี บารมีพอ่ ทา่ นบญุ ”( แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
2
ตำบลทุ่งเตา อำเภอบา้ นนาสาร มที ง้ั หมด 5 หมู่บ้าน โดยแตล่ ะหมู่บ้านมปี ระวตั คิ วามเป็นมาดังนี้
1. หมบู่ า้ น บา้ นหัวถนน
นาย สุธรรม คงยง่ิ ( คำเลา่ )
หมอกอนแถวหลาดถอ็ งเตานี เปน็ ปาทัง้ เพ ชาวบ้านเหรียะกันว่า บ้านหวั ถนน เพราะเป็นหมู่
บานที่หยูปลากวั นอเผอื น พอมาถึงตอนนีกลายเปน็ หลาดถ็องเตา และเหรียะถหี ลาดถ็องเตาวา บ้าน
หัวหนน ถีเหรียะพันนเี พราะ มีหนนจากบ้านขนุ ราษฎร์ ผานหมูบ้านมาออกหนนใหยแถวนี ชาวบ้าน
จึงเหรียะวาบ้านหวั หนแทนบ้านหวั นน แล้วกเ็ หรยี มาจนทุกวันนี
ถอดความเป็นภาษากลาง
เม่อื ก่อนแถวหลาดท่งุ เตานี้ เปน็ ป่าทง้ั นัน้ ชาวบา้ นเรยี กกนั ว่าบ้านหัวนอน เพราะอยู่ทางทิศ
หวั นอนไปทางนน้ พอถงึ เดี๋ยวนีก้ ลายเป็นตลาดทุง่ ตา และเรยี กทต่ี ลาดทุ่งเตาว่า บ้านหัวถนน ท่ีเรียก
อย่างน้เี พราะมถี นนจากบา้ นขนุ ราษฎร์ ผ่านหมบู่ ้านมาออกถนนใหญแ่ ถวน้ี ชาวบา้ นจึงเรยี กวา่ บ้านหวั
ถนนแทนบ้านหัวนอน แล้วก็เรียกเรื่อยมาจนถึงทุกวนั น้ี
2 . หมบู่ ้าน บา้ นไสใหญ่
นาย ณรงค์ คงบญุ ยงั ( คำเลา่ )
เดิมเป็นหมูบ้านเรียกวา บ้านไสดอนเพราะหมูบ้านตั้งหยูบนดอนและ หมูบ้านต้ังหยูในปาไส
ถีใหยมาก พอหมูบ้านเจริญขี้น ตั้ง้านคนมาก และตั้งโรงเรียนขึน้ ชื่อวา โรงเรียนบ้านไสใหย ชาวบ้าน
จึงเรยี กชอื หมบู า้ นของตนเองตามชอื ของโรงเรยี นถีตงั้ ขึน้ คอื บา้ นไสใหย แทนชือบ้านไสดอน แล้วก็เห
รียะมาจนทุกวันนี
ถอดความเป็นภาษากลาง
เดมิ เป็นหมู่บา้ นเรียกว่า บ้านไสดอน เพราะหมู่บ้านต้งั อยูบ่ นดอน และหมู่บ้านต้ังอยู่ในป่าไส
ที่ใหญ่มาก พอหมู่บ้านจริญขึ้น ตั้งบ้านคนมากและโรงเรียนชื่อว่า โรงเรียนบ้านใหญ่ ชาวบ้านจึง
เรียกชอื่ หมูบ่ า้ นของตนเองตามช่ือของโรงเรียนที่ตั้งขึน้ คอื บ้านไสใหญ่ แทนชอื่ บา้ นไสดอน และเรียก
มาจนถึงทุกวันนี้
3
3. หมบู่ ้าน บ้านไร่เหนือ
นางพัน หนรู ักษ์ ( คำเล่า )
แตเดดิมมีคนหลาวตอๆ กันมานานแล้ว ถีเหนือคลองหยาขึ้นไปต้นน้ำผู้คนขึ้นไปทำไหรทำ
สวน แผ้วถางปาทำไหรมากๆ ชาวบ้านจึงเหรียะวาไหรเหนือเพราะ คนขึ้นไปทำไหรถีทางเหนือของ
คลองหยานันเอง
ถอดความเปน็ ภาษากลาง
แต่เดิมมีคนเล่าต่อๆกันมานานแลว้ ท่ีเหนอื คลองยาขนึ้ ไปทางต้นนำ้ มีผู้คนขึน้ ไปทำไร่ทำสวน
แผ้วถางปา่ ทำไร่มากๆ ชาวบา้ นจึงเรียกว่าไรเ่ หนือเพราะคนขนึ้ ไปทำไร่ทางเหนือของลองยานั่นเอง
4. หมูบ่ า้ น บา้ นทุง่ ในไร
นายพฒั น์ คงทรัพย์ ( คำเล่า )
แตกอนชาวบา้ นหยูบ้านนาตก กม็ าแผ้วปาทำไหรกัมาก ถางปาในถอ็ งกว้างใหยนีและ ทำไหร
ได้ผลดี จึงมคี นเคา้ มาทำไหรทีนกี ันมากข้ึน กเ็ ลยเหรียะชอื บา้ นนีวา บา้ นถอ็ งในหรายกนั ต้ังแตนันมา
ถอดความป็นภาษากลาง
แตก่ อ่ นชาวบา้ นอยู่บ้านนาตก ก็มาแผว้ ป่าทำไร่กันมาก ถางปา่ ในทงุ่ กวา้ งใหญน่ แ่ี หละ ทำไร่
ได้ผลดี จึงมีคนเข้ามาทำไรก่ นั มากขึน้ ก็เลยเรียกชอื่ นวี้ ่าบา้ นทุ่งในไร่กันต้ังแต่นัน้ มา
5. หมบู่ า้ น บ้านคลองขนุน
นายนบ โกละกะ ( คำเล่า )
แตแหระ ถีนันมีต้นหนุนต้นใหย เค้าเหรียะวาหนุนปาน กินหยุมไมได้หนุนนีนะ ขึ้นหยูริม
คลอง ตอนถตี าเล็กๆตน้ หนนุ ตน้ น้พี ล๊ัวลงริมคลอง หยู่ไดไ้ มถาวไหรก็ตาย ชาวบ้านแถวนั้น เลยเหรียะ
วา บา้ นคลองหนุน และมาต้ังเปน็ หมูบ้านทางการเมือไมนานมานีเอง
4
ถอดความเป็นภาษากลาง
แต่แรก ท่ีนัน้ มตี น้ ขนุนตน้ ใหญ่เขาเรียกขนนุ ปาน ขนนุ นี้กนิ เนอื้ ไม่ไดข้ ้ึนอยู่ริมคลอง อนท่ีตา
เลก็ ๆ ต้นขนนุ ต้นนีล้ ้มลงเองริมคลอง อยไู่ ดไ้ ม่เท่าไรก้ตายชาวบ้านแถวบ้านแถวนนั้ เลยเรียกว่า บ้าน
คลองขนุน และมาตง้ั เปน็ หมู่บา้ นเป็นทางการเม่ือไม่นานมาน้ีเอง
ขนาดและท่ตี ้งั ของตำบล
ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลทุง่ เตา อำเภอบ้านนาสาร ตั้งขึ้นเม่ือปี 2540 อำเภอบ้านนา
สาร จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี อย่หู า่ งจากอำเภอบา้ นนาสาร ประมาณ 14 กโิ ลเมตร และหา่ งจากศาลา
กลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ 27 กิโลเมตร มีทั้งหมดประมาณ 39.0 ตารางกิโลเมตรหรือ
ประมาณ 43,125 ไร่( แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
รปู ท่ี 1 แผนที่ตำบล ทุ่งเตา อำเภอบา้ นนาสาร จังหวดั สุราษฎร์ธานี
ทศิ เหนอื ติดต่อ ตำบลท่งุ เตาใหม่ อำเภอบา้ นนาสาร
ทิศใต้ ติดตอ่ ตำบลควนสุบรรณ อำเภอบ้านนาสาร
ทศิ ตะวันออก ติดต่อ ตำบลลำพนู อำเภอบา้ นนาสาร
ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อ ตำบลนาใต้ อำเภอบ้านนาเดมิ
5
ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ีส่ ำคญั
- ปา่ ไม้
- เหมอื งแร่
- แหล่งน้ำ
ลักษณะภมู ปิ ระเทศ / ภูมิอากาศ
1.ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ตำบลทุ่งเตามีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม บางส่วนเป็นท่ี
ราบสูงและภเู ขา จงึ เหมาะสำหรับการทำสวนยางพาราและสวนผลไม้ ประชากรสว่ นใหญ่จึงประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม สำคัญ ได้แก่ ยางพารา เงาะ ลองกอง มังคุด ทเุ รยี น ฯลฯ
2.สภาพภูมิอากาศ ไดร้ บั อิทธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ทำให้มชี ่วงฤดูฝนยาวนานและ
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านทำใหฤ้ ดูรอ้ นและฤดูฝนระยะเวลาใกล้เคียงกนั ทำให้ฤดฝู นมนี ำ้
มากเกนิ ไป และฤดรู ้อนเกิดการขาดนำ้ ดมื่ และนำ้ ใช้ในฤดแู ล้ง
3.ลักษณะของดิน ดินเป็นทรัพยากรตามธรรมชาติ ที่มีความสำคัญต่อมนุษย์และส่ิงมีชีวิต
ดินใหป้ จั จยั ในการดำรงชวี ิต เปน็ แหล่งผลิตอาหารเปน็ พืน้ ท่ีประกอบกิจการต่าง ๆ เป็นท่ีตั้งถิ่นฐานท่ี
อยู่ คุณภาพดินจึงมีความสัมพันธ์ต่อความอุดมสมบรูณ์ ในส่วนพื้นที่ตำบลทุ่งเตา มีลักษณะเป็นดิน
ร่วนปนทราย จึงเหมาะแก่การทำการเกษตรปลูกไม้ผลเป็นอย่างดี (แผนพัฒนาท้องถิน่ พ.ศ. 2566 -
พ.ศ.2570)
การเดินทาง/การคมนาคม
1.การคมนาคม มีถนนลาดยางจากตำบลถึงที่ว่าการอำเภอบ้านนาสาร ประมาณ 14
กิโลเมตร และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ 27 กิโลเมตรมีรถรับจ้างประจำ
ทางให้บรกิ ารตลอดเวลา ถนนสายหลกั ในหมบู่ า้ น 6 สายมีรถประจำทางผา่ น 2 เสน้ ทาง ได้แก่
- สายสรุ าษฎร์ฯ - นาสาร
- สายสุราษฎรฯ์ - บา้ นนาเดิม
- ถนนลานยาง จำนวน 13 สาย
- ถนนคอนกรีต จำนวน 3 สาย
- ถนนลกู รัง จำนวน 34 สาย
6
ทางบก มีถนนสายหลัก จำนวน 6 สาย มีรถประจำทางผ่าน 1 เส้นทาง ได้แก่ สายสุ
ราษฎร์ฯ - นาสาร
- หมู่ที่ 1 บ้านหวั ถนน
- 1. ถนนสายวัดวิเวการาม – บ้านหวั ถนน
- 2. ถนนสายวัดวเิ วการาม - หว้ ยชนั
- 3. ถนนสายหนา้ วัดวิเวการาม – ห้วยชนั
- 4. ถนนสายบา้ นหัวถนน - ปลายนำ้
- 5. ถนนสายบ้านหวั ถนน – ไร่เหนือ
- 6. ถนนสายบ้านหวั ถนน – ไสใหญ่
- 7. ถนนสายหนา้ วัดวิเวการาม
- 8. ถนนสายหว้ ยทรายขาว
- 9. ถนนสายหน้า อบต.
- 10. ถนนสายทอนยูน – หนองสามหาบ
- 11. ถนนซอยโชคชัย
- 12. ถนนซอยสันติภาพ
- 13. ถนนซอยธาราทอง
- 14. ถนนซอยโรงตเี หล็ก
- หม่ทู ี่ 2 บ้านไสใหญ่
- 1. ถนนสายหนองเหรยี ง – ไสใหญ่
- 2. ถนนสายไสใหญ่ – ควนสุบรรณ
- 3. ถนนซอยไสใหญ่ – ปลายน้ำ
- 4. ถนนซอยกงลำ
- 5. ถนนซอยบอ่ นไก่
- 6. ถนนซอยนาต้นเตียน
- 7. ถนนซอยหนองสามหาบ
- 8. ถนนซอยโกศล
- หมูท่ ่ี 3 บา้ นไรเ่ หนอื
- 1. ถนนสายไร่เหนือ – ถ้ำพัก
- 2. ถนนสายไร่เหนือ – หว้ ยชนั
- 3. ถนนสานไร่เหนอื – ปลายนำ้
- 4. ถนนซอยประชาพัฒนา
7
- 5. ถนนซอยหลังถำ้ พกั
- 6. ถนนซอยเสรมิ สุข
- 7. ถนนซอยเสรมิ สขุ 1
- 8. ถนนซอยควนใหม่
- 9. ถนนซอยสมใจนกึ
- หมู่ที่ 4 บ้านท่งุ ในไร่
- 1. ถนนสายหวั ถนน – ทงุ่ ในไร่
- 2. ถนนสายสามแยกทุ่งในไร่
- 3. ถนนซอยวังแร่
- 4. ถนนซอยสามัคคี
- 5. ถนนซอยสาย 1999
- 6. ถนนซอยมิตรสัมพันธ์
- 7. ถนนซอยเจรญิ ทรัพย์
- 8. ถนนซอยกิตตอิ ทุ ศิ
- 9. ถนนสายเหมอื งบัว
- หมทู่ ่ี 5 บ้านคลองขนนุ
- 1. ถนนสายหนองคลา้ – เค่ยี มงาม
- 2. ถนนสายสขุ สำราญ – บา้ นขุนราษฎร
- 3. ถนนซอยวาสนา
- 4. ถนนซอยวงั เตา – เคยี่ มงาม
- 5. ถนนซอยวังเตา – หนองคล้า
- 6. ถนนซอยสนั ติสุข
- 7. ถนนซอยสนั ติสุข –วาสนา
- 8. ถนนซอยทุง่ ทอง หนองคล้า
- 9. ถนนซอยทุง่ ทอง
- 10. ถนนซอยวงั ค้างคาว
- 11. ถนนสายทงุ่ เตา – นาเดมิ
- 12. ถนนสายสรุ าษฎร์- นาสาร
8
2.การโทรคมนาคม
- ทีท่ ำการไปรษณีย์ จำนวน 1 แห่ง (เอกชน)
- สถานบริการอนิ เตอร์เน็ต จำนวน 1 แห่ง
- โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 11 แห่ง
- ครวั เรอื นทีม่ โี ทรศัพทใ์ ช้ จำนวน 985 ครวั เรือน
- หอกระจายข่าว จำนวน 5 แหง่ (ทกุ หมู่บา้ น)
- เสยี งตามสาย จำนวน 5 หม่บู า้ น
3.การไฟฟ้า
ประชากร ครัวเรือนที่ มไี ฟฟ้าใช้ มีจำนวน 985 ครวั เรือน
4.แหล่งนำ้ ธรรมชาติ
- หว้ ย จำนวน 8 แหง่
- สระนำ้ จำนวน 2 แห่ง
- คลอง จำนวน 9 แห่ง
5.แหลง่ น้ำทีส่ รา้ งข้ึน
- ฝาย จำนวน 2 แหง่
- ประปาหมู่บ้าน
แบบประปานครหลวง มี ม.1, 2, 3, 4 แบบถังแชมเปญ มี ม.2, 4, 5
( แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
9
สว่ นที่ 2 โครงสร้างของชุมชน
ด้านการเมอื งการปกครอง
1.เขตการปกครององค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งเตา แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 5
หมบู่ ้าน ดงั น้ี
หมทู่ ่ี 1 บา้ นหวั ถนน ผใู้ หญบ่ า้ น นาย วิมล โพธ์โพ้น
หมทู่ ี่ 2 บา้ นไสใหญ่ ผู้ใหญ่บ้าน นาย ศภุ ชัย ยทุ ธพิมขุ
หมู่ท่ี 3 บา้ นไร่เหนอื กำนนั นาย ณรงค์ อินทรกั ษ์
หมทู่ ี่ 4 บา้ นทงุ่ ในไร่ ผู้ใหญ่บ้าน นายเกยี รติศักด์ิ นาคทุ่งเตา
หมู่ท่ี 5 บา้ นคลองขนนุ ผู้ใหญบ่ ้าน นาย พิพัฒน์ คงทรพั ย์
( แผนพฒั นาท้องถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
2.การเลือกตั้ง การเลือกตั้งแบ่งเป็น 6 หน่วยตามเขตพื้นที่ของหมู่บ้านซึ่งตำบลทุ่งเตามี
ทัง้ หมด 5 หมบู่ ้าน
ข้อมูลประชากร ข้อมลู เกี่ยวกบั จำนวนประชากร
หมู่ท่ี ชาย หญิง รวม ครัวเรือน
1 617 659 1276 678
2 302 316 618 242
3 372 384 756 262
4 429 426 855 309
5 433 389 822 265
รวม 5 หมู่บา้ น 2,153 2,174 4,327 1,756
หมายเหตุ : ขอ้ มลู จากสำนักทะเบยี นราษฎร์อำเภอบ้านนาสาร ณ วนั ท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
10
1. ช่วงอายแุ ละจำนวนประชากร
ประชากรองคก์ ารบริหารส่วนตำบลทุง่ เตา
ประชากร ชาย หญงิ ชว่ งอายุ
จำนวนประชากรเยาวชน 499 427 อายตุ ่ำกว่า 18 ปี
จำนวนประชากร 1,330 1,308 อายุ 18 – 60 ปี
จำนวนประชากรผสู้ งู อายุ 323 439 อายมุ ากกวา่ 60 ปี
รวม 2,152 2,174
หมายเหตุ : ขอ้ มลู จากสำนักทะเบยี นราษฎร์อำเภอบ้านนาสาร ณ วันท่ี 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
2. ขอ้ มูลจำนวนประชากร(เปรียบเทียบยอ้ นหลงั 4 ป)ี
หม่ทู ่ี หมบู่ า้ น จำนวนประชากร
(เปรยี บเทยี บยอ้ นหลัง 4 ป)ี
- ปี พ.ศ พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563
- เพศ ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
1 บ้านหัวถนน 595 662 594 656 606. 660 612 665
2 บา้ นไสใหญ่ 311 312 315 317 312 321 306 319
3 บา้ นไรเ่ หนือ 376 377 374 380 373 380 374 386
4 บา้ นทุ่งในไร่ 428 439 423 429 436 435 431 427
5 บา้ นคลองขนุน 434 386 423 386 426 379 434 386
รวมท้ังส้ิน 2,144 2,176 2,129 2,168 2,153 3,175 2,157 2,183
หมายเหตุ : ข้อมูลจากสำนกั ทะเบียนราษฎร์อำเภอบา้ นนาสาร ณ วนั ที่ 4 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564
11
ดา้ นบคุ ลากร
องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งเตามีปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ทุ่งเตา จำนวน1คน.และมี
บุคคลากรท่มี คี วามรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ในการทำงานทัง้ สิน้ คน แบ่งออกเป็นฝ่ายสภา 10
คน ฝ่ายบริหารตำแหนง่ ว่าง บุลากรสำนักปลัดจำนวน 10 คน บุคลกรกองช่างจำนวน 5 คน บคุ ลากร
กองคลงั จำนวน 4 คน (แผนพฒั นาท้องถิน่ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
โครงสร้างองค์การบริหารสว่ นตำบล
รูปที่ 2 โครงสร้างการบริหารส่วนตำบลทุ่งเตา
12
สำนกั งานปลัดองค์การบรหิ ารส่วนตำบลทงุ่ เตา
สำนักงานปลัด มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปขององค์การ
บริหารส่วนตำบลและราชการที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการใดในองค์การบรหิ ารตำบล
โดยเฉพาะ งานธรุ การ งานสารบรรณการจัดทำทะเบยี นสมาชิก สภาองคก์ ารบรหิ าร สว่ นตำบลคณะ
กรรมการบริหารฯ งานพิมพ์ดีด งานอินเตอร์เน็ตตำบล งานการเจ้าหน้าที่งานการประชุม งานการ
ข้อบังคับตำบล งานนิติการ งานรัฐพิธี งานประชาสัมพันธ์งานจัดทำแผนพัฒนาตำบลงานการจัดทำ
ข้อบังคบั งบประมาณ ประจำปีงานขออนุมตั ิ ดำเนนิ การตามข้อบังคบั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย งานส่งเสริมการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม งานนิเทศการศึกษา งานจัดการศึกษา งานทดสอบ
และประเมินตรวจวัดผล งานบริการและบำรุงสถานศึกษางานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่งเสริมกิจการ
ศาสนาประเพณี ศิลปวัฒนธรรม งานพัฒนาสตรแี ละเยาวชน งานสนบั สนนุ กจิ กรรมของเด็กและสตรี
งานอ่ืนทเี่ กย่ี วข้องหรือได้รบั มอบหมาย รวมทง้ั กำกับและเร่งรดั การปฏิบตั ิราชการของ สว่ นราชการใน
องค์การบริหารส่วนตำบลใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการราชการ ของ องค์การบริหาร
สว่ นตำบล แบง่ สว่ นราชการภายในออกเปน็ 6 งาน แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
รปู ที่ 3 โครงสรา้ งสำนักงานปลดั
13
กองคลงั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลทุ่งเตา
กองคลัง มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ การเงินการเบิกจ่ายการฝากเงนิ
การเกบ็ รกั ษาเงินการตรวจเงนิ การหกั ภาษี เงินไดแ้ ละนำสง่ ภาษี การตัดโอนเงนิ เดอื นรวบรวมสถติ ิเงิน
ได้ประเภทต่าง ๆ การรายงานเงินคงเหลือประจำวัน งานขออนุมัติเบิกเงินตัดปีและขอขยายเวลา
เบิกจ่ายงาน จัดทำงบและแสดงฐานะทางการเงิน งบทรัพย์สิน หนี้สิน งบโครงการเงิน สะสมงาน
จัดทำบัญชีทุกประเภทงานทะเบียนคุมเงินรายได้-รายจ่ายงานจัดเก็บรายได้และพัฒนารายได้การ
จัดหาผล ประโยชน์ จากสิ่งก่อสร้างและทรัพย์สินงานจัดทำ/ตรวจสอบบญั ชแี ละการรบั เงินในกิจการ
ประปางานจัดเกบ็ ขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล รวมถึงงานอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องหรือ ได้รับมอบหมายโดย
แบง่ ส่วนราชการภายใน ออกเป็น 4 งานแผนพฒั นาทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
รปู ที่ 4 โครงสร้างกองคลัง
14
กองชา่ งองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลทงุ่ เตา
กองช่าง มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับ งานสำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ถนน
อาคาร สะพาน แหล่งน้ำ ฯลฯ งานการประมาณการค่าใช้จา่ ยตามโครงการ งานควบคุมอาคาร งาน
ก่อสร้าง งานผังเมือง งานซ่อมบำรงุ ทาง อาคาร สะพาน แหล่งน้ำ งานควบคุมการก่อสร้าง งานซ่อม
บำรุงในกิจการประปา จัดทำทะเบียนสิ่งก่อสรา้ งที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อบต. รวมถึงงานอื่น ๆ
ทเ่ี กีย่ วข้องหรือไดร้ ับมอบหมาย โดยแบง่ ส่วนราชการภายในออกเปน็ 3 งาน แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น พ.ศ.
2566 - พ.ศ.2570)
รูปที่ 5 โครงสร้างกองช่าง
15
ด้านการศึกษา/ศาสนา/วฒั นธรรม
1. ดา้ นการศกึ ษา
- โรงเรยี นวัดวิเวการาม ตั้งอย่ทู ่ี หมู่ 1
นางสาว ปราณี ศรีอบุ ล ผู้อำนวยการโรงเรียน เบอร์โทร 093 6987197
- โรงเรยี นบา้ นทงุ่ ในไร่ ตัง้ อยทู่ ่ี หมทู่ ่ี 4
นางสาว อรวี ทองมาก รกั ษาการผอู้ ำนวยการโรงเรียน เบอรโ์ ทร 082 8168682
- โรงเรียนบ้านไรเ่ หนอื ตัง้ อยู่ท่ี หมูท่ ี่ 3
นางสาว กติ ตยิ า ดำชะอม ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น เบอรโ์ ทร 088 3825659
- ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก จำนวน 1 แห่ง ตง้ั อยทู่ ่ี หมู่ที่ 1
นางสาว วลั ภา นาคทงุ่ เตา รกั ษาผูอ้ ำนวยการศูนย์เด็กเล็ก เบอร์โทร 086675102
- สนามกฬี า/ลานกฬี า จำนวน 5 แห่ง (ทุกหมู่บ้าน)
2. สถาบันและองค์การศาสนา
- วัดวิเวการาม ตงั้ อยู่ท่ี หมู่ท่ี 1
- วดั คลองขนุน ตง้ั อยู่ท่ี หม่ทู ี่ 5
บรบิ ททางสังคม/ความเป็นอยู่
- จำนวนครวั เรือนท่มี ไี ฟฟา้ ใช้ในเขต อบต. 985 ครวั เรอื น
- โรงพยาบาลเพื่อสุขภาพ (รพสต.) จำนวน 2 แห่ง
- โรงพยาบาลเพือ่ สขุ ภาพตำบลทุ่งเตา ตงั้ อยูท่ ่ี หม่ทู ่ี 2
- โรงพยาบาลเพือ่ สุขภาพบา้ นทุ่งในไร่ ตั้งอยู่ท่ี หมู่ท่ี 4
- คลนิ ิก จำนวน 4 แห่ง
- รา้ นขายยาแผนปัจจุบัน จำนวน 3แห่ง
- ที่ทำการตำรวจชมุ ชน จำนวน 1 แหง่
- องค์การบรหิ ารส่วนตำบล (อบต.)จำนวน 1 แหง่
- ศาลาหมูบ่ ้าน จำนวน 5 แหง่ (ทกุ หม่บู ้าน)
( แผนพัฒนาท้องถ่ิน พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
16
1. สาธารณสขุ สถานอี นามัย จำนวน 2 แห่ง
1. สถานอี นามยั ตำบลทุ่งเตา ท่ตี ้งั หมู่ท่ี 2 ต.ทงุ่ เตา
นางนติ ยา อรญั ภาค ผอ.รพ.สต.ทุ่งเตา เบอร์โทร 0810925476
2. สถานีอนามัยบ้านทุ่งในไร่ ทต่ี ัง้ หมทู่ ่ี 4 ต.ทุง่ เตา
นายขจรเกียรติ ยังสกุล ผอ.รพ.สต.บ้านท่งุ ในไร่ เบอรโ์ ทร 0808703697
- คลินกิ จำนวน 4 แหง่
- รา้ นขายยาแผนปจั จบุ ัน จำนวน 3 แห่ง
2. การไฟฟา้
- ไฟฟ้าเข้าถึง 5 หมูบ่ ้าน ใน หมู่ท่ี 2, 4 ยงั เขา้ ไมท่ ่ัวถงึ เต็มทุกพืน้ ที่
3. การประปา
ประปาหมู่บ้าน จำนวน 11 แหง่ (แบบประปานครหลวง มี 5 ตัวและแบบถงั แซมเปญ
มี 6 ตวั
4. โทรศพั ท์
- สถานโี ทรคมนาคม DTAC-แห่ง
- สถานโี ทรคมนาคม TRUE1แห่ง
- สถานีโทรคมนาคม AIS1แห่ง
- สถานโี ทรคมนาคม TOT1แหง่
5. ไปรษณีย/์ การสื่อสาร/การขนส่งวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์
ทที่ ำการไปรษณยี ์ จำนวน 1 แหง่ (เอกชน)
6. การสงั คมสงเคราะห์
- ผ้สู ูงอายุ จำนวน 705คน
- ผู้พิการ จำนวน 105 คน
- ผปู้ ว่ ยเอดส์ จำนวน 5. คน ( แผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
17
ความเช่ือ ประเพณี และพธิ กี รรม
ประชาชนในตำบลไดร้ ่วมกนั รักษาขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมโดยการจัดกิจกรรม ดังนี้
1.จดั กิจกรรมสารทเดือนสบิ
2.ชักพระบก
3.รดน้ำผสู้ ูงอายใุ นเทศกาลสงกรานต์
4. มีการทำพิธหี วายหมรบั มีมโนราห์แข่งเพ่ือแกบ้ นตามความเชื่อถือในเดือนพฤษภาคมของ
ทกุ ปี
5.จัดกจิ กรรมวันขน้ึ ปใี หม่ และหารายได้ให้กับโรงเรยี น (ดำเนินการในหมู่ที่ 3 บา้ นไรเ่ หนอื )
6.จัดงานประจำปีของโรงเรยี น (หมู่ท่ี 1)
7.มกี ารแหเ่ ทียนพรรษา
8.จดั กิจกรรมลอยกระทง
9.จดั กจิ กรรมวันสำคัญตา่ งๆ
( แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
การนับถอื ศาสนา
ประชาชนตำบลทุง่ เตา ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ 99.09% สาสนาอสิ ลาม 0.01%
ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
ภูมิปัญญาท้องถิน่ หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน ของชาวทุ่งเตานัน้ มีคุณค่าและความสำคัญกับคน
ในชุมชนมานานโดยมีคนที่มีประสบการณ์ความรู้ความสามรถที่ชาวบ้านเรียกกันว่า ปราชญ์ชาวบา้ น
หรือปราชญ์ท้องถิ่นโดยเป็นบุคคลที่มีความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดกันมาในชุมชน หมู่บ้าน เพื่อสร้าง
อาชีพ ความรู้ในการประกอบอาชีพสร้างรายไดใ้ นกับนในชุมชน แต่ทั้งนี้การถ่ายทอดให้กับเด็กและ
เยาวชนก็มจี ำนวนทลี่ ดนอ้ ยลงกว่าเดิม โดยแต่ละหมู่บ้านมปี ราชญช์ าวบา้ นทม่ี ีความรู้ ดงั นี้
( แผนพฒั นาทอ้ งถน่ิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
18
หมู่ท่ี 1 บา้ นหัวถนน
ทนุ มนุษย์ (ปราชญ์ชาวบ้านหรือผมู้ ีความร้คู วามสามารถ)
1. นายสมพร รกั แพ ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถ ดา้ นช่างตีเหล็ก
2. นางพัชรนิ ทร์ อาตพัฒน์ ภมู ิปญั ญา/ความสามารถ ด้านจกั สาน(สุม่ ไก)่
3. นางดชั นีย์ ยงั ชู ภมู ิปญั ญา/ความสามารถ ดา้ นผ้าบาติก
4. นายธีรวัฒน์ มาสุข ภมู ปิ ัญญา/ความสามารถ ด้านพ่นเรมิ
5. นายศภุ ชยั แป๋ะป๋อง ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถ ดา้ นทำว่าว
6. นายกลั่น วิสามาศ ภูมิปัญญา/ความสามารถ ด้านศาสนา
7. นายไมตรี มสุ ิกพันธ์ ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถ ด้านศาสนา
ทุนสงั คม (ขนบธรรมเนยี ม จารตี ประเพณี กล่มุ องคก์ รทางสังคม)
1. ภาษาที่พูดสว่ นใหญ่ คอื ท้องถ่นิ ภาษาใต้
2. การนบั ถอื ศาสนา ได้แก่ พุทธ
3. วฒั นธรรมเอกลกั ษณ์ คอื รบั -ส่ง ตายาย เดือนสิบ
4. ประเพณีที่สำคญั ไดแ้ ก่ ชกั พระบก
หม่ทู ี่ 2 บา้ นไสใหญ่
ทุนมนษุ ย์ (ปราชญ์ชาวบา้ นหรอื ผมู้ คี วามรู้ความสามารถ)
1. นายทองสขุ วรรณวงษ์ ภูมิปัญญา/ความสามารถ ด้านพ่นเรมิ
2. นายหน้ิ ชามทอง ภมู ปิ ัญญา/ความสามารถ ด้านหมอขวญั กลองยาว
3. นายเหลา กาลดษิ ฐ ภูมิปญั ญา/ความสามารถ ดา้ นหมอขวญั กลองยาว
4. นายวชิ ัย โพธิโ์ พ้น ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถ ด้านพิธีกรทางศาสนา
ทนุ สังคม (ขนบธรรมเนยี ม จารีตประเพณี กลมุ่ องค์กรทางสังคม)
1. ภาษาทพ่ี ดู ส่วนใหญ่ คอื ทอ้ งถิ่น ภาษาใต้
2. การนบั ถือศาสนา ไดแ้ ก่ พุทธ/อสิ ลาม
19
3. วัฒนธรรมเอกลกั ษณ์ คอื รบั -ส่ง ตายาย เดือนสิบ หวายหนบ
4. ประเพณที ี่สำคญั ได้แก่ แห่หมบั ชกั พระบก
หม่ทู ่ี 3 บ้านไรเ่ หนือ
ทุนมนุษย์ (ปราชญ์ชาวบา้ นหรือผู้มคี วามรคู้ วามสามารถ)
1. นางแววตา ปานรินทร์ ภูมิปญั ญา/ความสามารถ ดา้ นการปลูกสมนุ ไพร
2. นายอรณุ นาคเกล้ียง ภมู ิปญั ญา/ความสามารถ ด้านไสยศาสตร(์ แก้เจ้าที่)
3. นายสมยศ สขุ สนิท ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถ ด้านไสยศาสตร์(แก้เจ้าท)่ี
4. นางซว้ น บญุ มาก ภมู ปิ ัญญา/ความสามารถด้านเพลงบอก/ด้านหมอตำแย
5. นายบญุ ทรพั ย์ รักแพ ภูมิปญั ญา/ความสามารถดา้ นพิธกี รศาสนา
6. นายประทปี สุทธิแป้น ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถดา้ นตมี ดี ถามีดกรีดยาง
7. นายศกั ด์ดิ า พิมพล์ อย ภมู ิปัญญา/ความสามารถดา้ นตมี ีด ถามีดกรดี ยาง
8. นายจำนง สดุ ประเสริฐ ภมู ิปญั ญา/ความสามารถดา้ นนวดแผนโบราณ/แผนไทย
9. นางรัตตยิ า แย้มแก้ว ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถด้านนวดแผนโบราณ/แผนไทย
10. นางจารี สหี นูดำ ภมู ิปัญญา/ความสามารถด้านปลกู พชื ผักสวนครัว
11. นางวารี บญุ มาก ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถด้านปลูกพชื ผักสวนครัว
12. นายสทิ ธิชัย อินทรารกั ษ์ ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถดา้ นปลกู พชื ผักสวนครัว
13. นางแจ่ม สกุลเผือก ภูมิปญั ญา/ความสามารถด้านปลูกพืชผักสวนครัว
14. นางยอง รักแพ ภูมิปัญญา/ความสามารถดา้ นปลูกพืชผกั สวนครัว
15. นายดสุ ติ สำลี ภูมิปญั ญา/ความสามารถด้านปลกู พืชผกั สวนครัว
16. นายสชุ าติ บุญมาก ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถด้านการเล้ยี งปลาดกุ
17. นายสมยศ สขุ สนิท ภมู ิปญั ญา/ความสามารถด้านการเลี้ยงปลาดกุ
18. นางสาวสุภา คาล้มลกุ ภมู ิปญั ญา/ความสามารถด้านการเลี้ยงปลาดกุ
19. นายทอง บุญหรอ ภูมิปญั ญา/ความสามารถด้านการเลีย้ งปลาดุก
20. นายการณุ บุญคง ภูมปิ ัญญา/ความสามารถด้านการเลีย้ งโค
21. นายประทีป สทุ ธแิ ป้น ภมู ิปญั ญา/ความสามารถด้านการเล้ยี งโค
20
ทนุ สงั คม (ขนมธรรมเนียม จารตี ประเพณี กล่มุ องค์กรทางสังคม)
1. ภาษาทพี่ ูดส่วนใหญ่ คือ ทอ้ งถ่ิน ภาษาใต้
2. การนบั ถือศาสนา ไดแ้ ก่ พุทธ
3. วัฒนธรรมเอกลกั ษณ์ คอื รบั -สง่ ตายาย เดือนสิบ ถวายหมบั พอ่ ท่านบุญ
4. ประเพณที ีส่ ำคญั ไดแ้ ก่ ชักพระบก
หมู่ที่ 4. บ้านทุ่งในไร่
ทนุ มนษุ ย์ (ปราชญ์ชาวบ้านหรอื ผู้มีความรคู้ วามสามารถ)
1. นายแจม้ พทุ ธศรี ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถ ด้านหมอแผนโบราณ
2. นายปรญิ ญา บญุ ศรีนยุ้ ภูมปิ ัญญา/ความสามารถ ด้านประตมิ ากรรม
เครือ่ งปน้ั ดินเผา ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถด้านดนตรีไทย
3. นายพิทยา ทองแกมแก้ว ภมู ปิ ญั ญา/ความสามารถดา้ นขับร้องเพลงนา
4. นางอารม บญุ คง ภูมิปญั ญา/ความสามารถดา้ นจักสาน
5. นายชาญ สมศกั ดิ์ ภูมิปญั ญา/ความสามารถด้านจักสาน
6. นางประจวบ มากแก้ว ภมู ิปัญญา/ความสามารถด้านการจบั ยาม/หมอดู
7. นางประจวบ มากแก้ว ภูมปิ ัญญา/ความสามารถด้านวิจิตรศิลป์-
8. นายนิวสิ น์ ทองแกมแกว้
ศลิ ปการพูด
ทุนสังคม (ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี กลุม่ องคก์ รทางสังคม)
1. ภาษาทพี่ ดู สว่ นใหญ่ คือ ท้องถน่ิ ภาษาใต้
2. การนับถอื ศาสนา ไดแ้ ก่ พุทธ
3. วัฒนธรรมเอกลักษณ์ คือ รบั -ส่ง ตายาย เดอื นสิบ สบื สานประเพณชี กั พระบก
4. ประเพณที ่สี ำคัญ ได้แก่ แห่หมบั ชักพระบก
( แผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
21
หมทู่ ่ี 5 บ้านคลองขนนุ
ทนุ มนุษย์ (ปราชญ์ชาวบ้านหรือผมู้ คี วามสามารถ)
1. นายสุทปี สุทธร์ิ ักษ์ ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถ ทำสมุ่ ไก่
2. นายไสย พวงเจริญ ภมู ิปญั ญา/ความสามารถด้านหมอขวัญ
กลองยาว
3. นายเลิศเชาว์ กระจา่ งจาย ภมู ิปัญญา/ความสามารถด้านช่างเชือ่ ม
ดัดแปลงเศษเหล็กเหลือใช้
4. นายธรรมสนิ โสมจันทร์ ภมู ปิ ัญญา/ความสามารถดา้ นชา่ งเชอื่ มเครื่องยนต์
5. นายมงคล แก้วหยอด ภูมปิ ญั ญา/ความสามารถดา้ นตงั้ ศาลพระภูมิ
แก้บน
6. นายนิพล หนดู ี ภมู ิปัญญา/ความสามารถ ดา้ นศาสนพิธี
ทนุ สงั คม (ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี กลุ่มองคก์ รทางสังคม)
1. ภาษาทีพ่ ูดส่วนใหญ่ คือ ทอ้ งถ่นิ ภาษาใต้ สำเนียงพื้นบ้าน
2. การนบั ถือศาสนา ได้แก่ พุทธ
3. วัฒนธรรมเอกลกั ษณ์ คอื มกี ารรว่ มมือในกิจกรรมของคนในชุมชน
4. ประเพณที ี่สำคญั ได้แก่ ชกั พระบก จบปจี บเดอื น รดนำ้ ผู้สงู อายุ ศาสนเ์ ดอื นสิบ
ถวายหมับ มโนราห์แข่งแก้บน ลอยกระทง ตกั บาตรในวนั สำคญั
( แผนพัฒนาทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
22
สว่ นท่ี3 โครงสรา้ งเศรษฐกิจและอาชีพ
แหล่งทนุ ทางธรรมชาติ
1.ป่าไม้ที่อุดมสมบรูณ์มีพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ คือ ซึ่งประกอบด้วยไมเ้ บญจพรรณ ที่มีค่าทาง
เศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ ไม้เค่ียม ไมย้ าง ไมค้ ะเคยี นทอง ไมจ้ ำปา และอื่นๆ มพี น้ื ที่ทัง้ หมดจำนวน 500 ไรเ่ ศษ
2.ภเู ขาไดแ้ ก่ เขาไทรเขาถ่าน
3.เหมอื งแร่ จำนวน 1 เหมอื ง
แหล่งอาหาร
- เครือ่ งแกง
ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน ของดี ของขึ้นชอื่
- เครือ่ งแกง
ชาวบ้านตำบลทุ่งเตา ได้มีการรวมกลุ่มในชุมชนเนื่องจาก มีแม่ครัวฝมี ือในการทำเครื่องแกง
อร่อยละมีชื่อเสียงทางด้านเครื่องแกงโดยเฉพาะทาง และเป็นการรวมกลุ่มกันครัง้ คราวโดยวัตถดุ ิบท่ี
นำมาใชใ้ นการทำเคร่ืองแกงหาได้จาก ในชมุ ชนต้นทุน กิโลกรมั ละ 60 บาท จัดจำหน่ายกโิ ลกรัม ละ
120 บาท
- กลมุ่ สตรที ำขนม ไดแ้ ก่ แซนด์วิซ
ชาวบ้านตำบลทุ่งเตา ได้มีการรวมกลุ่มคนที่มีเวลาว่างตรงกัน มาร่วมกันทำขนม โดยมี
ประธานชมุ ชนกับครู กศน. เปน็ คร้งั คราวท่านนั้ มีการรวมตวั กนั ประมาณ 20 คน เพื่อนำความรู้ที่ได้
จากการทำแซนด์วิซ ไปต่อยอดทำเป็นอาชีพเสริมโดยต้นทุน การผลิตต่อชิ้น ตกชิ้นละ 10 บาท ซ่ึง
ราคาขายเร่ิมต้นอยทู่ ป่ี ระมาณ 20 บาท
- สบู่สมุนไพรฟกั ข้าว
ชาวบา้ นตำบลทงุ่ เตา ไดม้ ีรวมกล่มุ คนโดยประมาณเดอื นละ 1 ครัง้ เพอื่ จดั ทำสบู่สมุนไพรฟัก
ข้าวที่มีสรรพคุณ ช่วยลดริ้วรอยโดยการจัดทำสบู่มีจุดเริ่มต้น มาจากการ รวมกลุ่มกันของชาวบ้าน
จำนวน 10 คนโดยสถานท่ี จัดทำใชบ้ รเิ วณศาลาหมูบ่ ้าน โดยมีการจดั จำหน่ายตามชุมชนและสหกรณ์
23
การเกษตร ก้อนละ 40 บาทและปัจจุบันได้มี การคิดค้นเพื่อพัฒนาเพิ่มสูตรชาโคลเพื่อเพิ่มความ
หลากหลาย
- ดอกไม้จันทน์
ชาวบา้ นตำบลทงุ่ เตา ไดร้ วมกลุ่มกนั เพื่อจัดทำดอกไม้จันทน์ เพอ่ื นำมาจดั ตามงานชาปณกิจ
ศพ โดยเป็นการเสริมสร้างรายไดใ้ ห้กับชาวบ้านในชุมชน เพื่อลดอัตราการว่างงานและ สร้างเวลาให้
เกิดประโยชน์โดย แบบช่อ ราคาเริ่มต้นที่ ช่อละ 10 บาท เป็นดอกราคา ดอกละ 3 บาทโดยมี
ผู้สนับสนุนในการจัดทำไดแก่ พฒั นาชุมชน จงั หวดั สุราษฎร์ธานีเปน็ ผ้สู นับเงินทนุ ในการจัดทำ
- เหรียญโปรยทาน
ชาวบ้านตำบลทุ่งเตา ได้มีการเริ่มต้นรวมกลุ่มผลิตเหรียญโปรยทานหรือกำพรึก ประมาณ
เดือนมกราคม 2564 ซึ่งมีสำนักงานเกษตรและสหกรณ์ เข้ามาช่วยคิดและสนบั สนุนให้ความรูใ้ นการ
สร้างผลติ ภัณฑ์ ทง้ั นี้ได้มีการจดั จำหนา่ ยไปแลว้ 2 ครง้ั เหรยี ญบาทจำนวน 100 บาท ขายราคา 250
บาท ตกราคาเหรียญละ 2.50 สตางค์ โดยมีการแบ่งงานให้กับชาวบ้านที่ให้ความสนใจในการสร้าง
รายไดเ้ สรมิ ได้นำงานไปทำที่บ้านเม่อื ทำเสร็จแลว้ นำกลีบมารวมกนั
( แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
สภาพทางเศรษฐกจิ ของประชาชน
1. การเกษตร
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรเป็นอาชพี หลกั โดยประกอบอาชีพทำสวนผลไม้
ทข่ี ึ้นชือ่ ของอำเภอบ้านนาสาร คือ เงาะโรงเรยี นท่ีมเี อกลกั ษณ์ของความกรอบ หวาน อร่อย เน้ือหนา
และพชื ผลเกษตรอ่นื ๆ เช่น ลองกอง ทเุ รียน มงั คุด สวนปาลม์ นำ้ มัน สวนยางพารา ตามลำดับ สถานะ
ทางเศรษฐกจิ ของประชาชนจะค่อนขา้ งดี( แผนพฒั นาท้องถ่นิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
2. การประมง
สภาพการเลี้ยงสัตวน์ ้ำ ในพื้นทีต่ ำบลทุ่งเตามีน้อยมาก ทั้งนี้ ประชาชนในพื้นที่จะอาศัยการ
จับสตั วน์ ้ำในแหลง่ นำ้ ธรรมชาติเป็นอาหาร เม่ืออดีตมสี ตั ว์นำ้ ในแหล่งนำ้ ชุกชุมมาก แต่ปจั จุบันสัตว์น้ำ
ในแหล่งนำ้ มปี ริมาณลดลงเน่ืองจากประชาชนไมไ่ ด้ให้ความสำคัญกับการอนรุ ักษ์ และพยายามฝ่าฝืน
กฎหมายอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการใช้เครื่องมอื จับสตั ว์น้ำ หรอื การไมจ่ บั สัตว์น้ำในฤดกู าลวางไข่ และ
การขุดลอกคลอง ( แผนพฒั นาท้องถ่ิน พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
24
3. การปศุสตั ว์
ปัจจุบนั ในพน้ื ที่มสี ตั ว์เศรษฐกจิ ที่สำคัญ ท่มี ีการรวมกลุ่มในการส่งเสรมิ อาชีพ เช่น กล่มุ โคเนอ้ื
แต่ปริมาณมีจำนวนน้อยลง เนื่องจากไมค่ ่อยมีพื้นทีเ่ ลีย้ งสัตว์ (แผนพัฒนาท้องถิน่ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.
2570)
4. การพาณชิ ย์/กลุ่มอาชีพ
- กลุม่ เลีย้ งโคขุน๑กลุม่
- กลุ่มอาชีพเคร่ืองแกง2กลุ่ม
- กลมุ่ อาชีพการทำสบูส่ มนุ ไพร1กลมุ่
5. แรงงาน
การใช้แรงงานจะเน้นในการประกอบอาชพี ภาคเกษตรเป็นหลักไม่วา่ จะทำเองหรอื รบั จ้างกรีด
ยางพารา เก็บเกย่ี วผลผลติ ปาลม์ นำ้ มันและอื่นๆ (แผนพัฒนาท้องถ่ิน พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
25
ตารางแสดงการประกอบอาชีพของตำบลทุ่งเตา
หมู่ อาชพี
ท่ี
ประชากร ทำ ทำ ประมง รบั รัฐ บริษทั รับจา้ ง ค้าขาย ธรุ กจิ อาชีพ กำลงั ไมม่ ี
ไร่ สวน ราชการ วิสาหกิจ สว่ นตวั อ่ืน ศกึ ษา อาชีพ
1 1,147 0 412 1 64 5 4 164 149 32 1 262 64
2 432 0 205 0 14 1 8 82 16 5 12 74 15
3 423 2 278 0 3 0 7 51 10 0 0 65 7
4 598 0 197 0 20 9 24 65 24 21 112 115 11
5 645 2 378 0 10 1 4 28 20 9 9 156 28
รวม3,238 4 1,470 1 111 16 47 390 219 67 134 672 107
จากการสำรวจข้อมูล และประมวลผล จปฐ. ปี 2562 พบว่าตำบลทุ่งเตา มีรายได้เฉล่ีย
ครัวเรือนละ 189,917.18 บาทตอ่ คนต่อปี และรายไดส้ ่วนใหญ่มาจากการทำสวนยางพารา สวนผลไม้
ปาล์ม รองลงมาเปน็ รายไดจ้ ากเงนิ เดอื น คา่ จ้าง ค่าตอบแทน
ตารางแสดงรายไดข้ องประชากรของตำบลทุ่งเตา ปี 2562
หม่ทู ี่ ชอ่ื บ้าน รายได้เฉล่ียตอ่ คนตอ่ ปี (บาท)
1 หัวถนน 62,113.86
2 ไสใหญ่ 53,319.20
3 ไร่เหนือ 102,162.17
4 ทงุ่ ในไร่ 66,784.28
5 คลองขนนุ 71,219.22
รวม 68,858.18
จากการสำรวจข้อมูล และประมวลผล จปฐ. ปี 2562 พบวา่ ตำบลทุ่งเตา มรี ายจ่ายครัวเรือน
รวมเฉลยี่ 107,104.09 บาท ตอ่ ครัวเรอื นตอ่ ปี มีรายจ่ายเฉลยี่ คนละ 38,832.68 บาทต่อคนตอ่ ปี
26
ส่วนท่ี 4 สถานที่สำคัญๆ
แหลง่ ท่องเท่ยี ว
1. อุทยานการศึกษาวัดวิเวการาม
อุทยานการศึกษาวัดวิเวการาม ตัง้ อย่ทู ี่หมู่ที่ 1 บา้ นหวั ถนน ตำบลทุ่งเตา อำเภอบา้ นนาสาร จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี เป็นสวนป่ามีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ พระครูวิเวกสุตาคม เจ้าคณะอำเภอบ้านนาสารเจ้า
อาวาสวดั วเิ วการาม ได้จัดสรา้ งอบายภมู แิ ละนรกขึน้ ภายในสวนปา่ จำนวน 10 ฐาน เม่อื ปี พ.ศ. 2551
เพ่อื ใหเ้ ดก็ และเยาวชนตลอดจนประชาชนได้ศกึ ษาเรยี นรูเ้ ก่ียวกับผลกรรมที่ตวั เองได้กระทำไว้เม่ือยัง
มีชวี ิตอย่แู ละเมอ่ื ตายไปแลว้ ผลกรรมจะตอบสนองอย่างไรเพือ่ จะได้ไมก่ ระทำความช่วั หรือทำบาปต่อ
มนุษย์และสัตว์
(ศูนย์ข้อมลู กลางทางวฒั นธรรม..อุทยานการศึกษาวัดวิเวการาม[ออนไลน์].2000,สบื ค้นเมื่อ
15 กนั ยายน 2564.จากhttp://www.m-culture.in.th/album/173272/อทุ ยานการศกึ ษา)
รปู ที่6 อทุ ยานการศกึ ษา รูปที่ 7 ฐานนรก
รปู ที่ 8 ฐานนรก รูปท่ี 9 ฐานนรก
27
รูปที่ 10 ฐานนรก รูปที่ 11 ฐานนรก
รปู ท่ี 12 ฐานนรก รูปที่ 13 ฐานนรก
รปู ท่ี 14 ฐานนรก
28
2. การท่องเทย่ี วประเพณวี ฒั นธรรม “ประเพณีชกั พระบก”
ประวัติและความเปน็ มา
รูปท่ี 15 ประเพณชี ักพระบก
ตำบลทงุ่ เตา เลา่ กันวา่ ก่อนสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 วา่ ด้วยตำบลทุ่งเตาได้รวมกำลังคนสร้างเรือ
พระบก ขึน้ ตรงกบั วนั จบปจี บเดอื น เปน็ วนั จบ เดือนหา้ ขน้ึ เดอื นหกหรอื วา่ เปน็ วันปีใหม่ของไทยซ่ึง
สถานที่ชักเรือพระบกครั้งแรกเริ่มจากวัดวิเวการามมาที่หนองไทร ซึ่งเป็นหมู่บ้านทุ่งในไร่โดยมี
ระยะทางประมาณหนง่ึ พันเมตรเม่ือถงึ ปลายทางมีการร้องรำทำเพลงตามภาษาคนท้องถ่ินโดยเฉพาะ
ใครมีความสามารถในด้านใดก็จะมีการละเล่นต่างๆเช่นด้านหมอโนราหนังตะลุงเพลงบอกเพลงนา
แลว้ แตค่ วามถนดั เพ่อื ความร่นื เริงในทสี่ ุดก็จะกลายมาเปน็ ประเพณีท้องถ่ินเมอื่ ถงึ วันจบปจี บเดือนจึงมี
การจัดประเพณีชกั พระเรอ่ื ยมาจนถึง พ.ศ.2484ชว่ งสงครามโลกคร้ังทสี่ องสมัยจอมพลปพิบูลสงคราม
เป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นประเพณีชักพระบกตำบลทุ่งเตาจึงได้หยุดลงและหลังจากสงคราม
วา่ งเวน้ มาหลายปีจนถงึ สมัยจอมพลถนอมกิติขจรเปน็ นายกรัฐมนตรี มีนายรถพิณแก้วไดร้ วบรวมผู้คน
ในท้องถ่นิ สร้างเรอื พระบุกข้นึ อกี ครง้ั หนง่ึ และหลังจากน้ันได้ว่างเว้นมาหลายปี
จนถึงปีพ.ศ.2526ชาวตำบลทุ่งเตาเริ่มมีการฟ้ืนฟูประเพณีชักพระบุกข้ึนมาอีกคร้ังศักยภาพ
ของตำบลทุ่งเตาปจั จุบนั การจดั ประเพณีท้องถ่ินได้รับความร่วมมอื จากผู้คนในชมุ ชนเปน็ อย่างดีแตก่ ็
ยังมีปัญหาในเรื่องการปลกู ฝังให้กับเยาวชนรุ่นหลัง ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญของประเพณีตำบลทุ่ง
เตาให้มากกว่าน้ีให้ผู้ปกครองควรส่งเสรมิ และปลูกฝังให้ลูกๆหลานของตนเองทราบประเพณีชักพระ
29
บกมีความสำคัญต่อตำบลทุ่งเตาทไี่ ม่อาจทอดทงิ้ ไดเ้ พราะประเพณีชักพระบกคือมรดกชิน้ เดียวที่ทำให้
ตำบลทุ่งเตาเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในครั้งนั้นมีการสมโภชเรือพระบกขึ้นที่วัดคลองขนุนหมู่ท่ี5
ตำบลทุ่งเตา ในวันท่ี1พฤษภาคมพ.ศ.2546ซึ่งตรงกับวันจบปีจบเดือนของไทยและได้ทำการชักพระ
บกุ ไปยงั วัดวิเวการามหลงั จากปพี .ศ. 2546ชาวบา้ นรนุ่ หลังกไ็ ด้มีการจดั ให้มีประเพณีชกั พระบกทุกๆปี
โดยในแต่ละปีจะมีงานสมโภชเรือพระทั้ง2ลำณวดั คลองขนุนในคืนก่อนที่จะมกี ารชักลากเรือพระบก
และมีการแสดงของกลุ่มแม่บ้านกลุ่มสตรีเด็กเยาวชนรำวงเวียนครกก่อเจดีย์ทราย และรุ่งเช้าเวลา
ประมาณ09.00 ถือว่าเป็นฤกษ์งามยามดีของชาวบ้านที่จะร่วมกันจัดขบวนเพื่อเตรียมความพร้อม
สำหรบั การชกั ลากเรือพระบก จากวัดหน่งึ ไปอกี วัดหนง่ึ แตต่ อ้ งตรงกับวันขน้ึ 1คำ่ เดอื น6 ทเ่ี รียกกันว่า
วันจบปีจบเดือนนนั่ เอง โดย ประเพณชี กั พระบก ได้มีการสรงนำ้ พ่อทา่ นบญุ และรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
โดยชาวบ้านท้งั 2ตำบลคอื ตำบลทุ่งเตาและตำบลทงุ่ เตาใหม่และตำบลใกลเ้ คียง ต่างมาร่วมประเพณี
ตามวฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ (นายนวิ ิสน์ ทองแกมแก้ว,30 สงิ หาคม 2564)
รปู ท่ี 16 ประเพณีชกั พระบก
30
ศาสน์สถานของทุกศาสนา
1. วดั วิเวการาม
วัดวิเวการาม ตั้งอยู่ที่ หม่ที่ 1 บ้านหัวถนน ตำบลทุ่งเตาอำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์
ธานี เป็นวัดเก่าแกม่ ีเนือ้ ทปี่ ระมาณ 20 ไร่เศษ พระครูวิเวกสตุ าคม เจา้ อาวาส ได้มกี ารพัฒนาเป็นวดั ที่
เดนิ รอยตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวโดยเนน้ ด้านเศรษฐกิจพอเพียงภายในวัดมีการ
ทำปุ๋ยหมักจากใบใม้เพ่ือใส่ตน้ ไม้ สวนปาล์ม,สวนยางพาราภายในวัดโดยไม่ต้องใช้ปุ๋ยเคมี นอกจากน้ี
ยังเปน็ วดั ท่ีมีการเรียนรู้ทางดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม มีการปฎิบัติธรรมตลอดท้งั ปี วดั วเิ วการามมีหลวง
พ่อบญุ เป็นท่ีเคารพบูชาของชาวบา้ น
(ฐานข้อมูลแหล่งทอ่ งเทย่ี วและผลติ ภัณฑ์การทอ่ งเทยี่ ว.วดั วิเวการาม[ออนไลน์].2000,สบื คน้ เมอื่ 15
กันยายน 2564.เข้าถงึ ได้จากhttp://www.me-fi.com/tourismdb/Seniortourists-
ust/data_list.php?cateLv=3&cateID=71&subid=740)
รูปที่17 วดั วิเวการาม
รูปท่ี 18ศาลาพ่อทา่ นบุญ รปู ท่ี 19ช้างพลาย
31
2. วัดคลองขนนุ
วัดคลองขนุน ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 5 บ้านคลองขนุน ตำบล ทุ่งเตา อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานีเป็นวัดที่ชาวบ้านตำบลทุ่งเตาเคารพบูชา มานานโดยวัดคลองขนุนเป็นศาสนสถานที่ยึด
เหนี่ยว จิตใจของชาวตำบลทุ่งเตา เป็นสถานท่ีประกอบพธิ กี รรมตา่ งๆ บริเวณวัดสงบรมรื่น นอกจากนี้
วัดคลองขนุน ยังมีประเพณีชักพระบกที่สืบทอดกันมาเป็นระยะเวลานาน(แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.
2566 - พ.ศ.2570)
รปู ท่ี20 วัดคลองนุน
รูปที่ 21 วดั คลองขนนุ รปู ที่ 22 วดั คลองขนุน
32
แหลง่ เรยี นรู้ / โรงเรยี น / หอ้ งสมดุ ชมุ ชน
1.โรงเรยี นวดั วิเกการาม ตง้ั อยู่ที่ หมู่ 1
รูปที่23โรงเรียนวดั วเิ วการาม
ประวตั โิ รงเรยี นวัดวเิ วการาม
โรงเรยี นวัดวิเวการาม เปน็ โรงเรยี นประเภทอำเภอตงั้ ขนึ้ เปิดการสอนเมื่อวันท่ี 1 กมุ ภาพันธ์
2464 ช่ือว่า “โรงเรยี นประชาบาลตำบลท่าเรอื 2 (วดั ทุ่งเตา)”โดย ใชว้ ัดทงุ่ เตา เปน็ สถานทเี่ รียน พระ
ใบฎีกาหีตเป็นเจ้าอาวาสและ หมื่นนาวาประดิษฐ์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลท่าเรือ เป็นผู้อุปการะ
โรงเรยี น ในปี พ.ศ.2476 กรมศาสนาได้ใหค้ ณะ สงฆ์ ตัง่ ชื่อวดั ต่างๆ ขนึ้ ใหมใ่ ห้เหมาะสม จึงตง้ั ช่ือใหม่
ว่า “วัดวิเวการาม” แปลว่าสงัดเงียบโรงเรียนจึงเปลี่ยนชื่อด้วยเป็น “โรงเรียนประชาบาลตำบลทุ่ง
เตา”(วัดวิเวการาม) “ ในปี พ.ศ. 2496 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้ตง้ั ชือ่ โรงเรยี นทุก ประเภทใหม่ตัดคำ
ว่า “ประชาบาล” ออกจึงชื่อว่า “โรงเรียนวัดวิเวการาม” ในปี พ.ศ.2504 ได้ทำการก่อสร้างอาคาร
เรียนในทดี่ ินปัจจุบนั 1หลังโดยนายสง่าโอสถสภา(นายอำเภอบ้านนาสาร) นายเฟื้อบญุ แก้ว(ผู้ใหญ่บ้าน
หม่ทู ่ี3) และนายชุม่ แยม้ แก้ว(เป็นผู้ใหญ่บ้านหมูท่ ่ี2) นายลภั มากแก้ว(ครู) เป็นผูจ้ ดั หาทนุ และราษฎร
ในการก่อสร้างอาคารและได้ย้ายสถานที่เรียนจากวัดมายังที่ปัจจุบันตั้งแต่วันที่13พฤษภาคม 2505
ปัจจบุ ันเปดิ การสอนต้ังชัน้ อนุบาลถึง ชัน้ มธั ยมปีท่ี 3 ในปกี ารศกึ ษา 2558 มนี ักเรยี นจำนวน 159 คน
ครูจำนวน 14 คน พนักงานบริการชา่ งปูน 2 จำนวน 1 คนเจ้าหนา้ ที่ธุรการจำนวน 1 คน พี่เลี้ยงเด็ก
พิการจำนวน 1 คน ครูวิกฤต จำนวน 1 คน นายวินัย เสสิตังย้าย มาตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนน้ี
เมื่อวนั ที่ 21 ตลุ าคม 2556
33
ขอ้ มูลทวั่ ไป
สถานศึกษา โรงเรียนวัดวิเวการามตั้งอยู่หมู่ท่ี 1 ตำบล ทุ่งเตา อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี รหัสไปรษณีย์ 84120 โทรศัพท์ 0-7726-3372 เปิดสอนตั้งแต่ระดับ อนุบาล 1 ถึง
ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เนื้อที่ 16 ไร่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์
ธานี เขต 3
วสิ ยั ทัศน์
โรงเรียนวัดวิเวการาม ม่งุ มันบริหารสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ ด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ทุก ฝ่ายมีส่วนรว่ ม เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา ผู้เรียนมีคูณธรรมนำ
ความรตู้ ามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และเกิดองคค์ วามรู้ไดต้ ามศกั ยภาพ
พันธนกิจ
1. จดั การศกึ ษาตั้งแตป่ ฐมวยั ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
2. จัดการโดยใชส้ ื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศทีท่ นั สมัย
3. ส่งเสริมสนับสนุนจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
4. บรกิ ารจดั การส่ิงแวดลอ้ ม และทรพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ บงั เกิดประสทิ ธิผล
5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ บคุ ลากรให้ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง
6. บรกิ ารและจดั การศึกษาอยา่ งเปน็ ระเบยี บโยทกุ ฝ่ายมสี ว่ นรวม
เปา้ หมาย
1.ผ้เู รยี นทุกคนในเขตบริการได้เข้าร่วมการศึกษาตามหลักสูตรการศกึ ษาภาคบังคับ
2. โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีสื่อ เทคโนโลยี และสาระสนเทศท่ี
สอดคลอ้ งกบั หลักสูตร
3. ผูเ้ รยี นมีคณุ ธรรมตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
34
4. โรงเรยี นมีการใชท้ รัพยากรทอ้ งถิน่ อย่างคุ้มคา่ บังเกดิ ประสิทธิผล
5. บลุ ากรได้รบั การพัฒนาอย่างน้อย 20 ชั่วโมงต่อปี
6. ทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารสถานศกึ ษา
เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา
- โรงเรียนสวยดว้ ยมือเรา
อัตลักษณข์ องผเู้ รียน
- ความรบั ผิดชอบในการรกั ษาความสะอาดของนักเรียน
(โรงเรียนวัดวิเวการาม.ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน.[ออนไลน์].2000, สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน2564.
เข้าถึงได้จากhttps://data.bopp-obec.info/web/index_kru.php?School_ID=1084640329)
รูปท่ี 24 ป้ายโรงเรียนวัดวเิ วกราราม รูปท่ี 25 พระพุทธรปู ปะจำโรงเรียน
35
2. โรงเรียนบา้ นทุ่งในไร่ ตงั้ อยูท่ ี่ หม่ทู ่ี 4
ประวัติ โรงเรียนบา้ นทุง่ ในไร่
รูปที่ 26 โรงเรียนบ้านท่งุ ในไร่
โรงเรียนบ้านทุ่งในไร่ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งเตา อำเภอบ้านนาสาร จังหวัด สุราษฎร์
ธานี หา่ งจากตลาดทุง่ เตาประมาณ 1,100 เมตร สร้างขนึ้ เม่ือ พ.ศ. 2482 โดยนายฉุย้ – นางเพียร คง
ทรัพย์ เป็นผู้มอบกรรมสิทธิ์ท่ีดินให้จำนวน 5 ไร่ 1 งาน 99 ตารางวา ผู้ใหญ่ขาบ โพธิ์เพชร เป็นผู้นำ
ชาวบ้านร่วมกันบริจาคทรัพย์ และแรงงานในการก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว เปิดทำการสอนเมื่อ
วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482 ตั้งชื่อว่า โรงเรียนประชาบาลตำบลทุ่งเตา 4 (บ้านคลองขนุน) เปิดทำ
การสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 นายเสน่ห์ ชุติมันต์ เป็นครูใหญ่คน
แรก ปี 2485 นายเวียน พัฒนพิทักษ์ ย้ายมาดำรงตำแหน่งครูใหญ่ เปลี่ยนชื่อโรงเรยี น เป็นโรงเรยี น
ประชาบาล ตำบลบ้านนา 7 (บ้านคลองขนนุ )ปี 2487 เปล่ยี นชอื่ โรงเรียน เปน็ โรงเรยี นบ้านทุ่งในไร่
ปี 2502 นายเนนิ่ ทองแกมแกว้ เปน็ ครูใหญ่ ราษฎรในหมูบ่ ้านทุง่ ในไร่ได้สละทรัพยแ์ ละแรงงาน สรา้ ง
อาคารเรียนถาวร 3 ห้องเรียน ขนาด 9 x 27 เมตร แทนหลังแรก แต่ถูกวาตภัย อาคารหักพัก เม่ือ
วันที่ 25 ตุลาคม 2505 ราษฎรในหมู่บ้านจึงช่วยสร้างอาคารเรียนชั่วคราวอีกครั้ง ปี 2506 ทาง
ราชการได้จัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนถาวร ขนาด 4 ห้องเรียนเป็นอาคาร 1ปี 2513
ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1ก 4 ห้องเรยี น ขนาด 8.5 x 36 เมตร เปน็ อาคาร 2 ปี
36
2516 ได้งบประมาณสร้างบ้านพักครู 1 หลังปี 2518 โรงเรียนได้รับรางวัลชมเชยในการประกวด
โรงเรียนระดับ ป.ต้นปี 2519 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1ข ใต้ถุนสูง 1 หลัง เป็น
อาคาร 3 โรงฝกึ งาน 1 หลงั ปี 2522
โรงเรียนได้รับรางวัลชมเชยในการประกวดโรงเรียนใช้หลักสูตรใหม่ โรงเรียนขนาดกลาง
และไดร้ ับงบประมาณสรา้ งบ้านพกั ครูหลังที่ 2 และได้รบั งบประมาณกอ่ สรา้ งกำแพงก้นั นำ้ โรงอาหาร
และจัดซื้อครุภัณฑ์ประจำโรงเรียน ตามโครงการพัฒนาชุมชนชนบท งบ ส.ส. นายบัญญัติ บรรทัด
ฐาน – นายยุทธกิจ เจนปรมกจิ ) แตพ่ ังทลาย เน่ืองจากอทุ กภัย ปี 2531 จึงได้งบสรา้ งใหม่ ปี 2533
พร้อมทั้งงบสร้างรั้วรอบบริเวณโรงเรียนปี 2525 นายพิมล คงทรัพย์ ได้รับแต่งตั้งเป็นครูใหญ่
โรงเรียนได้รับวุฒิบัตร โรงเรียนดีเด่นของ สปอ.บ้านนาสาร ปี 2530 นายมานะ วสุลิปิกร ย้ายมา
ดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ได้จัดสร้างศาลาประดิษฐานพระพุทธรูปและบริษัท เพียรประดิษฐ์รับ
เบอร์ บรจิ าคพระพุทธรูป 1 องค์ ปี 2531 ได้รบั งบประมาณตอ่ เตมิ อาคารเรียนแบบ ป.1ข ใต้ถุนสูง
2 ห้อง เพื่อทำเป็นสำนักงานกลุ่ม กลุ่มโรงเรยี นทุ่งเตา ปี 2539 นายสำเริง บุญศรีนุ้ย ย้ายมาดำรง
ตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ ทางโรงเรียนไดร้ บั งบประมาณ เพอ่ื ทำโรงเรยี นให้เป็นปจั จุบนั โดยทาสีโรงเรียน
อาคารประกอบทุกหลัง และได้รับการจัดสรรครุภัณฑ์ประจำห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ห้องปฏิบัติการทางภาษา และห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปี 2544 นายสายัณ มีเพียร ย้ายมาดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่
ได้รับงบประมาณต่อเติมอาคารเรียน ป.1ข ใต้ถุนสูง จำนวน 2 ห้องเรียน และได้จัดสร้างลานกีฬา
เอนกประสงค์ นายสายัณ มีเพียร ได้เลื่อนวิทยฐานะเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาปี 2555 ได้รับ
งบประมาณ จาก ส.ส. จำนวน 210,000 บาท ซ่อมแซมอาคารเรียน ป.1ก.นายสายัณ มีเพียร ได้
เกษยี ณอายรุ การการกอ่ นกำหนดเมอ่ื 28 กนั ยายน 2555
ปจั จุบนั นายสุวิทย์ วเิ ชียรวงศ์ ไดร้ กั ษาราชการแทนผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบ้านทุ่งใน
ไร่ เปิดทำการสอน 2 ระดับ คือ ระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา ตั้งแต่อนุบาล 1 ถึงชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 6 มีครูผู้สอนจำนวน 4 คน พนักงานบริการ 1 คน นักเรียนจำนวน 53 คน ทาง
โรงเรียนได้ปรับปรุงงานด้วยวิชาการ งานข้อมูลสารสนเทศ โดยการนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหท้ นั สมัย พฒั นาผูเ้ รียนให้มคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน พัฒนาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ พัฒนาด้านอาคาร
37
สถานที่และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้พร้อมใช้งานและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ให้บุคลากรและผู้เรียน
ดำรงชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมใน
ระดบั ชนั้ ป.1 – ป.6 รับสญั ญาณมาจากโรงเรียนวงั ไกลกงั วล อำเภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์
วสิ ยั ทศั น์ / ปรัชญา
1. โรงเรียนบ้านทุ่งในไร่ จัดการศึกษามุ่งในนักเรียนเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุขตาม
มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
2. พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลกร บริหารรว่ มสร้างสรรค์ สมั พนั ธช์ มุ
พันธกจิ
1. จดั กิจกรรม ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ปลูกจิตสำนึกในความเป็นไทยและมีวิถี
ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2. จัดกจิ กรรมสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ และทกั ษะท่จี ำเปน็ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
3. ส่งเสริมให้สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย และใช้แหล่งเรียนรู้
อย่างคมุ้ คา่
4. สง่ เสรมิ การใช้สือ่ เทคโนโลยี
5. สง่ เสริมและพฒั นาสถานศึกษาให้มกี ารจัดหลักสูตรสถานศกึ ษาและจดั กระบวนการเรียนการ
สอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ
6. จดั ระบบบรหิ ารจดั การภายในองค์กรใหเ้ ปน็ ระบบ มปี ระสทิ ธิภาพและส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วน
รว่ มในการจัดการศกึ ษา
7. ส่งเสรมิ การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม
8. จัดการศกึ ษาระดับปฐมวยั และระดบั ประถมศกึ ษาในเขตบริการอย่างทัว่ ถึง
9. สง่ เสริมการสร้างอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษาใหโ้ ดดเดน่
10. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง
38
เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง
2. ผู้เรียนมคี วามรูและทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ตามหลักสตู ร
3. สถานศกึ กาจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนอยา่ งหลากหลาย
4. สถานศกึ ษามีการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ พฒั นาคุณภาพผ้เู รียนอย่างคุ้มคา่
5. ผู้เรยี นสามารถใช้สอื่ เทคโนโลยีเบ้อื ต้นได้
6. สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรสถานศึกษาและกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เปน็ สำคัญ
7. ครจู ดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
8. สถานศกึ ษาพฒั นางานขอ้ มลู สารสนเทศทุกงานเปน็ ระบบ ชัดเจน มคี ณุ ภาพ
9. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อม และบรกิ ารทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนพัฒนาเต็มศกั ยภาพ
10. เด็กวัยเรยี นในเขตบริการทกุ คนได้รับการศกึ ษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา
11. สถานศึกษามีอตั ลักษณ์ที่โดดเด่น
12. สถานศึกษามีการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี
สอง
(โรงเรียนท่งุ ในไร่.ขอ้ มูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น.[ออนไลน์].2000,สืบคน้ เมอ่ื 15 กันยายน 2564.เข้าถึงได้
จาก https://data.bopp-obec.info/web/index_view.php?School_ID=1084640324&page=info )
รูปที่ 27 โรงเรยี นบ้านทุ่งในไร่ รูปที่ 28 ป้ายโรงเรยี นบ้านทงุ่ ในไร่
39
3.โรงเรยี นบ้านไร่เหนอื ต้งั อยทู่ ่ี หมูท่ ่ี 3
ประวตั ิโรงเรยี นบ้านไร่เหนือ
รูปท่ี 29. โรงเรยี นบ้านไรเ่ หนือ
โรงเรียนบ้านไร่เหนือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งเตา อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์
ธานี โดยนายเฟื้อ บุญแก้ว ได้บริจาคที่ดิน จำนวน 12 ไร่เศษราษฎรบ้านไร่เหนือได้ร่วมกันสร้าง
อาคารเรียนชั่วคราวขึ้น 1 หลังเปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2517 ในช้ัน
ประถมศึกษาปี่ที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีจำนวนนักเรียน 40 คน ครู 2 คนนายถาวร มลิ
วัลย์ เปน็ ครูใหญ่ และนายเลก็ พูลสมบัติ เปน็ ครผู สู้ อน
ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ชัน้ อนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนทั้งหมด 50
คน ครู 4 คน มีอาคารเรียน 2 หลังและอาคารประกอบ เช่น อาคารอเนกประสงค์ ห้องสมุด โรง
อาหาร หอ้ งน้ำ - ห้องสว้ ม
จัดแบ่งโครงสร้างออกเปน็ 4 งาน ดังนี้
1. งานวชิ าการ
2. งานแผนงานและงบประมาณ
3. งานบุคลากร
40
4. งานบรหิ ารทวั่ ไป
วสิ ัยทัศน์ / ปรชั ญา
โรงเรียนบา้ นไร่เหนือ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพ พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามรู้เต็มศักยภาพตาม
มาตรฐานท่กี ำหนด
ยดึ หลกั การมสี ว่ นรว่ มให้การบรหิ ารและจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั
พันธกิจ / เป้าประสงค์
1. พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
2. พัฒนาประสทิ ธภิ าพบุคลากร
3. พัฒนาคณุ ภาพการบริหารจัดการ
4. พฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา
(โรงเรยี นบ้านไรเ่ หนือ.ข้อมลู พืน้ ฐานของโรงเรียน.[ออนไลน์].2000,สืบค้นเม่ือ 15 กันยายน 2564.
เข้าถงึ ได้จาก.https://data.bopp-
obec.info/web/index_view_history.php?School_ID=1084640325&page=aboutus)
รูปที่ 30บริเวณโรงเรียนบ้านไร่เหนือ รปู ที่ 31 นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านไรเ่ หนือ
41
4.ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยูท่ ่ี หม่ทู ่ี 1
5.สนามกฬี า/ลานกฬี า จำนวน 5 แห่ง (ทกุ หมู่บา้ น) (แผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)
42
ส่วนที่ 5 การวเิ คราะห์ศกั ยภาพชุมชน
การวเิ คราะหเ์ พื่อพัฒนาท้องถิ่น
การวิเคราะห์กรอบการจัดทำยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ใช้การ
วิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand(DemandAnalyisis)/GlobalDemand และ Trend ปัจจัย
และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาอย่างน้อยต้องประกอบด้วยการวิเคราะห์
ศักยภาพดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม)
ผลการวิเคราะหด์ ้วยเทคนคิ SWOT
จุดแขง็ (Strenght ) จุดอ่อน (Weakness)
1. ภูมิศาสตร์ของพื้นที่เหมาะสมต่อการประกอบ 1. นโยบายการพัฒนาพื้นที่ยังแยกส่วน ให้ความสำคัญ
อาชพี ทางการเกษตรกรรม กับความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียมากกว่าความจำเป็น
เร่งด่วน ขาดความชัดเจนในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็น
2. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา และพนักงานส่วน ระบบและอย่างยั่งยนื
ตำบลมีความเขา้ ใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองใน 2. มีบุคลากรจำนวนน้อย ไม่ตรงกับตำแหน่งและไม่
การพัฒนาองค์กร และมีความต้ังใจทำงานมาก เพียงพอกบั ภารกิจทเี่ พ่มิ มากขนึ้
3.งบประมาณไมเ่ พยี งพอในการพฒั นา
3. การจดั โครงสรา้ งสว่ นราชการมีความเหมาะสม ขาดแหล่งกักเก็บน้ำขนาดใหญ่สำหรับทำการเกษตร
สอดคลอ้ งภารกจิ และอปุ โภค บรโิ ภค
4. มีงบประมาณที่จัดเก็บได้เองเพียงพอในการ 4.ระบบโครงสรา้ งพ้ืนฐานยงั ไม่ครอบคลมุ และท่ัวถึงและ
ยังไมม่ ีมาตรฐาน
แก้ปญั หาระดบั ตน้
5.เกษตรกรมีความชำนาญเฉพาะการผลิต แต่ไม่มี
5. ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจาก ประสบการณ์ดา้ นการตลาด
6.การให้บริการด้านสาธารณสุขไม่เพียงพอต่อความ
ประชาชน จึงสามารถแก้ปัญหาและพัฒนา ตอ้ งการ
ท้องถิน่ ไดต้ รงกบั ความต้องการของประชาชน 7.ประชาชนขาดความมั่นใจในการดำเนินงานของ
6.ประชาชนให้ความร่วมมือในการชำระภาษี ทำ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลทงุ่ เตา
8.ประชาชนยังขาดความรู้ ความเขา้ ใจในบทบาทอำนาจ
ให้ อบต.สามารถพัฒนาตำบลไดม้ ากขึน้ หนา้ ทีข่ องสมาชิกท้องถน่ิ และผบู้ ริหารทอ้ งถิน่
43
ผลการวเิ คราะหด์ ว้ ยเทคนิค SWOT
โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat)
1.ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญและมีส่วนร่วมใน 1.ความไม่แนน่ อนทางการเมือง เศรษฐกิจ
กจิ กรรมหมบู่ ้าน 2.ประชาชนขาดความสนใจทางการเมือง และ
2.มีงบประมาณพอสมควรที่จะสามารถพ ัฒน าให้ ปิดกั้นตนเองไม่เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม
ครอบคลุมปัญหาความต้องการของประชาชน ทางสังคม
3.ประชาชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในการพัฒนา และให้อิสระแก่
องค์การบริหารส่วนตำบลในการดำเนินงานพัฒนาอย่าง 3.ประชาชนบางส่วนไม่มีที่ดินทำกินของ
เต็มที่บนพืน้ ฐานแผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนพัฒนาท้องถ่นิ สี่ ตนเอง หรอื ทด่ี ินอยใู่ นพื้นทป่ี ่าสงวนแห่งชาติ
ปี 4.ปัญหาการขาดแคลนแหล่งนำ้ เพ่อื การเกษตร
4.ประชาชนในพื้นที่มีวัฒนธรรม ความเป็นอยู ่แบบ ในช่วงฤดแู ลง้
ชนบท ให้ความสำคัญกับระบบอาวุโสเครือญาติ และ
เคารพความเปน็ ครูบาอาจารย์ และยึดหลักคุณธรรม 5 .ปัญ หาคว ามปลอ ดภัยใน ชีว ิ ต และ
ที่ดใี นการดำเนินชีวิตประจำวนั ทรพั ย์สิน ฯลฯ
5.สภาพพ้นื ท่เี หมาะแก่การทำการเกษตร โดยเฉพาะปลูก 6. ราคาสินค้าเกษตรและการตลาดไม่แน่นอน
ไม้ผล
6.วิสัยทัศนท์ ส่ี อดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ท้องถนิ่ /ยุทธศาสตร์ 7.การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติ
จังหวดั เชน่ อทุ กภัย ภยั แล้ง เปน็ ต้น
7.พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้อำนาจแก่
อบต.มากพอสมควร
8.ผู้นำมีความสามารถในเชิงประสานงาน/บูรณาการ
ร่วมกบั องคก์ รอื่น ๆ
9.สถานศึกษาในพน้ื ท่มี ีความพร้อม
44
การประเมนิ สถานการณส์ ภาพแวดล้อมภายนอกทเ่ี กีย่ วข้อง
ดา้ นการเมืองการบริหาร
ประชาชนมีความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น แต่ความขัดแย้งทางการเมืองระดับชาติส่งผล
สั่นคลอนต่อความคิดเห็นทางการเมืองของประชาชนในท้องถิ่น การบริหารงานของผู้บริหารมีความ
ต่อเนื่องแต่การพัฒนาพื้นทีย่ ังแยกสว่ น ภาพรวมการพัฒนาในระดับตำบลยงั ไม่เดน่ ชัด การบริหารท่ี
ยดึ โยงกบั นโยบายส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคทำใหท้ ้องถ่นิ ขาดอิสระในการพัฒนาตนเอง งบประมาณ
ส่วนหนง่ึ ตอ้ งจัดสรรใหก้ บั การขบั เคลอื่ นนโยบายส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าคทำให้ปัญหา ความต้องการ
ของประชาชนในพื้นไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเพียงพอ เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านงบประมาณ
ประชาชนมสี ่วนร่วมในการให้ขอ้ คิดเหน็ แต่การมสี ว่ นรว่ มตัดสินใจในระดับนโยบายมนี อ้ ย
ดา้ นสังคม
จากการทีป่ ระเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สงู อายอุ ย่างสมบูรณ์ในปี 2568 ขณะท่ีสัดสว่ นประชากร
วยั เด็กและวยั แรงงานลดลงอย่างต่อเนือ่ งในชว่ งแผนพัฒนา ฯ ฉบบั ที่ 11 อาจกระทบตอ่ ความตอ้ งการ
แรงงานในระบบเศรษฐกจิ ในอนาคต ภาครัฐและครัวเรอื นจะมภี าระค่าใชจ้ ่ายเพ่ิมข้นึ ในการดูแลและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ ส่งผลต่อภาระงบประมาณของภาครัฐ และค่าใช้จ่าย
ของครัวเรือนในการดูแลสขุ ภาพอนามยั และการจดั สวัสดกิ ารทางสังคม นอกจากนี้ การเปลย่ี นแปลง
ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ สง่ ผลใหช้ ุมชนท้องถิน่ มคี วามเปน็ วตั ถุนยิ มมากขึ้น ค่านยิ มท่ีดงี ามเสื่อมถอย
และประเพณีดั้งเดิมถกู บิดเบือน เนอ่ื งดว้ ย ใหค้ วามสำคัญกบั ศีลธรรมและวฒั นธรรมที่ดงี ามลดลง ท้ัง
การดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตและความสัมพันธ์กับผู้อื่น มุ่งหารายได้เพื่อสนองความต้องการ
บริโภค การช่วยเหลือเกื้อกูลกันลดลง ความมีน้ำใจไมตรีน้อยลง แก่งแย่ง เอารัดเอาเปรียบกัน ขาด
ความสามัคคี ไม่เคารพสิทธิผู้อ่ืน และขาดการยึดถือประโยชน์ส่วนรวม รวมถึงเผชิญปญั หาการแพร่
ระบาดของยาเสพติดและการเพิ่มขึน้ ของการพนันโดยเฉพาะในกลุ่มเดก็ และเยาวชน
ดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน
ปัจจุบันการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภคยังไม่ครอบคลุมทุก
พื้นที่ เนื่องจากงบประมาณในด้านโครงสร้างพื้นฐานมีน้อยไม่สามารถดำเนินการบรรเทาความ
เดอื ดรอ้ นไดท้ นั ทว่ งที ท้งั ด้านถนน ไฟฟ้า นำ้ ประปา สะพาน ซึ่งมีผลกบั การดำเนินชวี ติ ประจำวัน
เป็นอย่างมาก เนื่องจากราษฎรในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เส้นทางการสัญจรจะเป็นการ
ลำเลยี งผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาด เม่อื เกิดภาวะความเดือดรอ้ นก็สามารถชว่ ยได้ในด้านการ
บรรเทา แตห่ ากจะต้องมีการก่อสรา้ งใหม้ น่ั คงแขง็ แรงกต็ ้องใชง้ บประมาณเป็นจำนวนมาก ก็จะต้อง
รองบประมาณจากส่วนราชการอ่ืน ๆ จดั สรรให้ ซ่ึงจะตอ้ งใช้ระยะเวลานาน
45
ดา้ นเศรษฐกจิ และการท่องเท่ยี ว
เศรษฐกิจในประเทศยังมีความเหลื่อมล้ำ ประชาชนระดับฐานรากซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในภาค
เกษตรมีรายได้นอ้ ยเม่อื เทียบกับนอกภาคเกษตรประสบความยากจนและมปี ญั หาหนี้สินเป็นปัจจัยบั่น
ทอนความเขม้ แข็งของเศรษฐกจิ ชุมชน ถึงแมว้ ่าตำบลทงุ่ เตาจะมีพื้นที่ส่วนใหญ่เปน็ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม
ขณะที่การท่องเที่ยวของตำบลยงั ไม่เปน็ ปัจจัยสนับสนุนใหต้ ำบลมรี ายไดจ้ ากการท่องเท่ียวเชิงเกษตร
เปน็ หลกั เน่ืองสถานทท่ี ่องเทย่ี วยังไม่ได้รบั การผลกั ดนั ใหเ้ ปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียวทม่ี ีมาตรฐานการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจมีนอ้ ย กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ที่มีเป็นผลผลิตจากนโยบายแหง่ รัฐมากกว่าเป็นการรวมกลุม่
แก้ไขปญั หาเศรษฐกจิ ของชมุ ชน กลมุ่ ตา่ ง ๆ ยังมีสถานะเป็นเพียงกลมุ่ จดั ตัง้ เชน่ กองทนุ หมู่บ้านและ
ชุมชนเมอื ง กลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต กลมุ่ สตรีอาสาพัฒนา เป็นตน้
ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติบ่อยครั้งและทวีความรุนแรง อาทิ ดินโคลนถล่ม อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง และไฟป่า
นำไปสู่การขาดความมั่นคงในชีวิตและทรัพย์สิน ประชาชนตื่นตระหนกและขาดความรู้ความเข้าใจ
และการเตรียมการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่ดี นอกจากนี้ การพัฒนาเศรษฐกิจท่ี
มุ่งหวังกำไรเกินควร นำไปสู่การทำลายฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการบุกรกุ พืน้ ที่ปา่
ครอบครองท่สี าธารณะเพือ่ ประโยชน์สว่ นตวั ( แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2566 - พ.ศ.2570)