The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phontomassassins, 2021-10-05 02:20:38

LAYBODYSIL2564-6-2001

LAYBODYSIL2564-6-2001

สาส์นทำ�นบุ �ำ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม

มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

ปีท่ี ๖ ฉบับท่ี ๒ ประจ�ำ เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม เปน็ สถาบนั วสิ ัยทศั น์ ​
การศึกษาที่ปฏิบัติพันธกิจตาม ​ใช้มิติทางศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมในการขับเคลื่อนและ
วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถาบัน ประสานความรว่ มมอื กับทกุ ภาคส่วน เพอ่ื สรา้ งสังคมคุณธรรม
อนั ประกอบดว้ ย การจดั การเรยี นการสอน
การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ และการท�ำ นุ พนั ธกจิ
บ�ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยมกี ารด�ำ เนนิ งาน ​๑. อุปถมั ภ์ ค้มุ ครองและสง่ เสรมิ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ
ในลกั ษณะการบรู ณาการพนั ธกจิ หลกั ทงั้
๔ ด้านเข้าด้วยกนั เพอ่ื ใหก้ ารด�ำ เนินงาน และความหลากหลายทางวัฒนธรรมใหค้ งอย่อู ย่างม่ันคง
เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรับ ​๒. สนองงานสำ�คัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
การดำ�เนินงานด้านการทำ�นุบำ�รุงศิลป
วัฒนธรรมถือเป็นนโยบายหลักท่ีสำ�คัญ ให้สบื ทอดและพัฒนาอย่างยง่ั ยนื
ทั้งในระดับสถาบัน และระดับคณะ/ ๓​ . สรา้ งสรรคส์ งั คมสนั ตสิ ขุ ดว้ ยมติ ทิ างศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม
หนว่ ยงานทจ่ี ะตอ้ งมรี ะบบและกลไกในการ
ส่งเสริมและสนับสนุน เพ่ือให้งานด้าน ในทุกระดบั
ศลิ ปวฒั นธรรมเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการจดั การ ๔​ . สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นสนบั สนนุ และมสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ งาน
เรียนการสอน และการจัดกิจกรรมของ
นสิ ิตทัง้ โดยทางตรงและโดยอ้อม เพื่อให้ ทางวฒั นธรรมเพอ่ื เชดิ ชคู ณุ คา่ และจติ วญิ ญาณของความเปน็ ไทย
ผเู้ รยี นและบคุ ลากรของสถาบนั ไดร้ บั การ ​๕. สร้างคุณค่าทางสังคม และส่งเสริมมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจด้วย
ปลกู ฝงั ใหม้ คี วามรู้ มจี ติ ส�ำ นกึ ตระหนกั ถงึ
คุณค่าเกิดความซาบซ้ึงและมีสุนทรียะ ทุนทางวฒั นธรรม
ต่อศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถนำ�
ไปใช้เป็นเคร่ืองจรรโลงความดีงามใน เจา้ ของ
การดำ�รงชีวิต และประกอบอาชีพใน กองส่งเสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ
อนาคตได้ และเพ่ือเป็นการตอบสนอง มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
แนวนโยบายของชาติ มหาวทิ ยาลัยจงึ ได้ ทปี่ รกึ ษา:
ก�ำ หนดนโยบายทจี่ ะสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ รองศาสตราจารย์ ดร. ประยกุ ต์ ศรวี ไิ ล
โครงการ เพอื่ ทีจ่ ะขยายผลโครงการด้าน ศาสตราจารย์ ดร. อนงค์ฤทธ์ิ แข็งแรง
ทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรมให้ครอบคลุม นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐงั
องค์ความรู้ ภูมิปัญญา และบริบทด้าน ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
พื้นท่ีให้ชุมชนมากขึ้น โดยสนับสนุนให้ อาจารย์ทม เกตุวงศา
คณะ/หนว่ ยงานตา่ งๆ มสี ่วนรว่ มในการ ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย สิงหย์ ะบศุ ย์
ท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม และสรา้ งความ รองศาสตราจารย์ วณี า วสี เพ็ญ
เขม้ แขง็ ดา้ นการอนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟู เผยแพร่ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ราชนั ย์ นิลวรรณาภา
วฒั นธรรม โดยบรู ณาการความเชย่ี วชาญ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร. คมกรชิ การินทร์
ของคณะ/หนว่ ยงานเขา้ กบั การเรยี นการ อาจารย์วิวฒั น์ วอทอง
สอน และกจิ กรรมนสิ ติ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง อาจารย์สมยั วรรณอดุ ร
กบั ความตอ้ งการของประเทศ พนั ธกจิ ของ อาจารย์กนั ตา วลิ าชยั
มหาวทิ ยาลยั และชมุ ชน ทต่ี อ้ งการอนรุ กั ษ์ นางพรพิมล มโนชัย
สบื สานฟน้ื ฟศู ลิ ปวฒั นธรรมใหค้ งอยสู่ บื ไป บรรณาธิการ:
ปรชี า ศรีบุญเศษ
กองบรรณาธกิ าร:
เมษา คำ�โคกสี
ณฐั กฤตา ศรสี พุ รรณ

หงหากบินเทีงฟา้
ภะโยมสูงอยา่ ฟ้าวอวดหลายเนอ้

ลางเท่อื ไปถืกแฮว้
เขาหา้ งอยแู่ คมหนอง

กเ็ ป็นได้



กองส่งเสริมการวจิ ยั และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม เปดิ เลม่

ก อ ง บ ร ร ณ า ธิ ก า ร

สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม มมส ปีท่ี ๖ ฉบับที่ ๒ น้ี
กองบรรณาธกิ ารไดน้ ำ�เสนอการขบั เคลอื่ นโครงการทำ�นบุ ำ�รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
ทีม่ คี วามสำ�คัญ คอื ๑. โครงการส่อื ประชาสัมพนั ธ์และสง่ เสริมภมู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถนิ่ เพื่อสรา้ งมลู ค่าเพม่ิ ใหก้ บั ผา้ ไหมลายดอกขา่ บ้านนาเมือง อำ�เภอ
วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ๒. โครงการสำ�รวจและอนุรักษ์ผ้าห่อ
คัมภีร์ใบลานภาคอีสาน อัตลักษณ์และการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
๓. โครงการพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลผา้ ทอจงั หวดั มหาสารคามเพอ่ื ส่งเสริม
การตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๔. โครงการ “สืบหูกผูกฮ้อย
รอยผ้ามหาสารคาม”: การรวบรวมและเผยแพรอ่ งค์ความรู้ “ผา้ พ้ืนบ้าน”
ท่ีสำ�คัญในจังหวัดมหาสารคาม ๕. โครงการประชุมวิชาการนานาชาติ
“Palm-Leaf Manuscripts in a Time Capsule” นอกจากนั้น
ยงั มกี ารขบั เคลอื่ นกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ทำ�นบุ ำ�รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
คอื สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี านจดั โครงการปรวิ รรตและเผยแพร่
วรรณกรรมท้องถิ่นอีสานสู่สากล, หลักสูตรระยะส้ัน ด้านศิลปะและ
วฒั นธรรม, มมมส จดั งานประเพณบี ญุ ผะเหวดแบบวถี ใี หม่ (New normal)
ผ่านออนไลน,์ ชาว มมส รว่ มพธิ ีแหข่ า้ วพนั กอ้ น ฮีตเดอื น ๔ ประเพณี
บุญผะเหวด ประจำ�ปี ๒๕๖๔ และการประชุมคณะกรรมการบริหารงาน
ทำ�นบุ ำ�รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
คร้งั ที่ ๓/๒๕๖๔
กองบรรณาธิการฯ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ข้อมูลสารสนเทศที่สร้างและ
เผยแพรน่ ี้ จะยงั ประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ า่ นทกุ ทา่ น สามารถนำ�ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ดา้ นตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ งต่อไป

๑๑ ส่อื ประชาสัมพนั ธ์และส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาท้องถิ่น
เพ่อื สรา้ งมลู ค่าเพิ่มให้กบั ผา้ ไหมลายดอกขา่ บา้ นนาเมือง
อ�ำ เภอวาปปี ทุม จังหวดั มหาสารคาม
๑๗ ส�ำ รวจและอนุรักษผ์ า้ หอ่ คมั ภีร์ใบลานภาคอีสาน
อตั ลักษณแ์ ละการแพรก่ ระจายทางวัฒนธรรม
๒๓ การพัฒนาระบบฐานข้อมลู ผ้าทอ
จังหวดั มหาสารคามเพ่ือส่งเสรมิ การตลาด
ในรปู แบบเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ 

๒๙ “สบื หูกผกู ฮอ้ ยรอยผ้ามหาสารคาม”:
การรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ “ผา้ พ้ืนบา้ น”
ทสี่ ำ�คัญในจงั หวดั มหาสารคาม 

6 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม
กองส่งเสริมการวิจยั และบริการวชิ าการ

ส า ร บั ญมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

๓๗ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มมส จดั ประชมุ
วิชาการนานาชาติ “Palm-Leaf Manuscripts in a
Time Capsule”

๔๕ สถาบนั วิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน
จัดโครงการปรวิ รรตและเผยแพร่
วรรณกรรมทอ้ งถิ่นอสี านสู่สากล

๔๙ หลักสตู รระยะส้ัน ด้านศลิ ปะและวฒั นธรรม

๕๕ ประชุมคณะกรรมการบรหิ าร
งานท�ำ นบุ ำ�รุงศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม คร้งั ท่ี ๓/๒๕๖๔

๖๑ มมมส จดั งานประเพณีบญุ ผะเหวดแบบวีถใี หม่
(New normal) ผ่านออนไลน์

๖๕ ชาว มมส รว่ มพธิ ีแหข่ า้ วพนั กอ้ น ฮีตเดือน ๔
ประเพณบี ุญผะเหวด ประจำ�ปี ๒๕๖๔

กองส่งเสริมการวจิ ัยและบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 7

8 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ผา้ ไหมลายดอกขา่

โครงการผลิตสือ่ ประชาสมั พนั ธ์และสง่ เสริมภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ เพื่อสร้างมูลค่าเพ่มิ ให้กับผา้ ไหมลายดอกข่า

บา้ นนาเมือง อำ�เภอวาปีปทุม จงั หวัดมหาสารคาม

คณะวทิ ยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

กองสง่ เสริมการวิจยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 9

10 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ขา่ ว: กองบรรณาธกิ าร สื่อประชาสมั พนั ธ์และสง่ เสริมภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
ภาพ: คณะวิทยาการสารสนเทศ
เพอ่ื สรา้ งมูลคา่ เพิ่มให้กับผา้ ไหมลายดอกขา่ บา้ นนาเมอื ง อำ�เภอวาปปี ทมุ จังหวัดมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

โครงการผลติ สอ่ื ประชาสมั พนั ธแ์ ละสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญา
ท้องถ่ินเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผ้าไหมลาย
ดอกข่า บ้านนาเมือง อำ�เภอวาปีปทุม จังหวัด
มหาสารคาม โดยคณะวทิ ยาการสารสนเทศ ขบั เคลอื่ น
โครงการโดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ท่ี ๑
เพอ่ื ผลติ วดิ ที ศั นเ์ ลา่ กระบวนการทอผา้ ไหมลายดอก
ข่าจากภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีบ้านนาเมือง ตำ�บลนา
ขา่ อ�ำ เภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ผลลัพธท์ ่ี
ไดป้ ระกอบดว้ ย (๑) ได้วิดที ัศน์เลา่ กระบวนการทอ
ผา้ ไหมลายดอกขา่ จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่  ระยะเวลา
๓ นาที จ�ำ นวน ๑ คลิป โดยเผยแพรผ่ ลงานผ่านยู

กองสง่ เสริมการวิจยั และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 11

12 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ทูป : https://www.youtube.
com/watch?v=w-84kYXk1wI
และไดเ้ ผยแพรผ่ ลงานบนเฟสบคุ๊
แฟนเพจชื่อ ผ้าไหม ดอกข่า
สารคาม (๒) คลปิ วดิ ีโอหนงั สั้น
โฆษณาผ้าไหมลายดอกข่าจาก
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ระยะเวลา
๔ นาที จำ�นวน ๑ คลิป โดยได้
เผยแพร่ผลงานบนเฟสบุ๊คแฟน
เพจชอ่ื ผ้าไหมดอกขา่ สารคาม
(๓) ได้ชุดภาพน่ิงผ้าไหมพร้อม
นางแบบเพื่อประชาสัมพันธ์
ส่งเสริมการขาย จำ�นวน ๑๕๐
ภาพ วัตถุประสงค์ขอ้ ที่ ๒ เพื่อ
ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ (package)
ของผ้าไหมลายดอกขา่ ผลลพั ธ์
ทไ่ี ด้มดี งั น้ี (๑) โลโกผ้ า้ ไหมลาย
ดอกขา่ จ�ำ นวน ๑ โลโก้ เปน็ แบบ
สีและแบบขาวดำ� (๒) ต้นแบบ
บรรจุภัณฑ์ผ้าไหมลายดอกข่า
จำ�นวน ๑๐ กลอ่ ง วัตถุประสงค์
ข้อที่ ๓ เพ่อื ประชาสัมพันธ์ และ
สง่ เสรมิ การขายทางการตลาดแบบ
ออนไลน์ที่สามารถ เพิ่มรายได้
๒๐% ให้กับกลุ่มทอผ้าไหม
บา้ นนาเมอื ง ต�ำ บลนาขา่ อ�ำ เภอ
วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ผลลัพธ์ท่ีได้ประกอบด้วย ช่อง
ทางการขายผ่านโซเชียลมีเดีย
๓ ช่องทาง ได้แก่ (๑) เพจบน
เฟสบุ๊ค ชื่อ ผ้าไหม ดอกข่า

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 13

สารคาม (๒) ชอ่ งทางการขายผา้ ไหมลาย
ดอกข่าผ่าน Shopee ของชุมชนบา้ นนา
เมอื ง (๓) ชอ่ งทางการขายผา้ ไหมลายดอก
ขา่ ผ่าน Lazada ของชมุ ชนบา้ นนาเมอื ง
การขยายตลาดแบบออฟไลน์ เป็นการ
เริ่มกระจายสินค้าภายในจังหวัด เร่ิม
จากพื้นที่ใกล้เคียง เพ่ือให้คนในจังหวัด
และคนสัญจรข้าม จังหวัดได้มีโอกาสได้
เห็นสินค้า การสร้างให้เป็นที่รู้จักผ่าน
ช่องทางสื่อออนไลน์ การสร้างเพจและ
สอ่ื วดิ โี อเพอื่ ประชาสมั พนั อ์ อนไลนต์ า่ งๆ เพอ่ื
เปน็ การขยายตลาดและโปรโมทสนิ คา้ ใหท้ กุ
คนไดเ้ หน็ และสะดวกรวดเรว็ ในการใชบ้ รกิ าร
โดยมสี อื่ ออนไลน์ คอื Page Facebook :
ผ้าไหม ดอกข่า สารคาม, Shopee :
ผ้าไหม ดอกขา่ สารคาม และ Lazada :
ผา้ ไหม ดอกข่า สารคาม

14 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 15

16 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ขา่ ว: กองบรรณาธกิ าร สำ�รวจและอนรุ ักษ์ผา้ หอ่ คมั ภีร์ใบลานภาคอีสาน
ภาพ: สถาบนั วจิ ัยศิลปะและวฒั นธรรมอสี าน อตั ลกั ษณ์และการแพร่กระจายทางวฒั นธรรม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบนั วจิ ัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี าน มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

โครงการสำ�รวจและอนุรักษ์ผ้าห่อคัมภีร์ใบลาน
ภาคอสี าน : อตั ลกั ษณแ์ ละการแพรก่ ระจายทาง
วฒั นธรรม เปน็ การด�ำ เนนิ งานกรอบของกระบวนการ
ดำ�เนินโครงการภายใต้โจทย์ คือ “หน่ึงคณะ
หนึ่งศิลปวัฒนธรรม” ที่ว่าด้วยเรื่องการทำ�นุบำ�รุง
ศลิ ปวฒั นธรรมและการบรกิ ารวชิ าการอนั เปน็ จดุ เดน่
ของมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม การด�ำ เนนิ โครงการ
ครั้งน้ีมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ๑. เพอ่ื ส�ำ รวจผา้ ห่อคมั ภรี ์
ใบลานในภาคอีสาน จัดประเภท และวิเคราะห์
องคป์ ระกอบต่างๆ ๒. เพือ่ คัดเลอื กผ้าทเี่ ก่าแก่และ
ทรงคณุ คา่ มาอนรุ กั ษต์ ามหลกั วชิ าการ ๓. เพอื่ สรา้ ง
องค์ความรู้และเผยแพรใ่ นรปู แบบตา่ งๆ

กองสง่ เสริมการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 17

การดำ�เนินโครงการได้ดำ�เนินการศึกษาข้อมูลผ้าห่อคัมภีร์ใบลาน
ภาคอีสาน กับชุมชนในเขตพ้ืนท่ีวัดท่าม่วง ตำ�บลท่าม่วง อำ�เภอเสลภูมิ
จังหวดั ร้อยเอ็ด/วัดมหาชัย ตำ�บลตลาด อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั มหาสารคาม/
วดั ทงุ่ ศรวี ไิ ล ต�ำ บลชที วน อ�ำ เภอเขอื่ งใน จงั หวดั อบุ ลราชธาน/ี วดั หนองหลกั
อำ�เภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี/วัดมณีวนาราม ตำ�บลในเมือง
อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธานี มีดงั นี้

• ศึกษาวัฒนธรรมและการสร้างคัมภีร์ใบลาน อานิสงส์ของ
การถวาย การสร้างพระไตรปิฎกของหลวงและเหตุปัจจัยของการเผยแพร่
ไปยงั ภูมิภาคศึกษาขอ้ มลู พนื้ ฐานของพนื้ ท่ีต่างๆท้ัง ประวตั จิ ังหวัด การต้งั
ถิ่นฐานชาตพิ นั ธ์ุศึกษาขอ้ มลู วัดทีเ่ ป็นแหล่งข้อมูล

• เตรยี มแบบฟอร์มสัมภาษณ์ผ้เู กี่ยวข้องและมอี อกภาคสนาม
เก็บข้อมูลผ้าห่อคัมภีร์ใบลานตฟามแหล่งที่ระบุบันทึกภาพ สัมภาษณ์ผู้รู้
ในชุมชน

• น�ำ ขอ้ มลู ผา้ หอ่ คมั ภรี ท์ ไ่ี ดม้ าจดั กลมุ่ เปรยี บเทยี บความเหมอื น
ความแตกตา่ งของแต่ละพื้นที่ด้าน ลวดลาย การใช้เส้นใย การให้สี เทคนิค
การทอ

• วิเคราะห์อัตลักษณ์ส่วนที่เป็นผ้าห่อคัมภีร์ภาคอีสานส่วน
ท่ีแพร่กระจายมาจากส่วนกลางและแหล่งอ่ืนและศึกษาลักษณะร่วมและ
เอกลักษณ์ของแต่ละแหล่งเรียบเรียงองค์ความรู้ และซ่อมแซมผ้าห่อคัมภีร์
โบราณเพ่อื อนุรกั ษ์

การด�ำ เนนิ งานโครงการส�ำ รวจและอนรุ กั ษผ์ า้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานภาค
อสี าน : อตั ลกั ษณแ์ ละการแพรก่ ระจายทางวฒั นธรรม มรี ปู แบบของกจิ กรรม
การเรียนรแู้ ละการดำ�เนินโครงการแบง่ ออกเป็น ๒ ส่วน ที่มีความเชอื่ มโยง
และสอดคลอ้ งกนั คอื กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอื่ งราวในชมุ ชนและกจิ กรรมเรยี นรู้
จากการที่ผู้ดำ�เนินโครงการได้ลงพื้นท่ีเก็บข้อมูล และนำ�ข้อมูลมาเผยแพร่
โดยจัดทำ�เป็นนิทรรศการเผยแพร่และมีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้
แกน่ สิ ติ นกั ศกึ ษา ไดร้ บั รเู้ กย่ี วกบั ผา้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานของภาคอสี าน กจิ กรรม
ท้ัง ๒ สว่ นน้ีก่อให้เกดิ องคค์ วามรู้ เชื่อมโยงบูรณาการตอ่ กัน กล่าวคือ การ
ใช้รูปแบบของการจัดการการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชน ตลอดจนการสร้าง
กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและการสร้างจิตสำ�นึกให้กับคนในชุมชน

18 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

ใหเ้ กดิ ความรกั ความสามคั คแี ละ
ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการ
ท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมของ
ทอ้ งถ่นิ กลา่ วคอื กจิ กรรมการ
เรยี นรู้ การอนุรกั ษผ์ ้าหอ่ คมั ภรี ์
ใบลานภาคอสี านของคนในชมุ ชน
ส่ิงที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมก็คือ
องค์ความรู้เรื่องผ้าห่อคัมภร์ซึ่ง
เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน นำ�
ไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพอื่ ถา่ ยทอดความรูใ้ นดา้ นการ
อนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรม
ของชุมชน ให้แก่คนในชุมชน
นักเรียน นักศึกษาและบุคคล
ภายนอก การดำ�เนินโครงการ
ได้ดำ�เนินไปในลักษณะนี้ต้ังแต่
ตน้ จนจบ ซง่ึ กจิ กรรมการเรยี นรู้
ให้การดำ�เนินโครงการช่วยดึง
ศกั ยภาพของชมุ ชน กา้ วไปอยา่ ง
มปี ระสทิ ธภิ าพระหวา่ งชมุ ชนและ
คณะทำ�งาน

รูปแบบของกิจกรรม
การเรียนรู้จัดขึ้นภายใต้กรอบ
เน้ือหาองค์ความรู้ที่อยู่ภายใน
ชุมชน เร่ืองราวของศิลปะการ
ทอผ้าและการอนุรักษ์ผ้าห่อ
คมั ภรี ใ์ นเขตพนื้ ทเ่ี ปา้ หมาย โดย
เปน็ กจิ กรรมการเรียนรู้ระหว่าง
“องค์ความรู้ในท้องถ่ิน” ได้แก่
กระบวนการศกึ ษาขอ้ มลู ในชมุ ชน
ทอ้ งถน่ิ , ศลิ ปะและวฒั นธรรมของ

กองสง่ เสริมการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 19

ชมุ ชน, ความเชอื่ , วถิ ชี วี ติ , ภมู ปิ ญั ญา
และ “องคค์ วามรจู้ ากภายนอก” ไดแ้ ก่
การเรยี นรกู้ ระบวนการจดั การจดั การ
องค์ความรู้ภูมิปัญญาที่มีอยู่อย่าง
ประสทิ ธภิ าพเพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สุดแกช่ มุ ชน เป็นตน้ กิจกรรมการ
ดำ�เนินงานโครงการทั้งหมดเกิดขึ้น
จากการร่วมหารือที่เห็นพ้องต้องกัน
ระหวา่ งคณะท�ำ งานและชมุ ชน จะเหน็
ไดว้ า่ ในการก�ำ หนดแผนกจิ กรรมและ
รปู แบบการด�ำ เนนิ โครงการนน้ั เปน็ การ
วางแผนและกำ�หนดทิศทางร่วมกัน
จงึ ท�ำ ใหท้ ราบแนวทาง แนวคดิ ความ
ตอ้ งการและประโยชนท์ จี่ ะเกดิ ขนึ้ จาก
โครงการ และยังก่อให้เกิดแนวทาง
การดำ�เนินงานโดยการมีส่วนร่วม
ของชุมชน ซ่ึงเป็นแนวทางการสร้าง
ความรว่ มมือ โดยมีคณะทำ�งานเป็น
ผเู้ สนอกรอบและแนวทางการด�ำ เนนิ
โครงการในเบอื้ งตน้ ดงั นนั้ การด�ำ เนนิ
โครงการจึงมีกระบวนการการสร้าง
ความร่วมมือท่ีมีลักษณะเป็นลำ�ดับ
ขนั้ ตอนอยา่ งเปน็ ระบบรว่ มกบั ชมุ ชน
ในการด�ำ เนนิ งานโครงการส�ำ รวจและ
อนรุ กั ษผ์ า้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานภาคอสี าน :
อัตลักษณ์และการแพร่กระจายทาง
วฒั นธรรมซงึ่ ชมุ ชนกจ็ ะไดส้ อ่ื สงิ่ พมิ พ์
คอื การอนรุ กั ษผ์ า้ หอ่ คมั ภรี ใ์ บลานภาค
อสี าน : อตั ลกั ษณแ์ ละการแพรก่ ระจาย
ทางวัฒนธรรมและมเี อกสารข้อมูลที่
เกยี่ วกับผ้าหอ่ คมั ภรี ,์ ประวัติชุมชน,

20 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

การสืบทอดประเพณี, กระบวนการ
สืบทอด, ประวัติการทอผ้าห่อคัมภีร์
ลวดลายตา่ งๆ และท�ำ ใหม้ ผี รู้ จู้ กั ศลิ ปะ
การทอผา้ ห่อคมั ภีรเ์ พิ่มข้ึน

กองสง่ เสริมการวิจยั และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 21

22 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ข่าว: กองบรรณาธกิ าร การพัฒนาระบบฐานข้อมูลผา้ ทอจังหวดั มหาสารคาม
ภาพ: สถาบนั วิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน เพ่ือส่งเสรมิ การตลาดในรปู แบบเศรษฐกจิ สร้างสรรค ์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบันวจิ ัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ผา้ ทอจงั หวดั มหาสารคาม
และแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการตลาใน
รูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
๑. เพ่ือพัฒนาระบบฐานข้อมูลดิจิทัลผ้าทอจังหวัด
มหาสารคามทสี่ นบั สนนุ การสรา้ งคณุ คา่ ทางวฒั นธรรม
ของผ้าทอที่มีความสำ�คัญให้เกิดความโดดเด่นบน
พน้ื ฐานขององคค์ วามรไู้ ดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ ๒. เพอื่ พฒั นา
ระบบฐานข้อมูลดิจิทัลผ้าทอจังหวัดมหาสารคาม
ท่ีส่งเสริมการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์
แกก่ ลมุ่ ผ้าทอจงั หวัดมหาสารคาม ๓. เพ่ือท�ำ หนา้ ท่ี
เปน็ สอื่ กลางในการสอื่ สารระหวา่ งผสู้ นใจ กบั ผผู้ ลติ

กองสง่ เสริมการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 23

ผา้ ทอและมสี ว่ นชว่ ยในการตดั สนิ ใจ
ซ้ือผลิตภัณฑ์ผ้าทอจากชุมชน
มวี ธิ ดี �ำ เนนิ การโดย เกบ็ รวมรวม
ลายผ้า ท้ัง ๑๓ อำ�เภอ นำ�มา
วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ และแยก
องค์ประกอบลายผ้า เพ่ือนำ�ไป
วาดลงกราฟ แสดงโครงสร้าง
ของลาย จำ�นวนล�ำ หมที่ ี่ใช้ ๒๕
ล�ำ เปน็ มาตรฐาน บางลายไมถ่ งึ
๒๕ ลำ� และท�ำ ภาพกราฟฟิกท่ี
เพม่ิ ลายละเอียด สีสันและลาย
ตีนซิ่นลงไป จะได้ภาพผ้าซ่ิน
เสมือนจริงเพื่อให้ผู้ทอสามารถ
เลอื ก ลายและสี นำ�ไปมดั หมี่ได้
จรงิ เปา้ หมายการด�ำ เนนิ งาน ถอด
แบบลายผา้ ประจ�ำ อ�ำ เภอจ�ำ นวน
๑๓ ลายเปน็ ลายผา้ ดจิ ทิ ลั ไดแ้ ก่
๑) ลายดอกผัก ติ้ว ลายผ้า
เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอกนั ทรวชิ ยั
๒) ลายดอกฮงั ลายผา้ เอกลกั ษณ์
ประจ�ำ อ�ำ เภอกดุ รงั ๓) ลายไขม่ ด
แดง ลายผ้าเอกลักษณ์ประจำ�
อำ�เภอแกดำ� ๔) ลายโกสัมพี
ลายผา้ เอกลักษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอ
โกสมุ พสิ ัย ๕) ลายดอก ช่ืนชม
ลายผ้าเอกลักษณ์ประจำ�อำ�เภอ
ชนื่ ชม ๖) ลายโคมเก้า ลายผา้
เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอเชยี งยนื
๗) ลายขอ ขจร ลายผา้ เอกลกั ษณ์
ประจำ�อำ�เภอนาเชอื ก ๘) ลาย
หวั นาค ลายผา้ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ

24 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

อำ�เภอนาดูน ๙) ลาย ดอกแก้ว
ลายผา้ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอ
บรบอื ๑๐) ลายดาวล้อมเดือน
ลายผา้ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอ
พยคั ฆภมู พิ สิ ยั ๑๑) ลายกญุ แจใจ
ลายผา้ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ อ�ำ เภอ
เมอื งมหาสารคาม ๑๒) ลายดอก
ขจร ลายผา้ เอกลกั ษณ์ ประจ�ำ
อำ�เภอยางสสี ุราช ๑๓) ลายเมด็
ขา้ วสาร ลายผา้ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ
อ�ำ เภอวาปปี ทมุ เพอื่ เปน็ การสรา้ ง
รายได้ เพม่ิ จ�ำ นวนลวดลายผา้ ทอ
ใหห้ ลากหลาย และจ�ำ ไดล้ วดลาย
ผ้าที่มีความคมชัด จะได้ผ้าทอ
ท่ีสวยงามและตรงตาม ความ
ตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค เอกสารการ
ออกแบบลายละเอียดลวดลาย
ผ้า สามารถนำ�ไปบูรณาการ
งานทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม
กับการเรียนการสอน การวิจัย
การบรกิ ารวชิ าการ และกจิ กรรม
นสิ ติ ไดต้ ามสาขาวชิ าทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
และตอ่ ยอดสขู่ อ้ มลู ดจิ ทิ ลั ผา้ ทอ
จังหวัดมหาสารคามในยุคโควดิ
ทำ�ตลาดออนไลน์ ช่วยส่งเสริม
กิจกรรมกลุ่มทอผ้าให้ทันสมัย
และตอบสนองสภาพปัญหา
ในปัจจุบันได้ หลังจากโควิด
ผอ่ นคลายลง พัฒนาเป็นตลาด
ออนไลน์ผา้ ทอสารคาม การนำ�

กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 25

ไปใชป้ ระโยชน์ ลายผา้ ดิจิทัลใน
กราฟ สามารถน�ำ ไปสรา้ งมลู คา่
เพม่ิ ใหก้ บั ผา้ ทอไดส้ งู และเปน็ การ
อนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมการ
ทอผา้ มดั หมท่ี เ่ี กบ็ รายละเอยี ดไว้
ในโปรแกรมกราฟลายผา้ ทล่ี ะเอยี ด
และผู้ที่ความชำ�นาญในการทอ
ผ้าสามารถอ่านลายผ้าและแกะ
รายละเอยี ดของลายผา้ ไดค้ รบถว้ น
สมบูรณ์แบบและสามารถนำ�ไป
ต่อยอดได้

26 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 27

28 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ข่าว: กองบรรณาธิการ “สืบหกู ผูกฮอ้ ยรอยผ้ามหาสารคาม”: การรวบรวมและเผยแพร่
ภาพ: คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ องค์ความรู้ “ผ้าพื้นบา้ น” ทสี่ ำ�คัญในจงั หวดั มหาสารคาม 

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

ภูมปิ ญั ญาดา้ การทอผา้ เปน็ วฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ
ดง้ั เดมิ ของชาวอสี าน วตั ถปุ ระสงคข์ องผทู้ อกเ็ พอื่
เกบ็ ไวใ้ ชส้ อยในครวั เรอื น ใชใ้ นพธิ กี รรม ใชเ้ ปน็
ของก�ำ นลั และแบง่ ปนั ในรปู แบบอน่ื ๆ อกี ทง้ั ยงั เปน็
อาชีพรองจากอาวีพเกษตรกรรมซ่ึงเป็นอาชีพหลัก
ด้วยความสำ�คัญดังกล่าว ส่งผลให้ความรู้พ้ืนฐาน
เกี่ยวกับการทอผ้ากลายเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมของ
ชุมชนที่มีการถ่ายทอดสืบเน่ืองมาอย่างยาวนาน
ในปจั จบุ นั พบวา่ หลายชมุ ชนไดม้ กี ารดดั แปลงรปู แบบ
การทอเพอื่ สนองความตอ้ งการของตลาด ตลอดจน
พฒั นายกระดับจนกลายเปน็ ภาพตัวตนของชมุ ชน

กองส่งเสริมการวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 29

ดังเช่นกรณีจังหวัด
มหาสารคามที่ภูมิปัญญาด้าน
การทอผา้ นบั ไดว้ า่ มคี วามโดดเดน่
อยา่ งมาก สะทอ้ นใหเ้ หน็ ไดจ้ าก
การเชิดชูให้ภูมิปัญญาด้านการ
ทอผา้ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอตั ลกั ษณ์
จงั หวดั โดยสื่อสารออกมาผ่าน
ค�ำ ขวญั จงั หวดั ทว่ี า่ “พทุ ธมณฑล
อีสาน ถิ่นฐานอรยธรรม ผ้าไหม
ลำ้�เลอค่า ตักสิลานคร” ขณะ
เดยี วกนั กเ็ ปน็ ทร่ี บั รโู้ ดยทวั่ ไปอกี
วา่ “ผา้ ไหมล�ำ้ เลอคา่ ” ซงึ่ ปรากฏ
ในค�ำ ขวญั ประจ�ำ จงั หวดั นห้ี มายถงึ
“ผ้าไหมลายสร้อยดอกหมาก”
ลายผ้าซึ่งถูกยกย่องให้เป็นลาย
ผ้าประจำ�จงั หวัดมหาสารคาม

อยา่ งไรกต็ าม นอกจาก
ผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก ใน
พนื้ ทจี่ งั หวดั มหาสารคามยงั ปรากฏ
ผลติ ภณั ฑผ์ า้ พน้ื บา้ นทนี่ า่ สนใจอกี
หลายชนดิ ซง่ึ มคี วามโดดเดน่ ดา้ น
เทคนคิ รูปแบบ ลกั ษณะ สสี นั
และลวดลายของผา้ ทอทแี่ ตกตา่ ง
กนั ไปในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ ขนึ้ อยกู่ บั
สภาพอากาศ วัตถุดิบท่ีหาได้
ในท้องถิน่ ความช�ำ นาญเฉพาะ
กลมุ่ ความเชอื่ และรากเหงา้ ทาง
วัฒนธรรมดั้งเดิมที่สืบทอดกัน
มาในชุมชน

30 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

ดว้ ยเหตนุ ี้ คณะมนษุ ย-
ศาตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จงึ มคี วาม
สนใจทจ่ี ะศกึ ษารวบรวมองคค์ วามรู้
เก่ียวกับผ้าพ้ืนบ้านในจังหวัด
มหาสารคาม ไมว่ า่ จะเปอ็ งคค์ วามรู้
ด้านด้านสภาพแวดล้อมทาง
ภูมิศาสตร์ พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ที่มีส่วนสัมพันธ์
กับวัฒนธรรมการทอผ้า การ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ
สงั คมทม่ี ผี ลตอ่ การผลติ ตลอดจน
ศักยภาพการปรับตัวของผู้คน
ในชุมชนโดยใช้ภูมิปัญญาด้าน
การทอผ้าเปน็ ฐาน และเผยแพร่
องคค์ วามรดู้ งั กลา่ วใหเ้ ปน็ ทร่ี บั รู้
ในวงกวา้ ง ในรปู แบบสอื่ สงิ่ พมิ พ์
ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
และแผนทแ่ี สดงทต่ี งั้ ของผลติ ภณั ฑ์
(Google Map GIS online) เพอื่
เปน็ แนวทางการตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญา
ดา้ นการทอผา้ ใมติ ขิ องการทอ่ งเทย่ี ว
โดยมวี ัตถุประสงค์ คือ ๑. เพื่อ
ศึกษารวบรวมและเผยแพร่องค์
ความรู้เก่ยี วกบั “ผ้าพ้ืนบา้ น” ท่ี
สำ�คัญในจังหวัดมหาสารคาม
๒. เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ “ผา้ พนื้ บา้ น”
ที่สำ�คัญในจังหวัดมหาสารคาม
ในรูปแบบ Google Map GIS
online และ ๓. เพอ่ื ศกึ ษาแนวทาง
พฒั นาเสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วเกย่ี วกบั
แหลง่ ผลติ “ผา้ พนื้ บา้ น” ในจงั หวดั

กองส่งเสริมการวิจยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 31

มหาสารคาม ทงั้ นีโ้ ครงการไดม้ ี
การบรู ณาการการเรยี นการสอน
ในรายวิชาของแต่ละหลักสูตร
ดว้ ยความหลากหลายของรายวชิ า
ที่บูรณาการ มีการทำ�งานร่วม
ระหวา่ งคณาจารยแ์ ละนสิ ติ อาทิ
การเกบ้ ขอ้ มลู พนื้ ฐาน การลงเกบ็
ขอมูลภาคสนาม การฝึกปฏิบัติ
การใชเ้ ครอ่ื งมอื ก�ำ หนดพกิ ดั ทาง
ภมู ิศาสตร์

32 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 33

34 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ตวั อยา่ งผา้ ทใ่ี ช้หอ่ คัมภรี ์ใบลาน

โครงการสำ�รวจและอนรุ ักษผ์ า้ หอ่ คัมภีรใ์ บลานภาคอีสาน อตั ลกั ษณ์และการแพรก่ ระจายทางวฒั นธรรม

สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 35

36 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท ำ� นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ภาพ: บุณฑรกิ า ภูผาหลวง/อภริ าม ทามแกว้ สถาบันวจิ ัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มมส จัดประชมุ วชิ าการ
ข่าว: อภริ าม ทามแก้ว นานาชาติ “Palm-Leaf Manuscripts in a Time Capsule”

สถาบันวจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

วันน้ี (๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๔) สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและ
วฒั นธรรมอสี าน รว่ มกบั คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ
สงั คมศาสตร์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
มหาสารคาม และ University of Pittsburgh at
Johnstown, U.S.A, จัดประชุมวิชาการนานาชาติ
ในหัวข้อ Palm-Leaf Manuscripts in a Time
Capsule (The International Conference on Palm-
Leaf Manuscripts in a Time Capsule) ณ ห้อง
ประชมุ ชน้ั ๓ สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม และ ผา่ นระบบออนไลน์
(Microsoft Office Teams) โดยมี รองศาสตราจารย์

กองส่งเสริมการวิจัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 37

ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็น
ประธานกล่าวเปิด อาจารย์ทม
เกตวุ งศา ผอู้ �ำ นวยการสถาบนั วจิ ยั
ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน กลา่ ว
ต้อนรบั ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ

การประชมุ วชิ าการระดบั
นานาชาติ ‘Palm-Leaf Manuscripts
in a Time Capsule’ จดั ข้ึนเพ่ือ
เปน็ เวทปี ระชมุ และน�ำ เสนอผลงาน
วิจัย ผลงานวิชาการระดับชาติ
และนานาชาติ ใหแ้ กค่ ณาจารย์ นกั
วิจยั นกั วิชาการ นิสติ นกั ศกึ ษา
ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา และผสู้ นใจ
พรอ้ มทง้ั เปน็ การรวบรวมองคค์ วาม
รผู้ ลงานวจิ ยั ผลงานทางวชิ าการ
ใหผ้ สู้ นใจไดน้ �ำ ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
การเขยี นงานวจิ ยั และการเสนอ
งานวจิ ยั ในระดบั ชาต/ิ นานาชาติ
ตลอดจนเพ่ือให้คณาจารย์
นักวิจัย นักวิชาการ นิสิต ใน
สถาบันอุดมศึกษา ทั้งภายใน
และภายนอกมหาวิทยาลยั และ
ผู้สนใจ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้
อีกทั้งได้สร้างเครือข่ายด้านการ
วจิ ยั และดา้ นวชิ าการ เพอ่ื การยก
ระดบั งานวจิ ยั สกู่ ารเปน็ ผนู้ ำ�งาน
วจิ ยั ในระดบั เอเชยี และนานาชาติ

38 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสริมการวิจัยและบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

มีผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำ�นวนกว่า
๒๐๐ คน

ภายในโครงการฯ ช่วงเชา้
ร่วมพิธีสู่ขวัญ (ออนไลน์) รับฟัง
ปาฐกถาพเิ ศษ (Keynote Speaker)
ในหวั ขอ้ เรอื่ ง “ความส�ำ คญั ของมรดก
ความทรงจำ�ด้านเอกสารโบราณ”
โดย ดร.ประจักษ์ วัฒนานุสทิ ธิ์ อดตี
รองผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั หอสมดุ แหง่ ชาติ
กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
จากน้ันรับฟังการเสวนาบรรยายใน
หวั ขอ้ เรอื่ ง “การอนรุ กั ษค์ มั ภรี ใ์ บลาน
อีสานของประเทศไทย” โดย
Assoc.Prof.Weena WEESAPEN
(The Research Institute of
Northeastern Art and Culture,
MSU, Thailand) and Dr. Apiradee
JANSAENG (Faculty of
Humanities and Social Sciences,
MSU, Thailand) รบั ฟงั การบรรยาย
ในหัวข้อเรื่อง “Isan Literature in
a Time Capsule” โดย Asst.
Prof. Dr. Tuangtip KLINBUBPA-
NEFF (Department of English,
University of Pittsburgh at
Johnstown, U.S.A.) รับฟังการ
บรรยายในหวั ขอ้ เรอื่ ง “Preservation
of Palm Leaf Manuscripts in Lao
PDR, from the past to the present
by the National Library and the
Department of Literature and

กองส่งเสริมการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 39

publishing” โดย Mrs.
Khanthamaly YANGNOUVONG
(Director of National Library,
Lao PDR) รบั ฟังการบรรยาย
ในหัวข้อเรื่อง“Palm-Leaf
Manuscripts in South Asia”
โดย Prof. B Ramesh BABU
(Former Prof., University
of Madras, India) พร้อมท้ัง
การแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ /
แนวทางในการขบั เคลอื่ น “Future
collaborations and networking
to collect, preserve, research,
enhance understandings
and extend the benefits of
palm-leaf manuscripts”

ในชว่ งบา่ ย รบั ฟงั การ
เสนอบทความ ‘Indigenous
Oral Traditions in the Laos
PDR (Specially the Su Khuan
Ritual)’ โดย Mrs.Kongdeuane
NETTAVONG (Former
Director of the National Library
of Laos, Lao PDR) //‘Mon
manuscripts in Thailand’
โดย Mr.Hunter WATSON
(PhD Candidate, Department
of Southeast Asian Studies,
National University of
Singapore, Singapore and
Senior Research Fellow,

40 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวิจยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 41

Centre for Khmer Studies,
Siem Reap, Cambodia) //
‘Isan Literature in a Time
Capsule: Redefining Thai
Identity with Northeastern
Thai Folk Literature’ โดย
Asst. Prof. Dr. Tuangtip
KLINBUBPA-NEFF (Department
of English, University of
Pittsburgh \at Johnstown,
U.S.A.) // ‘Soul-Blessing
Ceremonies in Isan Society’
โดย Assoc. Prof. Weena
WEESAPEN (The Research
Institute of Northeastern Art
and Culture, MSU, Thailand)
and Asst. Prof. Dr. Tuangtip
KLINBUBPA-NEFF (Department
of English, University of
Pittsburgh at Johnstown,
U.S.A.) //‘Soul-Blessing
for Houses in Palm-Leaf
Manuscripts’ โดย Mr.Narongsak
RAWARIN (The Research
Institute of Northeastern Art
and Culture, MSU, Thailand)
// ‘Take My Yoke Upon
You And Plough the Land,
So the Rice Paddy Yields
Abundant Grains”: Reading
a Soul-Blessing Ceremony for

42 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

Farm Animals in Isan Agrarian
Culture through Domesticating the
Wild’ โดย Asst. Prof. Dr. Chaiyon
TONGSUKHAENG (Faculty of
Humanities and Social Sciences,
MSU, Thailand) // ‘Healthcare
Perspective in Isan Soul-Blessing
Literature’ โดย Dr.Nuttapong
WICHAI (The Faculty of
Pharmacy, MSU, Thailand) และ
รบั ฟงั การเสนอบทความ ‘Somdej
Phra Naresuan Shrine and
Phra Wo-Phra Ta Monument:
Establishment of Historical
Legitimacy and Symbol of
Nong Bua Lamphu Province.’
โดย Mr. Attapol THAMMARUNGSEE
(Faculty of Humanities and
Social Sciences, Buriram
Rajabhat University, Thailand)
ดำ � เ นิ น ร า ย ก า ร เ ส ว น า โ ด ย
Dr. Apiradee JANSAENG
(Faculty of Humanities and
Social Sciences, MSU, Thailand)

กองสง่ เสรมิ การวิจยั และบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 43

44 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ ำ� รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ภาพ/ขา่ ว: สถาบนั วิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอสี านจัดโครงการ
กลุ่มงานสารสนเทศและประชาสัมพนั ธ์ ปรวิ รรตและเผยแพรว่ รรณกรรมทอ้ งถ่ินอีสานสูส่ ากล
สถาบนั วิจัยศลิ ปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

หัวข้อ Isan Literature in a Time Capsule:
“สู่ขวัญ” คน สัตว์ พืชและสรรพส่ิงในเอกสาร
ใบลานอีสาน

โดยเปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง สถาบนั วจิ ยั
ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน คณะมนุษยศาสตร์
และสงั คมศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคามและ The University of Pittsburgh at
Johnstown, U.S.A. เพอ่ื เปน็ การเผยแพรว่ รรณกรรม
อีสานให้เปน็ ที่รูจ้ กั ในระดบั นานาชาติ โดยจะมกี าร
จัดการเสวนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้

กองส่งเสรมิ การวิจยั และบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 45

บทความดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม จาก
ผเู้ ขยี นทม่ี กี ารถา่ ยถอดจากเอกสาร
โบราณและวรรณกรรมในภาคอสี าน
รว่ มกบั วทิ ยาการรบั เชญิ ทมี่ คี วาม
เชยี่ วชาญดา้ นภาษาและวฒั นธรรม
ไดแ้ ก่ ศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์
สวุ รรณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.
สมชาติ มณโี ชติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์
สมชาย นิลอาธิ และอาจารย์
ดร.สายพิณ ศุพุทธมงคล ใน
วนั พธุ ท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๖๔
ออนไลน์ (Microsoft Teams)

46 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

กองส่งเสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 47

48 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ส า ส์ น ท �ำ นุ บ �ำ รุ ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม

ภาพ/ข่าว: หลกั สูตรระยะสน้ั ด้านศลิ ปะและวฒั นธรรม
กลุ่มงานสารสนเทศและประชาสมั พันธ์
สถาบันวจิ ยั ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน สถาบนั วิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอีสาน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สถาบนั วจิ ยั ศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี านไดจ้ ดั โครงการ
หลกั สตู รระยะสน้ั ดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม เพอ่ื
ถ่ายทอดองค์ความรู้ที่บุคลากรได้ทำ�การวิจัยศึกษา
ค้นคว้ามาถ่ายทอดให้แก่ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ และอนุรักษ์องค์ความรู้ได้สืบทอดต่อไปแก่
ชนรนุ่ หลงั และสามารถน�ำ องคค์ วามรไู้ ปพฒั นาตอ่ ย
อดในการสรา้ งอาชพี ใหเ้ กดิ รายไดแ้ กต่ วั เองตอ่ ไปได้
ซ่ึงหลกั สตู รที่เปิดสอนประกอบดว้ ย

กองส่งเสริมการวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาส์นทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 49

๑. อกั ษรโบราณพนื้ ฐาน
(อกั ษรธรรมอีสาน)
๒. การเลน่ พณิ เบอื้ งตน้
๓. หลกั วชิ าและวฒั นธรรม
โหราศาสตร์ ภาค ๑ 
๔. การถ่ายถอดและ
ปรวิ รรตอกั ษรโบราณในภาคอสี าน
๕. เรียนรู้อักษรไทย
นอ้ ยเบอื้ งต้น
๖. หลักสูตรหัดอ่าน
อกั ษรโบราณในฮปู แตม้ เบอ้ื งตน้
รุ่นที่ ๓
๗. หลกั สตู รผา้ หอ่ คมั ภรี ์
ใบลานในภาคอีสาน
๘. หลักสูตรหัดอ่าน
อกั ษรโบราณในฮปู แตม้ เบอื้ งตน้
รนุ่ ที่ ๒
๙. หลักสูตรอบรม
นักโหราศาสตรเ์ บ้อื งตน้
๑๐. หลักสูตรการทำ�
ขันหมากเบ็งเบือ้ งต้น
๑๑. หลักสูตรหัดอ่าน
อกั ษรโบราณในฮปู แตม้ เบอื้ งตน้
รนุ่ ที่ ๑

50 ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม กองส่งเสริมการวจิ ยั และบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม


Click to View FlipBook Version