The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปเนื้อหาวิชาสังคมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kampanat Longlom, 2020-05-05 12:25:24

สรุปสังคมศึกษา

สรุปเนื้อหาวิชาสังคมศึกษา

1

สรปุ ยอเนอ้ื หา สาระการเรยี นรูที่ 1 : ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม

เร่อื งที่ 1 : สรปุ ยอเนื้อหาพระพทุ ธศาสนา
1. ประเภทศาสนา : แบบอเทวนยิ ม ไมน บั ถือพระเจา เนน เชอ่ื ในเรอื่ งกรรมของตนเอง
2. พระเจา : ไมมี
3. ศาสดา : พระสมณโคดมพุทธเจา หรอื พระศากยมนุ ีพทุ ธเจา
4. คัมภรี  : พระไตรปฎ ก ซึง่ ประกอบดว ย 3 ปฎ ก (3 หมวด) คือ

1) พระวนิ ัยปฎก เกี่ยวกับ ระเบียบวนิ ยั ศีล สกิ ขาบท ของพระภกิ ษุสามเณร
2) พระสุตตนั ตปฎ ก (พระสตู ร) เก่ยี วกับ เร่ืองราวประกอบธรรมะ
3) พระอภธิ รรมปฎก เก่ยี วกบั หลักธรรมลว น ๆ
5. นิกาย : มี 2 นกิ ายสําคญั
5.1 นิกายเถรวาท (หนิ ยาน) : ลักษณะเดนคือ

1. เครงครดั ในพระวนิ ยั และสกิ ขาบทตา งๆ ไมแ กไ ขพระวินยั ขอ ใดเลย
2. นับถือพระพุทธเจาและพระโพธสิ ัตวแตเพยี งแคองคเดยี ว (คอื พระสมณโคดมพทุ ธเจา)
3. เนน ปฏิบตั ธิ รรมชวยเหลอื ตนเองใหพ น ทุกข กอ นชว ยเหลอื คนอ่นื
4. แพรห ลายในประเทศ ไทย ศรีลังกา พมา ลาว กัมพูชา
5.2 นกิ ายอาจาริยวาท (มหายาน) : ลักษณะเดน คอื
1. แกไขพระวินัยและสิกขาบท บางขอ เชน ฉันอาหารเย็นได , ใสจีวรหลากหลายรูปแบบหลากหลายสีสัน (บางนิกายยอย
พระมีเมยี มลี ูกได)
2. นบั ถือพระพุทธเจาและพระโพธสิ ตั วห ลายองค เนน สวดมนตอ อนวอนขอพรจาก
พระพุทธเจา และพระโพธิสัตวเหลาน้ัน เชน พระอมิตาภะพุทธเจา, พระไภสัชคุรุพุทธเจา, พระไวโรจนะพุทธเจา, พระอว
โลกิเตศวรมหาโพธิสัตว (กวนอิม), พระมัญชุศรีมหาโพธิสัตว, พระสมันตภัทรมหาโพธิสัตว และพระศรีอาริยเมตไตรยมหาโพธิสัตว เปน
ตน
3. เนน ปฏิบตั ธิ รรมชวยเหลอื คนอื่นใหพนทุกขกอ นตนเอง (เนน บาํ เพ็ญตนเปน พระโพธิสตั ว)
4. แพรหลายในประเทศ จนี ญี่ปุน เกาหลี เวยี ดนาม มองโกเลีย ภฏู าน ธิเบต
6. หลกั ธรรมสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนา
6.1 อริยสจั 4 : ความจรงิ อันประเสริฐ 4 ประการ *หัวใจแหงพระพุทธศาสนา*
1) ทกุ ข : ผล : คอื สภาวะทนไดยาก ทกุ ขท รมาน ไมส บายกายไมสบายใจ
2) สมุทยั : เหตุ : คือเหตแุ หง ทุกข อันไดแก ตณั หา (ความอยาก) นัน่ เอง
3) นโิ รธ : ผล : คือสภาวะดบั ทุกข หมดทุกข หรอื นพิ พาน น่นั เอง
4) มรรค : เหตุ : คือเหตุแหง ดับทกุ ข หรือ วิธีดับทกุ ข
*อริยสัจ 4 เปนหลกั ธรรมท่ีทาํ ใหพระพทุ ธศาสนาไดร บั การยกยอ งวา เปน ศาสนาท่ีมเี หตุมผี ลมากท่ีสดุ *
6.2 ขนั ธ 5 : องคประกอบแหงชีวิตมนุษย 5 ประการ คอื
1) รูป (รปู ธรรม) คอื รปู รา งรา งกายของมนุษยอันประกอบไปดว ยธาตุ 4 คอื
ดิน (เนอื้ หนงั มงั สา กระดกู ของรา งกายเรา) น้ํา (เลอื ด นํา้ หนอง นํ้าลาย ในรา งกาย)
ลม (แกสในรางกาย ในกระเพาะอาหาร) ไฟ (อณุ หภูมิความรอ นของรา งกาย)
2) เวทนา (นามธรรม) คอื ความรสู ึก มี 3 ประเภท คือ 1.รสู ึกสขุ , 2.รสู ึกทกุ ข, 3.รูส กึ เฉยๆ
3) สญั ญา (นามธรรม) คอื ความจําไดห มายรู กําหนดรสู ่ิงตา งๆ ไดโ ดยไมห ลงลมื
4) สังขาร (นามธรรม) คอื ความคิด ทจี่ ะปรงุ แตงจิตใหกระทําสงิ่ ตา ง ๆ
5) วญิ ญาณ (นามธรรม) คอื อารมณก ารรับรูของจิต ผานทางชอ งทางการรบั รทู งั้ 6
(อายตนะ 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ) ไมใชภูตผิ ปี ศาจใดใดทง้ั สิน้
6.3 ไตรสกิ ขาหรือมรรค 8 ประการ : การฝก ฝนอบรมตนเอง 3 ข้นั ซึง่ จะตรงกบั มรรค 8
1) ศลี สกิ ขา : การอบรมกาย วาจา ใหสงบเรียบรอ ย เปน ปรกติ ไดแก

- สมั มากมั มันตะ คือ กระทาํ ชอบ ทําแตค วามดี ทาํ แตส ง่ิ ที่สุจรติ
- สมั มาวาจา คอื วาจาชอบ พดู ชอบ พดู แตสิง่ ดี ๆ

1

- สมั มาอาชีวะ คือ เลี้ยงชพี ชอบ ประกอบอาชีพสจุ รติ
2) สมาธสิ ิกขาหรอื จิตสกิ ขา : การอบรมจิต ใหส งบเรียบรอย เปน ปรกติ ไดแ ก

- สมั มาสมาธิ คอื จิตต้ังม่ันชอบ จิตสงบไมฟงุ ซาน
- สัมมาสติ คือ ระลกึ รูตวั ชอบ ไมหลงใหล
- สัมมาวายามะ คอื เพยี รระวังตนชอบ ไมใ หทาํ ความชว่ั และหมน่ั รกั ษาความดี
3) ปญญาสิกขา : การอบรมปญ ญา ใหเกิดความรูแ จง ไดแ ก

- สมั มาสงั กปั ปะ คอื คิดชอบ คิดแตส่ิงดีสจุ ริต
- สัมมาทิฏฐิ คือ มีความเห็นชอบ มีความคิดเห็นถูกตองตามทํานองคลองธรรมของหลักศาสนาพุทธ เชน เชื่อในอริยสัจ 4
เชื่อในกฎแหง กรรมวา ทําดไี ดด ี ทําชว่ั ไดชัว่ เช่อื ในสงั สารวฏั การเวยี นวา ยตายเกิด

*ไตรสิกขาพฒั นามาจากอริยมรรค ๘ ถอื เปน หลักธรรมเรื่องเดยี วกัน*
6.4 ไตรลกั ษณ (สามญั ญลักษณ) : ลักษณะสามญั ของสรรพสิ่งทัง้ หลายบนโลกทง้ั มชี ีวิต และไมม ีชวี ิตจะเปนไปตามกฎ 3 ประการนี้ คอื

1) อนิจจัง : สรรพสงิ่ ลวนไมเท่ยี งแทไ มแ นน อน ลวนตอ งมกี ารเปลยี่ นแปลง
2) ทกุ ขงั : สรรพสงิ่ ลว นทนไดยาก เปน ทุกขท รมาน
3) อนัตตา : สรรพสงิ่ ลว นไมมีตวั ตน เราควบคุมมนั ไมไ ด
*อนตั ตาเปนเอกลกั ษณเฉพาะของพุทธและตรงขา มกับอาตมนั (อัตตา) ของศาสนาพราหมณ - ฮินดมู ากทีส่ ดุ *
6.5 โอวาทปาฏโิ มกข : หลักธรรมสําคัญอีกประการหน่ึงในพระพุทธศาสนา ซ่ึงพระพุทธเจาไดทรงเทศนาในวันมาฆบูชา (วันเพ็ญขึ้น 15

คํา่ เดอื น 3)

1) ทาํ แตความดี
2) ละเวน ความชว่ั
3) ทําจติ ใหบ รสิ ุทธผ องใส
6.6 พรหมวิหาร 4 : ธรรมสําหรบั ผเู ปนพรหม หรือผูเปน ใหญเปนโตเปนทพี่ ่ึงพิงของผอู ่นื

1) เมตตา : ปรารถนาใหผ ูอ่ืนมีสุข
2) กรณุ า : ปรารถนาใหผ อู น่ื พนทุกข
3) มทุ ิตา : ยินดเี มอ่ื ผอู นื่ มสี ุข
4) อุเบกขา : วางเฉยเสีย ไมย นิ ดยี นิ รา ย
6.7 โยนโิ สมนสกิ าร

7. เปา หมายชีวติ สูงสดุ ของพระพุทธศาสนา คือ พระนพิ พาน (สภาวะดบั ทุกข ดบั กเิ ลส)

2

เร่ืองท่ี 2 : สรุปยอ เนื้อหาศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู
1. ประเภทพหุเทวนิยม นับถือพระเจาหลายองค เชน พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม พระอุมา พระลักษมี พระสุรัสวดี พระพิฆเณศร พระราม
จนั ทร พระกฤษณะ พระอินทร พระอัคนี พระคงคา และอีกมากมาย
2. พระเจา : มสี ูงสดุ 3 พระองค (ตรมี ูรติ) คอื พระศวิ ะ พระวษิ ณุ พระพรหม
3. ศาสดา : ไมม ี
4. คัมภรี  : คมั ภีรพ ระเวท แบงเปน 4 เลม คอื ฤคเวท ยชรุ เวท ไตรเวท อาถรรพเวท
5. นกิ าย : มี 3 นิกายสาํ คญั คอื

5.1 นิกายไศวะ : นับถือพระศวิ ะ(พระอศิ วร) เปน พระเจา สงู สุดในตรมี ูรติ และนยิ มบูชาศิวลงึ คเ ปน สัญลกั ษณแทนองคพ ระศวิ ะ
5.2 นิกายไวษณพ : นับถือพระวิษณุ(พระนารายณ) เปนพระเจาสูงสุดในตรีมูรติ และนิยมบูชาองคอวตารปางตาง ๆ ของ พระวิษณุ
ท่อี วตารลงมาปราบอสรู เชน พระรามจนั ทร พระกฤษณะ
5.3 นิกายศักติ : นับถือพระชายาของพระเจาองคตางๆ วาทรงไวซ่ึงศักติ (พลังหรืออํานาจ) แหงพระสวามแี ละมนุษยสามารถเขาถึง
ไดงา ยกวา ขอพรไดง ายกวา ศักติหรอื พระชายาพระเจา ทีเ่ ปนที่
นบั ถอื เชน

- พระอุมา ชายาของพระศวิ ะ ซง่ึ มอี ทิ ธิฤทธ์ิ สามารถอวตารเปน พระนางทรุ คา พระนางกาลเี พอ่ื ไปปราบอสรู
- พระลกั ษมี ชายาของพระวิษณุ (ไดร ับยกยองวาเปน เทพเจาแหงโชคลาภ)
- พระสุรัสวดี ชายาของพระพรหม (ไดรับยกยองวาเปนเทพเจาแหงอักษรศาสตรและศิลปะวิทยาการตางๆ เพราะเปนผู
ประดษิ ฐตัวอกั ษรเทวนาครี)
*ปจ จบุ ันในประเทศอนิ เดีย ไมน ยิ มบชู าพระพรหม จงึ ไมม ีนกิ ายพรหม*
6. หลกั ธรรมสาํ คญั :
6.1 หลักปรมาตมนั - อาตมนั และ โมกษะ ถอื เปน หลักธรรมชัน้ สูงของศาสนาพราหมณฮ ินดู
1. ปรมาตมัน คอื วิญญาณสงู สุดหรือพระเจาสงู สุด ซงึ่ เปนตนกาํ เนดิ ของชวี ิต
2. อาตมนั คือ วญิ ญาณยอ ย อนั เปน อมตะไมมวี นั แตกดบั อยใู นรางกายมนษุ ย
เวลามนษุ ยต ายจะตายแตเ พียงรางกาย แตอาตมัน จะเปน อมตะไมม ีวนั แตกดบั ซึง่ อาตมัน
จะเวยี นวา ยตายเกิดไปเรือ่ ยๆ จนกวาจะบรรลุโมกษะ
3. โมกษะ คือ สภาวะแหงการหลุดพน อาตมันของมนุษยแตละคน จะไดกลับไปรวมกับปรมาตมันและไมตองเวียนวาย
ตายเกดิ อกี เลย
6.2 หลกั ตรีมูรติ : พระเจาสูงสุดมี 3 พระองค และตางทําหนาทตี่ อโลกตางกนั ไป คือ
1. พระพรหม หนาที่สรางโลกสรางมนุษย ชาวฮินดูเชื่อวาเมื่อพระพรหมสรางโลกแลว จะนอนหลับพักผอนช่ัวกัปช่ัวกัลป
ช่ัวอายุขัยของโลก และจะตื่นขึ้นมาใหมเพื่อสรางโลกสรางมนุษย เมื่อโลกและมนุษยหมดอายุขัยถูกทําลายลางแลว (ทําใหชาวฮินดูใน
ประเทศอนิ เดียไมนยิ มบชู าพระพรหม แตจ ะนยิ มบชู าพระศิวะและพระวษิ ณุมากกวา )
2. พระศิวะ (พระอิศวร) หนาที่ทําลายโลก ดวย “ตรีเนตร” ดวงตาที่สามของพระศิวะ ซึ่งสถิตอยูกลางหนาผากของพระ
ศิวะ
3. พระวิษณุ (พระนารายณ) หนา ที่คุมครองโลก ดว ยการอวตาร
6.3 หลกั อาศรม ๔ : วยั แหงชีวติ 4 วยั ซึ่งแตล ะวยั จะมหี นา ท่ีเฉพาะของวัยตนเอง
1. พรหมจารี : วยั เด็ก หนา ท่คี อื เรียนหนังสือหาความรู และศึกษาเลา เรยี นคัมภีรพระเวท เพ่ือจะไดน ําความรูไปใชทาํ งาน
หาเลี้ยงตนเองและครอบครวั ตอ ไป
2. คฤหัสถ : วัยผูใหญ หนาท่ีคือ ครองเรือน แตงงานมีครอบครัวสืบทอดวงศตระกูล และทํางานหาเลี้ยงครอบครัวให
สมบูรณ
3. วานปรัสถ : วัยกลางคน หนาที่คือ ทํางานชวยเหลือสังคมชวยเหลือผูอ่ืนในสังคม และหม่ันปฏิบัติธรรมใหมากขึ้น เพื่อ
เตรยี มเขาสูอาศรมสดุ ทา ยของชวี ติ
4. สนั ยาสี : วยั ชรา หนา ที่คอื ออกบวชสละชีวติ ทางโลก ไปอยตู ามปาตามเขา บาํ เพ็ญตบะโยคะ เพื่อแสวงหาโมกษะ

3

6.4 หลักวรรณะ ๔ : มนุษยมี 4 ชนช้ันเพราะเกิดจากพระพรหมสรางข้ึนมาจากอวัยวะของพระพรหมที่แตกตางกันดังน้ันจึงมีอาชีพที่
ตางกัน

1. วรรณะพราหมณ เกดิ จาก ปาก ของพระพรหม, อาชพี คือ เปนนกั บวช
2. วรรณะกษัตรยิ  เกิดจาก มอื ของพระพรหม , อาชีพคอื เปนนักรบนักปกครอง
3. วรรณะไวศยะ(แพศย) เกิดจาก หนาทอ ง ของพระพรหม , อาชีพคือ เปน พอ คาวานิชและเกษตรกรชาวไรชาวนา
4. วรรณะศูทร เกิดจาก เทา ของพระพรหม, อาชีพคอื เปนกรรมกรผใู ชแ รงงาน คอยทาํ งานรับใช วรรณะทง้ั 3
*จณั ฑาล คอื คนทไี่ มม วี รรณะ ตํ่าตอ ยและเปน ที่รงั เกียจที่สดุ ในสงั คมฮินดู
เกิดจากพอ แมท ่ีแตงงานขามวรรณะ โดยเฉพาะแมเปนวรรณะพราหมณ พอเปนวรรณะศูทร*
7. เปา หมายชีวติ ของศาสนาฮนิ ดู : โมกษะ

เรอ่ื งที่ 3 : สรุปยอเนอ้ื หาศาสนาคริสต
1. ประเภทเอกเทวนิยม นบั ถอื พระเจา องคเดียว
2. พระเจา : พระยะโฮวา (และนับถอื รวมไปถงึ พระเยซคู รสิ ตว าเปน ภาคหน่งึ ของพระเจาดว ย)
3. ศาสดา : พระเยซูครสิ ต *เปน ทั้งศาสดาและภาคหน่ึงของพระเจา *
4. คัมภีร : คัมภีรไ บเบลิ ซงึ่ แบงออกเปน 2 ภาค คือ

1) ภาคพันธสัญญาเดิม เปนคัมภีรสําคัญของศาสนายูดาย (หรือศาสนายิว)ดวย วาดวยเร่ืองพระเจาสรางโลกและสรางมนุษยคูแรก
(อาดัมและเอวา) เรอ่ื งโนอาตอเรือหนีนํ้าทวมโลก เรอ่ื งโมเสสนาํ ชาวยวิ อพยพออกจากอียปิ ต

2) ภาคพันธสัญญาใหม เปนคําสอนของพระเยซู โดยเฉพาะ วาดวยเรื่องความรักของพระเจาตอมนุษย และสอนใหมนุษยรักซ่ึงกันและ
กัน ใหอ ภยั ตอกนั และกนั
5. นิกาย : มี 3 นิกายสําคญั
5.1 นกิ ายโรมนั คาธอลิค (คนไทยเรยี ก “ครสิ ตัง”)

1. นับถือพระสนั ตะปาปา (Pope) เปนประมุขของครสิ ตจกั ร และมีนักบวช (เชน บาทหลวง บราเดอร, ซิสเตอร)
2. เนนบูชาสวดมนตต อแมพ ระมารอี า และตอ บรรดานักบุญ (Saint) ทง้ั หลาย
3. มีพธิ กี รรมหรหู ราหลายขนั้ ตอน โบสถตกแตงสวยงามหรหู รา และยอมรับปฏบิ ตั ติ ามศลี 7 ประเภท
(คอื 1.ศีลลางบาป 2.ศีลมหาสนิท 3.ศลี แกบาป 4.ศลี กําลัง 5.ศีลเจิมคนปว ย 6.ศลี สมรส และ 7.ศีลบวช)
4. ไมก างเขนมีองคพ ระเยซูตรึงอยูก ลางไมกางเขน
5. แพรหลายในยโุ รปใต เชน ฝรงั่ เศส อติ าลี สเปน โปรตเุ กส และในทวีปอเมริกาใต เชน บราซลิ อารเจนตินา
5.2 นิกายโปรแตสแตนท (คนไทยเรียก “คริสเตยี น”)
1. ไมม ีนกั บวช (มแี ต ศาสนจารย) และไมนับถอื พระสันตะปาปา (Pope) เปนประมุข
2. ไมบชู านบั ถือแมพ ระมารอี า ไมนับถือนกั บญุ (Saint) *บูชานบั ถอื เฉพาะแตพ ระเยซูครสิ ตเทาน้ัน*
3. เนนพธิ กี รรมที่เรียบงา ย โบสถตกแตงเรียบงาย และยอมรับปฏิบัติตามศีลเพียงแค 2 ประเภทเทาน้ัน คือ 1. ศีลลางบาป (หรือศีลจุม)
และ 2. ศลี มหาสนิท (พิธีกนิ ขนมปงและดม่ื ไวน)
4. ไมกางเขนไมม อี งคพ ระเยซูตรงึ อยกู ลางไมก างเขน เปนไมก างเขนเปลา ๆ
5. แพรหลายในยโุ รปตะวันตกและยโุ รปเหนือ เชน อังกฤษ เดนมารก เนเธอรแลนด เยอรมนั และสหรฐั อเมรกิ า ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด
5.3 นิกายออรโ ธดอกซ
1. มีนักบวช แตไมนับถือพระสันตะปาปา (Pope) เปนประมุข (ในแตละประเทศจะมีพระสังฆราชที่เรียกวา “Pratriach” เปนประมุข
ประเทศใครประเทศมนั )
2. เนน บชู านับถือแมพ ระมารอี าและนักบุญทงั้ หลาย
3. มพี ธิ ีกรรมหรหู รา หลายขนั้ ตอน
4. แพรห ลายในยุโรปตะวนั ออก เชน รสั เซยี กรีก โรมาเนยี (ไมแ พรห ลายในไทย)

4

6. หลกั ธรรมสําคญั :
6.1 หลักความรัก *หัวใจแหง ศาสนาครสิ ต* มี 2 ระดบั คือ

1. ระดบั สงู : ความรักระหวางพระเจาตอ มนุษย (พระเจา ทรงรักมนุษยมาก)
2. ระดับลาง : ความรกั ระหวางมนุษยต อมนุษยด ว ยกนั เอง มนษุ ยตอ งรกั กนั เพราะเปนพีน่ องกนั
ทัง้ โลก (เพราะมนุษยเกิดจากบรรพบรุ ุษรว มกันคือ อาดมั และเอวา)
6.2 หลกั ตรเี อกานภุ าพ (Trinity) เชอื่ วาพระเจา สงู สุดมีเพยี งองคเดยี ว แตไ ดทรงแบงภาคออกเปน 3 ภาค คอื
1. พระบิดา คือ พระยะโฮวา ซึง่ เปนพระผูสถติ อยใู นสรวงสวรรค เปน ผสู รา งโลก สรางมนุษย
2. พระบตุ ร คือ พระเยซูครสิ ต ซง่ึ เสดจ็ ลงมาเกดิ ในโลกมนษุ ย เพอ่ื ไถบ าปใหก ับมนษุ ย
3. พระจติ (พระวิญญาณบริสทุ ธิ์) คอื ภาคของพระเจา ซง่ึ สถิตอยใู นทกุ ท่ี
6.3 หลักอาณาจกั รพระเจา มี 2 ระดับ
1. ระดบั โลกนี้ ซ่ึงมนษุ ยส ามารถเขาถงึ ไดในชาตนิ ี้ คือ โบสถหรอื คริสตจกั ร นน่ั เอง
2. ระดบั โลกหนา ซ่ึงมนุษยจะเขาถึงไดในโลกหลังความตาย คือ สวรรคของพระเจา ที่ซ่ีงมนุษยจะมีชีวิตเปนนิรันดร มีแตความสุข และ
ไมต องตายอกี เลย
*ศาสนาครสิ ตไ มเชอ่ื เร่ืองการเวียนตายเกิด ไมมีชาติทีแ่ ลว ไมม ชี าตหิ นา มนุษยเ กดิ หนเดยี วตายหนเดยี ว*
6.4 หลกั บาปกําเนิด
1. มนุษยมีบาปกําเนิดติดตัว บาปนี้สืบทอดมาจากบรรพบุรุษคูแรกของมนุษยคือ อาดัมและเอวา ที่ไดทําบาปครั้งแรกเอาไว คือขโมย
ผลไมศ กั ดิ์สิทธ์ิของพระเจามากนิ
2. ชาวครสิ ตทุกคนทุกนิกาย จึงตอ งรับศีลลา งบาป (ศลี จมุ ) เพ่ือลางบาปกําเนดิ เปนศลี แรกของชวี ติ
7. เปา หมายชีวิตของศาสนาคริสต : อาณาจกั รพระเจา, การไดมีชวี ติ นริ นั ดรอยูใ นอาณาจักรพระเจา

เรอื่ งที่ 4 : สรุปยอ เนือ้ หาศาสนาอิสลาม
1. ประเภทเอกเทวนิยม นับถือพระเจาองคเ ดียว
*ศาสนาอิสลามเปนศาสนาที่ไมม นี กั บวช และไมม รี ูปเคารพ ไมม ีเครอื่ งรางของขลงั ใดใด*
2. พระเจา : พระอลั ลอฮ
3. ศาสดา : นบมี ูฮมั หมัด
4. คมั ภีร : คัมภีรอ ัลกรุ อาน
5. นิกาย : มี 3 นกิ ายสาํ คญั
5.1 นกิ ายซุนนี

1. ยึดมัน่ และปฏิบัตติ ามจารตี การดําเนินชีวิต (ซนุ นะ) ของนบมี ฮู ัมหมัดอยา งเครง ครัด
2. ยอมรับผูนําศาสนาวามีแค 4 คน หลังจากนบมี ฮู มั หมัดส้ินพระชนม
(คือ 1. ทา นอบบู กั ร, 2. ทา นอมุ รั , 3. ทา นอุสมาน และ 4. ทา นอาลี)
3. แพรห ลายมากทีส่ ุด มุสลิมสวนใหญท ว่ั โลกนบั ถอื นกิ ายน้ี (รวมถงึ มสุ ลมิ ในไทยสว นใหญ กน็ ับถือนิกายนด้ี วย)
5.2 นิกายชีอะห
1. นับถอื ทา นอาลีและลูกหลานของทานอาลี วาเปนผนู าํ ศาสนาท่ถี กู ตอง (เพราะทานอาลีเปนทั้ง
บุตรบญุ ธรรมและบุตรเขยของนบีมฮู ัมหมัด)
2. แพรหลายใน อหิ รา น อิรกั เยเมน
5.3 นกิ ายวาฮาบยี 
1. เปน นกิ ายใหมล า สุดในศาสนาอิสลาม
2. เนนความสาํ คญั และความศักด์สิ ิทธ์ขิ องคัมภีรอัลกรุ อาน มาก ๆ คอื หามตคี วามและหา มแกไขคัมภรี อัลกรุ อาน
3. แพรห ลายใน ซาอดุ อี าระเบีย คเู วต เปนตน

5

6. หลักธรรมสําคญั :
6.1 หลักศรทั ธา ๖ ประการ มสุ ลิมตองศรัทธาใน 6 ส่ิงนวี้ า มีจรงิ

1. ศรทั ธาใน พระอัลลอฮ วามจี ริง และทรงเปน พระเจาสูงสุดแตเพยี งองคเดยี ว
2. ศรัทธาใน ศาสดา(นบหี รือรอซลู ) ท้งั หลาย ซ่งึ มีหลายทา น เชน นบอี าดมั นบอี ิบรอฮีม (อับบราฮมั ) นบีมซู า(โมเสส) นบีอีซา(พระเยซู)
และนบมี ฮู ัมหมัด ซง่ึ เปน นบีคนสดุ ทา ย
3. ศรัทธาใน คัมภีร ท้ังหลาย ซ่งึ มีหลายเลม เชน พระคัมภีรเดมิ ของศาสนายดู าย พระคมั ภีรไบเบลิ ของศาสนาคริสต และพระคัมภีรอัล
กรุ อาน ซึ่งเปนคัมภีรส ดุ ทา ยทพี่ ระอัลลอฮ ประทานใหมนุษย
4. ศรัทธาใน เทวฑูต(มลาอกี ะห) ซ่งึ เปนเทพบรวิ ารของพระอัลลอฮ
5. ศรัทธาใน วันพิพากษาโลก(วันกียามะห) ซึ่งเปนวันสุดทายของโลกและมนุษย ท่ีพระอัลลอฮ จะทรงพิพากษาการกระทําของมนุษย
ทั้งหลาย
6. ศรัทธาใน กฎสภาวะแหงพระอัลลอฮ ซ่ึงไดทรงกําหนดไวใหมนุษยยอมรับกฎเหลานี้ เชน กฎธรรมชาติที่โลกจะตองมีฤดูกาลตาง ๆ
หรอื กฎแหง กรรม ถาทาํ ดี พระอลั ลอฮ จะทรงอวยพรให แตถา ทาํ ช่ัว
พระอลั ลอฮ จะทรงลงโทษ
6.2 หลักปฏบิ ัติ ๕ ประการ มสุ ลิมตองปฏิบตั ิใน 5 สิ่งน้ี อยา งเครง ครัด คอื
1. การปฏญิ าณตน มสุ ลมิ จะตอ งปฏญิ าณตนวา มพี ระอลั ลอฮ เปนพระเจา สูงสุดแตเพียงองคเดียว
2. การละหมาด คอื การนมัสการและแสดงความนอบนอมตอพระอลั ลอฮ ซ่ึงมุสลิมทเ่ี ครงครัดและมเี วลาจะละหมาดวนั ละ 5 ครงั้
3. การถือศลี อด ในเดอื นศกั ดิ์สิทธิข์ องชาวมุสลมิ ท่ัวโลก คือเดือนรอมฎอน โดยมสุ ลมิ จะอดอาหาร และนา้ํ ในเวลาพระอาทิตยข้ึนยันพระ
อาทติ ยตกดนิ เพ่ือฝก ใหรูจักรสชาติความอดอยากหิวโหย และจะไดช วยเหลอื คนยากจน
4. การบริจาคซะกาต เพอ่ื ใหค นรวยไดชว ยเหลอื คนยากจน
5. การประกอบพิธฮี ัจญ ณ นครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบีย หลักปฏิบัตินี้เปนหลักปฏิบัติท่ีเครงครัดนอยที่สุด เพราะไมตองทําทุกคน
ใหท าํ ไดเ ฉพาะมุสลมิ ทม่ี ีความพรอ มเทา นั้น
*ศาสนาอสิ ลามไมเ ช่ือเรอื่ งการเวียนตายเกดิ ไมมีชาตทิ ่แี ลว ไมม ชี าตหิ นา มนุษยเกิดหนเดยี วตายหนเดยี ว*
7. เปา หมายชวี ติ ของศาสนาอสิ ลาม : การเขาถงึ พระอลั ลอฮ

6

สรปุ ยอเนอ้ื หา สาระการเรียนรูท่ี 2 : หนาทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชวี ติ ในสงั คม

หนว ยการเรียนรูที่ 1 : สรุปยอ เน้อื หาความรเู บอื้ งตน เกยี่ วกบั การเมืองการปกครอง
เรอ่ื งท่ี 1 : ความรูเบื้องตน เกี่ยวกบั รฐั

1. รัฐ (state) คอื ดนิ แดนทมี่ คี นมาอาศัยอยรู วมกนั โดยตองมีองคป ระกอบ 4 ประการ คอื
1. ประชาชน หรือ ประชากร จํานวนหนง่ึ จะมากหรือนอยก็ได และมีหลายเชอื้ ชาตไิ ด
2. อาณาเขต ตอ งกําหนดใหชดั เจนแนนอน ปกปน เขตแดนใหแนน อน
3. รัฐบาล คือ คณะผูบริหารปกครองดินแดนน้ัน ซ่ึงจะมาจากการเลือกตั้ง (ระบอบประชาธิปไตย) หรือ มาจากคณะทหาร (ระบอบ
เผดจ็ การทหาร) หรือ มาจากกษตั รยิ  (ระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย) กไ็ ด ขึน้ อยกู บั ระบอบการเมืองของรฐั นั้น
4. อาํ นาจอธปิ ไตย คือ อํานาจสงู สุดในการปกครองรฐั ของตนเอง โดยไมตกเปนเมืองขน้ึ
*อํานาจอธปิ ไตย กค็ ือ เอกราช นน่ั เอง*
2. ประเภทของรฐั แบง ได 2 ประเภท
1. รฐั เด่ยี ว : มีรัฐบาลแหงเดียว
1) ตง้ั อยูท ่เี มอื งหลวงของประเทศ
2) ไมม ีรัฐบาลประจําอยตู ามทอ งถิน่ หรอื ตามมลรัฐตา ง ๆ
3) ตัวอยา งประเทศท่ีเปนรัฐเดี่ยวเชน ไทย กมั พชู า ลาว เวียดนาม ญีป่ ุน อังกฤษ ฝรง่ั เศส
*ประเทศสว นใหญในโลก จะเปน รัฐเดี่ยว*
2. รัฐรวม : มีรฐั บาล 2 ระดบั 2 รูปแบบ คอื
1) รัฐบาลกลาง : จะบรหิ ารงานในเร่อื งสําคัญ ๆ ของท้งั ประเทศ เชน งานทหาร งานการฑูต
งานการคลงั เปนตน
2) รฐั บาลทอ งถนิ่ หรอื รัฐบาลมลรฐั : จะบรหิ ารงานในเรอื่ งเลก็ ๆ นอยๆ ภายในทอ งถิ่น เชน
งานเก็บกวาดขยะรกั ษาความสะอาดภายในทองถิ่น งานสาธารณสุข งานอนามยั งานการศกึ ษาเปน ตน
3) ตัวอยางประเทศทเ่ี ปน รัฐรวม เชน สหรัฐอเมรกิ า แคนาดา มาเลเซีย
เรอื่ งท่ี 2 : ระบอบการเมอื งท่ีสาํ คัญของโลก
มี 2 ประเภท คอื
1. ระบบประชาธิปไตย เปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพอื่ ประชาชน
1.1 หลักการสําคญั ของระบอบประชาธปิ ไตย คือ
1. หลกั การอาํ นาจอธิปไตยเปนของประชาชน ถือเปน หัวใจสําคญั ของระบอบประชาธปิ ไตย
2. หลกั การสิทธิเสรีภาพ : ประชาชนตอ งมสี ิทธิเสรีภาพขัน้ พ้นื ฐาน เชน

1) สทิ ธิในชีวติ รางกายและทรัพยส นิ ของตนเอง
2) สิทธิในการรบั บริการขน้ั พ้ืนฐานจากรฐั
3) เสรีภาพในการนับถอื ศาสนา
4) เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็น
5) เสรภี าพในการชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ
6) เสรภี าพในการรวมตวั กนั เปน สมาคม สหภาพ สหพนั ธ สหกรณ องคก ารเอกชน
3. หลักการความเสมอภาค โดยเฉพาะเสมอภาคในทางกฎหมาย
4. หลักการยอมรับเสียงขา งมาก แตไ มล ะเลยเสยี งขา งนอ ย
5. หลักการเหตุผล คือเนน ใชเ หตุผลและความสงบ
6. หลกั การนิติธรรม คือกฎหมายสําคญั ทส่ี ดุ ทกุ คนตองอยภู ายใตก ฎหมายเดียวกนั
1.2 การมีสวนรวมของประชาชน : ตามระบอบประชาธิปไตย ประชาชนตองมีสวนรวมในการปกครองได โดยประชาชนสามารถเขามามีสวนรวม
ได 4 วธิ ี คอื
1) มีสว นรว มในการเลือกตัง้
2) มีสว นรวมในพรรคการเมอื ง
3) มสี ว นรวมในการแสดงความคดิ เห็น
4) มสี วนรวมในการจัดตั้งกลมุ ผลประโยชน

7

1.3 ประเภทของระบอบประชาธปิ ไตย แบงได 3 ประเภท
1. แบบรัฐสภา (แบบอังกฤษ) : ลักษณะเดน คือ

1) แบบรวมอาํ นาจ คอื อํานาจสงู สดุ อยทู ี่ สภา และสภากบั รฐั บาลทํางานใกลชดิ กนั
2) นายกรฐั มนตรีมาจากสภา โดยสภาเปน ผเู ลอื ก คือ ประชาชนเลอื ก ส.ส. แลว ส.ส. เลอื กนายก
(ไมม ีการเลือกตง้ั ตาํ แหนงนายกโดยตรง) และนายกเปนหัวหนา รฐั บาล ทาํ หนา ที่บรหิ ารประเทศ
3) การทํางาน : นายกและรัฐบาลบริหารประเทศภายใตความไววางใจของสภา และสภาควบคุมการทํางานของนายกและรัฐบาล เชน
ตรวจสอบรัฐบาลได ตั้งกระทถู ามรฐั บาลได
4) การถวงดลุ อํานาจระหวางสภากับรฐั บาล :

- สภาลงมติไมไ วว างใจนายกและรัฐบาล ได
- นายกยุบสภา ได (เฉพาะ ส.ส.)
5) ประเทศท่ีมีกษัตริยเปนประมุขมักใชระบอบนี้ เชน อังกฤษ ไทย ญี่ปุน มาเลเซีย กัมพูชา นอรเวย สวีเดน เดนมารก เนเธอรแลนด
เบลเยย่ี ม สเปน แคนาดา ออสเตรเลยี นวิ ซีแลนด
6) แตกม็ บี างประเทศท่มี ปี ระธานาธบิ ดีเปน ประมุขและใชระบอบน้ี เชน สิงคโปร อินเดีย เยอรมนั อิตาลี
*ขอ สงั เกต ประชาธิปไตยแบบน้ตี ําแหนงประมขุ (ไมว า จะเปน พระมหากษัตรยิ ห รือประธานาธบิ ดี) จะไมม ี
อาํ นาจบรหิ ารประเทศ จะดาํ รงตําแหนง เปน ประมขุ ของประเทศเพียงอยา งเดยี ว
*ผมู อี าํ นาจบริหารประเทศคอื นายกรัฐมนตร*ี
2. แบบประธานาธิบดี (แบบสหรฐั อเมริกา) : ลักษณะเดน คอื
1) แบบแบงแยกอํานาจ คือมีการแบงแยกอํานาจหนาท่ีอยางชัดเจนระหวางสภากับประธานาธิบดี คือ สภา ออกกฎหมาย สวน
ประธานาธิบดีบรหิ ารประเทศ
2) ประธานาธบิ ดีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ทําหนาท่ีบริหารประเทศและประธานาธิบดีจะ เปนท้ังประมุขของประเทศ
และเปน หวั หนารฐั บาลดว ย
3) การทํางาน : แบงแยกอํานาจระหวางประธานาธิบดกี ับสภา คือตา งฝา ยตา งทํางาน
- ประธานาธบิ ดที าํ หนา ที่บรหิ ารประเทศ
- สภาทาํ หนาท่ีนิตบิ ัญญตั ิ (ออกกฎหมาย)
4) การถว งดุลอํานาจ :
- สภาลงมติไมไ วว างใจประธานาธิบดี ไมไ ด
- ประธานาธิบดยี ุบสภา ไมไ ด
- แตก ็ถวงดลุ กนั ไดบา งเชน สภาออกกฎหมายแตป ระธานาธิบดเี ปน ผลู งนามประกาศใชกฎหมาย (ดังน้ันประธานาธิบดีจึงมี
สิทธวิ ีโตก ฎหมายได)
5) ประเทศท่ใี ชร ะบอบนี้ เชน USA ฟล ปิ ปนส อนิ โดนเี ซีย เม็กซิโก
*ขอ สังเกต ประชาธปิ ไตยแบบนีจ้ ะไมม ตี ําแหนงนายก*
3. แบบก่ึงประธานาธบิ ดกี ง่ึ รัฐสภา (แบบฝร่งั เศส) : ลกั ษณะเดนคือ
1) แบบผสมกนั ระหวา งองั กฤษกบั USA
2) มีทัง้ ประธานาธิบดแี ละนายกรัฐมนตรี แตป ระธานาธิบดจี ะมอี ํานาจมากกวา
3) ประธานาธิบดีมาจากการเลือกตง้ั โดยตรง แตน ายกมาจากการแตงตั้ง และนายกจะบรหิ าร
ประเทศ ภายใตค วามไววางใจของสภา
4) การทํางาน : ประธานาธิบดีและนายกจะบริหารประเทศรวมกัน แตประธานาธิบดีจะมีอํานาจมากกวา (นายกจะเปนเหมือนผูชวย
ประธานาธิบดี)
5) การถว งดุลอํานาจ :
- สภาลงมติไมไ ววางใจกับนายกได แตล งมตกิ บั ประธานาธบิ ดไี มไ ด
- ประธานาธบิ ดยี ุบสภา ได
6) ประเทศท่ีใชร ะบอบนี้ เชน ฝรั่งเศส รสั เซีย เกาหลีใต ไตหวนั
*ขอสังเกต ประชาธปิ ไตยแบบน้ีประธานาธบิ ดจี ะมอี ํานาจมากกวา นายก*

8

2. ระบบเผด็จการ
การปกครองทีไ่ มใหประชาชนมีสวนรว ม โดยอาํ นาจรัฐหรือรฐั บาลสาํ คญั ที่สดุ
(สาํ คญั กวาสิทธิเสรภี าพของประชาชนเสียอกี ) เผดจ็ การแบง ได 2 ประเภท ไดแก
1. เผด็จการอํานาจนยิ ม : ลักษณะเดน คือ

1) เนนควบคมุ ประชาชนเฉพาะอํานาจทางดา นการเมอื ง แตใ หเ สรภี าพดานเศรษฐกิจและดา นสงั คมวฒั นธรรม
2) ยอมใหม กี ารลงทุนได ใหม ีการเลอื กตง้ั ได ใหตง้ั พรรคการเมอื งได (แตไมเสร)ี
3) แตหามประชาชนประทวงรัฐบาล และหามวิพากษวิจารณรัฐบาล (ประชาชนตองเช่ือฟงและปฏิบัติตามคําส่ังของรัฐอยาง
เครงครัด)
4) พบในประเทศเผดจ็ การทหารทงั้ หลาย เชน ประเทศไทยในอดตี เกาหลใี ตในอดีต
2. เผด็จการเบด็ เสร็จนยิ ม : เนน ควบคุมประชาชนเบด็ เสรจ็ เด็ดขาดทั้ง 3 ดา น คือ การเมอื ง เศรษฐกิจ
และสังคมวฒั นธรรม โดยแบงยอ ยไดอกี 2 ประเภท คอื
1. เผดจ็ การฟาสซสิ ต : ลักษณะเดนคอื
1) เนน ผูนํารัฐทีเ่ ปน คนคนเดียว เชน

- อดอลฟ ฮติ เลอร ผนู าํ เยอรมนี
- เบเนต็ โต มุสโสลินี ผนู าํ อติ าลี
- ฮิเดกิ โตโจ ผูนําญป่ี ุน
- แปลก พิบูลสงคราม ผูนําไทย
2) บา ชาตนิ ิยม คลัง่ เช้ือชาติ รังเกียจชนชาตอิ ่ืน
3) สนบั สนนุ ทุนนยิ ม คอื ยอมใหม นี ายทุนนกั ธุรกจิ ได
4) ยกยองอาชพี ทหาร
5) ปจจบุ นั ถอื วา ไมมแี ลว เคยมีในอดตี สมยั สงครามโลกครั้งที่ 2 ในกลุม ประเทศฝายอกั ษะ เชน เยอรมนี อิตาลี ญป่ี นุ ไทย
2. เผดจ็ การคอมมวิ นิสต : ลักษณะเดนคือ
1) เนน พรรคคอมมิวนิสตวาสําคัญท่สี ดุ ไมเนนผูน ํารฐั ทีเ่ ปน คนคนเดยี ว
2) ไมเนนชาตินยิ ม
3) ตอตานทนุ นิยม สนับสนุนแนวคดิ สังคมนยิ ม
4) ยกยองอาชีพเกษตรกรและกรรมกร
5) พบในประเทศ เชน จีน เวยี ดนาม เกาหลีเหนือ คิวบา และประเทศลาว (ระวัง! ช่ือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แต
เปน คอมมวิ นิสต)
หนวยการเรียนรทู ี่ 2 : สรปุ ยอ เน้อื หาความรูเ บอื้ งตน เกีย่ วกับกฎหมาย
กฎหมาย คอื กฎหรอื ขอบังคับของรัฐซงึ่ กาํ หนดความประพฤตขิ องมนุษย ถา ฝาฝนจะไดรับผลรา ย
หรอื ถกู ลงโทษ
เร่อื งที่ 1 : ลักษณะของกฎหมาย
ประกอบดวย
1. ตองใชไดท่ัวไป กับทุกคนภายในประเทศ (ไมเวนแมแตชาวตางประเทศ เม่ือทําความผิดในประเทศไทยตองถูกลงโทษดวย
กฎหมายไทย)
2. ตอ งใชไดต ลอดไป ตลอดเวลาจนกวาจะยกเลกิ (ตราบใดถา ยังไมไ ดยกเลิก จะตองบังคบั ใชต ลอดเวลา)
3. ตองตราหรือบญั ญัติโดยผูมีอํานาจสูงสุดของประเทศ (รฏั ฐาธิปตย)
4. ตองควบคมุ การกระทาํ ของมนุษย (ไมรวมการกระทาํ ของสตั ว ถาสตั วทําผดิ สัตวไมผิด เจา ของสัตวตอ งรบั ผิดชอบแทน)
5. ตองมีสภาพบังคับทางกฎหมาย ในกรณีทม่ี คี นฝา ฝน กฎหมาย ซ่งึ จะแตต า งกัน คอื
1) ทางอาญา สภาพบังคบั คือ โทษ
2) ทางแพง สภาพบงั คับ คอื การชดใชค า เสยี หาย

9

เรอื่ งท่ี 2 : ระบบกฎหมายของโลก
แบง ออกเปน 2 ระบบ คือ
1. ระบบกฎหมายจารตี ประเพณี (Common Laws)

1) ไมไดบญั ญัตไิ วเปน ลายลักษณอ ักษร
2) แตจ ะใชจารีตประเพณี หรือคานยิ มความเชื่อของแตละทอ งถน่ิ รว มกบั ใชค ําพิพากษาของศาลในอดีต เปน กฎหมาย
3) ใชในประเทศ เชน อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นวิ ซแี ลนด
2. ระบบกฎหมายลายลกั ษณอ ักษร (Civil Laws) หรือระบบประมวลกฎหมาย
1) ตอ งบัญญตั ไิ วเปนลายลกั ษณอกั ษร และมกั มีการจัดทํา “ประมวลกฎหมาย” ขึน้ มาใชภ ายในประเทศ
2) ไมใชจ ารตี ประเพณี เปน กฎหมาย
3) ใชจ ารีตประเพณบี างเล็กนอยในบางกรณี เชน ใชใ นเกมสก ีฬาบางประเภท (ตอ ยมวยบนเวทมี วยไมผิดแตตอยนอกเวทีมวยเปน
ความผิด)
4) ใชใ นประเทศ จักรวรรดิโรมันโบราณ ฝรัง่ เศส เยอรมนี ไทย
เรื่องที่ 3 : ประเภทของกฎหมาย
1.1 กฎหมายที่ตองผา นความเห็นชอบดว ยการลงประชามติ มปี ระเภทเดียว คอื รัฐธรรมนญู
1.2 กฎหมายทต่ี ราโดยฝายนิตบิ ัญญตั ิ (รฐั สภา) เชน พระราชบญั ญตั ิ (+ประมวลกฎหมาย)
1.3 กฎหมายที่ตราโดยฝา ยบริหาร (รัฐบาล) เชน พระราชกาํ หนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง
1.4 กฎหมายที่ตราโดยฝายปกครองทองถ่ิน เชน ขอบัญญัติ กทม. ขอบัญญัติเมืองพัทยา ขอบัญญัติ อบจ. ขอบัญญัติ อบต. และ
เทศบญั ญตั ิ
1.5 กฎหมายมหาชน : รัฐกับเอกชน เชน รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและพาณิชย
1.6 กฎหมายเอกชน : เอกชนกบั เอกชน เชน กฎหมายครอบครวั กฎหมายมรดก กฎหมายแพงและพาณชิ ย
1.7 กฎหมายระหวา งประเทศ : รฐั ตอ รัฐ เชน สนธิสญั ญาทางการฑตู สนธสิ ญั ญาสงผูรายขา มแดน
เรอ่ื งท่ี 4 : กระบวนการยุติธรรมดานคดอี าญา ประกอบดวย
1. คูก รณี 2 ฝาย : โจทก - จาํ เลย
2. พนักงานปกครอง : ปราบปราม จับผกู ระทาํ ความผดิ ไดแก ตํารวจ ผูวาราชการจงั หวัด นายอําเภอ กํานนั ผใู หญบ า น
3. พนกั งานสอบสวน : สอบสวนหาพยานหลักฐาน ไดแ ก ตาํ รวจ
4. พนักงานอยั การ : เปน ทนายความของฝายผูเสยี หายหรอื โจทก( ฝา ยรัฐ) *ทนายความของแผน ดนิ *
5. ทนายความจาํ เลย
6. ศาลสถิตยุตธิ รรม มี 3 ระดับ คือ 1. ศาลชน้ั ตน 2. ศาลอุทธรณ 3. ศาลฎกี า
7. พนกั งานราชทัณฑ
8. พนกั งานคุมประพฤติ * กรณีรอลงอาญา *
เรือ่ งท่ี 5 : กระบวนการยุติธรรมดานคดีแพง ประกอบดว ย
1. คกู รณี 2 ฝาย : โจทก - จําเลย
2. ทนายความของท้งั 2 ฝา ย * ตอ งจัดหากันมาเอง * และพนกั งานอัยการ ในกรณีรัฐถกู ฟองคดีแพง
3. ศาลแพง
4. พนักงานบงั คบั คดี

10

สรุปยอ เน้ือหา สาระการเรียนรูท่ี 3 : เศรษฐศาสตร

1. เศรษฐศาสตร คอื วชิ าท่ีวา ดว ยการจดั สรรทรพั ยากร เพอ่ื แกปญ หาการขาดแคลน
2. เศรษฐศาสตร แบง ออกเปน 2 สาขา

1. เศรษฐศาสตรจลุ ภาค หรอื เศรษฐศาสตรภ าคทฤษฎีกลไกราคา (Micro economics) เนนศึกษากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ในหนวย
เล็กหรือหนวยยอย

2. เศรษฐศาตรมหภาค หรือ เศรษฐศาสตรภาคทฤษฎีรายไดประชาชาติ (Macro economics) เนนศึกษากิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ในหนวยใหญ ระดบั ประเทศหรอื ระดบั โลก
3. ระบอบเศรษฐกิจ ทสี่ าํ คัญของโลกมี 3 ระบอบ คือ
3.1 ระบอบทนุ นยิ ม แบง เปน 2 ประเภท คือ

3.1.1 ทนุ นิยมแบบบังคบั : หลกั การสาํ คัญคอื
1. รัฐบาลใหเ อกชนสะสมทุนได มีนายทนุ ได
2. เอกชนเปนเจาของปจ จัยการผลิตได
3. แตร ฐั บาลจะบังคบั เอกชนในการผลิตสนิ คาบางชนิด
4. มักพบในประเทศเผด็จการทหาร เชน ฟาสซิสตสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2, เผด็จการทหารในพมาหรือไทยยุคเผด็จ

การทหารในอดีต
3.1.2 ทนุ นยิ มแบบเสรี : หลกั การสาํ คญั คือ

1. รัฐบาลใหเ อกชนสะสมทนุ และคาขายแขงขนั ไดอ ยางเสรี
2. เอกชนเปน เจา ของปจ จยั การผลิตได
3. รัฐบาลเขา แทรกแซงนอ ยทส่ี ดุ
4. ใชกลไกราคามาก
5. พบในประเทศ เชน USA อังกฤษ ญ่ีปนุ ออสเตรเลีย แคนาดา
3.2 ระบอบสงั คมนยิ ม : หลกั การสําคัญ
1. เนน สังคมหรือประชาชน ใหอ ยดู ีกินดี
2. รัฐบาลเขา แทรกแซงมาก
3. รัฐบาลเปนเจา ของปจจยั การผลิต
4. เนนการกระจายรายไดใ หเ ปนธรรม
5. พบในประเทศคอมมวิ นสิ ตทั้งหลาย
3.3 ระบอบเศรษฐกจิ แบบผสม : หลกั การสาํ คญั
1. รัฐบาลใหเ อกชนสะสมทนุ และคา ขายแขงขนั ได
2. รฐั บาลจะลงทุนทาํ กิจการขนาดใหญ (กจิ การสาธาณปู โภค) แทนเอกชน * มรี ัฐวิสาหกจิ
3. รฐั บาลเกบ็ ภาษสี ูงและจดั สวสั ดิการใหประชาชน
4. เนน การกระจายรายไดใหเ ปนธรรม
5. พบในประเทศยโุ รปกลุม สแกนดิเนเวีย (นอรเ วย ฟน แลนด สวีเดน)
4. กิจกรรมทางเศรษฐกิจ มี 4 ประเภท
4.1 การผลติ คือ การนาํ ปจจยั การผลิตมาผา นกระบวนการผลติ จนไดเปน ตวั สินคาและบรกิ าร
- ปจ จยั การผลติ มี 4 ประเภท คือ 1.ท่ีดนิ , 2.แรงงาน, 3.ทนุ , 4.ผูประกอบการ
4.2 การบริโภค คือ การกินหรือใชส ินคา - บรกิ ารทไ่ี ดจากการผลิต
4.3 การแลกเปล่ียน คอื การนาํ สินคา - บริการชนิดหนึ่งมาแลกเปล่ยี นกับอกี ชนดิ
4.4 การกระจายหรอื การแบงสรร มี 2 ประเภท คอื
1. การกระจายรายไดคนื สูเ จา ของปจ จยั การผลติ
2. การกระจายสนิ คา-บรกิ ารจากผูผลติ ไปสูผูบริโภค

11

5. กลไกราคา (ทฤษฎอี ุปสงค - อุปทาน , กลไกตลาด )
- อปุ สงค Demand คือ ความตอ งการซื้อสนิ คา - บรกิ าร
- อปุ ทาน Supply คือ ความตอ งการขายสนิ คา -

5.1 กฎอุปสงค : ราคาสนิ คากาํ หนดอปุ สงค
1. เมื่อราคาสินคา เพ่มิ ขนึ้ อปุ สงคจะลดลง
2. เมอื่ ราคาสินคา ลดลง อปุ สงคจะเพ่ิมขน้ึ

5.2 กฎอุปทาน : ราคาสนิ คากาํ หนดอุปทาน
1. เมื่อราคาสนิ คา เพิม่ ขน้ึ อปุ ทานจะเพ่มิ ขึ้น
2. เมื่อราคาสินคาลดลง อปุ ทานจะลดลง

5.3 ดุลยภาพ : สภาพทอ่ี ปุ สงคเทากบั อปุ ทาน
- ราคาดุลยภาพ : ราคาสนิ คา ทสี่ มดุล
- ปรมิ าณดุลยภาพ : ปรมิ าณสนิ คาท่สี มดลุ

6. การวดั กิจกรรมทางเศรษฐกิจ : เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชวดั กิจกรรมทางเศรษฐกจิ คือ การคํานวณหาตัวเลข GDP และ GNP
1.GDP : ตัวเลขของมลู คาสนิ คา-บรกิ ารข้นั สดุ ทาย ที่ผลิตขึน้ ภายในประเทศในรอบ 1 ป
2.GNP : ตวั เลขของมลู คาสนิ คา-บริการขัน้ สุดทา ย ทผี่ ลิตขึ้นโดยใชทรัพยากร (หรือคน) ของประเทศ ในรอบ 1 ป

*จํางา ยๆ GDP (D คอื domestic) เนน อาณาเขตประเทศ
GNP (N คอื national) เนน คน หรอื เชอ้ื ชาต*ิ
7. การใชน โยบายการเงนิ การคลังเพอ่ื แกปญหาเงนิ เฟอ และเงินฝด

8. ดุลการชาํ ระเงนิ ระหวา งประเทศ คือ ตัวเลขท่ีแสดงฐานะทางการเงินของประเทศในรอบ 1 ป โดยดูไดจ าก 3 บัญชีสาํ คญั คอื
1. บัญชเี ดนิ สะพดั ประกอบดว ย 3 บญั ชียอย คือ

1. บัญชีการคา : บัญชที ีแ่ สดงรายการสนิ คา สงออกหักลบกับสนิ คา นําเขา
2. บัญชีบรกิ าร : บัญชที ีแ่ สดงรายการบริการสง ออกหักลบกบั บรกิ ารนาํ เขา
3. บัญชีบริจาคหรอื บญั ชเี งนิ โอน : บัญชที ่ีแสดงรายการเงินบรจิ าคท่ีโอนเขา ประเทศหักลบกบั ทโี่ อนออกจากประเทศ
2. บัญชีทุนเคล่อื นยาย : บญั ชีที่แสดงรายการทนุ ไหลเขาประเทศหักลบกบั ทนุ ไหลออกจากประเทศ
3. บัญชีทุนสาํ รองระหวา งประเทศ : บัญชที ่ีแสดงดลุ การชําเงินระหวางประเทศท้งั หมด
9. การเปลย่ี นแปลงอตั ราการแลกเปล่ียนเงนิ ตราระหวา งประเทศ มีผลดังนี้

12

สรุปยอ เน้ือหา สาระการเรยี นรูที่ 4 : ประวตั ศิ าสตร

ประวตั ศิ าสตรไ ทย
ดา นสงั คมวัฒนธรรม
1. สังคมไทยเปนสงั คมในระบบศกั ดนิ า คอื มีการแบงชนช้ัน โดยใชศักดนิ าเปน ตัวบอกชนช้ัน แบง เปน 2 ชนชน้ั สาํ คัญ คือ
1.1 ชนชนั้ ปกครอง หรอื ชนชนั้ เจาขนุ มูลนาย ประกอบดว ย

1. กษัตรยิ  : เปน “เจา แผนดนิ “ มีศักดินาสูงสดุ ไมจํากดั จํานวนไร
2. เจา นาย หรือ พระบรมวงศานุวงศ : ถือศกั ดนิ า 500 - 100,000 ไร
3. ขนุ นาง : ถือศักดนิ า 400 - 10,000 ไร
4. พระสงฆ : เสมอนา 100 - 2,400 ไร
1.2 ชนชน้ั ใตปกครอง ประกอบดว ย
1. ไพร : ถอื ศักดนิ า 10 - 25 ไร
2. ทาส : ถือศกั ดนิ า 5 ไร
2. ระบบมูลนาย-ไพร : เปนการจดั ระเบียบสงั คมในสมัยโบราณ
1. มูลนาย คือ ชนชน้ั ปกครอง (ทสี่ าํ คัญคอื กลมุ เจา นายและกลุมขนุ นาง)
- มลู นายมหี นาท่ีควบคมุ ดูแลไพรในสังกดั และใชประโยชนจ ากแรงงานไพรในสังกัดได
- มูลนายและลกู หลานมีอภิสิทธ์ไิ มต องถกู เกณฑแรงงาน
2. ไพร คือ ราษฎรทว่ั ไปท้งั ชายหญิง เปนชนชนั้ ทม่ี คี วามสาํ คัญทีส่ ดุ เพราะมปี รมิ าณที่สดุ ในบรรดาชนช้นั ท้ังหลาย
- ไพรตอ งมีมลู นายสังกดั
- ไพรต องถูกเกณฑแ รงงาน(หรอื เขา เวรรับราชการ) เพื่อคอยทาํ งานรับใชมลู นาย
- ไพรท ไี่ มม มี ลู นายสงั กดั จะไมไดร บั ความคุมครองทางกฎหมาย
*ระบบมูลนาย-ไพร ทําใหเกดิ ระบบอุปถมั ภต ามมา*
3. สังคมไทยสมัยใหม
3.1 หลงั ร.๔ ทําสัญญาบาวริง มีการเปล่ียนทางสงั คมวฒั นธรรม หลายประการ เชน
1. ใหร าษฎรเขา เฝาในเวลาเสดจ็ พระราชดําเนินและถวายฎีกาได
2. ใหช าวตา งประเทศยืนเขา เฝาไดแ ละใหข นุ นางไทยสวมเสือ้ เขา เฝา
3. ใหเสรีภาพในการนับถือศาสนา
4. ใหส ทิ ธสิ ตรีในการเลือกคคู รอง
5. ใหสทิ ธิสตรแี ละเด็กในการขายตนเองเปนทาส
3.2 การปฏิรูปสังคมวัฒนธรรมสมยั ร.๕
1. ร.๕ ทรงยกเลิกระบบมูลนาย-ไพร คือยกเลิกการเกณฑแรงงานจากไพร เปล่ียนไพรใหกลายเปนเสรีชน (ชาวนา ชาวไร
กรรมกร) ทาํ ใหเกดิ เสรภี าพในการประกอบอาชพี และในการเคลื่อนยา ยทอ่ี ยูของไพรข้นึ เปนครัง้ แรก
*นบั เปน พระราชกรณกี ิจทสี่ ําคัญท่สี ดุ ของ ร.๕*
2. เลิกทาส เปลยี่ นทาสใหกลายเปนไพร
3. ปฏิรูปการศึกษา โดยต้ังโรงเรียนในแบบตะวันตกขึ้นมา เชน โรงเรียนหลวงสอนภาษาไทย, โรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ,
โรงเรยี นแผนท่ี, โรงเรียนนายรอ ยทหารบก, โรงเรียนกฎหมาย, โรงเรยี น
มหาดเล็ก, โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม (โรงเรียนหลวงสําหรับราษฎรแหงแรก) ฯลฯ
4. เปล่ียนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณี เชน ยกเลิกประเพณีหมอบคลานใหยืนเขาเฝาแทน, ปรับปรุงการแตงกายตามแบบ
ตะวันตก
3.3 หลงั เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕
1. ราษฎรเกิดความเสมอภาคเทา เทียมกัน
2. เกดิ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เหน็
3. การศึกษาขยายตัวอยางกวางขวาง กําเนิดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เกษตรศาสตร มหิดล ศิลปากร เชียงใหม ขอนแกน
สงขลานครนิ ทร
4. เกิดแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ

13

ดานการเมืองการปกครอง
1. รปู แบบการเมอื งการปกครองของไทยแตโ บราณเปน ระบอบราชาธปิ ไตย
2. สมยั อาณาจักรสุโขทัย : ราชาธปิ ไตย ฐานะกษัตรยิ ร ะยะแรกเปนพอ ปกครองลูก ระยะหลงั เปน ธรรมราชา
3. อาณาจักรอยุธยา : ราชาธิปไตย ฐานะกษัตริยเ ปนเทวราชา+ธรรมราชา(แตเ ปนเทวราชามากกวา )
4. การปฏิรูปการปกครองครัง้ ใหญสมยั พระบรมไตรโลกนาถ
4.1 สวนกลาง แบง เปน 2 ฝายคือ

1. ฝา ยทหาร มสี มุหกลาโหมเปนอคั รมหาเสนาบดี
2. ฝายพลเรือน (+จตุสดมภ) มสี มุหนายกเปน อคั รมหาเสนาบดี
4.2 สว นภมู ิภาค
1. ยกเลกิ หวั เมืองลกู หลวง เปลีย่ นเปนหัวเมืองช้ันใน มี “ผรู ้ัง” เปน เจา เมือง
2. หวั เมืองพระยามหานคร มเี จา นายหรอื ขุนนางเปน เจา เมือง
3. หวั เมอื งประเทศราช มกี ษัตริยท องถ่นิ ปกครองกันเอง
*ผล : เกิดการรวมอาํ นาจเขา สสู ว นกลาง*
5. สมัยพระเพทราชา ปรับปรุงใหม
5.1 ใหสมุหกลาโหมดแู ลหัวเมอื งฝา ยใต
5.2 ใหสมุหนายกดแู ลหวั เมืองฝายเหนือ
6. อาณาจกั รรัตนโกสนิ ทร : ราชาธิปไตย ฐานะกษตั ริยเปนธรรมราชา + เทวราชา (แตเปนธรรมราชามากกวา)
6.1 สมยั รตั นโกสินทรตอนตน (ร.๑ – ร.๔) มตี าํ แหนง อัครมหาเสนาบดี 3 ตําแหนง
1. สมหุ กลาโหมดูแลหวั เมืองฝา ยใต
2. สมุหนายกดแู ลหวั เมืองฝา ยเหนอื
3. เสนาบดกี รมคลัง (หรอื กรมทา ) ดแู ลหัวเมอื งชายฝง ทะเลตะวันออก
6.2 การปฏริ ปู การปกครองครง้ั ใหญสมัย ร.๕
1. สว นกลาง
1. ยกเลกิ การบรหิ ารราชการแบบกรม (ยกเลกิ ตาํ แหนง สมุหกลาโหม สมุหนายก และเสนาบดีจตสุ ดมภ)
2. ต้ัง “ระบบกระทรวง”
2. สวนภมู ภิ าค
1. ยกเลกิ หวั เมอื งชั้นใน หวั เมอื งพระยามหานคร หัวเมืองประเทศราช
2. ตงั้ “ระบบเทศาภิบาล”
3. สว นทอ งถนิ่
1. ริเร่มิ การปกครองสวนทองถิ่น
2. ตง้ั “สุขาภิบาล”
*ขอ สอบออกบอย : ผลการปฏริ ปู
เกิดการรวมอํานาจเขา สูสว นกลางและเกิดเอกภาพในการบริหารราชการแผนดนิ อยางแทจ ริง*
7. ยุคประชาธิปไตย : ๒๔ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๔๗๕ คณะราษฎรทําการอภิวัฒนแ ผนดนิ เปล่ยี นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชยเปน
ประชาธปิ ไตย
7.1 สิ้นสุดยุคศักดินาในสังคมไทย เริ่มตน ยคุ ประชาธิปไตย
7.2 เกดิ ความเสมอภาคเทา เทียมกัน
หวั หนา คณะราษฎร : พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
แกนนาํ คนสําคญั : พ.อ.พระยาทรงสุรเดช, พ.อ.พระยาฤทธอิ ัคเนย, พ.ท.พระประศาสนพิทยายุทธ,
หลวงประดิษฐมนูธรรม (ปรีดี พนมยงค), หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม), หลวงโกวิทอภัยวงศ (ควง อภัยวงศ), หลวงธํารงนาวา
สวสั ด์ิ (ถวัลย ธารสี วัสด์)ิ , นายทวี บุณยเกต,ุ ร.ท.ประยูร ภมรมนตรี และ ฯลฯ

14

ประวัติศาสตรย โุ รป (อารยธรรมตะวันตก)
ประวตั ิศาสตรย ุโรปสมัยโบราณ
1. อารยธรรมเมโสโปเตเมยี

1. เกาแกท สี่ ดุ ไดรบั ยกยอ งวา เปนอารยธรรมแรกของโลก
2. พบบริเวณทรี่ าบลุมแมนํ้าไทกรสิ – ยูเฟรตสิ (อริ กั ในปจจบุ นั )
3. มนษุ ยในอารยธรรมน้ี มลี กั ษณะเดน คอื มองโลกในแงร าย เพราะสภาพภมู ิศาสตรไ มเ อ้ือตอการดาํ รงชวี ติ (เพราะภูมิอากาศแบบ
กึง่ ทะเลทราย แหง แลง มพี ายุรุนแรง)
4. ทาํ ใหม นษุ ยในอารยธรรมน้ีเกรงกลัวเทพเจา คดิ วาตนเองเปนทาสรับใชเทพเจา
5. จึงสรางเทวสถานใหใ หญโตนาเกรงขาม เพอื่ แสดงถงึ พลงั อาํ นาจที่ยงิ่ ใหญของเทพเจา
6. ผลงานโดดเดน ของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เชน

6.1 ซกิ กแู รต : วหิ ารขนาดใหญ เปน ทปี่ ระทบั ของเทพเจา
6.2 อักษรลิ่ม (อกั ษรคูนิฟอรม ) : เกา แกท ส่ี ุดในโลก
6.3 ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี : ตาตอตา ฟน ตอ ฟน
6.4 สวนลอยแหง กรงุ บาบโิ ลน : หนึง่ ในเจด็ ส่ิงมหัศจรรยของโลกยคุ โบราณ
2. อารยธรรมอยี ปิ ต
1. พบบรเิ วณท่รี าบลมุ แมน ํ้าไนล
2. มคี วามม่ันคงและเขม แขง็ กวาเมโสโปเตเมีย
3. ชาวอยี ิปตม องโลกในแงดี เพราะพื้นทอ่ี ดุ มสมบูรณกวา
4. ไมค ิดวาตนเองเปนทาสของเทพเจา แตก ลบั ยกยองเทพเจาวามคี วามเมตตา
5. เช่อื ในชวี ติ หลังความตายมาก
6. ผลงานโดดเดน : ปรามดิ ขนาดใหญ การทํามมั ม่ี ตัวอกั ษรเฮียโรกลฟิ ฟค
3. อารยธรรมกรีก
1. รับอทิ ธิพลจาก เมโสโปเตเมีย อยี ิปต และอารยธรรมไมนวน บนเกาะครีต
2. ผลงานโดดเดน
2.1 แนวคิดมนษุ ยนยิ ม
2.2 แนวคิดประชาธปิ ไตย
2.4 แนวคดิ ธรรมชาตนิ ิยม
3. ชาวกรกี ไดร ับยกยองวา เปน นักคิด นกั ทฤษฏี
4. อารยธรรมโรมนั
1. รบั ถา ยทอดอารยธรรมมาจากกรกี
2. ชาวกรกี เปน นกั คดิ ชาวโรมันเปนนกั ปฎิบัติ
3. ชาวกรีกเนนปจเจกบุคคล บูชาเหตุผล รักเสรีภาพ แตชาวโรมันเนนใหมนุษยรับผิดชอบตอรัฐ และเนนระเบียบวินัยกฎหมาย
เขม งวด
4. ศิลปะกรีกเนนความสวยงามออนชอย มีจินตนาการสูง แตศิลปะโรมันเนนประโยชนใชสอย (เชน โคลอสเซียม ถนน ทอ
นํา้ ประปา)
5. กรกี สรางวิหารถวายเทพเจา แตโรมันสรางวิหารใหมนุษยใ ชส อย
6. อาณาจักรโรมนั ระยะแรกปกครองแบบสาธารณรัฐ
7. ตอมาจกั รพรรดอิ อตตาเวยี น สถาปนาจกั รวรรดิโรมนั
8. ยคุ นี้โรมันเจรญิ ทสี่ ุด แพรขยายดินแดนไดท่วั ยโุ รป สรางถนนทว่ั ท้ังจักรวรรดิ จนไดสมญานาม “ถนนทุกสายมุงสูกรงุ โรม”
9. สดุ ทายจักรวรรดิโรมันลมสลาย เพราะถูกชาวอารยันบุกทําลาย เมอ่ื ค.ศ. 476 ทําใหย ุโรปเขาสูป ระวัตศิ าสตร

สมัยกลาง
ประวัติศาสตรย ุโรปสมยั กลาง (ยคุ มดื : Dark Age)
1. จกั รวรรดโิ รมนั แตกแยกออกเปนอาณาจกั รใหญนอ ย ถูกปกครองโดยชาวอารยนั

15

2. เกิดสงครามรบพงุ กันวุน วาย ทาํ ใหช าวยโุ รปตอ งหาทพี่ งึ่ ทางใจ ซง่ึ ก็คือศาสนาคริสต
3. เปนยคุ ทช่ี าวยุโรปตกอยใู ตอทิ ธิพลของ 2 สิ่ง คือ
3.1 ศาสนาครสิ ต

- พระสันตปาปา Pope และคริสตจักร มีอิทธิพลครอบงําชาวยุโรปทุกดานต้ังแตเกิดจนตาย ทั้งทางดานเศรษฐกิจ (ชาวยุโรปตอง
เสียภาษีใหวัด) ดานการเมือง (พระสันตปาปาแตงต้ังกษัตริย) และดานสังคม วัฒนธรรม (วัดเปนศูนยกลางชุมชน การประกอบพิธีกรรมและ
ศิลปะ)

- ศาสนจกั รในยคุ นีม้ ีรูปแบบเหมือนอาณาจกั รทางโลก
3.2 ลัทธิศักดินาสวามิภกั ด์ิ Feudalism

- มีการแบงชนชั้นคนในสงั คมออกเปน
1. ชนช้ันปกครอง (ชนช้ันเจาที่ดิน Landlord) : กษัตริย ขุนนาง อัศวิน พระสงฆ : ชนชั้นนี้จะมีที่ดินเปนของตนเอง มีอาณาจักร
เปน ของตนเอง
2. ชนชัน้ ใตป กครอง : ราษฎร ชาวไรชาวนา ทาสติดทด่ี นิ : ไมมีทดี่ ินเปนของตนเอง ตองคอยรับแบงท่ดี นิ มาจากชนชน้ั ปกครองอีก
ที ตอ งเสยี ภาษีใหชนชั้นปกครอง และตอ งจงรกั ภกั ดสี วามภิ ักด์ติ อชนชั้น
ปกครอง
4. การเกษตรกรรมในยคุ นี้ ขุนนางจะแบง ทด่ี นิ ใหราษฎร ชาวไรช าวนา แตตองสง คนื ในรูปของผลผลติ หรอื ภาษี
5. ศิลปะในยุคนี้ จะไดร บั อิทธพิ ลมาจากศาสนาครสิ ตท้งั ส้ิน เชน
5.1 ศิลปะไบแซนไทน : วิหารมยี อดโดม ซงึ่ สามารถรักษาศิลปะแบบกรีกไวไ ด
5.2 ศลิ ปะโรมาเนสก : เนนความเรียบงายกวาไบแซนไทน เปนศิลปะท่ีรับใชศาสนาคริสต มีการออกแบบใหซุมประตูหนาตางเปน
รปู โคง Arch โบสถว หิ ารจะมีผนงั หนาทึบ เหมือนปอมคายสงคราม เชน หอเอนเมอื งปซา
5.3 ศลิ ปะโกธิค : รบั ใชศาสนาครสิ ต มกั จะสรา งวหิ ารมียอดแหลม และเนนงานประดับกระจกสี เชน วหิ ารโนตรดาม กรงุ ปารสี

ประวัตศิ าสตรย ุโรปสมยั ฟนฟูศลิ ปวทิ ยาการ (Renaissance)
1. เริ่มตน ท่ีแหลมอิตาลี เปน แหง แรก
2. เปนยุคท่ชี าวยโุ รปหันกลับไปฟน ฟคู วามเจริญของอารยธรรมกรีกโรมนั
3. สาเหตุของการฟน ฟูศลิ ปวทิ ยาการ

3.1 เจา เมืองตา ง ๆ ในอติ าลีร่ํารวยจากการคา ทาํ ใหส นับสนุนงานดานศลิ ปวทิ ยาการมาก
3.2 ความเสอ่ื มโทรมของศาสนจักร ทําใหช าวยุโรปเร่ิมเบ่ือหนา ย
3.3 สงครามครเู สด เปน การเปดหูเปด ตาชาวยโุ รปใหเหน็ ศลิ ปวิทยาการใหมๆ
3.4 การลม สลายของจักรวรรดิไบแซนไทนใ นยุโรปตะวนั ออก ทาํ ใหศ ิลปวิทยาการตางๆ ไหลเขาสูยโุ รปตะวนั ตก
4. ทฤษฎสี าํ คญั ทีช่ าวยุโรปหนั ไปกลบั ไปฟน ฟู เชน
4.1 ทฤษฎมี นุษยนยิ ม
4.2 ทฤษฎปี ระชาธิปไตย
4.3 ทฤษฎธี รรมชาตนิ ิยม
5. ศิลปวิทยาการในยุคน้ียิ่งแพรขยายมากย่ิงขึ้น เมื่อโยฮันเนส กูเตนเบิรก ชาวเยอรมันประดิษฐแทนพิมพเพราะทําใหพิมพตําราตางๆ ได
อยา งรวดเร็ว
6. ศลิ ปน เดนๆ ในยุคน้เี ชน ลีโอนารโ ด ดารว ินชี, ไมเคิลแอนเจโล, ราฟาเอล
7. นักวิทยาศาสตรคนสาํ คัญ เชน
โยฮัน กเู ตนเบริ ก : ประดษิ ฐแ ทนพิมพ
ลีโอนารโ ด ดารว นิ ชี : เปนท้ังศลิ ปนและนกั วทิ ยาศาสตร
นิโคลัส โคเปอรน ิคัส : เสนอทฤษฎีสุรยิ จกั รวาล

16

ประวัติศาสตรยโุ รปสมยั ใหม (สมัยแหง การคนพบ : Age of Discovery)
1. นับจากเหตุการณ ครสิ โตเฟอร โคลมั บัส คน พบโลกใหม
2. เหตุการณสาํ คัญในยุคน้ี เชน

2.1 การเดินเรอื ทางทะเลแพรหลายมาก ทําใหก ารคา ทางทะเลเฟองฟูตามมา
2.2 เกดิ ลทั ธิพาณิชยนยิ ม คือ รัฐบาลของประเทศในยโุ รป จะลงทุนตั้งบรษิ ทั ข้นึ มาเพอ่ื แสวงหาผลประโยชนทางการคา
2.3 เกิดชนชน้ั กลางขึ้นมา คอื บรรดาพอคา นายทนุ นักเดินเรอื ข้ึนมาถว งดลุ กับชนช้ันเจา ของทีด่ ิน
2.4 การปฏิรปู ศาสนาครสิ ตโดยมารติน ลเู ธอร ทําใหเ กดิ นิกายโปรเตสแตนท
2.5 ยุคปฎวิ ัติวิทยาศาสตร
1. เปนยคุ ทีเ่ ปล่ยี นวิธพี สิ จู นความจริงทางวิทยาศาสตร
- จากเดิมเนนใชการคดิ วเิ คราะหต ามหลกั ปรัชญาและหลกั ตรรกศาสตร
- มาเปนของใหม เนนใชร ะเบยี บวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร (คือเนน ทดลอง)
2. นกั วทิ ยาศาสตรส ําคญั เชน
ฟรานซิส เบคอน
1. เสนอแนวคิดวา การคนหาความจรงิ ทางวทิ ยาศาสตรต อ งเนน ทกี่ ารทดลองหรอื ทดสอบ
2. แนวคิดน้ีตอมาเปนรากฐานของการกอตั้ง “ราชสมาคมแหงลอนดอน Royal Society of London” ซึ่งเปนองคกรทาง
วทิ ยาศาสตรแบบใหม
3. และแนวคิดของฟรานซสิ เบคอน นี้ ไดพ ัฒนาเปน “ระเบยี บวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร Scientific Method”
กาลเิ ลโอ กาลิเลอิ
1. บดิ าแหงวิทยาศาสตรส มยั ใหม
2. รเิ ร่มิ การทดลองเพ่อื ตรวจสอบความถกู ตองของทฤษฎี
3. เสนอวาคณติ ศาสตรใ ชพ สิ ูจนค วามจริงทางวิทยาศาสตรไ ด
4. สนับสนนุ ทฤษฎสี รุ ิยจักรวาลของโคเปอรนคิ ัส
5. ประดิษฐก ลอ งโทรทรรศน
ไอแซค นวิ ตัน
1. คน พบแรงโนมถว งของโลก
2. คนพบหลกั การแคลคลู สั
2.6 การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม
1. เปน ยุคทเ่ี ปล่ยี นวิธกี ารผลิตสนิ คา จากใชแ รงงานคนและสตั วม าใชเคร่อื งจกั รในการผลิต
2. นกั ประดิษฐสาํ คัญ เชน
โธมัส นิวโคแมน : พฒั นาเคร่อื งจักรไอนํา้ โดยใชลกู สูบ
จอหน เคย : ประดษิ ฐก ่กี ระตกุ
เจมส ฮารกรฟี : ประดษิ ฐเครือ่ งปนดา ยชนดิ สปนนิงเจนนี
รชิ ารด อารค ไรท : ประดษิ ฐเ ครอ่ื งปน ดายพลงั นาํ้ วอเตอรเ ฟรม
เจมส วตั ต : พฒั นาเคร่อื งจักรไอนา้ํ ใหด ียิง่ ข้ึน

17

ประวตั ศิ าสตรเอเชีย (อารยธรรมตะวนั ออก)
ประวตั ศิ าสตรจนี
1. ปลายยุคราชวงศโจว เกิดสงครามแกง แยงอาํ นาจระหวางเจา เมอื งตางๆ
เปน ยุคชนุ ชิว (ยุคฤดูใบไมผ ลิใบไมร ว ง) กาํ เนดิ นักปรชั ญาเมธที ่สี ําคญั 2 คน คอื ขงจือ๊ และ เลา จื๊อ
1.1 ลทั ธขิ งจื๊อ หรือ ลทั ธหิ ู โดยขงจอ๊ื

- เปน หลักสาํ คญั มากในการดาํ เนนิ ชวี ิตของชาวจีนมาจนถึงปจจบุ ันน้ี
- ลทั ธิขงจอ๊ื เปน แนวคดิ แบบอนุรักษน ิยม เครงครัดในระเบียบแบบแผนพธิ ีกรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณโี บราณ
- เนนความสัมพนั ธแ ละการทาํ หนาที่ของผูค นในสังคม โดยแบง เปนความสมั พนั ธ 5 ประการ คอื

1. ความสัมพันธระหวา ง ฮอ งเต กับ ราษฎร
2. ความสัมพันธระหวา ง บดิ า กบั บุตร
3. ความสมั พนั ธร ะหวาง พี่ กบั นอ ง
4. ความสมั พนั ธระหวาง สามี กับ ภรรยา
5. ความสัมพันธร ะหวาง เพ่ือน กบั เพ่ือน
- เนน ความกตัญู เคารพผอู าวโุ ส ใหค วามสาํ คัญกบั ครอบครัว
- เนนความสาํ คญั ของการศกึ ษา ทําใหส งั คมจีนยกยอ งผทู มี่ กี ารศึกษา เชน อาชีพครูอาจารย บณั ฑติ จอหงวน และขนุ นาง
- ลัทธนิ ีม้ อี ทิ ธิพลตอชนชัน้ ปกครองจีน (ฮองเตแ ละขุนนาง)
1.2 ลัทธเิ ตา โดยเลา จอื๊
- มีแนวคิดตรงขามกับลัทธิขงจือ๊
- เนนการดําเนินชวี ติ ทเ่ี รยี บงาย ไมต อ งมีระเบยี บแบบแผนพิธีรีตองใดใด
- เนนปรบั ตวั เขา หาธรรมชาติ
- ลัทธินี้มอี ิทธิพลตอ ศิลปน กวี และจติ รกรจนี
2. ราชวงศฉ นิ (จิน๋ ) : สมยั จกั รวรรดิ
1. เริ่มตนยุคจักรวรรดิและยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย แผนดินจีนรวมตัวกันเปนปกแผนม่ันคงโดยจักรพรรดิจิ๋นซีฮองเต (ฉินซิ
หวางตี้)
2. กาํ เนดิ ระบบจักรพรรดิ หรอื ระบบฮอ งเต
3. ปกครองประเทศดว ยระบบนติ ินิยม (ฝา เจยี ) เนนการใชก ฎหมายเปนหลกั ปกครองประเทศอยา งเขม งวดเปน เผด็จการ
4. มกี ารเผาทําลายตาํ รับตาํ ราของขงจ๊ือและเลาจอ๊ื
5. สถาปต ยกรรมโดดเดน : กาํ แพงหมืน่ ลีแ้ ละสสุ านจน๋ิ ซีฮอ งเต
3. ราชวงศฮ่ัน
1. ลัทธิขงจอื๊ ไดร ับการฟนฟแู ละประกาศใหเปน ลัทธแิ หงชาติ
2. กําเนดิ ระบบขาราชการหรอื การสอบจอหงวน
3. เรม่ิ ติดตอคาขายกบั อาหรบั ตะวนั ออกกลาง และยโุ รป ผา นเสนทางสายแพรไหม (Silk Road)
4. พระพุทธศาสนาเรมิ่ เผยแพรเขาสูจีน
4. ราชวงศถ งั
1. ยคุ ทองแหง ศิลปวัฒนธรรมจนี โดยเฉพาะวรรณกรรมและกวีนิพนธ เจรญิ รงุ เรืองมาก กวคี นสําคัญ เชน หลไี่ ป (หรือลิโป) และ ตู
ฝู
2. พระพุทธศาสนาเจรญิ รุงเรอื งมาก
3. พระภิกษถุ ังเสวียนจาง (ถังซําจั๋ง) เดินทางไปศึกษาพระไตรปฏ กในชมพทู วีป
4. การคาขายกับตะวันออกกกลางและยุโรปตามเสนทางสายแพรไหมเฟองฟมู ากในยคุ ราชวงศน ี้
5. ราชวงศซ ง (ซอ ง)
1. ฟน ฟแู ละสนบั สนนุ ลัทธขิ งจอ๊ื
2. เกิดศิลปวิทยาการทนั สมยั หลายอยา ง เชน
2.1 ประดษิ ฐแ ทนพมิ พต ัวหนังสือ
2.2 รกั ษาโรคดว ยการฝงเข็ม

18

2.3 ใชเข็มทศิ แมเ หลก็ ชวยในการเดินเรือ
3. ยคุ ทองของจิตรกรรมจีนและเครอ่ื งเคลือบดนิ เผาจนี (สงอิทธพิ ลตอเครือ่ งสังคโลกไทย)
4. เกดิ ประเพณีรัดเทาสตรี
6. ราชวงศห ยวน (หงวน)
1. ราชวงศแ รกของชนตา งเผา (มองโกล)
2. ยายเมืองหลวงไปอยูทปี่ ก ก่งิ มีการวางผังเมอื งอยางดี
3. ชาวตะวนั ตกเขา มาติดตอ คา ขายมาก เชน มารค โค โปโล พอคา ชาวเมืองเวนิส อติ าลี
4. ติดตอ คา ขายกบั ไทย (สมัยสุโขทัย) อยา งมาก
7. ราชวงศหมิง (เหมง็ )
1. ขับไลชาวมองโกลออกไป
2. ฟนฟศู ิลปวฒั นธรรมจนี โดยหนั กลับไปลอกเลียนแบบศิลปวฒั นธรรมสมยั ราชวงศถัง
3. สรา งพระราชวงั หลวงปก กิ่ง (วงั ตอ งหาม) สรา งตามทฤษฏฮี วงจุย ยุคทองของสถาปต ยกรรมจีน
4. การคาในระบบบรรณาการ (ระบบจิ้มกอง) เฟองฟูมาก มีการสงกองเรือขนาดใหญ นําโดย มหาขันทีเจิ้งเหอ (แตฮ้ัว) ออก
สาํ รวจทะเล
5. เกดิ นวนิยายสําคญั : สามกก, ไซอวิ๋ , ดอกบวั ทอง (จินผงิ เหมย)
6. หลังจากน้นั ไมนานจนี กป็ ดประเทศ เพราะกลัวอทิ ธพิ ลชาติตะวนั ตก
8. ราชวงศช ิง (เช็ง)
1. ราชวงศส ดุ ทายของจักรวรรดจิ ีน
2. เปนราชวงศของชนตา งเผา (แมนจู)
3. เปนยุคท่ีกลับมาตดิ ตอ คา ขายกบั ชาตติ ะวนั ตกอกี ครง้ั
4. เร่ิมถูกรกุ รานจากชาตติ ะวนั ตก เชน สงครามฝน ซง่ึ จีนรบแพอ งั กฤษ ทําใหต อ งลงนามในสนธิสัญญานานกิง

4.1 สาระสาํ คญั ของสัญญานานกิง
1. จนี ตองเปด เมอื งทา 5 แหง ใหอ ังกฤษทําการคา
2. ยกเลกิ การคา ผูกขาด ใหการคา เปน ไปโดยเสรี
3. ยกเกาะฮองกงใหอ งั กฤษเชา
4. กําหนดอตั ราภาษีขาเขา – ขาออก ในอัตราทต่ี ํ่าและชดั เจนแนนอน
5. เสียสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต

5. หลังจากทําสัญญานานกิงกับอังกฤษแลว จีนตองทําสัญญาในลักษณะเดียวกันน้ีกับชาติตางๆ ในยุโรปสหรัฐอเมริกา และญี่ปุน
อกี

6. ตอ จากน้นั จีนตองประสบปญหาตาง ๆ อีกมากมาย จนสูญเสยี ฐานะการเปน ชาตมิ หาอํานาจ เชน
6.1 เกิดกบฏไทผ ิง จากชาวจีนรักชาติทต่ี อตา นผปู กครองชาวแมนจแู ละไมพอใจการรกุ รานจากชาติตะวันตก
6.2 จีนรบแพญปี่ ุน ตองทาํ สญั ญาชิโมโนเซกิ โดยสูญเสียเกาหลีใหแ กญี่ปนุ
6.3 เกดิ กบฏนกั มวย ซึ่งตอ ตานชาวตะวันตกและตอตา นชาวจีนครสิ ต

7. ปลายยุคราชวงศช ิง พระนางซูสไี ทเฮาเขามามอี ิทธิพลในการบริหารประเทศมาก
8. นวนยิ ายโดง ดังยคุ ราชวงศชิง : ความรกั ในหอแดง (หงโหลวเมง่ิ )
9. ยคุ สาธารณรัฐและยุคคอมมิวนสิ ต
1. ปลายยคุ ราชวงศช ิง ดร.ซุนยดั เซน็ จัดตงั้ สมาคมสันนบิ าต (ตงเหมิงหยุ ) เพอ่ื ลม ราชวงศช ิง โดยประกาศลทั ธไิ ตรราษฎร เพ่อื
1. สรางเอกราชของชาตอิ ยางแทจริง
2. ใหอาํ นาจอธิปไตยเปน ของราษฎร
3. สรางความยุตธิ รรมในการดาํ เนินชวี ติ
2. ตอมา ซุนยัดเซน็ ไดร ว มมือกับหยวนซ่ือไข แมทัพคนสําคัญ ทําการปฏิวัติลม ราชวงศช งิ ไดสาํ เร็จ
3. จักรพรรดอิ งคส ุดทาย คือ จักรพรรดอิ า ยซิงเจยี่ หรอ ฟอู ้ี (ปูย)ี
4. ซนุ ยัดเซน็ เสนอใหหยวนซอ่ื ไขเปนประธานาธิบดขี องสาธารณรฐั จนี
5. แตหยวนซือ่ ไขเ ปนคนทะเยอทะยาน มักใหญใฝส ูง คิดจะสถาปนาตนเองเปน จักรพรรดิและรอ้ื ฟน ระบบศักดนิ า

19

6. ซุนยดั เซน็ จึงตัง้ พรรคกกมนิ ตงั๋ ข้นึ มาตอ ตา นหยวนซ่อื ไข
7. หลงั จากนน้ั หยวนซอื่ ไขเ สยี ชวี ติ ลง ซนุ ยดั เซน็ เปนประธานาธิบดี แตเปน ไดไมนาน ก็เสียชีวิต
8. จากนนั้ จนี ก็แตกแยกเปน แวน แควนตาง ๆ (ยุคขุนศึกหรอื จ้นั กวอ)
9. หลงั จากซนุ ยดั เซ็นเสยี ชวี ิต เจียงไคเชค็ ขึ้นเปนผูนําพรรคกก มนิ ตั๋งและผนู าํ จีน และพยายามรวบรวมจีนใหเปน ปกแผน อีกครง้ั
10. แตรัฐบาลเจียงไคเช็คประสบปญหาฉอราษฎรบังหลวง กดข่ีราษฎร และปราบปรามพรรคคอมมิวนิสตอยางรุนแรง ทําใหเกิดความ
แตกแยกภายในชาติ
11. ประชาชนจงึ หนั ไปสนับสนุน เหมาเจอตงุ ผูนําพรรคคอมมวิ นสิ ตแ ทน
12. ในท่ีสดุ เหมาเจอ ตงุ ก็ลม รฐั บาลเจียงไคเช็คได และสถาปนา “สาธารณรฐั ประชาชนจีน” ปกครองประเทศดว ยระบอบคอมมวิ นิสต
13. เหมาเจอตงุ ประกาศรณรงค “ปฏวิ ัติวฒั นธรรม” เพอ่ื ตอ ตานจารตี ศกั ดนิ าแบงชนช้ัน โดยมีเยาวชนเรดการด Red Guard ชว ยรณรงค
14. หลังจากเหมาเจอตุงเสยี ชีวติ เติ้งเสยี่ วผงิ ขน้ึ เปน ผนู าํ จีนแทน
15. เติง้ เสี่ยวผิงประกาศ “นโยบายส่ีทนั สมยั ” เพอ่ื ปฏริ ูปประเทศจนี
ประวตั ิศาสตรอินเดยี
1. อารยธรรมลมุ แมน า้ํ สนิ ธุ

1. เปน อารยธรรมของชนพนื้ เมืองอนิ เดยี : ชนเผาทราวิฑ (ดราวเิ ดียน)
2. ศูนยกลางอยูท่เี มอื งโมเฮนโจดาโร และเมอื งฮารปั ปา
3. เปนสังคมเมืองขนาดใหญ มีการวางผังเมืองอยางดี ในเมืองมีสาธารณูปโภคอํานวยความสะดวกหลายอยาง เชน ถนน บอนํ้า
สระนา้ํ ทอประปา
4. มกี ารติดตอคา ขายกบั อารยธรรมเมโสโปเตเมยี
5. ลม สลายลงเพราะภัยธรรมชาติและการรุกรานจากชนเผา อารยนั
2. อารยธรรมสมยั พระเวท
1. โดยชนเผาอารยันไดเขายึดครองอารยธรรมของชาวทราวิฑและขับไลใหถอยรนลงทางใต และรับถายทอดอารยธรรมบางอยาง
มาจากชาวทราวฑิ
2. การปกครองในระยะแรกเปน แบบชนเผา ใชร ะบบสภาชนเผาและระบบสหพันธรฐั
3. ระยะหลังเปน แบบราชาธิปไตย
4. ชาวอารยนั ใหก ําเนดิ ศาสนาพราหมณ และ ระบบวรรณะ ๔
5. วรรณกรรมสําคัญในยคุ น้ี

5.1 คัมภีรพระเวท หลักธรรมสําคัญของศาสนาพราหมณ – ฮินดู ประกอบดวย 4 คัมภีร คือ ฤคเวท ยชุรเวท ไตรเวท
และ อาถรรพเวท

5.2 มหากาพยรามายณะ สันนิษฐานวา แสดงถึงการตอสรู ะหวางชาวอารยัน (พระราม) กับชาวทราวิฑ (ทศกัณฑ) แตง
โดยฤาษีวาลมกิ ี

5.3 มหากาพยมหาภารตยทุ ธ วาดวยการตอ สขู องพ่ีนองสองตระกูล (ปานฑพ – เการพ) ในมหากาพยน ้ีมี บทรอยกรอง
สําคัญบทหน่ึง อันไดช่ือวาเปนหัวใจแหงศาสนาฮินดู คือคัมภีรภควัทคีตา (บทเพลงของพระเจา) เปนหลักปรัชญาวาดวยการทํา
หนาทข่ี องตนเองอยางสมบูรณแ ละวา ดว ยการบรรลโุ มกษะดว ยการปฏิบัตติ นตามวถิ ที างท่เี รียกวา “โยคะ”

5.4 คมั ภีรธ รรมศาสตร ซ่งึ เปนทงั้ กฎหมาย ศาสนบญั ญตั ิ จารีตประเพณี หลกั ศีลธรรม และการทําหนา ที่ของชาวฮนิ ดู
3. อารยธรรมสมยั จักรวรรดิ : เกิดการรวบรวมดินแดนใหเ ปน ปกแผน มีอาณาจักรสาํ คัญ ๆ เชน
3.1 อาณาจกั รมคธ

1. ตัง้ ขน้ึ ในอินเดยี ตอนเหนอื
2. เปนอาณาจักรใหญโต แตย ังไมถึงกบั รวบรวมแวน แควน ตาง ๆ เขาเปนจักรวรรดิหน่งึ เดียวได
3. ปกครองแบบราชาธปิ ไตย
4. กษตั ริยองคส าํ คัญ คอื พระเจา พมิ พสิ ารและพระเจาอชาตศัตรู ซ่งึ มชี ีวติ รวมสมยั กบั พระพุทธเจา
5. ภายหลังลมสลายจากการรกุ รานของจักรวรรดิเปอรเซยี และการรกุ รานของพระเจา อเล็กซานเดอรมหาราชแหง มาซีโดเนีย
3.2 จักรวรรดิแหงราชวงศเมารยะ
1. สถาปนาโดยพระเจา จันทรคุปต
2. รวบรวมแผนดนิ ไดเปน ปกแผน เกดิ เปนจักรวรรดิขนึ้ มา

20

3. รวมอํานาจการปกครองไวท ี่สว นกลาง
4. กษัตริยอ งคสําคัญ คอื พระเจา อโศกมหาราช ไดแพรข ยายดินแดนจนเปน จกั รวรรดิท่ีย่ิงใหญแ ละมเี น้อื ที่กวางขวาง
5. เหตกุ ารณส าํ คัญในรัชกาลพระเจาอโศกมหาราช

- ศรทั ธาในพระพุทธศาสนาอยางแนน แฟน และจดั สงสมณฑูตออกเผยแผพ ระพุทธศาสนา
- ใชหลักธรรมวิชัยคือปกครองโดยใชธรรมะเปนหลักในการปกครองประเทศ และแพรขยายดินแดนโดยการเผยแผ
ธรรมะ
- สรางศาสนสถานในพระพุทธศาสนาไวมากมาย เชน สถูปเมอื งสาญจี เสาหนิ พระเจา อโศก เมอื งสารนาถ
4. สมัยแบงแยกและการรุกรานจากภายนอก
1. หลังจากจกั รวรรดิเมารยะลมสลาย แผน ดินกแ็ ตกแยกออกเปน แควนเล็กแควน นอ ย
2. มีการรุกรานจากชนเผาตา งๆ ภายนอก เชน เปอรเซีย , กุษาณะ , กรกี
3. ยุคนี้อินเดยี แบง ออกเปน 2 อาณาจักรใหญ คือ
3.1 อาณาจกั รกุษาณะ ทางภาคเหนอื
- กษัตรยิ อ งคส าํ คัญคอื พระเจา กนษิ กะ ทรงนับถอื และสนบั สนุนพระพุทธศาสนาอยา งเขมแขง็
- กําเนิดศลิ ปะสกลุ คนั ธารราษฎรซ่ึงไดรบั อิทธพิ ลมาจากศิลปะกรีก เกิดมกี ารสรางพระพทุ ธรปู ขึ้นเปน ครั้งแรก
3.2 อาณาจกั รอันธรประเทศ ทางภาคใต
- กําเนิดศิลปะสกลุ อมราวดี มีการสรางพระพุทธรูปใหม ีพระพกั ตรย าว มีเกตุมาลา มเี สน เกศาขมวดเปนปม
5. สมยั จักรวรรดแิ หง ราชวงศค ปุ ตะ
1. ยุคทองแหง อารยธรรมฮินดู
2. กษัตรยิ ร าชวงศน้รี วบรวมอาณาจกั รตา งๆ แลว สถาปนาจักรวรรดิคุปตะข้นึ มาทางภาคเหนือ
3. เปน สมยั เรม่ิ ตน ระบบศักดนิ าในอินเดีย
4. กษตั รยิ สวนใหญศรัทธาและสนบั สนนุ ศาสนาฮนิ ดูอยา งเขมแข็ง
5. ศิลปะแบบคุปตะไดรบั ยกยองวา เปน ศิลปะอินเดยี อยา งแทจรงิ งดงามที่สุด
6. เปน สมยั ที่พระพทุ ธศาสนาเรม่ิ เส่อื มความนิยมลง
7. หลังจากจักรวรรดคิ ุปตะลมสลายลง อินเดยี ก็แตกแยกออกเปน อาณาจักรเล็กๆ นอยๆ อีก โดยมีราชวงศสําคัญที่เขามาปกครอง
อินเดยี เชน
7.1 ราชวงศปลลาวะ เขาปกครองอินเดียทางตอนใตเพียงชั่วระยะเวลาหนึ่ง แตไดถายทอดอารยธรรมท่ีสําคัญให
ดนิ แดนตา งๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต คือ ตวั อักษรปลลาวะ ซึง่ เปนกาํ เนิดของตวั อักษรของ มอญ พมา ชวา ไทย ลาว
6. สมยั อาณาจกั รสลุ ตานแหง เดลี
1. โดยชาวมุสลิมเผาเตอรก เขา รุกรานอนิ เดียภาคเหนือและตัง้ อาณาจกั รสลุ ตานแหง เดลขี น้ึ มา
2. กษตั ริยใ นยคุ น้ี ศรัทธาศาสนาอสิ ลามอยางมาก จนสถาปนาศาสนาอิสลามใหเ ปน ศาสนาประจาํ ชาติ
3. ทาํ ลายลา งพระพทุ ธศาสนาอยา งรนุ แรง จนสูญสิน้ ไปจากอินเดยี
4. กําเนิดศาสนาสิกขข้นึ มาในอินเดยี ตอนเหนอื เพือ่ ประสานรอยราวระหวางศาสนาฮนิ ดแู ละศาสนาอิสลาม
7. สมัยจกั รวรรดแิ หงราชวงศโมกุล
1. เปนราชวงศส ุดทา ยของอนิ เดยี
2. โดยชนเผาโมกลุ ซึง่ เปน เชื้อสายมองโกล – เตอรก เขารกุ รานและโคน ลม อาณาจักรสลุ ตานแหง เดลี
3. รวบรวมอินเดียภาคเหนอื – ภาคใตและอาณาจกั รตา ง ๆ เขา ดวยกนั สถาปนาขึน้ เปนจักรวรรดโิ มกลุ
4. ชาติตะวนั ตกเรม่ิ ตน เขามาติดตอคาขาย ชาติแรกคือ โปรตเุ กส
5. ราชวงศนี้สนบั สนนุ และเผยแพรศาสนาอิสลามอยา งกวางขวาง ทําใหเกิดความแตกแยกระหวา งชาวฮินดูกบั ชาวมุสลิม
6. กษตั รยิ อ งคส ําคัญ เชน
6.1 พระเจา อกั บารม หาราช : ทรงใหเสรีภาพในการนับถอื ศาสนา สรางสามัคคใี หเ กดิ ขึน้ ในชาติ
6.2 พระเจาชาห เจฮัน : ทรงเปนมุสลิมที่เครงครัดและศรัทธาในศาสนาอิสลาม สรางทัชมาฮาล (หนึ่งในเจ็ดสิ่ง
มหศั จรรยของโลกยุคใหม) ดวยศลิ ปะเปอรเซยี ผสมฮนิ ดเู พื่อใชบ รรจุศพพระมเหสีมมุ ทัช
6.3 พระเจา ออรงั เซบ : สถาปนาศาสนาอิสลามใหเ ปนศาสนาประจาํ ชาติ ทําลายลา งศาสนาฮินดอู ยา งรุนแรง

21

8. สมยั อาณานคิ มอังกฤษ
1. ปลายสมัยจักรวรรดโิ มกุล กษัตรยิ ท รงใชจ ายฟมุ เฟอย ตองเพิม่ ภาษีและเพิ่มการเกณฑแรงงาน ทําใหราษฎรอดอยาก และยังกด

ขที่ ําลายลางศาสนาฮินดูและชาวฮินดอู ยา งรนุ แรง
2. ทําใหย่ิงเพม่ิ ความแตกแยกภายในชาติ เปนเหตุใหองั กฤษคอ ย ๆ เขาแทรกแซงและครอบครองอินเดยี ทีละเลก็ ละนอ ย
3. ในท่สี ุดอังกฤษลม ราชวงศโ มกลุ และสถาปนาอาณานคิ มอนิ เดยี แหงองั กฤษได
4. หลงั ตกเปนอาณานิคมแลว อังกฤษปกครองอนิ เดียใน 2 ลกั ษณะ คือ
4.1 บางแควน อังกฤษจะปกครองเองโดยตรง
4.2 บางแควนอังกฤษจะใหมหาราชาในทอ งถิน่ นัน้ ปกครองกันเอง
5. สง่ิ ดีที่อังกฤษวางไวใหก บั อนิ เดยี คอื
5.1 รากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย : อนิ เดียไดช ือ่ วา เปน ประเทศประชาธิปไตยทใี่ หญท ส่ี ดุ ในโลก
5.2 ระเบียบการบรหิ ารราชการแผนดิน
5.3 ปฏริ ูประบบกฎหมายและตุลาการ : ยกเลิกประเพณีลา หลงั บางอยาง เชน พิธีสตี การเผาตัวตายของแมหมายฮินดู,
การฆา มนษุ ยเ พอื่ บชู ายญั เจาแมกาลี, การแบงชัน้ วรรณะและการดูถูกเหยียดหยามชนชัน้ จัณฑาลตามหลกั ศาสนาฮนิ ดู
5.4 สรางความเปนเอกภาพใหกับอินเดีย ท้ังท่ีเปนดินแดนกวางใหญและแตกแยกทางเช้ือชาติ และศาสนามาก แตมา
อยูภ ายใตก ารปกครองเดียวกันได

9. สมยั เอกราช
1. หลงั สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ขบวนการชาตินิยมอินเดยี นาํ โดย มหาตมะ คานธี และ เยาวราลห เนหร ู เปน ผูนําเรียกรองเอกราช
2. มหาตมะ คานธี ใชห ลกั อหงิ สา : ความไมเ บียดเบยี น และวธิ ีการสัตยาเคราะห ในการเรียกรอ งเอกราช จนประสบความสําเรจ็
3. หลังจากอนิ เดียไดรบั เอกราช อนิ เดยี ปกครองดวยระบอบประชาธปิ ไตย
4. แตจากความแตกแยกทางเชื้อชาติและศาสนา ทําใหอินเดียตองแตกแยกเปนอีก 2 ประเทศ คือ ปากีสถาน (เดิมคือปากีสถาน

ตะวันตก) และ บงั คลาเทศ (เดิมคอื ปากสี ถานตะวันออก) ในท่ีสุด

สรุปยอเนื้อหา สาระการเรียนรูท่ี 5 : ภมู ศิ าสตร

เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตร
เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร อาจจาํ แนกกวางๆ ไดเ ปน 2 กลุม คือ

กลุม ที่ใหข อ มูลภมู ิศาสตร เชน แผนท่ี ลกู โลก ขอ มูลสถติ ิ แผนภาพ
กลุมท่ีใชหาขอมูลทางภูมิศาสตร เชน เข็มทิศ เครื่องวัดระยะทางในแผนที่ เครื่องมือวัดพ้ืนท่ี กลองสามมิติ บารอมิเตอร เทอรโมมิเตอร
ไซโครมเิ ตอร ไฮโกรมเิ ตอร มาตรวดั ลม เคร่ืองวดั น้ําฝน
1. เครอื่ งมือท่ีใหข อ มลู ทางภมู ศิ าสตร
1.1 ลกู โลก (globe)
ลกู โลก คือ หนุ จาํ ลองของโลก เพอื่ ใชใ นการศึกษาภูมิศาสตร ลูกโลกชวยใหมองเห็นภาพรวมของโลก ตางจากแผนท่ีที่ใหขอมูลในเชิงพื้น
ราบ โลกมรี ูปรางคลา ยผลสม
ลูกโลกแบงไดเ ปน 2 แบบ แบบแรก คือ ลูกโลกท่แี สดงสวนที่เปนพ้ืนผิวโลก เชน แสดงสวนที่เปน พ้นื นาํ้ ไดแก ทะเลและมหาสมุทร แสดง
สว นทเี่ ปน พน้ื ดิน ไดแ ก เกาะ ทวปี ประเทศ แบบทีส่ อง คอื ลกู โลกที่แสดงโครงสรา งภายในเปลอื กโลก
2. เคร่อื งมอื ที่ใชห าขอมูลทางภมู ศิ าสตร
2.1 เขม็ ทิศ (compass)
เข็มทิศเปนเคร่ืองมือพื้นฐานอีกชนิดหนึ่งที่ใชในการศึกษาภูมิศาสตร เปนอุปกรณท่ีนํามาใชหาทิศทาง เข็มทิศมีหลายชนิดและหลาย
รูปแบบ แตมีหลักการในการทํางานเหมือนกัน คือ เข็มบอกทิศ(เข็มแมเหล็ก) ซึ่งแกวงไกวไดอิสระ จะทําปฏิสัมพันธกับแรงดึงดูดของ
ขว้ั แมเหลก็ โลก โดยปลายขา งหน่งึ ของเข็มบอกทศิ จะชีไ้ ปทางทศิ เหนอื เสมอ และสวนปลายอีกขางหนง่ึ จะช้ีไปทางทศิ ใตเสมอ
2.2 เครื่องมือวัดระยะทางในแผนที่ (map measurer) เปนเครื่องมือที่เหมาะสําหรับวัดระยะทางคดเค้ียวไปมา และทําใหคาความคาด
เคล่ือนนอย ลักษณะของเครื่องมือประกอบดวยลูกกล้ิงที่ปลายติดกับลอที่เปนหนาปดแสดงระยะทาง บนหนาปดมีเข็มเล็กๆคลายเข็มนาฬิกา
เขม็ จะวิง่ ไปตามระยะทลี่ กู กลง้ิ หมนุ ไปมีดา มสาํ หรบั จับ
2.3 เครื่องมอื วดั พืน้ ที่ (planimeter) เครื่องมอื วดั พืน้ ทเี่ ปนอุปกรณส ําหรับหาพ้ืนท่ขี องรูปบนพนื้ ทรี่ ะนาบ

22

2.4 กลองสามมิติ (stereoscope) เปนเครื่องมือสําหรับมองภาพสามมิติ กลาวคือ สามารถมองความสูง-ตํ่าของภูมิประเทศในลักษณะ
สามมิติ ประกอบดว ยเลนส 2 อนั ซึง่ สามารถปรับใหเ ทา กบั ระยะหางของสายตาผมู องได ในการมองจะตองวางภาพใหอยูในแนวเดียวกันและ
ตองเปนภาพท่ีทําการถายตอเนื่องกัน ซึ่งแตละภาพจะมีรายขอบที่ทับกันหรือซอนกัน โดยพ้ืนท่ีของภาพในแนวนอนใหชายขอบของภาพมี
พ้ืนท่ที ับซอ นกนั ประมาณรอ ยละ 60

2.5 บารอมิเตอร (barometer) เปนเครื่องมอื วดั ความกดอากาศท่ีใชม ากมี 3 ชนดิ คอื
1) บารอมิเตอรแบบปรอท (mercury barometer) เปนบารอมิเตอรมาตรฐานที่ใชกันอยูท่ัวไป หนวยท่ีใชวัดความกดของอากาศ

คือ มลิ ลเิ มตรของปรอท และมลิ ลบิ าร
2) บารอมิเตอรแบบตลับ หรือแบบแอนิรอยด (aneroid barometer) ประกอบดวยตลับโลหะบางๆ ท่ีสูบอากาศออกเกือบหมด

ตรงกลางตลบั มสี ปริงตอ ไปยงั คานและเขม็ ช้ี เมือ่ ความกดอากาศเปลี่ยนแปลงตลับโลหะจะพองหรือแฟบลง ทําใหสปริงดึงเข็มช้ีท่ีหนาปดตาม
ความกดอากาศ

3) บารอกราฟ (barograph) ใชหลักการเดียวกันกับบอรอมิเตอรแบบตลับ แตตอแขนปากกาใหไปขีดบนกระดาษกราฟที่หุม
กระบอกหมุนที่หมนุ ดว ยนาฬิกา จงึ บนั ทึกความกดอากาศ

2.6 เทอรโมมิเตอร (thermometer) เปนเคร่ืองมือวัดอุณหภูมอิ ากาศ ท่ีใชก ันอยูท ว่ั ไปมดี งั นี้
1) เทอรโมมิเตอรธรรมดา (ordinary thermometer) ที่ใชกันเสมอในการตรวจวัดอุณหภูมิประจําวัน คือ เทอรโมมิเตอรธรรมดา

ชนดิ ปรอทบรรจุอยูในหลอดแกว สามารถวดั อุณหภูมไิ ดอ ยรู ะหวา ง -20 ถึง 50 องศาเซลเซยี ส
2) เทอรโ มมเิ ตอรส ูงสดุ (maximum thermometer) คอื เทอรโ มมิเตอรชนดิ ปรอทบรรจุอยูใ นหลอดแกวเชนเดียวกับเทอรมิเตอร

ธรรมดา แตแตกตางกันตรงที่วาบริเวณลําเทอรโมมิเตอรเหนือกระเปาะบรรจุปรอทข้ึนมาเล็กนอยจะเปนคอคอดปองกันปรอทท่ีขยายตัวแลว
ไหลกลับลงกระเปาะ ใชว ัดอณุ หภมู สิ งู สุด

3) เทอรโ มมิเตอรต ํา่ สุด (minimum thermometer) คือเทอรโมมิเตอรชนิดเอทิลแอลกอฮอลบรรจุในหลอดแกว มีกานชี้รูปดัมบ
เบลล ยาวประมาณ 2 เซนติเมตรบรรจุอยู ใชวดั อณุ หภมู ิต่ําสดุ

4) เทอรโ มมิเตอรแบบซิกซ (six's thermometer) ลักษณะเปนหลอดแกวรูปตัวยู ภายในบรรจุปรอทและแอลกอฮอล มีกานช้ีโลหะ
รูปดัมบเบลลอหยูในหลอดขา งละ 1 อนั หลอดทางซายบอกอุณหภมู ิตํ่าสดุ หลอดทางขวาบอกอณุ หภมู ิสูงสุด อานอณุ ภูมจิ ากขอบลาง

5.เทอรโมกราฟ (thermograph) เปนเครื่องมือบันทึกอุณหภูมิแบบตอเนื่อง ที่นิยมใชมีอยู 2 แบบ คือ เทอรโมกราฟแบบโลหะ
ประกบ ปกติจะนําไปรวมกับไฮโกรกราฟเปนเครื่องเดียวกันเรียกวา เทอรโมไฮโกรกราฟ สวนอีกแบบหน่ึงเรียกวา เทอรโมกราฟชนิดปรอท
บรรจใุ นแทง เหล็ก เครื่องมอื ชนดิ นสี้ ามารถวัดอณุ หภูมขิ องดนิ ไดดว ย

2.7 ไซโครมเิ ตอร (psychormeter) เปน เครื่องมือสําหรับใชวัดความช้ืนสัมพัทธและจุดนํ้าคางในอากาศ ประกอบดวย เทอรโมมิเตอร
2 อัน อนั หนึ่งเรยี กวา เทอรโมมิเตอรต ุม แหง อีกอันหนึง่ เรียกวา เทอรโมมิเตอรตมุ เปยก

2.8 ไฮโกรมิเตอร (hygrometer) เปนเครื่องมือวัดความชื้นอากาศแบบตอเนื่องท่ีนิยมใชกันมาก อุปกรณท่ีสําคัญคือ เสนผม ซึ่งจะ
เปล่ียนแปลงตามปริมาณความช้ืนในอากาศ ถาความชื้นนอยจะทําใหเสนผมหดตัวสั้นลง ความชื้นมากเสนผลจะขยายตัวยาวขึ้น การยืดหด
ตัวของเสนผมจะสงผลไปยังคันกระเดื่องซ่ึงเปนกลไกที่ตอกับแขนปากกา ทําใหปากกาท่ีอยูปลายแขนขีดไปบนกระดาษกราฟบอกความช้ืน
สมั พทั ธต อ เน่ืองกันไป เครอื่ งไฮโกรมิเตอรนีอ้ าจนาํ ไปรวมกับเทอรโมมเิ ตอร เรยี กวา เทอรโ มไฮโกรมิเตอร

2.9 มาตรวัดลม (anemometer) เปนเคร่ืองมือวัดความเร็วของลม ท่ีนิยมใชกันมากเปนมาตรวัดลม แบบรูปถวย (cup
annemometer) ประกอบดว ยลูกถวยทรงกรวย 3 หรือ 4 ใบ มีแขนยึดติดกันกับแกนซ่ึงอยูในแนวด่ิง และติดอยูกับเคร่ืองอานความเร็ว ลูก
ถวยจะหมุนรอบเพลาตามแรงลม จํานวนรอบหมุนจะเปลี่ยนเปนระยะทาง โดยมีหนวยเปนกิโลเมตรหรือไมล อานไดจากหนาปดของเครื่อง
อา นความเร็ว

2.10 เครอ่ื งวัดฝน (rain gauge) เครือ่ งวัดฝนเปน เคร่อื งมือท่ีชว ยในการวัดปรมิ าณ
ภูมศิ าสตรป ระเทศไทย
1. ประเทศไทยประกอบดวย 6 ภาค : เหนอื ตะวันออกเฉยี งเหนอื กลาง ใต ตะวนั ตก ตะวนั ออก
2. ภมู ิอากาศในไทยตามเกณฑข องเคิปเปน เปน แบบ A : รอ นชน้ื โดยแบงยอ ยไดอกี 2 ประเภท คือ

1. Aw : ภูมอิ ากาศแบบทุงหญาสะวนั นา ลกั ษณะเดนคือ
1. ฝนตกนอ ย ฤดแู ลงยาวนาน
2. ปาไมเปน ปาไมผลัดใบ ปาโปรง ไมรกทบึ มที งุ หญา สลับ เชน ปา เบญจพรรณ ปาแดง
3. พบเกอื บทกุ ภาคในไทย ยกเวนภาคใต

2. Am : ภมู ิอากาศแบบมรสุมเมอื งรอ น ลักษณะเดนคือ

23

1. ฝนตกชุก ฤดแู ลงส้ันๆ
2. ปาไมเปนแบบปา ไมไมผ ลัดใบ ปารกทึบ ตนไมเขียวครึม้ ตลอดป เชน ปาดิบช้นื ปาดิบ

เขา
3. พบท่ภี าคใตแ ละภาคตะวันออกท่ี จ.จันทบรุ แี ละจ.ตราด
3. ลมพายทุ ่สี าํ คัญในประเทศไทย
3.1 ลมมรสุม (ลมประจําฤดู) ทส่ี ําคญั มี 2 ประเภท
1. ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต (ลมฝน) ทาํ ใหเ กิดฤดฝู นในไทย ทุกภาคจะมฝี นตก
2. ลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ (ลมหนาว) ทําใหเกิดฤดูหนาวในไทย เกือบทุกภาคจะมีอากาศแหงแลง หนาวเย็น ยกเวนภาคใต
ฝงตะวนั ออก (ฝงอา วไทย) จะมฝี นตก
3.2 ลมพายุหมุนทะเลจนี ใต ที่สาํ คัญ มี 3 ประเภท
1. พายไุ ตฝ ุน
2. พายโุ ซนรอ น
3. พายดุ เี ปรสช่ัน
4. ภูมิศาสตรโดยสรุปของ 6 ภาค
1. ภาคเหนือ
1. ภมู ิประเทศทโี่ ดดเดนคอื เปน เขตเทอื กเขาสงู และมีท่ีราบสลบั หุบเขา
2. อากาศเปน แบบ Aw ทงุ หญาสะวันนา ฤดูแลงยาวนาน
3. ปาเบญจพรรณเปนปา ไมสาํ คัญในภาคนี้
4. แรธ าตอุ ดุ มสมบรู ณ เชน : ดีบุก ทงั สเตน ลิกไนต( ลาํ ปาง ลาํ พูน) ดินเกาลนิ นาํ้ มนั ปโ ตรเลียม
5 แมน้ําสาํ คญั : ปง วัง ยม นา น
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน)
1. เปน แอง ทรี่ าบผนื ใหญ มเี ทอื กเขาสูงลอ มรอบ
2. อากาศเปน แบบ Aw ทุง หญา สะวันนา
3. ปา แดงหรอื ปาโคก เปนปาไมส าํ คญั
4. แรธ าตุมีนอ ย เชน แรเ กลอื หิน (เกลือสินเธาว) เกลอื โพแทส ทองแดง เหล็ก นาํ้ มันและกาซ
5. แมน ํ้าสําคญั : ชี มลู สงคราม
3. ภาคกลาง
1. เปน ทรี่ าบลมุ แมน้าํ ผืนใหญอนั อุดมสมบูรณ
2. อากาศเปน แบบ Aw ทุง หญา สะวันนา
3. พบปา เบญจพรรณอยูบางในเขตภาคกลางตอนบน
4. เปนภาคท่ีมีแรธาตุนอยที่สุดใน 6 ภาค พบบางเล็กนอย เชน แรยิปซ่ัม (พิจิตร) น้ํามันและกาซ (กําแพงเพชร) ดินมารล
(ลพบุรี)
5. แมน้าํ สําคัญ : เจาพระยา ทาจนี ปาสัก ลพบรุ ี
4. ภาคใต
1. มีเทือกเขากนั้ กลางภาคและแบง ทร่ี าบในภาคใตอ อกเปน ที่ราบชายฝง ทะเลฝงตะวนั ออกและทรี่ าบชายฝง ทะเลตะวนั ตก
2. อากาศเปน แบบ Am มรสมุ เมอื งรอ น ฝนตกชุก ฤดูแลง สน้ั ๆ
3. ปาไมเ ปนแบบปาไมไมผ ลดั ใบ ปา รกทบึ ตนไมเขียวครม้ึ ทั้งป
4. แรธาตอุ ุดมสมบรู ณ เชน ดบี กุ ทังสเตน ลกิ ไนต (กระบ่ี สงขลา) ยปิ ซัม่ น้ํามนั และกาซ (อาวไทย)
5. แมน้ําเปน แมน า้ํ สายเล็กและสน้ั นํ้าไหลลงทะเลอยางรวดเรว็ (คลา ยภาคตะวันออก) เชน ตาป ชมุ พร กระบรุ ี โกลก ปต ตานี
5. ภาคตะวันออก
1. มีเทือกเขาจันทบุรีและเทือกเขาบรรทัด กั้นแบงท่ีราบออกเปน 2 สวน คือ ที่ราบฉนวนไทย (ท่ีราบลุมแมนํ้าบางปะกง) และท่ี
ราบชายฝง ทะเล
2. อากาศมี 2 แบบในภาคเดียวกัน คอื Am มรสุมเมอื งรอน พบที่ จ.จันทบรุ ีและ จ.ตราด
Aw ทุงหญา สะวนั นา พบในจงั หวดั ทเ่ี หลือ เชน ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ระยอง ปราจนี บรุ ี สระแกว

24

3. ปาไมม ที งั้ ปา ไมผลดั ใบและปาไมไมผลดั ใบ
4. แรธาตุสําคัญ เชน แรร ัตนชาติ (พลอย) แมงกานีส แรทรายแกว นํา้ มนั และกา ซ (อาวไทย)
5. แมน าํ้ เปนแมนาํ้ สายเล็กและสัน้ นํ้าไหลลงทะเลอยา งรวดเร็ว (คลา ยภาคใต) เชน บางปะกง จันทบุรี เวฬุ
6. ภาคตะวันตก
1. เปนเขตเทอื กเขาสูงและมที ี่ราบสลับหบุ เขา (คลา ยภาคเหนอื )
2. อากาศเปนแบบ Aw ทงุ หญาสะวนั นา

*เปนภาคท่มี ปี รมิ าณนาํ้ ฝนเฉลี่ยตํ่าท่ีสดุ *
3. ปา เบญจพรรณเปนปา ไมส ําคัญ มีมากเปน อนั ดบั 2 รองมาจากภาคเหนือ
4. แรธ าตอุ ุดมสมบรู ณ เชน ดบี กุ ทงั สเตน ฟอสเฟต ทองคาํ รตั นชาติ (พลอย)
5. แมน า้ํ สาํ คัญ : แควใหญ แควนอ ย แมก ลอง

25

26


Click to View FlipBook Version