The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phontomassassins, 2021-10-07 00:32:45

khuay0002

khuay0002

“บวชควาย” ใน “บญุ บงั้ ไฟ”
ประเพณี พิธีกรรม ตำ�นานและความเช่อื
ท้องถน่ิ อำ�เภอเชยี งขวญั จังหวดั ร้อยเอ็ด

Buad Kwai-Boon Bang Fai:

the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang
Kwan District, Roi-Et province.

1) บา้ นแมด ตำ�บลเชียงขวญั อำ�เภอเชียงขวญั จังหวัดรอ้ ยเอด็
2) บา้ นเขอื ง ตำ�บลบา้ นเขอื ง อำ�เภอเชยี งขวัญ จังหวัดร้อยเอด็
3) บา้ นหวายหลมึ ตำ�บลพระเจา้ อำ�เภอเชียงขวญั จงั หวดั รอ้ ยเอด็
4) บ้านหมมู ้น ตำ�บลหมูม้น อำ�เภอเชยี งขวัญ จังหวดั ร้อยเอ็ด

“บวชควาย” ใน “บญุ บั้งไฟ”

ประเพณี พิธีกรรม ตำ�นานและความเชือ่ ทอ้ งถ่นิ อำ�เภอเชยี งขวญั จังหวดั
ร้อยเอ็ด

Buad Kwai-Boon Bang Fai:

the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang
Kwan District, Roi-Et province.

...ควายโตนี่บ่แม่นควายอยู่ไฮ่แล่นมาหา ควายโตนี่บ่แม่น
ควายยุนาแล่นมาสู่ ควายตัง้ แต่ปู่มารดา ควายอาสา�ค���้ำ�บ����้าน��
ควายบ่ค้านแล่นขาแข็ง กำ�ลังแฮงข้ึนหน้า แฮงแก่กล้ากว่า
เพิ่นทัง้ หลาย คันใผเห็นควายโตนี่ คันแมน่ ผู้เฒา่ กะใหจ้ ูงเอา
แขนหลาน คนั แม่นแม่มานกะให้อมุ้ ทอ้ งแล่น คนั อยากหมั้น
คุ้นแก่นให้เอามือลูบหลัง ควายยืนฟังหยีหน้า ควายยืนถ่า
ใหโ้ จมโคย... บาดควายบกั ตกู้ ไู ดล้ ว่ ยเลน่ ๆ จนมลี กู แมน่ อหี ล.ี ..

“บวชควาย” ใน “บุญบั้งไฟ” 3

ประเพณี พิธีกรรม ตำ�นานและความเชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อำ�เภอเชียงขวญั จังหวัดรอ้ ยเอ็ด

“...THIS BUFFALO IS NOT THE NORMAL ONES IN THE
RICE FILED BUT HE REPRESENTS OUR ANCESTORS
AND THE GUARDIAN SPIRIT THAT PROTECTS OUR
VILLAGE. HE IS STRONGER THE OTHER BUFFALOS. IF
SEEN AT ANY PLACES, THE GRANDPARENTS MUST TAKE
THEIR CHILDREN OUT OF HIS AND THE PREGNANT
WOMEN HAVE TO RUN AWAY. IF YOU WANT THE
BUFFALO TO BE TAME AND YOU BETTER GENTLY
TOUCH ITS BACK. THEN THE BUFFALO BECOMES
EVENTUALLY COMPLIANT AND READY FOR THE
ORDERS…”---

4 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

ประเพณบี วชควายเปน็ ประเพณพี ธิ กี รรมตามคตคิ วามเชอื่
เรื่องผีของสังคมดั้งเดิม หลายชุมชนในอำ�เภอเชียงขวัญ
จังหวัดร้อยเอ็ด คือ บ้านเขือง ตำ�บลเขือง, บ้านแมด
ตำ�บลเชยี งขวัญ, บ้านหวายหลมึ ตำ�บลพระเจา้ และบา้ น
หมูม้น ตำ�บลหมูม้น ยังคงดำ�รงอยู่จนปัจจุบัน เป็นการ
ประสมประสานกันอยา่ งสนทิ แนบแนน่ ระหวา่ งความเชอ่ื
ทางพทุ ธศาสนากับความเชอ่ื ดัง้ เดิมเรอ่ื งผปี ูต่ า
BUAD KWAI (BUFFALO’S ORDINATION) IS A TRADITION
BASED ON THE LOCAL BELIEF IN SUPERSTITION
AMONGST THE MEMBERS OF AN OLD-FASHIONED
SOCIETY. THE TRADITION IS CURRENTLY BEING
PERFORMED BY LOCAL PEOPLE WITHIN MANY
SUB-DISTRICTS IN CHIANG KHWAN DISTRICT INCLUDING
BAN KHUANG IN KHUANG SUB-DISTRICT, BAN
MAED IN CHIANG KHWAN SUB-DISTRICT, BAN WAI
LUAM IN PRA CHAO SUB-DISTRICT, AND BAN MOO
MON IN MOO MON DISTRICT. THE TRADITION IS
APPARENTLY A MODERATE COMBINATION BETWEEN
THE BUDDHIST PRINCIPLE AND THE LOCAL RESPECT
TO THE ANCESTOR SPIRIT.

ชาวบ้านเขตอำ�เภอเชียงขวัญ ยังสามารถยืนหยัดรักษาประเพณีพิธีกรรมบวชควายของตน
ไวอ้ ยา่ งเหนียวแน่นจนปัจจบุ นั มเี หตอุ ะไร ท่เี ปน็ ปจั จยั สรา้ ง “ภูมิคุ้มกนั ” ที่มีพลังใหพ้ วกเขา
มีความมั่นใจและภูมิใจ จนสามารถยืนหยัดเผชิญหน้ากับอิทธิพลจากภายนอกได้ ซึ่งเป็น
เรื่องท่ีน่าสนใจศึกษาให้ละเอียดและลึกซ้ึง น่ีคือเสน่ห์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ที่ควร
ชนื่ ชมและยกย่องเป็นอยา่ งยง่ิ
THE LOCAL PEOPLE IN CHIANG KHWAN STRONGLY PERFORM AND MAINTAIN
“BAUD KWAI” FROM THE PAST THE PRESENT. SO WHAT ARE THE FACTORS THAT
HELP THEM STRENGTHEN THEIR “IMMUNITY” SO THAT THEY CAN HANDLE THE
OUTSIDE INFLUENCES WITH THEIR PRIDE AND CONFIDENCE? THIS SEEMS TO
BE A HIGHLIGHT FOR AN IN-DEPTH STUDY. THE TRADITION IS THE CHARM OF
LOCALITY AND IT IS DEFINITELY ADMIRABLE.

“บวชควาย” ใน “บญุ บัง้ ไฟ” 5

ประเพณี พิธีกรรม ตำ�นานและความเช่ือท้องถนิ่ อำ�เภอเชยี งขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด

ประเพณีบวชควาย เป็นประเพณีท่ีมีแบบแผนการปฏิบัติสืบทอดกัน
มาอย่างยาวนาน เป็นภูมิปัญญาการอยู่ร่วมกันของสังคมท่ีแฝงไว้ใน
ขนบธรรมเนยี มประเพณี ทเ่ี กยี่ วกบั การขอ�น���้ำ�ข�อ��ฝ�น��จ��ะ�ม��กี���า���ร��จ���ดุ��บ�งั้�ไ�ฟ��เพ��อื่ �
เสย่ี งทาย จำ�นวน 3 บงั้ 2 บงั้ แรกจะเสยี่ งทายฟา้ ฝน ภมู อิ ากาศ หากบงั้ ไฟ
ขน้ึ ตรง ฝนฟา้ อากาศปนี จ้ี ะดี �น���ำ้ �ท��า่ �จ�ะ��บ�ร���บิ����รู ��ณ���์�บ��งั้ �ส�ดุ��ท�า�้� �ย��จ�ะ�เ�ส�ยี่�ง��ท�า�ย�
ชวี ติ ของผคู้ นภายในชมุ ชนวา่ จะมคี วามสขุ ราบรนื่ หรอื ไมใ่ นปนี ี้ ซงึ่ เดมิ ผนู้ ำ�
หรอื เจา้ เมอื งมบี ทบาทในการจดั ขน้ึ เพอ่ื สรา้ งขวญั และกำ�ลงั ใจใหแ้ กช่ มุ ชน
ของตน วา่ จะมพี ชื พนั ธธุ์ ญั ญาหารอดุ มสมบรู ณใ์ นฤดกู ารผลติ ทจ่ี ะเรม่ิ ขนึ้
BAUD KWAI IS A LONG-HISTORY TRADITION THAT REPRESENTS
THE LOCAL WISDOM IN LIVING AND RAINING CEREMONY. THREE
PIECES OF BANG FAI WILL BE SHOOTING DURING THE TRADI-
TION. THE FIRST TWO PIECES PREDICT THE RAIN AND CLIMATE.
IF THE BANG FAI GOES STRAIGHT UP, IT MEANS THE WEATHER
WOULD BE FAVORABLE THROUGHOUT THE YEAR. FINALLY,
THE THIRD ONE PREDICTS WHETHER THE PEOPLE WOULD
LIVE THEIR LIFE SMOOTHLY AND HAPPILY OR NOT. EITHER THE
LEADER OR GOVERNOR TAKE A GREAT ROLE IN MANAGING
THE TRADITION TO ENCOURAGE THE SPIRIT OF THE MEMBERS
WITHIN THEIR COMMUNITY BY CONFIRMING THAT THE PLANTS
AND CROPS WOULD BE FRUITFUL DURING THE HARVESTING
SEASON.

6 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

ชื่อเรียกควาย มีหลายชื่อ ชุดคำ�ศัพท์บวชควายจ่า
เพียงบางส่วน ท่มี คี วามสำ�คญั เฉพาะคอื ค�ำ ว่า ควาย
หลวง, ควายผวิ , ควายจา่ , หมอควาย, ควายฮ้า
MANY OF NAMES WERE USED TO CALL THE
“KWAI” (BUFFALO) AND DESCRIBED IN A SET
OF TECHNICAL TERMS INCLUDING KWAI LUANG,
KWAI PIW, KWAI JA, MOR KWAI, AND KWAI HA.
ควายหลวง “ควายญาพอ่ หลวง” อนั หมายถงึ ควายของ
เจา้ พอ่ โฮงแดง (ปู่เผ้าเจา้ โฮงแดง) ทเี่ คยเป็นผูส้ รา้ งเมือง
ขึ้นท่ีบ้านแมด โดยความหมายจึงไม่ใช่ควายธรรมดา
แต่เป็นควายผีเจ้าเมือง เมื่อเข้าพิธีกรรมบวชเป็นควาย
แลว้ ผู้คนจึงยกมือไหว้ดว้ ยความเล่อื มใสศรัทธา ใครจะ
ลบหลู่ดูหมิน่ ไมไ่ ด้ ตอ้ งพบกับภยั พิบัติ
ควายจ่า, ควายผิว เป็นชื่อของคนผู้รับบทบาท เป็น
ควาย ช่ือนายผิวแตช่ าวบา้ นก็เรยี กชื่อ “จา่ ” ซ่งึ นายผิว
หรอื นายจา่ เปน็ อดตี ควายญาพอ่ หลวงอยทู่ บี่ า้ นดอนแดง
ตำ�บลเชียงขวัญ
หมอควาย เป็นคำ�ท่ีชาวบ้านเรียกคนท่ีได้บวชเป็น
ควายเชน่ กนั แต่ปจั จบุ นั นี้อาจไมค่ อ่ ยไดย้ ินและไมน่ ิยม
เรียกแลว้
ควายฮา้ จากวดั จะนานุกมพาสาลาว ไดใ้ ห้ความหมาย
ฮ้า วา่ ว. ใหญ่, มาก, หลาย, เปลีย่ ว เมอ่ื รวมคำ�กนั เป็น
ควายฮ้า ยอ่ มให้ความหมายวา่ ควายใหญ่, ควายเปลี่ยว
ซึง่ สอดคลอ้ งกับชอื่ ควายหลวง

“บวชควาย” ใน “บญุ บัง้ ไฟ” 7

ประเพณี พธิ กี รรม ตำ�นานและความเชอื่ ทอ้ งถ่นิ อำ�เภอเชยี งขวญั จังหวัดรอ้ ยเอด็

KWAI LUANG (THE ANCESTOR’S BUFFALO) OR “KWAI
YA POR LUANG” IS SPECIALLY REFERRED TO CHAO
POR HONG DAENG (PU PAO CHAO HONG DAENG)
WHO WAS A FOUNDER OF BAN MAED. A PERSON
WHO WAS ASSIGNED TO BE THE KWAI WILL BE
RESPECTED BY THE OTHER MEMBERS AND THOSE
WHO INSULT HIM WOULD SUFFER IN SOME KINDS OF
DISASTER. “KWAI PIW” OR “KWAI JA” WAS NAMED
AFTER “PIW”, A MAN WHO WAS SELECTED AS KWAI
YA POR LUANG (THE ANCESTOR’ BUFFALO) AT BAN
DON DAENG IN CHIANG KHWAN DISTRICT. SOME
PEOPLE CALLED HIM “JA”. “HA” IS A LAO WORD
THAT MEANS HUGE, PLENTY, YOUNG AND WILD.
THEN, KWAI HA IS REFERRED TO A HUGELY YOUNG
AND WILD BUFFALO THAT FITS IN THE CHARACTER
OF KWAI LUANG. “MOR KWAI” IS ANOTHER WORD
THAT THE LOCAL PEOPLE CALL A MAN WHO WAS
SELECTED AS THE KWAI BUT IT IS NOT POPULARLY
USED IN THE PRESENT TIME.

องค์ประกอบของควาย
1) สี ใช้สีดำ�จากข้ีหมิ่นหม้อ (เขม่าไฟ) หรือสี�น��ำ้���เ��ง��ิน�
เข้มจากสีครามที่เคยใช้ย้อมผ้าฝ้าย ให้ทั่วตัวต้ังแต่
หวั จรดเทา้ สขี าวและสแี ดงทเ่ี บา้ ตาทงั้ สองขา้ งดว้ ยปนู ขาวและ
ปนู แดง ทาสบ (รมิ ฝปี าก) ดว้ ยสแี ดงจากปนู แดง (ภายหลงั ใช้
แปง้ ขาวและลปิ สตกิ สแี ดง) 2) เขา แตล่ ะหมบู่ า้ นมคี วามแตก
ตา่ งกนั เชน่ บา้ นเขอื งจะมดั เขาเขา้ กบั เสน้ ผมใชแ้ ปง้ ขา้ วปนุ้
พอกท่ีหัว เขาทั้งสี่จะใช้เส้นด้ายผูกปลายทะแยงเข้าหากัน
เป็นรปู กากบาท บ้านหวายหลึมมกี รรมวธิ ีเดียวกันกับบ้าน
เขอื ง แตป่ ลายเขาจะมพี มู่ เี สน้ ดา้ ยผกู โดยรอบจากเสาไปหา
อีกเสาเป็นสี่เหลี่ยม ส่วนเขาบ้านแมดจะทำ�เขาแหลมเล็ก
จำ�นวน 4 เขาตดิ ส่วนบนซึง่ มีลกั ษณะเป็นหมวกครอบ สว่ น

8 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

บา้ นหมมู น้ ใชส้ ว่ นในของหมอกนริ ภยั ซง่ึ เปน็ โฟมทาสี
ดำ�แล้วใส่เขาขนาดใหญ่จำ�นวน 2 เขา ติดใบหูที่มี
รปู แบบของหคู วาย 2 หู ในหมวกดว้ ย การแสดงลกั ษณะ
ดงั กลา่ วอาจเพอ่ื สอ่ื วา่ นไี่ ม่ใช่ควายธรรมดา เป็นควาย
ของญาพอ่ หลวงอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ 3) เครอื่ งเพศ ทำ�ดว้ ยไม้
ทอ่ นใหญ่ บา้ งกท็ าสีดำ�ส่วนปลายทาสีแดง 4) หมอย
เสน้ ฝา้ ยหรอื ไหมสดี ำ�ทโ่ี คนอวยั วะเพศของควายหลวง
ไปดว้ ย โดยความเช่ือว่า เปน็ ฝ้าย-ไหม มงคลกับชีวติ
ครอบครัว เช่นนำ�ไปเก็บรักษาไว้บนหิ้งเปิง (ห้ิงผี,
หง้ิ พระ, เครือ่ งราง), นำ�ไปใส่กระด้ง กะจ่อเลี้ยงมอ้ น
จะเจรญิ ดี ไดฝ้ กั หลอก (ฝกั ไหม) สมบรู ณด์ ี ไดไ้ หมมาก
และสวยงาม, บางคนนำ�ไปผูกข้อแขนลูกหลาน เป็น
ฝา้ ยมงคล ชว่ ยคุม้ ครอง เปน็ ตน้ 5) ทา่ ฟอ้ น ตอ้ งยกมอื
ท้ังสองข้างขึ้นสูงเสมอ ถึงระดับไหล่ ระดับหูและหัว
แต่ส่วนมากมักจะชูสองมือข้ึนฟ้อนสูงกว่าระดับหัว
เกือบตลอดเวลา เมื่อมีจังหวะโอกาสก็จะฟ้อนเต้น
ใสก่ ลมุ่ คนใหส้ มกบั เปน็ ควายหลวง ควายจา่ ทม่ี พี ฤตกิ รรม
เกง่ กลา้ มพี ลงั ของความเปน็ หวั หนา้ จา่ ฝงู เหนอื ควาย
ทั่วไป และสมกับความเป็นควายฮ้าที่เปล่ียวและถึก
แตก่ ต็ อ้ งอยใู่ นความพยายามควบคมุ ของเจา้ ของคนเลย้ี ง
ทจ่ี บั คมุ สายบกั กะโหลง่ และมพี รา้ (จำ�ลอง) คอยบงั คบั
หา้ มปรามไว้ การยกมอื ขน้ึ สงู น้ี ดเู สมอื นเปน็ สญั ลกั ษณ์
ตั้งวงสงู อยา่ งเขาควาย และ 6) บักกะโหลง่ (บางแห่ง
จะเรียก บักกะห่ิง, พรวนทาม ก็มี) ทำ�ด้วยโลหะ
ทองเหลือง เป็นเคร่ืองสัญญาณเสียง คล้องคอควาย
ท้ังในตอนเล้ยี ง, เดนิ ทาง ซึ่งควายหลวงจะใช้วธิ คี ลอ้ ง
ไหล่ แทนการคลอ้ งคอ บา้ งกส็ ะพายเฉยี ง บา้ งกส็ ะพาย
ลงข้างเดียวกับไหล่ บกั กะโหล่ง เป็นโลหะ มหี ลายลูก
หลายขนาด ผกู ตดิ กบั สายเชอื กเสน้ ใหญม่ น�ี ���้ำ�ห��น��กั���ม��า�ก�

“บวชควาย” ใน “บุญบง้ั ไฟ” 9

ประเพณี พธิ กี รรม ตำ�นานและความเชื่อทอ้ งถิ่น อำ�เภอเชียงขวญั จังหวดั ร้อยเอด็

การเล่นเซ่นสรวงบูชาของการบวชควายก็เพื่อบูชาต่อส่ิงเหนือธรรมชาติ อันมีเป้าหมาย
หลกั อยู่ทีค่ วามอุดมสมบรู ณ์ของพชื พนั ธธุ์ ญั ญาหารสัตวใ์ หญ่นอ้ ยตามฤดกู าล
BUAD KWAI IS LIKELY THE SACRIFICE TO THE SUPERNATURAL POWER FOR
FERTILITY AND PLENTIFUL CROPS AND ANIMALS THROUGHOUT THE SEASONS.

คนในพิธีกรรมบวชควาย ก่อนจะเข้าทำ�พิธีคารวะบอกกล่าวขอกับผีปู่ตา หรือ
ผเี จา้ ปู่ หรอื เจา้ ปู่ จะนุ่งกางเกงขาสนั้ สดี ำ� แต่งสว่ นต่างๆ ของร่างกายลอ้ เลยี น
ควายดำ� ด้วยการใช้สีดำ�จากเขม่าไฟ สี�น��้ำ��เ�ง�ิน�จ��า��ก��ส���ีค���ร��า�ม��ท�ี่ใ�ช���้ย��้อม��ผ��้า�ส��ว�ม�เข��า
ควาย โดยทำ�เป็นสี่เขา ตั้งอยู่บนฐานเส้นวงกลมจะสวมเขาให้ติดแน่นกับหัว
ต้องใช้เชือกผูกมัดติดกับปอยเส้นผมแล้วใช้แป้งหรือยางไม้ช่วยย��้ำ���ใ��ห�้�แ��น��่น�ข��้ึน��
เพื่อว่าเวลาออกฟ้อนเป็นขบวนจะไม่หลุดพร้อมผูกอวัยวะเพศทำ�ด้วยไม้
ท่อนใหญ่สีดำ�ส่วนปลายทาสีแดง พร้อมเส้นฝ้ายหรือไหมให้เป็นสัญลักษณ์
ทพ่ี เิ ศษสมกบั เปน็ ควายหลวง เฒา่ จ���้ำ� ���ท��ำ� ��พ�ธิ �คี�า��ร�ว�ะ�บ�อ��ก�ก�ล�า่��ว�เจ�า�้� �ป��ดู่ �ว�้� �ย�เ�ค��ร�อ่ื��ง�พ��ธิ�ี
สำ�คญั ในสงั คมเกษตรกรรมดง้ั เดมิ คอื ขนั 5 มดี อกไมข้ าวและเทยี นผง้ึ อยา่ งละ
5 คู่ อุปชั ฌาย์ ทำ�หน้าทีบ่ วชควายหลวงและกลา่ วคำ�เลี้ยงกลอง เจ้าของควาย
หรือคนเลี้ยงควาย หน้าท่ีถือพร้าดวงใหญ่ทำ�ด้วยไม้จริงเนื้ออ่อน คอยจับสาย
บักกะโหล่งท่ีคล้องไหล่เขย่าบังคับควาย นางหว้า จะแต่งใบหน้าแบบผู้หญิง
ท่ีตอ้ งผัดหน้าทาแป้งและทาสบสีแดง นุ่งเส้อื และกระโปรงชดุ สีแดง มีเคร่อื งถือ
ทีส่ ำ�คัญขาดไม่ได้คือ ตอ้ งถือรม่ และคอนเสยี มหอ้ ยตะกรา้ ไว้บนบ่าตลอดเวลา

10 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

BEFORE STARTING THE BAUD KWAI TRADITION, THE LOCAL
PEOPLE WILL ASK FOR PERMISSION FROM “PHEE PU TA” OR
“PHEE PU CHAO” (THE ANCESTOR’S SPIRIT) TO PERFORM THEIR
ACTIVITY. THE KWAI BASICALLY WEAR BLACK SHORTS AND
DRESSED IN A BUFFALO SUITE THAT WILL BE PAINTED BLACK
AND BLUE. THEY ALSO PUT ON 2 PAIRS OF HORN ON THEIR
HEAD; THE HORNS WILL BE STRICTLY ATTACHED TO THE HEAD
WITH EITHER FLOUR PASTE OR RESIN SO THAT THEY WON’T
LOSE WHILE THE KWAI ARE DANCING. THE CARVED WOODEN
STICK WILL BE TIED AROUND THEIR WAIST AS A SYMBOL OF
LINGA. “TAO CHAM” IS A LOCAL SORCERER WHO CONDUCTS
THE TRADITION BY OFFERING THE 5 NECESSITIES OF THE
TRADITIONAL AGRICULTURE INCLUDING 5 PAIR OF WHITE
FLOWERS AND CANDLES TO ASK FOR PERMISSION FROM THE
ANCESTOR’S SPIRIT BEFORE PERFORMING THEIR ACTIVITIES.
“UPPATCHA” IS THE CHIEF OF BUDDIST MONKS AND THE KEY
PERSON TO PERFORM THE BUAD KWAI (ORDINATION) AND TO
ADDRESS THE KAM LIANG KLONG (CELEBRATING SPEECH). “NANG
WA” WILL PUT ON HER MAKE-UP AND BE DRESSED IN RED. SHE
ALSO HOLDS AN UMBRELLA AND CARRIES A SPADE HUNG WITH
A BASKET ON HER SHOULDER. THE BUFFALO’S OWNER WILL
USE ONE HAND HOLDING A LARGE KNIFE MADE FROM WOOD
AND ANOTHER TO HOLD A BELL TIED ON A BUFFALO’S NECK.

“บวชควาย” ใน “บญุ บ้งั ไฟ” 11

ประเพณี พธิ กี รรม ตำ�นานและความเชื่อทอ้ งถนิ่ อำ�เภอเชียงขวญั จงั หวดั ร้อยเอด็

นอกจากน้ี ยงั มี ควายสำ�รอง คือ ควายที่แตง่ ตวั ตามขนั้ ตอน
แต่ไม่ได้เข้าพิธีกรรมบวชควาย ซ่ึงอาจเป็นการซ้อมของคณะ
บวชควาย มกั แต่งควายสำ�รองก่อนวนั จริงประมาณ 1 สัปดาห์
เพอื่ บอกบญุ ตามหมบู่ า้ นตา่ งๆ กลมุ่ ขบวนทง้ั หญงิ ชายประมาณ
20 คน, กลุ่มคณะนักดนตรีบรรเลงตามหลังตีกลองเลง,
ควายน้อย (แต่งเลน่ ) ซึ่งจะมหี ลายกลุ่ม หลายวยั ท้งั วยั ฉกรรจ์
วัยรนุ่ (ระดบั มธั ยม) และวัยแลน่ (ระดบั ประถม) พวกบรรดา
กลมุ่ ควายนอ้ ยดงั กลา่ วนี้ มกั ชอบสนกุ มว่ นซนื่ และคณะนางงวั
บางคร้งั เรียกว่า คณะสาวประเภทสอง คณะเซงิ้ ธรรมะกเ็ รยี ก
เป็นกลุ่มชายแต่งกายเลียนแบบหญิง มีประมาณ 10-15 คน
ถอื ร่ม สมทบขบวนควายเพอื่ สร้างสสี ัน

เคร่ืองดนตรี เครื่องดนตรีตามประเพณีการท้องถิ่นท่ีสืบทอดกันเรื่อยมาเป็นหลัก
ได้แก่ กลองเลง เป็นกลองที่ขึงด้วยหนังทั้งสองหน้า ใช้สองคนหาม โดยคนหาม
ขา้ งหลงั เปน็ คนตี พางฮาด สำ�หรบั ตเี หมอื นฆอ้ งทองเหลอื ง หลอ่ เปน็ รปู ทรงกลมคลา้ ย
กับฆอ้ งแต่ไม่มีจูม ฉาบ ฉ่งิ ฆอ้ ง และกลองกงิ่ เปน็ ต้น
MUSIC INSTRUMENT MAINLY CONSISTS OF ANY PIECES OF TRADITIONAL
ONES. KLONG LENG (DRUM) IS A TWO-SIDED DRUM CARRIED BY 2 PEOPLE.
THE ONE ON THE BACK WILL BEAT THE DRUM. PANG HAD IS A MUSIC
INSTRUMENT THAT LOOKS LIKE A BRASS GONG. CYMBALS, SMALL-CYMBALS,
GONG, AND KLONG KING

คำ�เล้ียงกลอง เป็นคำ�ที่อุปัชฌาย์ต้องกล่าวเป็นข้ันตอนพิธีกรรมเพื่อ
ใชเ้ ปลย่ี นสถานภาพของควาย ก่อนการออกฟอ้ นและลงเล่นบวก ใส่
พรวนทาม รวมถึงเพ่ือเรียกขวัญกำ�ลังใจให้กับทางคณะขบวนควาย
เกิดความฮกึ เหิมรักสามคั คีกัน
CELEBRATING SPEECH IS THE SENTENCES TO BE ADDRESSED
BY THE CHIEF OF THE BUDDHIST MONKS IN ORDER TO
ASSIGN A PERSON AS THE KWAI AND ALSO TO CHEER UP
THE SPIRIT AMONGST A GROUP OF KWAI IN THE PARADE.

12 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

ทงั้ นี้ กอ่ นถงึ วนั บวชควายจา่ นนั้ จะมชี ว่ งเวลาทเ่ี รยี กวา่ “มอื้ ออก
เลน่ ” จะมกี ารสง่ ขา่ วดว้ ยขบวนควายรอง แหข่ บวนไปยงั หมบู่ า้ น
ต่างๆ เปน็ การสง่ ข่าวงานบุญบั้งไฟท่กี ำ�ลงั จะมาถึง
A DAY BEFORE THE BUAD KWAI DAY IS CALLED “MUA OK
LEN” (PLAY DAY), A PARADE OF KWAI WILL BE MARCHING
AROUND TO VISIT THE NEARBY VILLAGES TO REMIND
THE OTHER MEMBERS THAT “BANG FAI FESTIVAL IS
ABOUT TO START.

ตลอดเวลาสอง-สามวัน นับแต่เร่ิมทำ�พิธีบวชควาย เมื่อบวชแล้ว
จะเอา “เขา” ออกไม่ได้ ไม่อาบน��้ำ����ไ�ม�่ห��ล�ับ�น���อ���น���ก��ับ����เ�ม��ีย��จ��น�ก�ว�่า�
จะสึกในวันจดู บั้งไฟ ซง่ึ ภายหลังความเชื่อทตี่ ้องปฏิบตั นิ ีเ้ ริ่มคลาย
ไปบา้ งแลว้ วนั สึก เปน็ วันสดุ ท้ายวนั เดยี วกันกับวันจดู เม่ือทำ�พธิ ี
เชิญเสลยี่ งญาพอ่ ป่ขู นึ้ สู่ที่ตั้งในบรเิ วณลานจูด ทางคณะควายกเ็ ริม่
ทยอยกลบั มาดอนหอเพอ่ื สกึ ควาย ดว้ ยการบอกกลา่ วผปี ตู่ าเพอ่ื ขอลา
ออกจากการเปน็ ควายหลวงในครงั้ น-ี้ ปนี ้ี โดยมกี ะ�จ���ำ้ �เ�ป���น็��ผ��ยู�้ �ก�เ�ค��ร�อ่ื �ง�
ขนั 5 ภายในศาลปู่ตา แล้วบอกกล่าวขอหมอควายหลวงลาสกึ ตอ่
ผปี ตู่ า จากนน้ั ชาวคณะกจ็ ะชว่ ยกนั ปลดเครอ่ื งสญั ลกั ษณส์ ำ�คญั ออก
จากรา่ งหมอควาย เปน็ อนั เสรจ็ สน้ิ ประเพณี “บวชควาย”ของปนี น้ั

“บวชควาย” ใน “บุญบ้งั ไฟ” 13

ประเพณี พิธกี รรม ตำ�นานและความเชือ่ ทอ้ งถนิ่ อำ�เภอเชียงขวญั จงั หวดั รอ้ ยเอด็

THE TRADITION WILL LAST FOR A FEW DAYS AND
THE KWAI MUST PUT ON THEIR “HORNS” THROUGH
THE PERIOD OF THE CELEBRATION AND ARE NOT
ALLOWED TO SLEEP AT HOME WITH THEIR WIVES
UNTIL THE BANG FAI IS LIGHTED UP. NOWADAYS,
THIS RULE BECOMES MORE FLEXIBLE.
LEAVE DAY IS THE FINAL DATE OF BEING THE KWAI
AND IT IS THE SAME DAY THAT THE BANG FAI IS
LIGHTED UP. ON THAT DAY, THE SALIANG YA PO
PU (THE ANCESTOR’S LITTER) WILL BE LOCATED AT
THE CENTER OF THE BANG FAI FIELD AND THEN THE
KWAI WILL RETURN TO THE DON HOR AND ASK THE
ANCESTOR’S SPIRIT FOR PERMISSION TO STOP BEING
THE KWAI. AFTER THAT, THE OTHER MEMBERS WILL
TAKE OFF THEIR BUFFALO SUITE AND ANY SYMBOL
OF BEING MOR KWAI. SO THIS IS THE FINAL STAGE
OF “BUAD KWAI” TRADITION.

14 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province

สนับสนุนโดย:
โครงการ 1 คณะ  1 ศิลปวัฒนธรรม: การผลิตสื่อสร้างสรรค์เพ่ือเผยแพร่ประเพณีการเล่น
ในพิธีกรรมท้องถิ่น กรณี บวชควายจ่าในงานประเพณีบุญบ้ังไฟในเขตพื้นท่ีอำ�เภอเชียงขวัญ
จงั หวัดรอ้ ยเอด็ 2559
CREATED:
NARONGSAK RAWARIN (HEAD), CHAWANAKORN CHANNAWET, BANJONG
BURINPRAKON, AND PREECHA SRIBOONSED (CO-RESEARCHERS), THE RESEARCH
INSITUTE OF NORTHEASTERN OF ART AND CULTURE IN ASSOCIATION WITH DIVISION
OF RESEARCH FACILITATION AND DISSEMINATION, MAHASRAKHAM UNIVERSITY.
SPECIAL THANKS:
ขอขอบคุณ
นายนอ้ ย ชลเทพ. ควายจา่ บ้านเขอื ง
นายสนุ ตนั บำ�รุงเอือ้ . ควายจ่าบ้านแมด
นายทองมี อาจสัมพันธ์. ควายจ่าบา้ นหวายหลึม
นายประสิทธ์ิ แน่นอุดร. นางหว้าบ้านเขือง
นายประมวล เจรญิ เขต. นางหว้า, อปุ ชั ฌายบ์ า้ นหวายหลมึ
นายสวาท อาจชำ�นาญ. ผูค้ มุ กองควาย/ตำ�รวจควายจ่าบ้านแมด
นายหนดู ี ขาวศรี. อุปชั ฌาย์/กะจ��ำ้���บ��้า�� น�บ�า้��น�แ�ม�ด�
นางสุ บงั บัวบาน. หวั หน้าแม่บวั ระบดั ควายจา่ บา้ นเขอื ง
นายถวิล ธานีวรรณ. คณะควายจา่ บา้ นเขือง
นายถวิล ปน่ิ ลออ. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลบา้ นเขอื ง
นายอรรถกร คำ�ภักดี กำ�นันตำ�บลเขอื ง
นายชยั ยนั ต์ เทพบาล กำ�นันตำ�บลเชียงขวญั
นายแสวง อารยี เ์ ออ้ื . ผู้ใหญ่บา้ นหมู่ 1 บ้านหวายหลึม.
นายสุรยิ ันต์ ศรมี าเมอื ง. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 บ้านหมมู น้ .
นายเชตะวัน สวุ รรณศรี. ครโู รงเรยี นเชยี งขวัญพิทยาคม
วา่ ทร่ี ้อยตรี ธีรพล ธิติเมธาวัฒน์. บา้ นเขอื ง
นายเอกชัย เจรญิ ศิริธนากรู . บา้ นแมด
และ ขอขอบคณุ พน่ี อ้ ง บา้ นแมด ตำ�บลเชยี งขวญั , บา้ นเขอื ง ตำ�บลเขอื ง, บา้ นหวายหลมึ ตำ�บล
พระเจ้า และบ้านหมมู ้น ตำ�บลหมมู น้ อำ�เภอเชยี งขวัญ จังหวดั ร้อยเอ็ด ท่กี รุณาคณะเกบ็ ข้อมลู

“บวชควาย” ใน “บญุ บง้ั ไฟ” 15

ประเพณี พิธกี รรม ตำ�นานและความเช่ือท้องถ่นิ อำ�เภอเชยี งขวัญ จงั หวดั ร้อยเอ็ด

คณะทีป่ รกึ ษา
ศาสตราจารย์ ดร.สมั พันธ์ ฤทธิเดช: อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั มหาสารคาม
รองศาสตราจารย์ ดร.ประยกุ ต์ ศรีวไิ ล: รองอธกิ ารบดฝี า่ ยแผนและกจิ การพิเศษ
รองศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ: ผอู้ ำ�นวยการสถาบนั วจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ราชันย์ นลิ วรรณาภา: รองผู้อำ�นวยการฝ่ายบริหารและแผน
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บญั ญัติ สาลี: รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิจัยและวิชาการ
อาจารยส์ ถติ ย์ เจก็ มา: รองผ้อู ำ�นวยการฝ่ายส่งเสริมศิลปวฒั นธรรมและภมู ิทัศน์
รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ: ผู้เช่ียวชาญประจำ�สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและวัฒนธรรมอีสาน
นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง: ผ้อู ำ�นวยการกองสง่ เสริมการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ
คณะผ้จู ัดท�ำ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารยส์ มชาย นลิ อาธิ: ผู้เชย่ี วชาญประจำ�สถาบนั วิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน
นายณรงคศ์ ักดิ์ ราวะรนิ ทร์: หวั หนา้ คณะทำ�งานโครงการฯ
นายชวนากร จนั นาเวช: กรรมการผู้ร่วมโครงการฯ
นายปรีชา ศรบี ญุ เศษ: กรรมการผรู้ ่วมโครงการฯ
นายบรรจง บุรนิ ประโคน: กรรมการผ้รู ่วมโครงการฯ
ภาพประกอบ
RAIN MASTER
น. นรินทร
รูปเล่ม
SREEBOONSED MATRCHAI
BLACKRIVER WHITEWIND
คณะผู้ประเมนิ คณุ ภาพสือ่ สรา้ งสรรค์
รองศาสตราจารย์ ดร. จารุวรรณ ธรรมวัตร
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาติ มณีโชติ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ปรีชา สาคร
การตดิ ตอ่
ท่อี ยู่ สถาบนั วิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน 269/2 ถนนนครสวรรค์ ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมอื ง
จงั หวัดมหาสารคาม 44000
โทรศพั ท:์ 0-4372-1686
โทรสาร: 0-4372-1686
โฮมเพจ: HTTPS://RINAC.MSU.AC.TH/
โฮมเพจ: HTTP://RESEARCH.MSU.AC.TH/ART_CULTURE/INDEX.PHP?PAGE=MAIN
อีเมล:์ [email protected]

16 Buad Kwai-Boon Bang Fai:
the Local Ritual to Worship the Ancestor’s Spirit in Chiang Kwan District, Roi-Et province


Click to View FlipBook Version